Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 2562

รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 2562

Published by nurse4thai, 2021-01-18 16:29:20

Description: รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 2562

รายงานสถานการณ์โรค NCDs (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง) พ.ศ. 2562 ฉบับนี้มีจุดมุ่งเน้นดังนี้
1.รวบรวมข้อมูลโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงจากฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อติดตามสถานการณ์ตาม 9 เป้าหมายระดับโลก
ของประเทศไทย และ 2.เชื่อมโยงข้อมูลโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงแบบบูรณาการตามองค์ประกอบ 5 มิติโดยเน้น 3 มิติหลัก
ประกอบด้วย การป่วยและเสียชีวิต, ปัจจัยเสี่ยง และแผนงาน/มาตรการ

Keywords: รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง 2562,เบาหวาน,ความดันโลหิตสูง,โรคไม่ติดต่อ,โรค NCDs,รายงานสถานการณ์โรค NCDs

Search

Read the Text Version

รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปจั จัยเส่ียงทเี่ กี่ยวขอ้ ง พ.ศ. 2562 ISBN 978-616-11-4313-8 ทป่ี รึกษา แพทย์หญิงสพุ ตั รา ศรวี ณิชชากร กองบรรณาธิการ อรรถเกียรติ กาญจนพบิ ูลวงศ์ ภาณวุ ัฒน์ ค�ำวงั สงา่ สธุ ิดา แกว้ ทา คณะผู้เขยี น บทสรุปผบู้ รหิ าร อรรถเกียรติ กาญจนพิบูลวงศ์ บทที ่ 1 : สถานการณ์โรคไมต่ ดิ ต่อตาม 9 เป้าหมายระดับโลกของประเทศไทย 1.1 สถานการณ์โรคไม่ติดต่อระดบั โลกและประเทศไทย 1.2 สถานการณโ์ รคไมต่ ิดต่อตาม 9 เปา้ หมายระดบั โลกของประเทศไทยจ�ำแนกตามตวั ชีว้ ัด เบื้องต้น 9 ตวั ช้ีวดั ภาณุวัฒน์ คำ� วงั สง่า และอรรถเกยี รติ กาญจนพบิ ูลวงศ์ บทที่ 2 : การเฝา้ ระวงั โรคไม่ติดตอ่ ตามองคป์ ระกอบ 5 มิติ 2.1 การเฝ้าระวงั โรคไมต่ ดิ ต่อ 2.2 สถานการณโ์ รคไมต่ ดิ ตอ่ ตามกรอบ5มติ ิ(เบาหวาน,ความดนั โลหติ สงู และปจั จยั เสยี่ งทเี่ กยี่ วขอ้ ง) สธุ ดิ า แกว้ ทา, ภาณุวฒั น์ ค�ำวงั สง่า และอรรถเกียรติ กาญจนพิบลู วงศ์ พมิ พ์ครั้งแรก 200 เล่ม เดอื นพฤษภาคม 2563 โรงพมิ พ ์ ส�ำนักพมิ พ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน ์ ผู้จดั พมิ พ์และเผยแพร ่ กลุ่มเทคโนโลยี ระบาดวิทยา และมาตรการชุมชน กองโรคไมต่ ิดตอ่ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข

ค�ำนำ� กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) เป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลกท้ังในมิติ ของจ�ำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลก เสยี ชวี ติ จากโรค NCDs มแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ จาก 38 ลา้ นคน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 68 ของสาเหตกุ ารเสยี ชวี ติ ทงั้ หมดของประชากรโลก) ในปี พ.ศ. 2555 เป็น 41 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 71 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก) ในปี พ.ศ. 2559 โดยกล่มุ โรค NCDs ทีพ่ บการเสียชวี ติ มากทส่ี ุด ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลอื ด (17.9 ล้านคน คดิ เปน็ ร้อยละ 44) รองลงมาคอื โรคมะเร็ง (9.0 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 22) โรคทางเดินหายใจเร้ือรัง (3.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 9) และโรคเบาหวาน (1.6 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 4) ซึง่ ในแต่ละปพี บผเู้ สียชวี ิตจากโรค NCDs ในกลุ่มอายุ 30-69 ปี หรอื เรยี กว่า “การเสียชีวติ ก่อนวยั อันควร”มากถึง 15 ล้านคน โดยรอ้ ยละ 85 เกดิ ขึน้ ในกลุ่มประเทศทม่ี รี ายไดต้ ่ำ� และกลุ่มประเทศทม่ี ีรายไดป้ านกลาง โดยปัญหาดังกล่าวก่อใหเ้ กิดความสญู เสียปีสุขภาวะและสง่ ผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมอย่างรุนแรง ในเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ที่ประชุมสมัชชาอนามยั โลก ครัง้ ท่ี 66 มมี ติรับกรอบการติดตามการดำ� เนินงานควบคุม ปอ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ ภายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มของประเทศสมาชกิ เพอื่ ตดิ ตามแนวโนม้ และประเมนิ ความกา้ วหนา้ ในการดำ� เนนิ งานฯ ซงึ่ กรอบดังกล่าวประกอบไปดว้ ย 9 เป้าหมายระดบั โลก และ 25 ตวั ช้ีวดั ระดบั โลก ซึ่งครอบคลมุ ตามปจั จยั หลกั 3 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1) เป้าหมายด้านอัตราตายและอัตราป่วย 2) เป้าหมายด้านปัจจัยเส่ียงหลัก ทั้งปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมและปัจจัยเส่ียง ทางชวี วิทยา และ 3) เปา้ หมายดา้ นระบบบริการระดบั ชาติ โดยวดั ความสำ� เร็จของการดำ� เนินงานฯ ในปี พ.ศ. 2568 ดว้ ยการ เทยี บกับขอ้ มลู อ้างองิ พื้นฐานในปี พ.ศ. 2553 รายงานสถานการณ์โรค NCDs (เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปัจจัยที่เก่ยี วขอ้ ง) พ.ศ. 2562 ฉบับน้ี มีจดุ มงุ่ เนน้ ดังนี้ 1.รวบรวมข้อมูลโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเสี่ยงจากฐานข้อมูลที่เก่ียวข้องเพ่ือติดตามสถานการณ์ตาม 9 เป้าหมายระดับโลก ของประเทศไทย และ 2.เชอ่ื มโยงข้อมูลโรคไม่ตดิ ต่อและปัจจยั เสีย่ งแบบบรู ณาการตามองค์ประกอบ 5 มติ ิ โดยเน้น 3 มติ ิหลัก ประกอบดว้ ย การป่วยและเสียชวี ิต, ปจั จยั เสย่ี ง และแผนงาน/มาตรการ รายงานฉบบั นส้ี �ำเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี โดยได้รับการมีสว่ นรว่ มจากผเู้ ชย่ี วชาญดา้ นโรคไม่ตดิ ตอ่ ระดบั กรมและระดับกอง รวมไปถึงหน่วยงานวิชาการภายในกรมและนอกกรมที่เกี่ยวข้องด้านปัจจัยเส่ียงโรคไม่ติดต่อ ส�ำหรับการให้ข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงองค์ประกอบของรายงานฯ ใหม้ ีความสมบูรณ์ จึงขอขอบคณุ เป็นอย่างสงู มา ณ ท่ีน้ี รายงานสถานการณ์โรค NCDs III เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปัจจัยเส่ียงทีเ่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

สารบัญ หน้า คำ� น�ำ III สารบญั IV สารบญั แผนภูมิ VI สารบัญตาราง IX สารบญั รูปภาพ XI บทสรปุ ผบู้ ริหาร XIII 1 ส่วนที่ 1 : สถานการณโ์ รคไม่ติดตอ่ ตาม 9 เป้าหมายระดบั โลกของประเทศไทย 2 12 1.1 สถานการณ์โรคไม่ตดิ ต่อระดับโลกและประเทศไทย 14 1.2 สถานการณ์ตาม 9 เปา้ หมายระดบั โลกของประเทศไทย จำ� แนกตามตวั ชี้วัดเบอื้ งตน้ 9 ตัวชีว้ ัด ตัวชว้ี ดั ท่ี 1 อัตราตายก่อนวยั อนั ควรด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน 15 และโรคระบบทางเดินหายใจเร้อื รัง ในประชากรอายรุ ะหว่าง 30-70 ปี ลดลงรอ้ ยละ 25 ตวั ช้วี ัดท่ี 2 ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอลบ์ รสิ ุทธ์ิต่อหัวประชากรต่อปี 16 ในประชากรอายตุ ้งั แต่ 15 ปีขึ้นไป ลดลงรอ้ ยละ 10 ตัวชี้วัดที่ 3 ความชกุ ของการมีกิจกรรมทางกายท่ไี มเ่ พยี งพอ 17 ในประชากรอายตุ ้ังแต่ 18 ปขี น้ึ ไป ลดลงร้อยละ 10 ตัวชี้วัดที่ 4 ค่าเฉล่ยี ปรมิ าณการบริโภคเกลือและโซเดียม 18 ในประชากรอายตุ ้ังแต่ 18 ปีข้ึนไป ลดลงรอ้ ยละ 30 19 ตวั ชว้ี ดั ท่ี 5 ความชุกของการสบู บุหร่ใี นประชากรอายตุ ้ังแต่ 15 ปีขึ้นไป ลดลงร้อยละ 30 20 ตวั ชี้วัดท่ี 6 ความชกุ ของโรคความดันโลหติ สูง ลดลงรอ้ ยละ 25 22 ตวั ช้ีวัดท่ี 7 ความชุกของโรคเบาหวานและภาวะอ้วนในประชากรอายุตั้งแต่ 18 ปขี ้ึนไป ไมเ่ พ่ิมขนึ้ ตวั ช้วี ัดท่ี 8 ประชากรอายุ 40 ปีข้ึนไป ที่มคี วามเส่ียงต่อการเกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือด 23 ไดร้ บั ค�ำปรกึ ษาเพอ่ื ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมและได้รับยาท่เี หมาะสม เพือ่ ป้องกันโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) ไมน่ อ้ ยกวา่ ร้อยละ 50 ตวั ชี้วดั ท่ี 9 การมียาทจ่ี ำ� เป็นและเทคโนโลยีข้ันพนื้ ฐานสำ� หรับรกั ษา/บริการ ผปู้ ว่ ยโรคไม่ตดิ ตอ่ ทส่ี ำ� คญั ในสถานบริการัฐและเอกชนร้อยละ 80 IV รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปัจจยั เสย่ี งท่เี กีย่ วข้อง พ.ศ. 2562

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 25 26 ส่วนที่ 2 : การเฝา้ ระวงั โรคไม่ตดิ ตอ่ 26 2.1 การเฝ้าระวงั โรคไม่ติดต่อ 26 2.1.1 โรคไม่ติดตอ่ สำ� คัญท่อี ย่ใู นระบบเฝ้าระวงั 28 2.1.2 องค์ประกอบการเฝา้ ระวงั 5 มิติ 2.2 สถานการณ์โรคไม่ตดิ ต่อ ตามกรอบ 5 มติ ิ 28 (เบาหวาน, ความดนั โลหิตสูง และปจั จัยเสยี่ งท่เี กีย่ วข้อง) 39 2.2.1 สถานการณป์ ว่ ย/ตาย 77 2.2.2 สถานการณ์ปัจจยั เสย่ี งท่ีเกย่ี วขอ้ ง 78 ภาคผนวก 78 ภาคผนวก ก 78 ฐานข้อมลู ส�ำหรบั การเฝ้าระวงั โรคไมต่ ิดตอ่ 80 l ขอ้ มูลการป่วย/เสยี ชีวติ 82 l ขอ้ มลู ปัจจัยเสี่ยง 83 l ขอ้ มูลด้านบรกิ ารสขุ ภาพ 83 ภาคผนวก ข ข้อมลู สถานการณ์การเฝ้าระวังการเสยี ชวี ิตจากโรคไมต่ ิดต่อ รายงานสถานการณ์โรค NCDs V เบาหวาน ความดันโลหติ สูง และปจั จัยเสี่ยงท่เี กย่ี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

สารบญั แผนภมู ิ หนา้ แผนภูมิท่ี 1 อัตราการเสียชีวิตปรับมาตรฐานอายุ (Age-standardized death-rate) ด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ 2 ต่อประชากรแสนคน ในกลมุ่ ประเทศภมู ภิ าคเอเชียใต้-ตะวันออก (SEARO) ปี พ.ศ. 2559 จ�ำแนกรายประเทศ และเพศ แผนภมู ิที่ 2 อัตราการเสยี ชวี ิตอยา่ งหยาบจากโรคไม่ติดตอ่ ทสี่ ำ� คญั ตอ่ ประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2557-2561 แผนภูมทิ ี่ 3 อตั ราตายก่อนวยั อนั ควรด้วยโรคหัวใจและหลอดเลอื ด โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน 3 14 และโรคระบบทางเดินหายใจเร้อื รงั ในประชากรอายุระหว่าง 30-70 ปี ปี พ.ศ. 2552, 2554 และ 2556 แผนภมู ทิ ่ี 4 ปริมาณการบรโิ ภคแอลกอฮอลบ์ ริสทุ ธิ์ (ลิตร) ตอ่ หัวประชากรตอ่ ปีในประชากรไทย อายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2553 – 2557 15 แผนภูมิที่ 5 ความชุกของการมกี ิจกรรมทางกายทไ่ี มเ่ พียงพอในประชากรอายุต้งั แต่ 15 ปขี ึน้ ไป 16 ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 แผนภมู ทิ ่ี 6 ความชกุ ของการสบู บหุ รี่ในประชากรอายุตัง้ แต่ 15 ปีขน้ึ ไป ปี พ.ศ. 2554, 2557 และ 2560 แผนภมู ทิ ี่ 7 ความชุกของโรคความดนั โลหิตสงู ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 18 19 แผนภูมิที่ 8 ความชกุ ของโรคเบาหวานในประชากรอายตุ ั้งแต่ 15 ปขี ้ึนไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 20 แผนภูมิที่ 9 ความชกุ ของภาวะอ้วน (BMI ≥25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) ในประชากรอายุตัง้ แต่ 15 ปขี นึ้ ไป 21 ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 แผนภมู ิท่ี 10 อตั ราการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อันควร (30-69 ปี) จากโรคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สูง โรคหวั ใจขาดเลือด โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคทางเดินหายใจอุดก้นั เร้อื รัง 28 ต่อประชากรแสนคน ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557-2561 แผนภูมิท่ี 11 ความชกุ ของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป และความชุกผูท้ ี่ไดร้ ับ การบอกจากแพทยว์ า่ เป็นโรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2561 29 แผนภูมทิ ่ี 12 ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึ้นไป จำ� แนกตามเพศ 29 แผนภมู ิที่ 13 ความชกุ ผทู้ ่ีได้รบั การบอกจากแพทยว์ ่าเปน็ โรคเบาหวานในประชากร อายุ 15-79 ปี จำ� แนกตามเพศ 30 แผนภูมทิ ี่ 14 ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี ้นึ ไป จ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ 30 แผนภมู ิที่ 15 ความชกุ ผูท้ ่ไี ดร้ ับการบอกจากแพทยว์ ่าเป็นโรคเบาหวานในประชากร 30 อายุ 15-79 ปี จ�ำแนกตามกลุ่มอายุ VI รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง และปจั จยั เสยี่ งทเี่ กี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

สารบญั แผนภมู ิ (ต่อ) แผนภูมิท่ี 16 ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขึน้ ไปที่ได้รบั การคดั กรองเบาหวาน หนา้ และอัตราผู้ปว่ ยเบาหวานรายใหมท่ ่ไี ดร้ บั การวนิ จิ ฉัย ในปีงบประมาณ 2558-2561 31 แผนภูมทิ ่ี 17 ร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานทมี่ ารับการตรวจระดับน้�ำตาลในเลือด (HbA1c) 1 ครง้ั ต่อปี 31 และรอ้ ยละผูป้ ว่ ยเบาหวานทคี่ วบคมุ ระดบั น�้ำตาลในเลือดได้ดี (HbA1c <7%) ในปงี บประมาณ 2558-2561 32 แผนภูมิท่ี 18 ร้อยละผปู้ ่วยเบาหวานทม่ี ารับการตรวจระดับนำ�้ ตาลในเลอื ด (HbA1c) 1 คร้งั ต่อปี 32 และร้อยละผูป้ ว่ ยเบาหวานท่คี วบคุมระดับน�ำ้ ตาลในเลอื ดไดด้ ี (HbA1c <7%) ปี พ.ศ. 2555-2561 แผนภูมิท่ี 19 ความชุกของโรคความดนั โลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป 33 และความชกุ ผทู้ ่ีไดร้ ับการบอกจากแพทยว์ ่ามภี าวะความดันโลหิตสูงในประชากร 33 อายุ 15-79 ปี ระหว่างปี พ.ศ. 2547-2561 34 แผนภูมทิ ่ี 20 ความชกุ ของโรคความดนั โลหิตสงู ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไป 34 ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 จ�ำแนกตามเพศ 35 แผนภมู ทิ ่ี 21 ความชกุ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การบอกจากแพทย์ว่ามภี าวะความดันโลหติ สูงในประชากร 35 อายุ 15-79 ปี ปี พ.ศ. 2558 และ 2561 จำ� แนกตามเพศ แผนภมู ทิ ี่ 22 ความชกุ ของโรคความดนั โลหิตสงู ในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป 35 ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 จำ� แนกตามกลุ่มอายุ 40 แผนภูมิท่ี 23 ความชุกผู้ที่ได้รับการบอกจากแพทย์วา่ มีภาวะความดันโลหติ สูงในประชากร 40 อายุ 15-79 ปี ปี พ.ศ. 2558 และ 2561 จ�ำแนกตามกลุ่มอายุ 41 แผนภมู ิที่ 24 รอ้ ยละของประชากรอายุ 35 ปขี น้ึ ไปท่ไี ดร้ บั การคัดกรองความดันโลหิตสงู 47 และอัตราผู้ปว่ ยความดันโลหิตสงู รายใหมท่ ไ่ี ดร้ บั การวินิจฉัย ในปีงบประมาณ 2558-2561 แผนภูมทิ ี่ 25 รอ้ ยละผู้ปว่ ยความดนั โลหติ สงู ที่มารบั การตรวจวดั ความดนั โลหติ ท่สี ถานพยาบาล อยา่ งน้อย 2 คร้งั ตอ่ ปี และร้อยละผู้ป่วยความดันโลหติ สูงทคี่ วบคมุ ความดันโลหิตไดด้ ี (BP <140/90 mmHg) 2 ครง้ั สดุ ทา้ ยตดิ ตอ่ กันในปีงบประมาณ 2558-2561 แผนภมู ิท่ี 26 ร้อยละผปู้ ่วยความดันโลหติ สงู ที่ควบคุมความดนั โลหิตได้ดี (BP <140/90 mmHg) 2 ครัง้ ติดตอ่ กัน ปี พ.ศ. 2555-2561 แผนภมู ิที่ 27 อัตราการสูบบุหรป่ี จั จบุ ัน ปี พ.ศ. 2534–2560 จำ� แนกตามเพศ แผนภูมิท่ี 28 อัตราการสบู ปจั จบุ ัน ปี พ.ศ. 2534–2560 จำ� แนกตามกลมุ่ อายุ แผนภูมทิ ่ี 29 อายเุ ฉลยี่ ที่เรม่ิ สูบบหุ รี่คร้ังแรก ปี พ.ศ. 2547-2560 แผนภูมทิ ี่ 30 ร้อยละสาเหตทุ ี่เริม่ ด่ืมสุรา ปี พ.ศ. 2560 รายงานสถานการณ์โรค NCDs VII เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปจั จยั เสยี่ งท่ีเกย่ี วข้อง พ.ศ. 2562

สารบญั แผนภมู ิ (ต่อ) หนา้ แผนภูมิท่ี 31 ประเภทเครอ่ื งดม่ื แอลกอฮอลท์ ่ีนักด่ืมปัจจุบันด่มื บอ่ ยทส่ี ดุ ใน 12 เดือน 47 ปี พ.ศ. 2560 จ�ำแนกตามเพศ แผนภูมิที่ 32 ประเภทเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ท่ีนักดืม่ ปจั จุบันดมื่ บอ่ ยที่สดุ ใน 12 เดือน จำ� แนกตามกลุ่มอายุ ปี พ.ศ. 2560 48 แผนภูมทิ ่ี 33 ปริมาณการบริโภคเครือ่ งดม่ื แอลกอฮอลบ์ ริสทุ ธ์ติ อ่ หวั ประชากรตอ่ ปี 48 ของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ปี พ.ศ. 2549–2560 แผนภมู ิท่ี 34 ค่าใช้จา่ ยส�ำหรับเคร่อื งด่ืมแอลกอฮอล์ตอ่ เดอื น ปี พ.ศ. 2555–2561 49 แผนภูมทิ ี่ 35 รอ้ ยละของสถานท่ีทีซ่ อื้ สุราหรือเครือ่ งดื่มแอลกอฮอลบ์ ่อยครง้ั ที่สุดในรอบปีทแ่ี ลว้ ปี พ.ศ. 2560 50 แผนภมู ทิ ี่ 36 รสชาตขิ องอาหารม้ือหลักทบี่ รโิ ภคเป็นประจำ� บ่อยท่ีสดุ ของประชาชนไทย 55 ในปี พ.ศ. 2560 แผนภมู ิที่ 37 รอ้ ยละของประชากรอายุ 6 ปขี ้ึนไปจ�ำแนกตามการบริโภคอาหารในแตล่ ะกลุม่ ตอ่ สัปดาห์ ปี พ.ศ. 2560 55 แผนภูมทิ ี่ 38 การบริโภคอาหารประเภทตา่ งๆ ทุกวัน ของประชาชนไทยอายุ 6-14 ปี 57 ในปี พ.ศ. 2548, 2552, 2556 และ 2560 แผนภูมิที่ 39 รอ้ ยละของการมีกจิ กรรมทางกายที่เพียงพอในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จ�ำแนกตามเพศ 65 แผนภมู ิที่ 40 รอ้ ยละของประชากรไทยอายุ 15 ปีขนึ้ ไป ที่มกี จิ กรรมทางกายไม่เพียงพอ 65 ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จำ� แนกตามเพศ แผนภมู ิท่ี 41 รอ้ ยละของประชากรไทยอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ที่มีกจิ กรรมทางกายไม่เพยี งพอ ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จำ� แนกตามกล่มุ อายุ 66 แผนภูมทิ ี่ 42 ร้อยละของประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไป ท่มี กี จิ กรรมทางกายไมเ่ พียงพอ 66 ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จ�ำแนกตามภาค แผนภูมทิ ่ี 43 อตั ราของประชากรอายุ 15 ปีขน้ึ ไปทีม่ กี ิจกรรมทางกายในแต่ละกลุ่ม ปี พ.ศ. 2558 จ�ำแนกตามเพศ 67 แผนภมู ทิ ี่ 44 อัตราของประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไปทม่ี ีกจิ กรรมทางกายในแตล่ ะกลมุ่ 67 ปี พ.ศ. 2558 จ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ แผนภูมิท่ี 45 อัตราของประชากรอายุ 15 ปีขนึ้ ไปท่ีมกี ิจกรรมทางกายในแตล่ ะกลุ่ม ปี พ.ศ. 2558 จำ� แนกตามภาค 67 แผนภูมิที่ 46 รอ้ ยละของคนไทยท่มี ีกิจกรรมทางกายทเี่ พียงพอ ปี พ.ศ. 2555-2559 68 จ�ำแนกตามกล่มุ วัย VIII รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปจั จัยเสย่ี งท่ีเก่ยี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

สารบญั ตาราง หนา้ ตารางท่ี 1 10 อนั ดบั การตายจำ� แนกรายสาเหตขุ องประชากรไทย พ.ศ. 2557 3 ตารางท่ี 2 10 อนั ดับการสญู เสียปีสขุ ภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2557 จำ� แนกตามเพศ และสาเหตุ 4 ตารางท่ี 3 5 พฤติกรรมเส่ียง 4 การเปลี่ยนแปลง และ 5 กลุ่มโรค 5 ตารางท่ี 4 รายการ 9 เป้าหมายและตัวชว้ี ัดระดบั โลกในการปอ้ งกันและควบคุมโรคไมต่ ิดตอ่ ภายใน พ.ศ. 2568 5 ตารางที่ 5 รายละเอยี ดนิยาม แหลง่ ขอ้ มลู ของ 9 เป้าหมายของการป้องกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดับโลก 9 และตัวชีว้ ัดเบ้ืองต้น 9 ตัวชีว้ ดั ทใ่ี ชส้ �ำหรับประเทศไทย 12 ตารางที่ 6 สถานการณ์ตาม 9 เปา้ หมายระดบั โลกของประเทศไทย 39 (Situation of 9 Global Targets in Thailand) 41 ตารางท่ี 7 อตั ราร้อยละของประชากรอายุต้ังแต่ 15 ปขี ึน้ ไป ปี พ.ศ. 2560 42 จำ� แนกตามพฤตกิ รรมการสบู บุหรี่ กล่มุ อายุ เพศ เขตการปกครองและภาค 46 ตารางที่ 8 สถติ ิผลการด�ำเนินงาน–การตลาด การส่งออกยอดการจ�ำหนา่ ยบุหร่ีโรงงานยาสบู ย้อนหลัง 5 ปี 52 ต้ังแตป่ ีงบประมาณ 2557 – 2561 56 ตารางที่ 9 สรุปผลการจดั เก็บรายได้ภาษีสรรพสามิตภาษียาสูบในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 – 2561 69 ตารางที่ 10 จ�ำนวนและอตั ราร้อยละของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ปี พ.ศ. 2560 จ�ำแนกตามพฤติกรรมการดื่มสุรา 69 ตารางท่ี 11 กล่มุ มาตรการใน 5 ยทุ ธศาสตรย์ อ่ ย แผนยทุ ธศาสตรน์ โยบายแอลกอฮอล์ระดับชาติ ตารางท่ี 12 รอ้ ยละของการบรโิ ภคอาหารเป็นประจำ� ในประชากรอายุ 6 ปขี ้ึนไป ปี พ.ศ. 2560 จำ� แนกตาม เพศ อายุ ภมู ภิ าค และเขตการปกครอง ตารางที่ 13 สัดสว่ นเวลาที่ใชต้ ามลักษณะกจิ กรรมทางกายในประชากรอายุ 15 ปขี ึ้นไป ปี พ.ศ. 2552 และ พ.ศ. 2557 จำ� แนกตามเพศ และกล่มุ อายุ ตารางท่ี 14 ระยะเวลาเฉลย่ี (นาท)ี ของผ้มู กี ิจกรรมทางกายในแต่ละกลมุ่ ต่อวันของประชากรอายุ 15 ปขี ้นึ ไป ปี พ.ศ. 2558 จำ� แนกตามเพศ และกลุ่มอายุ รายงานสถานการณ์โรค NCDs IX เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปัจจัยเส่ยี งทเ่ี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

สารบญั ตาราง (ต่อ) ตารางท่ี 15 อัตราการเสียชีวติ จากโรคหลอดเลือดสมอง (I60-I69) ตอ่ ประชากรแสนคน หนา้ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557-2561 จ�ำแนกรายเขตสขุ ภาพ 83 ตารางที่ 16 อตั ราการเสยี ชีวติ จากโรคหวั ใจขาดเลอื ด (I20-I25) ตอ่ ประชากรแสนคน 84 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557-2561 จำ� แนกรายเขตสขุ ภาพ 85 ตารางท่ี 17 อัตราการเสยี ชวี ติ จากโรคเบาหวาน (E10-E14) ตอ่ ประชากรแสนคน 86 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557-2561 จำ� แนกรายเขตสขุ ภาพ 87 ตารางที่ 18 อตั ราการเสียชวี ติ จากโรคความดนั โลหติ สูง (I10-I15) ตอ่ ประชากรแสนคน ระหวา่ งปี พ.ศ. 2557-2561 จ�ำแนกรายเขตสขุ ภาพ ตารางท่ี 19 อตั ราการเสียชวี ติ จากโรคทางเดินหายใจอุดกั้นเร้อื รงั (J40-J44) ต่อประชากรแสนคน ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2561 จ�ำแนกรายเขตสุขภาพ X รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง และปัจจัยเส่ียงทเ่ี กย่ี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

สารบญั รูปภาพ หน้า รปู ภาพที่ 1 โครงสรา้ งราคาบุหร่ี 43 รูปภาพท่ี 2 ราคาเครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์หลังจากมีการปรับภาษี 49 รปู ภาพท่ี 3 เสน้ เวลาแสดงการเปลี่ยนแปลงกลยทุ ธแ์ ละแนวทางการสอื่ สาร 50 ของธุรกจิ เครือ่ งดมื่ แอลกอฮอล์ หลัง พ.ร.บ.ควบคมุ เครือ่ งดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ประกาศใช้ รูปภาพท่ี 4 แผนยทุ ธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอลร์ ะดบั ชาติ (แผน 10 ปี : พ.ศ. 2554-2563) 52 รูปภาพท่ี 5 ปรมิ าณน้�ำตาลในชานมไข่มกุ 58 รูปภาพท่ี 6 ขอ้ มลู ปรมิ าณการบริโภคโซเดยี มโดยเฉล่ียในแตล่ ะประเทศของประชากรเพศหญงิ และเพศชาย 59 ทีม่ ีอายุ 20 ปขี ้ึนไป ปี พ.ศ. 2553 : การบรโิ ภคโซเดียมเฉลีย่ เปน็ จ�ำนวนกรัม/วนั 60 รปู ภาพที่ 7 ปริมาณโซเดียมและโซเดียมคลอไรดใ์ นอาหารบาทวถิ ี (Street food) ในกรงุ เทพมหานคร ปี พ.ศ. 2560 62 รปู ภาพท่ี 8 การเก็บภาษี “น�้ำตาล” รายงานสถานการณ์โรค NCDs XI เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปัจจัยเส่ียงทีเ่ ก่ียวขอ้ ง พ.ศ. 2562

ค�ำย่อ APC Annual alcohol per capita consumption = ปรมิ าณการบริโภคแอลกอฮอล์บริสุทธ์ิ ตอ่ หัวประชากรต่อปี BMI Body mass index = ดชั นีมวลกาย BP Blood Pressure = ความดันโลหิต BRFSS Behavioral Risk Factor Surveillance System = การสำ� รวจพฤตกิ รรมเส่ียงโรคไมต่ ิดตอ่ และการบาดเจบ็ DALYs Disability-Adjusted Life Years = ปีสขุ ภาวะที่สูญเสียไป FBS Fasting Blood Sugar = คา่ ของน้ำ� ตาลในเลอื ดหลังจากอดอาหารมาอยา่ งน้อย 8 ชม. HbA1c Hemoglobin A1c = ค่าของน�้ำตาลเฉลย่ี ในเลือดทผ่ี า่ นมาเปน็ ระยะเวลา 3 เดอื น HDC Health Data Center = ระบบคลังขอ้ มลู ด้านการแพทย์และสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข IHPP International Health Policy Program = ส�ำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหวา่ งประเทศ MedResNet Medical Research Network = เครือข่ายกลมุ่ วจิ ัยสถาบันแพทยศาสตรแ์ ห่งประเทศไทย MPOWER Monitor Protect Offer Warn Enforce Raise = ยุทธศาสตรก์ ารดำ� เนนิ งานควบคุมยาสบู องค์การอนามัยโลก NCDs Noncommunicable Diseases = โรคไมต่ ดิ ต่อ NHES National Health Exam Survey = การสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย Thailand BOD Thailand Burden of Disease = ภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย WHO World Health Organization = องค์การอนามยั โลก WHO FCTC World Health Organization Framework Convention on Tobacco Control = กรอบอนสุ ญั ญา ควบคุมยาสูบขององคก์ ารอนามัยโลก XII รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปัจจยั เสี่ยงท่เี กย่ี วข้อง พ.ศ. 2562

บทสรปุ สำ� หรับผู้บริหาร กลุ่มโรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไม่ติดต่อ) ยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหนึ่งของโลก ทง้ั ในมติ ขิ องจำ� นวนการเสยี ชวี ติ และภาระโรคโดยรวม โดยประเทศไทย มอี ตั ราการเสยี ชวี ติ จากกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ตำ่� สดุ เมอื่ เทยี บ ในกลุม่ ประเทศภูมภิ าคเอเชียใต้-ตะวนั ออก (SEARO) จากข้อมลู ปี พ.ศ.2559 โรคไมต่ ดิ ตอ่ ยงั คงเปน็ ปญั หาสขุ ภาพอนั ดบั หนง่ึ ของประชาชนไทยทงั้ ในแงภ่ าระโรค และอตั ราการเสยี ชวี ติ อตั ราการเสยี ชวี ติ ก่อนวยั อันควร (30-69 ป)ี จากโรคไม่ตดิ ต่อทส่ี �ำคญั ประกอบด้วย โรคหลอดเลอื ดสมอง, โรคหวั ใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, ภาวะความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจอดุ ก้ันเรอื้ รัง มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2557 ถงึ ปี พ.ศ. 2559 หลังจากน้นั มีแนวโน้มลดลงเล็กน้อยและคงที่ในปี พ.ศ. 2561 โดยโรคหลอดเลือดสมองมีอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควรสูงท่ีสุดเท่ากับ 44.3 รายต่อประชากรแสนคน และอัตราการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อันควรด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผูช้ ายสูงกวา่ เพศหญิง สถานการณ์โรคไม่ตดิ ตอ่ และปจั จัยเสยี่ งตาม 9 เป้าหมายระดบั โลก ตวั ชวี้ ดั สถานการณโ์ รคไมต่ ดิ ตอ่ ในประเทศไทยทกี่ ำ� หนดโดยคณะผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นนโยบาย ผเู้ ชยี่ วชาญในแตล่ ะประเดน็ โรค และปัจจัยเสีย่ งทเ่ี ก่ียวข้องกับโรคไม่ตดิ ตอ่ ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2556 คอื 1) ความน่าจะเปน็ ของการเสยี ชีวติ ท่อี ายุ 30 ปี ถงึ 70 ปี จากโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด, โรคปอดอดุ กน้ั เรอ้ื รงั , โรคเบาหวาน และโรคมะเรง็ ลดลงจาก 15.3 % ในปี 2550 เปน็ 15.1% และ 14.1 % ในปี 2553, 2557 ตามลำ� ดบั (ท่มี า: Thai BOD, IHPP) หากพิจารณาเปน็ อตั ราตายตามอายุ พบวา่ อตั ราการตาย ก่อนวยั อันควรจากโรคไม่ติดต่อ ไทยเพิม่ ข้ึนจาก 343.06 ตอ่ แสนคนในปี พ.ศ.2552 เปน็ 355.30 ตอ่ แสนคนในปี พ.ศ.2556 2) ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์ตอ่ หวั ประชากรต่อปีในประชากรอายุตัง้ แต่ 15 ปีขึน้ ไป เพิ่มข้ึน จาก 6.7 ลติ ร/คน/ปี จากปี พ.ศ. 2552 เปน็ 6.91 และ 6.95 ลติ ร/คน/ปี ในปี พ.ศ. 2557 และ 2558 (กรมสรรพสามติ กระทรวงการคลงั ) 3) ความชุกของ การมกี จิ กรรมทางกายทไี่ มเ่ พยี งพอในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี นึ้ ไปเพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 18.5 ในปี พ.ศ.2552 เปน็ รอ้ ยละ 19.2 ในปี พ.ศ.2557 (การสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย: NHES) 4) การบริโภคเกลอื และโซเดยี มในประชากร อายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี ้นึ ไป ยงั ไมม่ ีการรายงานผลการสำ� รวจครงั้ ใหม่ ในปี พ.ศ. 2557 ยงั คงใช้ผลการส�ำรวจ พ.ศ.2552 ท่ี 3,246 มก./วนั (NHES) 5) ความชกุ ของการสบู บุหรีใ่ นประชากรอายุตงั้ แต่ 15 ปขี นึ้ ไป ลดลงเลก็ น้อยจากรอ้ ยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2554 เป็นร้อยละ 20.7 ในปี พ.ศ.2557 และร้อยละ 19.1 ในปี พ.ศ. 2560 (การส�ำรวจพฤติกรรมสบู บหุ ร่ี และด่ืมสรุ า สำ� นกั งานสถติ ิ แหง่ ชาต)ิ 6) ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู ในประชากร อายุ 18 ปขี น้ึ ไป เพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ รอ้ ยละ 24.7 ในปี พ.ศ. 2557 (NHES) 7) ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรอายุตั้งแต่ 18 ปขี ้นึ ไป เพ่มิ ขึน้ จาก รอ้ ยละ 6.9 ในปี พ.ศ.2552 เปน็ รอ้ ยละ 8.9 ในปี พ.ศ.2557 และความชกุ ของภาวะอว้ นในประชากรอายตุ งั้ แต่ 18 ปี ขน้ึ ไป เพมิ่ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 34.7 ในปี พ.ศ.2552 เป็นร้อยละ 37.5 ในปี พ.ศ.2557 (NHES) ส่วนตัวช้ีวัดที่ 8 และ 9 ยังไม่มีผลการส�ำรวจอย่างเป็นทางการ แตด่ ้วยระบบการด�ำเนินงานด้านระบบบรกิ าร สาธารณสขุ ทคี่ รอบคลมุ รวมถงึ ระบบหลักประกนั สุขภาพทดี่ ี ประเทศไทยจึงนา่ จะบรรลเุ ป้าหมายทั้งสองขอ้ น้ไี ด้ รายงานสถานการณ์โรค NCDs XIII เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปัจจยั เส่ียงทีเ่ กย่ี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

สถานการณ์โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สูง และปัจจัยที่เก่ยี วข้องท่สี ำ� คัญตามกรอบ 5 มติ ิ ทบทวนจากฐานข้อมูลท่สี �ำคญั หลากหลายฐานในประเทศไทยในอดีตถงึ ปี พ.ศ.2562 ความชุกของผู้ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในปี พ.ศ.2557 เท่ากับร้อยละ 24.7 ซึ่งเพ่ิมข้ึนร้อยละ 15 เม่ือเทียบกับปี พ.ศ.2552 หรอื คดิ เปน็ จำ� นวนกวา่ 1.8 ลา้ นคน โดยเพศชายมคี วามชกุ และอบุ ตั กิ ารณส์ งู มากกวา่ เพศหญงิ ภายหลงั จากปี พ.ศ.2558 ความชุกของโรคเบาหวานในปี พ.ศ. 2557 เท่ากับร้อยละ 8.9 ซ่ึงเพ่ิมขึ้นร้อยละ 29 เมื่อเทียบกับปี พ.ศ. 2552 หรือคดิ เป็นจำ� นวนกวา่ 8.2 แสนคน โดยเพศหญงิ มีความชกุ และอุบัตกิ ารณ์สูงมากกว่าเพศชาย ภายหลังจากปี พ.ศ. 2558 ในปี พ.ศ.2561 ผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานในโรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ และสถานพยาบาลในพน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานคร สามารถควบคุมระดับน�้ำตาลในเลือดได้ร้อยละ 36.5 ซึ่งเป็นแนวโน้มท่ีเพิ่มข้ึนเล็กน้อย ผู้ป่วยภาวะความดันโลหิตสูง สามารถควบคมุ ระดบั ความดนั โลหิตไดร้ ้อยละ 49.8 ซึง่ เปน็ แนวโน้มที่เพ่ิมขึ้นเล็กน้อยเช่นกัน แผนยุทธศาสตร์ระดับชาติด้านโรคไม่ติดต่อและปัจจัยเส่ียงท่ีเก่ียวข้องในช่วง 5 ปีท่ีผ่านมาได้แก่ 1) แผนยุทธศาสตร์ สขุ ภาพวถิ ชี วี ติ ไทย พ.ศ. 2554-2563 2) แผนยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั ชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) 3) แผนยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การปญั หาภาวะนำ�้ หนกั เกนิ และภาวะอว้ น พ.ศ. 2553-2562 4) แผนยทุ ธศาสตรน์ โยบายแอลกอฮอล์ ระดับชาติ พ.ศ.2554-2563 5) แผนยุทธศาสตร์การควบคุมยาสูบแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ.2559–2562 6) ยุทธศาสตร์การ ลดการบริโภคเกลือ และโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2568 7) แผนการส่งเสรมิ กจิ กรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 ต้ังแต่ปี พ.ศ.2553 ถึงปี พ.ศ.2558 สถานการณ์ความชุกของปัจจัยเส่ียงในระดับประชากรท่ีลดลงได้แก่ การสูบบุหร ี่ การดื่มเครอื่ งดมื่ แอลกอฮอล์ และการกนิ ผักผลไม้ทไ่ี มเ่ พยี งพอ ปัจจัยเสีย่ งทีม่ แี นวโนม้ เพม่ิ ขึ้นได้แก่ ภาวะน�ำ้ หนักเกินและอ้วน ภาวะอ้วนลงพงุ และการมีกจิ กรรมทางกายไม่เพยี งพอ ความชุกของภาวะอ้วน (BMI ≥25 กิโลกรัมต่อตารางเมตร) ในประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน จากร้อยละ 34.7 ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ รอ้ ยละ 37.5 ในปี พ.ศ. 2557 ซงึ่ เปน็ การเพิ่มข้นึ ร้อยละ 8.1 ซงึ่ สะทอ้ นถงึ ความไม่สมดุล ของการบรโิ ภค และการมกี จิ กรรมทางกาย นอกจากนน้ั การบรโิ ภคอาหารทมี่ ากขนึ้ ยงั สะทอ้ นวา่ ประชาชนไมเ่ พยี งจะไดร้ บั นำ้� ตาล และไขมนั ในปริมาณทมี่ ากขน้ึ แล้ว ยงั อาจจะได้รับปริมาณเกลือโซเดยี มทเ่ี พ่ิมข้นึ ด้วยเช่นกนั ระหว่างปี พ.ศ. 2556–2560 คนไทยบริโภคไขมนั เฉลี่ย 45.6 กรัม/คน/วัน เดก็ อายุ 6-14 ปี มีแนวโนม้ ของการบรโิ ภค อาหารท่ีมีไขมันสูงลดลงจากร้อยละ12.0 เป็นร้อยละ 7.9 และภายหลังประกาศกระทรวงสาธารณสุขเมื่อเดือน มกราคม พ.ศ.2562 ปรมิ าณไขมนั ทรานสเ์ ฉลยี่ ของทกุ ผลติ ภณั ฑอ์ ยใู่ นชว่ ง 0.09-0.31 กรมั ตอ่ หนงึ่ หนว่ ยบรโิ ภค ซง่ึ ไมเ่ กนิ ปรมิ าณทอ่ี งคก์ ารอาหาร และการเกษตรแหง่ สหประชาชาติ (FAO) และองคก์ ารอนามยั โลก (WHO) แนะนำ� ใหบ้ รโิ ภคตอ่ วนั นอกจากนนั้ ปรมิ าณไขมนั ทรานส์ สูงสดุ ทีพ่ บในทุกผลติ ภัณฑ์มปี ริมาณลดลง ระหว่างปี พ.ศ. 2560–2562 การบริโภคน�ำ้ ตาลทรายมีปรมิ าณใกลเ้ คยี งกันทป่ี ริมาณ 2.5–2.6 ลา้ นตนั ตอ่ ปี และในปี พ.ศ. 2562 คนไทยด่มื เคร่อื งด่มื ทผ่ี สมน้ำ� ตาลเฉลยี่ 3 แกว้ (519.3 มลิ ลิลติ ร) ตอ่ วัน โดยผชู้ ายดม่ื มากกว่าผ้หู ญิง และพบว่า ในกลุ่มเด็กอายุ 6-14 ปี เป็นกลุ่มที่ด่ืมเครื่องดื่มท่ีผสมน้�ำตาลเฉลี่ยต่อสัปดาห์มากท่ีสุด มาตรการเพ่ิมการจัดเก็บภาษีน�้ำตาล ท�ำให้ธุรกิจเคร่ืองดื่มมีการปรับตัวโดยปรับสูตรเครื่องด่ืม แต่มาตรการภาษี ดังกล่าวน้ันไม่ครอบคลุมธุรกิจเคร่ืองด่ืมรายย่อย ซ่ึงยังมีปริมาณน้�ำตาลสูง เช่น ชานมไข่มุก ท่ีส่วนใหญ่มีปริมาณน้�ำตาลต่อแก้วเกิน 6 ช้อนชา และมีการเติบโตในตลาดสูงขึ้น โดยคนไทยดม่ื ชานมไขม่ กุ เฉลีย่ 6 แกว้ ต่อเดอื น XIV รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สูง และปจั จยั เสีย่ งท่ีเกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

ปี พ.ศ. 2552 พบวา่ ประชากรไทยรบั ประทานปรมิ าณเกลอื โซเดยี มมากถงึ 3,246 มลิ ลกิ รมั ตอ่ วนั ตอ่ คน สงู กวา่ เกณฑส์ ากล ทีก่ �ำหนด (2000 มก/วัน) อย่างไรก็ตามยงั ไม่มกี ารสำ� รวจต่อเน่ืองหลังจากปี พ.ศ. 2552 โดยระหวา่ งปี พ.ศ.2556–2560 การ บรโิ ภคขนมกรบุ กรอบ หรอื ขนมทานเลน่ และอาหารจานดว่ นมแี นวโนม้ ลดลง ในขณะทก่ี ารบรโิ ภคอาหารสำ� เรจ็ รปู มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ ปี พ.ศ. 2560 ความชุกของผู้ที่ด่ืมเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ในปัจจุบัน และผู้ท่ีด่ืมเป็นประจ�ำมีอัตราลดลงท้ังในเพศหญิง และชาย ท้ังในวัยผู้ใหญ่ และวัยรุ่น โดยความชุกในวัยผู้ใหญ่เท่ากับร้อยละ 28.4 ซึ่งลดลงจากในปี พ.ศ.2558 ร้อยละ 16.5 ความชุกในวัยรุน่ เท่ากับ ร้อยละ 13.6 ซงึ่ ลดลงจากในปี พ.ศ.2558 ร้อยละ 29.9 อยา่ งไรกต็ ามปรมิ าณการบริโภคแอลกอฮอล์ บรสิ ุทธต์ิ ่อหัวประชากรตอ่ ปีกลบั มแี นวโน้มเพ่ิมขึน้ ต่อเนอ่ื งเปน็ 7.3 ลติ ร/คน/ปี ในปี พ.ศ.2560 ปี พ.ศ. 2560 ความชุกของผู้สูบบุหร่ีในปัจจุบันเท่ากับร้อยละ 19.1 โดยในกลุ่มวัยรุ่น และเยาวชนท่ีเคยเป็นกลุ่มท่ีม ี แนวโน้มการสูบบุหรี่เพิ่มขึ้นในช่วงปี พ.ศ. 2544 ถึง พ.ศ. 2555 ก็กลับมามีแนวโน้มลดลง แต่อายุเฉล่ียของการเริ่มสูบบุหรี่ ครัง้ แรกกย็ ังคงท่ที อ่ี ายุประมาณ 17–18 ปี อย่างไรก็ตาม บหุ รีใ่ นรปู แบบใหม่ เชน่ บุหร่ไี ฟฟ้า เริม่ เป็นท่ีนยิ มมากขึ้นในหมู่วัยร่นุ และผใู้ หญ่ตอนต้น แตย่ งั ไม่ได้มกี ารสำ� รวจความชกุ ของการบริโภค อุบัติการณ์การเกิดโรคความดันโลหิตสูง และเบาหวานรายใหม่มีแนวโน้มลดลง โดยมีปัจจัยเชิงบวกด้านพฤติกรรม ในประชากรท่ดี ีขึน้ ทงั้ ในกลุ่มวยั ผ้ใู หญ่ และวยั ร่นุ คือ ความชุกของการสบู บุหรี่ การดมื่ เครอ่ื งดื่มแอลกอฮอลท์ ม่ี แี นวโน้มลดลง อย่างไรก็ตามปัจจัยเสี่ยงเชงิ ลบที่คุกคามสุขภาพคือการบรโิ ภคอาหารทีไ่ ม่สมดลุ และการมกี ิจกรรมทางกายทไ่ี ม่เพียงพอ อาจกลา่ วไดว้ า่ การลดลงของอบุ ตั กิ ารณเ์ บาหวาน และภาวะความดนั โลหติ สงู เปน็ ผลจากมาตรการการควบคมุ ปอ้ งกนั โรค และปัจจัยเส่ียงของภาวะความดันโลหิตสูงท่ีด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ถึงแม้ว่าในบางช่วงเวลาความชุกของ ปัจจัยเส่ียง มีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน แต่ทว่ายังคงเป็นการเปล่ียนแปลงในอัตราท่ีไม่มาก นอกจากนั้นอาจสะท้อนว่าควรเพ่ิมมาตรการ และ ความเข้มข้นในการด�ำเนินมาตรการเพ่ือปรับแนวโน้มให้เปล่ียนแปลงมากข้ึน โดยเฉพาะมาตรการด้านการควบคุมการบริโภค อาหารหวาน มนั และเคม็ นอกจากนนั้ ควรมกี ารสำ� รวจขอ้ มลู สถานการณก์ ารบรโิ ภคอาหาร และปรมิ าณโซเดยี มทบี่ รโิ ภคตอ่ วนั อยา่ งตอ่ เนือ่ ง รายงานสถานการณ์โรค NCDs XV เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปัจจยั เสี่ยงท่เี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

XVI รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง และปจั จยั เสี่ยงท่เี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

บ1ทท่ี สถานการณ์โรคไมต่ ดิ ต่อตาม 9 เป้าหมาย ระดบั โลกของประเทศไทย 1.1 สถานการณ์โรคไม่ติดตอ่ ระดับโลกและประเทศไทย 1.2 สถานการณ์โรคไม่ตดิ ตอ่ ตาม 9 เปา้ หมายระดบั โลก ของประเทศไทย จำ� แนกตามตัวชี้วดั เบอ้ื งตน้ 9 ตัวชว้ี ดั รายงานสถานการณ์โรค NCDs 1 เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปัจจยั เส่ียงทเ่ี กี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

1.1 สถานการณ์โรคไมต่ ิดตอ่ ระดับโลก และประเทศไทย กลมุ่ โรค NCDs (Noncommunicable diseases หรือโรคไมต่ ิดตอ่ ) เป็นปัญหาสขุ ภาพอนั ดับหนึ่งของโลกทงั้ ในมิติ ของจ�ำนวนการเสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากการรายงานข้อมูลขององค์การอนามัยโลก (WHO) พบประชากรทั่วโลก เสยี ชวี ติ จากโรค NCDs มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ จาก 38 ลา้ นคน (คดิ เปน็ รอ้ ยละ 68 ของสาเหตกุ ารเสยี ชวี ติ ทงั้ หมดของประชากรโลก) ในปี พ.ศ. 2555 เป็น 41 ล้านคน (คิดเป็นร้อยละ 71 ของสาเหตุการเสียชีวิตทั้งหมดของประชากรโลก) ในปี พ.ศ. 2559 โดยกลุม่ โรค NCDs ทพี่ บการเสียชวี ิตมากที่สดุ ไดแ้ ก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด (17.9 ล้านคน คิดเปน็ ร้อยละ 44) รองลงมาคือ โรคมะเร็ง (9.0 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 22) โรคทางเดินหายใจเรื้อรัง (3.8 ล้านคน คิดเป็นร้อยละ 9) และโรคเบาหวาน (1.6 ลา้ นคน คดิ เป็นร้อยละ 4) ซง่ึ ในแต่ละปพี บผ้เู สียชีวติ จากโรค NCDs ในกลุ่มอายุ 30-69 ปี หรอื เรียกวา่ “การเสยี ชวี ิต ก่อนวยั อันควร”มากถึง 15 ล้านคน โดยร้อยละ 85 เกิดขนึ้ ในกลุ่มประเทศท่มี ีรายได้ต่ำ� และกลมุ่ ประเทศทม่ี รี ายไดป้ านกลาง โดยปัญหาดงั กลา่ วก่อให้เกดิ ความสญู เสียปีสขุ ภาวะและสง่ ผลกระทบตอ่ การพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมอย่างรนุ แรง สำ� หรบั สถานการณโ์ รคไม่ติดตอ่ ในกลุ่มประเทศภมู ภิ าคเอเชยี ใต-้ ตะวันออก (SEARO) ปี พ.ศ. 2559 พบว่า ประเทศ อนิ โดนีเซยี มอี ัตราการเสยี ชวี ติ สงู สุดเทา่ กับ 764 ต่อประชากรแสนคน ส�ำหรับประเทศไทย มอี ตั ราการเสียชวี ติ ตำ�่ สดุ เทา่ กบั 427.4 ตอ่ ประชากรแสนคน หากพจิ ารณารายเพศ พบวา่ เพศชายมอี ตั ราการเสยี ชวี ติ สงู กวา่ เพศหญงิ ทกุ ประเทศ ยกเวน้ ประเทศ ภูฏานท่ีพบเพศญิงมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่าเพศชายเล็กน้อย เมื่อเปรียบเทียบรายประเทศกับเพศ จะเห็นได้ว่า ประเทศ เกาหลเี หนอื พบอตั ราการเสยี ชวี ติ ในเพศชายสงู กวา่ ทกุ ประเทศเทา่ กบั 954.6 ตอ่ ประชากรแสนคน ในขณะทปี่ ระเทศเมยี นมาร์ พบอัตราการเสียชีวิตในเพศหญิงสูงกว่าทุกประเทศเท่ากับ 691.6 ส�ำหรับประเทศไทย พบเพศชายมีอัตราการเสียชีวิตสูงกว่า เพศหญิงเท่ากับ 521.5 และ 348.2 ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดับ(2) (ดงั แผนภูมทิ ่ี 1) แผนภู มทิ ่ี 1 : อัตราการเสยี ชีวิตปรบั มาตรฐานอายุ (Age-standardized death-rate) ด้วยโรคไม่ตดิ ต่อ ตอ่ ประชากรแสนคน ในกลุ่มประเทศภูมิภาคเอเชียใต-้ ตะวันออก (SEARO) ปี พ.ศ. 2559 จ�ำแนกรายประเทศ และเพศ ท่ีมา : World Health Organization. Noncommunicable diseases 2018. ส�ำหรับสถานการณ์ในประเทศไทยนั้น กลุ่มโรคไม่ติดต่อยังคงเป็นปัญหาสุขภาพอันดับหน่ึงของประเทศทั้งในมิติ ของจ�ำนวนการเสียชีวิต และภาระโรคโดยรวม ซ่ึงเป็นไปในทิศทางเดียวกันกับสถานการณ์ระดับโลก จากการรายงานข้อมูล ของกองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2561 พบอัตราการเสียชีวิต อย่างหยาบอันมีสาเหตุมาจาก โรคไม่ติดต่อที่ส�ำคัญ มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นในประชากรไทย โดยในปี พ.ศ. 2561 โรคไม่ติดต่อ ท่เี ปน็ สาเหตุการตาย 3 อนั ดบั แรกไดแ้ ก่ โรคมะเรง็ รวมทุกประเภท รองลงมาคือ โรคหลอดเลือดสมอง และโรคหัวใจขาดเลอื ด คดิ เป็นอัตราการเสียชวี ิตเท่ากบั 123.3 47.1 และ 31.8 ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดบั (3) (ดงั แผนภมู ทิ ี่ 2) 2 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปจั จยั เสี่ยงทเี่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

แผนภูมิท่ี 2 : อัตราการเสียชวี ติ อยา่ งหยาบจากโรคไม่ตดิ ต่อทส่ี ำ� คัญต่อประชากรแสนคน ปี พ.ศ. 2557-2561 ทม่ี า : ขอ้ มลู มรณบตั ร กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 28 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2561 เมื่อพจิ ารณาการตายจำ� แนกตามรายโรคของประชากรไทยทุกอายใุ น พ.ศ. 2557 ใน 10 อนั ดบั แรก พบวา่ 5 อนั ดับ แรกสว่ นใหญม่ สี าเหตกุ ารตายจากกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ กลา่ วคอื เพศชายมกี ารตายจากโรคหลอดเลอื ดสมองมากทส่ี ดุ รอ้ ยละ 11.1 ของการตายทั้งหมดในเพศชาย รองลงมาอีก 4 อันดับ คือ โรคหัวใจขาดเลือด ร้อยละ 7.8 อุบัติเหตุทางถนน ร้อยละ 7.4 โรคมะเร็งตับ ร้อยละ 6.5 และโรคปอดอุดก้ันเรื้อรังรอ้ ยละ 6.0 ตามลำ� ดบั สว่ นในเพศหญิงมีการตายจากโรคหลอดเลอื ดสมอง มากทสี่ ดุ รอ้ ยละ 14.6 ของการตายทง้ั หมดในเพศหญงิ รองลงมาคอื โรคเบาหวาน และโรคหวั ใจขาดเลอื ด มสี ดั สว่ นเทา่ กนั รอ้ ยละ 8.8 ไตอกั เสบและไตพิการ (nephrisis and nephrosis) ร้อยละ 4.0 และโรคมะเรง็ ตับ ร้อยละ 3.7 ตามล�ำดับ เมื่อเปรยี บเทียบการ ตายจำ� แนกรายสาเหตรุ ะหวา่ งเพศ พบวา่ โรคหลอดเลอื ดสมองเปน็ สาเหตกุ ารตายอนั ดบั 1 ทงั้ ในเพศชายและเพศหญงิ (4) (ดงั ตารางที่ 1) ตารางท่ี 1 : 10 อนั ดบั การตายจำ� แนกรายสาเหตุของประชากรไทย พ.ศ. 2557 ล�ำดับ สาเหตุ ชาย หญงิ 1 โรคหลอดเลอื ดสมอง Deaths % % Deaths สาเหตุ (‘000) (‘000) 30 11.1 14.6 31 โรคหลอดเลอื ดสมอง 2 โรคหัวใจขาดเลอื ด 21 7.8 8.8 19 โรคเบาหวาน 3 อุบัตเิ หตุทางถนน 20 7.4 8.8 19 โรคหัวใจขาดเลอื ด 4 โรคมะเร็งตับ 18 6.5 4.0 8 โรคไตอักเสบและไตพิการ 5 โรคปอดอุดกัน้ เร้ือรัง 17 6.0 3.7 8 โรคมะเร็งตับ 6 โรคเบาหวาน 12 4.3 3.2 7 การติดเช้อื ทางเดินหายใจสว่ นล่าง 7 โรคมะเรง็ หลอดลมและปอด 11 4.1 2.8 6 โรคปอดอุดก้ันเร้อื รัง 8 ภาวะตบั แขง็ 11 4.1 2.7 6 โรคสมองเสอื่ ม 9 การติดเช้ือเอชไอว/ี เอดส์ 11 4.0 2.6 5 โรคมะเร็งหลอดลมและปอด 10 การติดเชื้อทางเดินหายใจสว่ นลา่ ง 8 2.9 2.5 5 การตดิ เช้อื เอชไอว/ี เอดส์ ที่มา : รายงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ของประชากร พ.ศ. 2557 เรียบเรียงโดย: สำ� นกั วจิ ยั นโยบายสร้างเสริมสขุ ภาพ ส�ำนกั งานพฒั นานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ (IHPP) รายงานสถานการณ์โรค NCDs 3 เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปจั จยั เสี่ยงท่เี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

สำ� หรบั อนั ดบั การสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะของประชากรไทย พ.ศ. 2557 ใน 10 อนั ดบั แรก พบวา่ 3 อนั ดบั แรกของการสญู เสยี ปีสุขภาวะด้วยโรคไม่ติดต่อนั้น พบสาเหตุการสูญเสียปีสุขภาวะในเพศชาย อันดับแรกคือ อันดับที่ 2 โรคหลอดเลือดสมอง ร้อยละ 6.6 รองลงมาคือ อันดับท่ี 4 โรคหัวใจขาดเลือด และอันดับท่ี 6 โรคมะเร็งตับ ส่วนสาเหตุการสูญเสียปีสุขภาวะ ในเพศหญงิ นนั้ อนั ดบั แรกคอื โรคเบาหวาน รอ้ ยละ 8.4 รองลงมาคอื อนั ดบั ที่ 2 โรคหลอดเลอื ดสมอง รอ้ ยละ 7.3 และอนั ดบั ที่ 3 โรคหัวใจขาดเลือด รอ้ ยละ 4.3(4) (ดงั ตารางที่ 2) ตารางท่ี 2 : 10 อันดบั การสญู เสียปีสภุ าวะของประชากรไทย พ.ศ. 2557 จ�ำแนกตามเพศ และสาเหตุ ล�ำดับ ชาย หญิง สาเหตุ DALYs % % DALYs สาเหตุ (‘000) (‘000) 1 อุบัตเิ หตทุ างถนน 873 10.1 8.4 531 โรคเบาหวาน 2 โรคหลอดเลือดสมอง 574 6.6 7.3 462 โรคหลอดเลอื ดสมอง 3 การตดิ เชอ้ื เอชไอว/ี เอดส์ 444 5.1 4.3 271 โรคหวั ใจขาดเลอื ด 4 โรคหัวใจขาดเลือด 425 4.9 3.9 244 โรคข้อเสอ่ื ม 5 การเสพติดเครอื่ งด่ืมทม่ี แี อลกอฮอล์ 388 4.5 3.6 229 การติดเชอ้ื เอชไอว/ี เอดส์ 6 โรคมะเรง็ ตับ 383 4.4 3.6 225 อบุ ัติเหตทุ างถนน 7 โรคเบาหวาน 340 3.9 3.1 197 โรคสมองเส่ือม 8 ภาวะตบั แขง็ 312 3.6 2.5 160 โรคมะเรง็ ตบั 9 โรคปอดอุดกน้ั เรอื้ รงั 290 3.4 2.2 137 โรคไตอกั เสบและไตพกิ าร 10 โรคมะเรง็ หลอดลมและปอด 197 2.3 2.0 128 โรคมะเร็งเต้านม ที่มา : รายงานภาระโรคและการบาดเจบ็ ของประชากร พ.ศ. 2557 เรยี บเรียงโดย: ส�ำนักวจิ ยั นโยบายสร้างเสรมิ สุขภาพ สำ� นกั งานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ (IHPP) จากสถานการณข์ า้ งตน้ จะเหน็ ไดว้ า่ กลมุ่ โรค ไมต่ ดิ ตอ่ ยงั เปน็ ปญั หาสขุ ภาพอนั ดบั หนง่ึ ของประเทศไทย ทมี่ จี ำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ เพมิ่ ขน้ึ และมแี นวโนม้ ทวคี วามรนุ แรงมากขน้ึ สง่ ผลใหเ้ กดิ ความสญู เสยี ปสี ขุ ภาวะและสง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ เศรษฐกจิ และสงั คม ส�ำหรับการด�ำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับโลกน้ัน ได้เริ่มต้นชัดเจนอย่างเป็นทางการในปี พ.ศ. 2543 เม่ือยุทธศาสตรโ์ ลกเพ่อื ป้องกนั และควบคมุ โรค ไม่ติดตอ่ ไดถ้ ูกรับรองจากที่ประชุมสมัชชาอนามยั โลกคร้ังท่ี 53 ซง่ึ มกี ารกำ� หนด ขอบเขตการจดั การปญั หา โดยเน้นไปที่กลุ่มโรคไมต่ ดิ ตอ่ หลัก 4 โรค 4 การเปล่ยี นแปลงทางสรรี วิทยา และ 4 ปจั จัยเสย่ี งหลัก หรอื ทเ่ี รียกวา่ “4x4x4 model” คือ 4 โรคหลัก ไดแ้ ก่ 1) โรคหวั ใจและหลอดเลือด 2) โรคเบาหวาน 3) โรคมะเร็ง 4) โรคทาง เดนิ หายใจเรอ้ื รงั ซง่ึ เกดิ จากการเปลย่ี นแปลงทางสรรี วทิ ยาสำ� คญั 4 ปจั จยั คอื 1) ภาวะไขมนั ในเลอื ดสงู 2) ภาวะความดนั โลหติ สงู 3) ภาวะน�้ำตาลในเลือดสูง 4) ภาวะน้�ำหนักเกินและอ้วนซึ่งการเปล่ียนแปลงต่างๆ นั้นเกิดจากการมีพฤติกรรมทางสุขภาพ ที่ไม่เหมาะสม โดยปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมร่วมที่ส�ำคัญประกอบด้วย 1) การบริโภคยาสูบ 2) การด่ืมเคร่ืองดื่มแอลกอฮอล ์ 3) การบรโิ ภคอาหารที่ไม่เหมาะสม 4) การมีกจิ กรรมทางกายไม่เพียงพอ ซงึ่ ภายหลงั ในปี พ.ศ. 2560 ประชาคมสขุ ภาพโลก ได้มีความตระหนักในผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมและสุขภาพจิต จึงได้เพ่ิมขอบเขตการจัดการปัญหาโรคไม่ติดต่อ จากเดิม “4x4” คือ 4 กลุ่มโรค 4 ปัจจัยเสี่ยงหลัก เป็น “5x5” คือ 5 กลุ่มโรค 5 ปัจจัยเส่ียงหลัก โดยได้เพิ่มประเด็นด้านมลพิษ ทางอากาศ และปัญหาสุขภาพจิต(5) ดงั แสดงในตารางที่ 3 4 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปจั จยั เสีย่ งทีเ่ กยี่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตารางที่ 3 : 5 พฤติกรรมเสีย่ ง 4 การเปลี่ยนแปลง และ 5 กลุ่มโรค 5 พฤติกรรมเสีย่ ง 4 การเปลีย่ นแปลงทางสรรี วิทยา 5 กลุ่มโรค 1. การบริโภคยาสบู 1. ไขมันในเลอื ดสูง 1. หวั ใจและหลอดเลอื ด 2. การดื่มเครอ่ื งดื่มแอลกอฮอล์ 2. ความดันโลหิตสงู 2. เบาหวาน 3. การบรโิ ภคอาหารทีไ่ ม่เหมาะสม 3. นำ้� ตาลในเลือดสูง 3. มะเรง็ 4. กิจกรรมทางกายไมเ่ พียงพอ 4. นำ�้ หนักเกนิ และโรคอว้ น 4. ทางเดินหายใจเรอ้ื รงั 5. มลพิษทางอากาศ 5. ปัญหาสขุ ภาพจิต ตอ่ มาในเดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2556 ทป่ี ระชมุ สมชั ชาอนามัยโลก ครงั้ ท่ี 66 มีมตริ ับกรอบการตดิ ตาม การด�ำเนนิ การ ควบคมุ ปอ้ งกนั โรคไมต่ ดิ ตอ่ หรอื Comprehensive Global Monitoring Framework (GMF) ภายใตก้ ารมสี ว่ นรว่ มของประเทศสมาชกิ องคก์ รภายใตอ้ งคก์ ารสหประชาชาติ องคก์ รเพอ่ื การพฒั นาระหวา่ งประเทศ และองคก์ รพฒั นาเอกชน เพอื่ นำ� ไปใชต้ ดิ ตามแนวโนม้ และประเมินความก้าวหน้าในการด�ำเนินการหลังจากการน�ำแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคุม โรคไม่ติดต่อระดับโลก และแผนปฏบิ ตั กิ ารไปปฏบิ ตั ใิ ช้ ทง้ั ในระดบั ประเทศ ระดบั ภมู ภิ าค และระดบั โลก โดยกรอบดงั กลา่ วประกอบไปดว้ ย 9 เปา้ หมาย ระดับโลก และ25 ตวั ชีว้ ดั ระดบั โลก ซง่ึ แบง่ ตามปัจจยั หลัก 3 กลุม่ ไดแ้ ก่ 1) เป้าหมายด้านอตั ราตายและอัตราป่วย 2) เป้าหมาย ด้านปจั จยั เสี่ยงหลกั ทง้ั ปจั จัยเสี่ยงทางพฤติกรรม และปัจจยั เสย่ี งทางชวี วทิ ยา และ 3) เปา้ หมายด้านระบบบรกิ ารระดับชาติ โดยเปา้ หมายระดบั โลกทงั้ 9 รายการนน้ั ถกู พฒั นาขนึ้ เพอื่ กระตนุ้ สนบั สนนุ และสรา้ งแรงจงู ใจใหป้ ระเทศสมาชกิ ใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการตั้งเปา้ หมายในการด�ำเนินการ โดยวัดความสำ� เร็จในการป้องกันและควบคมุ โรคไมต่ ิดต่อในปี พ.ศ. 2568 โดยเทยี บกับ ขอ้ มูลอ้างอิงพนื้ ฐานในปี พ.ศ. 2553(5) ดงั รายละเอยี ด ในตารางท่ี 4 ตารางที่ 4 : รายการ 9 เปา้ หมายและตวั ชี้วดั ระดับโลกในการป้องกนั และควบคุมโรคไม่ติดต่อ ภายใน พ.ศ. 2568 รายการข้อมลู รายการข้อมลู 25 ตวั ชวี้ ดั (Indicators) อัตราตายและอตั ราปว่ ย (Mortality and morbidity) การเสียชวี ติ กอ่ นวยั อันควรจาก 1. อตั ราตายดว้ ยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด 1. ความน่าจะเปน็ ในการตายของ โรคไม่ตดิ ตอ่ (Premature mortality โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน (และ/หรอื ) ประชากรอายรุ ะหว่าง 30 – 70 ปี from NCDs cause) โรคปอดเร้อื รัง ของประชากรอายุ จากสาเหตขุ องโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ระหวา่ ง 30 – 70 ปี ลดลงร้อยละ 25 โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน และโรคปอดเรอื้ รงั ตวั ช้ีวัดเพิ่มเตมิ 2. อุบัติการณข์ องโรคมะเร็งแตล่ ะ ประเภทตอ่ ประชากร 100,000 คน รายงานสถานการณ์โรค NCDs 5 เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปจั จัยเส่ยี งท่เี ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

ตารางท่ี 4 : รายการ 9 เปา้ หมายและตวั ชี้วดั ระดบั โลกในการป้องกนั และควบคุมโรคไม่ติดต่อ ภายใน พ.ศ. 2568 (ตอ่ ) รายการขอ้ มูล รายการขอ้ มลู 25 ตัวช้ีวดั (Indicators) ปัจจัยเส่ยี ง พฤตกิ รรมเสยี่ ง (Behavioural risk factors) ปัญหาจากการดื่มแอลกอฮอล์ 2. ลดปญั หาจากการดมื่ แอลกอฮอล์ 3. ปรมิ าณการบรโิ ภคแอลกอฮอล์ (Harmful use of alcohol) ลงร้อยละ 10 (รวมแอลกอฮอล์ในระบบภาษแี ละ (หมายเหตุ: ประเทศเลือกเป้าหมาย หมายเหตุ: ตามยทุ ธศาสตรก์ ารจัดการ นอกระบบภาษี) ต่อหวั ประชากรต่อปี จากตวั ชว้ี ัดตามความเหมาะสมของ ปญั หาแอลกอฮอลร์ ะดบั โลก ไดใ้ ห้ ของประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปขี ึ้นไป บริบทประเทศ) คำ� นยิ าม ปัญหาจากการด่มื แอลกอฮอล์ (หน่วยลิตรของแอลกอฮอล์บริสทุ ธิ)์ (Harmful use of alcohol) ที่มคี วามหมายกว้างครอบคลมุ ถงึ 4. ความชุกของการดืม่ แอลกอฮอล์ การด่มื ท่กี ่อปัญหาต่อทั้งปัญหาสุขภาพ อยา่ งหนกั ในประชากรวยั รนุ่ และวยั ผใู้ หญ่ และปญั หาทางสังคม ทม่ี ตี ่อผู้ดม่ื 5. อัตราการตายและอตั ราการปว่ ย คนรอบข้าง และสังคมในวงกว้าง ของประชากรวัยรุ่นและวัยผูใ้ หญ่ รวมทงั้ รปู แบบการดม่ื ตา่ งๆ ทีส่ ัมพนั ธ์ ทเ่ี กดิ จากการดม่ื แอลกอฮอล์ กับการเพม่ิ ระดบั ความเสย่ี งทจี่ ะ กอ่ ให้เกดิ ปญั หาตอ่ สขุ ภาพ การมกี ิจกรรมทางกายทไี่ มเ่ พยี งพอ 3. ความชกุ ของการมกี ิจกรรมทางกาย 6. ความชุกของการมกี จิ กรรมทางกาย ท่ีไมเ่ พียงพอ* ลดลงรอ้ ยละ 10 ไม่เพยี งพอในประชากรวัยรุ่น (*หมายถึง การมกี ิจกรรมทางกาย (หมายถงึ การมกี จิ กรรมทางกายระดับ ระดับปานกลางนอ้ ยกว่าหรอื เท่ากับ ปานกลางถงึ ระดับมาก 150 นาทตี ่อสัปดาห)์ น้อยกวา่ 60 นาทตี อ่ สัปดาห์ 7. ความชกุ ของการมีกจิ กรรมทางกาย ไมเ่ พยี งพอในประชากรอายตุ งั้ แต่ 18 ปขี น้ึ ไป การบรโิ ภคเกลือ/โซเดยี ม 4. ค่าเฉลย่ี ปรมิ าณการบรโิ ภคเกลอื / 8. ค่าเฉลยี่ ปริมาณการบริโภคเกลอื โซเดียมในประชากร ลดลงร้อยละ 30* (โซเดียมคลอไรด)์ คิดเป็นกรมั ต่อวนั (*ตามคำ� แนะนำ� ขององค์การอนามยั ของประชากรที่มอี ายุต้งั แต่ 18 ปขี ้ึนไป โลกคือ น้อยกวา่ 5 กรัมของเกลือ หรอื 2 กรมั ของโซเดียมตอ่ วัน) การบริโภคยาสูบ 5. ความชกุ ของการบริโภคยาสูบใน 9. ความชุกของการสูบบหุ รีข่ อง ประชากรทอ่ี ายุมากกว่า 15 ปีข้ึนไป ประชากรวัยรนุ่ ลดลงรอ้ ยละ 30 10. ความชุกของการสูบบุหรขี่ อง ประชากรอายตุ ้ังแต่ 18 ปขี ึน้ ไป 6 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สูง และปจั จัยเสี่ยงทเี่ กี่ยวขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตารางที่ 4 : รายการ 9 เป้าหมายและตัวช้ีวัดระดับโลกในการปอ้ งกนั และควบคุมโรคไม่ติดตอ่ ภายใน พ.ศ. 2568 (ตอ่ ) รายการขอ้ มูล รายการขอ้ มูล 25 ตัวชวี้ ัด (Indicators) ปจั จยั เส่ยี งทางชีววิทยา (Biological risk factors) ความดนั โลหิตสงู 6. ความชกุ ของภาวะความดนั โลหติ สงู * 11. ความชกุ ของภาวะความดนั โลหติ สงู * ลดลงรอ้ ยละ 25 ในประชากรอายตุ ั้งแต่ 18 ปีขนึ้ ไป (*หมายถงึ ค่าความดันซิสโตลคิ (*หมายถงึ ความดนั ซิสโตลคิ (systolic blood pressure) >140 (systolic blood pressure) >140 มลิ ลิเมตรปรอท และ/หรือ คา่ ความดนั มิลลิเมตรปรอท และ/หรอื คา่ ความดนั ไดแอสโตลคิ (diastolic blood ไดแอสโตลคิ (diastolic blood pressure) >90 มิลลเิ มตรปรอท pressure) >90 มลิ ลเิ มตรปรอท) ในประชากรอายตุ ัง้ แต่ 18 ปขี ึน้ ไป) โรคเบาหวานและอ้วน 7. ความชกุ ของภาวะนำ�้ ตาลในเลอื ดสงู / 12. ความชกุ ของภาวะนำ้� ตาลในเลอื ดสงู / (หมายเหต:ุ ประเทศเลอื กเป้าหมาย โรคเบาหวาน*และโรคอ้วน** โรคเบาหวานในประชากร จากตัวชว้ี ัดตามความเหมาะสมของ ในประชากรอายุ 18 ปีข้นึ ไป ไม่เพม่ิ ขึ้น บริบทประเทศ) (*หมายถึง คา่ fasting plasma 13. ความชุกของภาวะน�้ำหนกั เกนิ glucose>7.0 mmol/L (126 mg/dl) และโรคอ้วนในประชากรวัยรนุ่ (ก�ำหนด หรอื ไดร้ บั ยาควบคมุ ระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด เกณฑ์โดย WHO Growth Reference) **หมายถึงภาวะนำ้� หนกั เกนิ คอื มีค่า 14. ความชกุ ของภาวะนำ้� หนักเกนิ และ ดัชนีมวลกายมากกวา่ 25 กิโลกรัม/ โรคอว้ นในประชากรอายตุ งั้ แต่ 18 ปขี นึ้ ไป ตารางเมตร และโรคอ้วน คอื มคี ่าดัชนี มวลกายมากกวา่ 30 กโิ ลกรมั /ตารางเมตร) ตวั ช้ีวดั เพ่ิมเตมิ 15. ค่าเฉลย่ี ของปริมาณพลงั งานท่ีไดร้ บั จากการบรโิ ภคกรดไขมันอิ่มตวั ของ ประชากรท่มี อี ายุตงั้ แต่ 18 ปขี น้ึ ไป (กรดไขมนั อม่ิ ตวั จำ� แนกตามลกั ษณะเฉพาะ ทางชวี วทิ ยาและการสง่ ผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพตามคำ� แนะนำ� ดา้ นโภชนาการ) 16. ความชกุ ของการบริโภคผักและ ผลไมใ้ นปรมิ าณน้อยกว่า 1 ใน 5 ส่วน หรือ 400 กรมั /วนั ของประชากรอายุ ต้ังแต่ 18 ปขี นึ้ ไป 17. ความชกุ ของภาวะระดบั คอเลสเตอรอล ในเลอื ดสงู และค่าเฉลีย่ ของระดบั คอเลสเตอรอลรวมในเลอื ด ของประชากรอายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี ้ึน ไป(หมายถึง ค่าคอเลสเตอรอลรวม (total cholesterol) >15.0 mmol/L หรอื 190 mg/dl) รายงานสถานการณ์โรค NCDs 7 เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปัจจัยเส่ียงทเ่ี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

ตารางท่ี 4 : รายการ 9 เป้าหมายและตวั ชว้ี ัดระดบั โลกในการป้องกนั และควบคุมโรคไมต่ ิดต่อ ภายใน พ.ศ. 2568 (ตอ่ ) รายการข้อมลู รายการข้อมูล 25 ตัวชี้วดั (Indicators) การจัดระบบบริการระดบั ชาติ (National response system) ยาเพ่ือปอ้ งกันโรคหัวใจวายเฉียบพลัน 8. ประชากรอายุ 40 ปีข้นึ ไป ท่มี ี 18. สดั สว่ นของประชากรอายตุ ้ังแต่ 40 และโรคหลอดเลอื ดสมอง ความเส่ียงตอ่ การเกดิ โรคหวั ใจ ปขี ้ึนไปท่มี คี า่ ร้อยละความเสย่ี งต่อการ และหลอดเลือด ไดร้ ับคำ� ปรึกษา เกดิ โรคหัวใจและหลอดเลอื ดใน 10 ปี เพื่อปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรมท่เี หมาะสม มากกว่าหรอื เทา่ กบั 30 รวมถงึ ผู้ป่วย และรบั ยาเม่อื มขี ้อบ่งชเ้ี พอื่ ป้องกันโรค โรคหลอดเลือดหวั ใจได้รับการรักษาด้วย หวั ใจและโรคหลอดเลือดสมอง ยาควบคุมระดบั น�ำ้ ตาลในเลอื ด (รวมถงึ ยาควบคมุ ระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด) และไดร้ บั ค�ำปรึกษาในการปรบั เปล่ยี น ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 50 (มีค่าความเสย่ี ง พฤตกิ รรมท่เี หมาะสมเพื่อป้องกัน ต่อการเกดิ โรคหัวใจและหลอดเลือด การเกดิ ภาวะหวั ใจวายเฉียบพลนั ในสบิ ปี หรอื 10-years และโรคหลอดเลือดสมอง cardiovascular risk >30) ยาทจ่ี ำ� เป็นและเทคโนโลยขี ้นั พน้ื ฐาน 9.การมยี าที่จำ� เปน็ และเทคโนโลยี 19. ความสามารถในการจดั หายา สำ� หรบั รักษา/บริการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ ข้นั พ้นื ฐานส�ำหรบั รักษา/บรกิ ารผ้ปู ่วย ท่ีจ�ำเปน็ ส�ำหรบั การรักษาโรคไม่ตดิ ต่อ ทส่ี ำ� คญั โรคไมต่ ดิ ตอ่ ท่ีสำ� คัญในสถานบรกิ ารรฐั อย่างมีคุณภาพ มีความปลอดภัย และ และเอกชนรอ้ ยละ 80 เกดิ ประสิทธผิ ล รวมถึงมีเทคโนโลยี ข้ันพ้นื ฐานในสถานพยาบาลของภาครัฐ และเอกชน ตวั ชีว้ ัดเพ่ิมเตมิ 20. การเขา้ ถงึ วธิ กี ารรักษาเพ่ือบรรเทา อาการปวดดว้ ย morphine-equivalent ในกลมุ่ ยา strong opioid analgesics (ยกเว้นยา methadone) ของประชากร ทเี่ สยี ชีวติ ดว้ ยโรคมะเร็ง 21. การประกาศใชน้ โยบายระดบั ประเทศ ในการควบคุมปรมิ าณกรดไขมันอิม่ ตัว ในอาหาร และหลกี เลี่ยงการใช้น้ำ� มนั ประเภท partially hydrogenated vegetable oils (PHVO) ในกระบวนการผลติ อาหาร 8 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปจั จัยเสี่ยงทีเ่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

ตารางที่ 4 : รายการ 9 เป้าหมายและตัวช้ีวดั ระดบั โลกในการปอ้ งกันและควบคมุ โรคไม่ตดิ ตอ่ ภายใน พ.ศ. 2568 (ต่อ) รายการขอ้ มลู รายการขอ้ มูล 25 ตวั ชวี้ ดั (Indicators) การจัดระบบบริการระดับชาติ (National response system) 22. ความสามารถในการจดั หาวคั ซีน ปอ้ งกนั มะเรง็ ปากมดลกู (HPV vaccines) ตัวชว้ี ัดเพิม่ เติม ในราคาทีเ่ หมาะสม ทงั้ นีข้ น้ึ อยกู่ บั การด�ำเนนิ การและนโยบายของประเทศ 23. การประกาศใช้นโยบายเพอื่ ลด ผลกระทบตอ่ เดก็ จากกลยทุ ธ์ทางการ ตลาดดา้ นอาหารและเครอื่ งดืม่ ทีไ่ มม่ ี แอลกอฮอล์ ทม่ี สี ว่ นผสมของไขมนั อมิ่ ตวั ไขมนั ทรานส์ สารใหค้ วามหวานแทนนำ้� ตาล และเกลอื ในปริมาณสูง 24. สดั สว่ นของประชากรหญิงทม่ี ีอายุ ระหวา่ ง 30-49 ปี ซง่ึ ไดร้ บั การตรวจ คดั กรองโรคมะเรง็ ปากมดลกู อย่างน้อย หนง่ึ ครงั้ รวมถงึ การไดร้ บั การตรวจคดั กรอง ในผ้หู ญงิ ทีม่ ีอายุนอกเหนือจากกลมุ่ อายุ ดงั กลา่ ว ทงั้ นขี้ นึ้ อย่กู บั การด�ำเนนิ การ และนโยบายของประเทศ 25. มกี ารฉีดวัคซนี ปอ้ งกนั โรคไวรสั ตบั อกั เสบบีอย่างครอบคลุม โดยประเมนิ จากการไดร้ บั วคั ซนี ครงั้ ที่ 3 ของเดก็ ทารก ประเทศไทยได้ตอบรับและน�ำเป้าหมายระดับโลกทั้ง 9 เป้าหมายมาก�ำหนดเป็นเป้าหมายในการป้องกันและควบคุม โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั ประเทศตามมตทิ ปี่ ระชมุ สมชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาตคิ รงั้ ท่ี 6 พ.ศ. 2557 ดงั รายละเอยี ดในตารางท่ี 5 ตารางท่ี 5 : รายละเอยี ดนยิ าม แหลง่ ขอ้ มลู ของ 9 เปา้ หมายของการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั โลกและตวั ชวี้ ดั เบอื้ งตน้ 9 ตวั ชี้วัด ท่ใี ช้ส�ำหรบั ประเทศไทย รายการขอ้ มลู ตัวชีว้ ัด/เป้าหมาย แหลง่ ข้อมูล การเสยี ชีวิตจากโรคไม่ติดตอ่ อัตราตายด้วยโรคหวั ใจและหลอดเลือด แหล่งขอ้ มูล: ข้อมูลทะเบยี นการตาย 1. การเสียชวี ิตก่อนวยั อันควร โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และ (Death registration) ของสำ� นักบริหาร จากโรคไมต่ ดิ ต่อ (Premature โรคปอดเรื้อรงั้ ในประชากรอายุ การทะเบยี น และโดยส�ำนกั นโยบายและ mortality from NCDs) ระหวา่ ง 30-70 ปี ลดลงรอ้ ยละ 25 ยทุ ธศาสตร์ ผู้รับผดิ ชอบ: ส�ำนกั นโยบายและ ยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข รายงานสถานการณ์โรค NCDs 9 เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปัจจัยเสย่ี งทเ่ี กยี่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตารางท่ี 5 : รายละเอยี ดนยิ าม แหลง่ ขอ้ มลู ของ 9 เปา้ หมายของการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั โลกและตวั ชวี้ ดั เบอื้ งตน้ 9 ตวั ช้วี ัด ท่ใี ชส้ ำ� หรับประเทศไทย (ตอ่ ) รายการข้อมลู ตัวชว้ี ดั /เปา้ หมาย แหลง่ ข้อมลู ปจั จยั เส่ียงด้านพฤตกิ รรมสขุ ภาพ 2. ปัญหาจากการดมื่ แอลกอฮอล์ ปริมาณการบรโิ ภคแอลกอฮอล์ แหลง่ ข้อมลู : ค�ำนวณจาก (Harmful use of alcohol ) ต่อหัวประชากรตอ่ ปี* ในประชากร (1) ขอ้ มลู ปรมิ าณจ�ำหนา่ ย อายุต้งั แต่ 15 ปีขึน้ ไป ลดลงรอ้ ยละ 10 ปริมาณผลติ สรุ าพนื้ เมือง และปรมิ าณ 3.การมกี ิจกรรมทางกาย (*หนว่ ยเปน็ ลติ รของแอลกอฮอลบ์ รสิ ทุ ธ)์ิ น�ำเขา้ เคร่อื งดมื่ แอลกอฮอล์ ไม่เพยี งพอ (Physical inactivity) (กรมสรรพสามิต) และ (2) ข้อมูล ประชากรกลางปี (อายุ 15 ปขี ้นึ ไป) 4.การบรโิ ภคเกลอื และโซเดียม ของส�ำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (Salt/sodium intake) กระทรวงสาธารณสขุ 5.การบรโิ ภคยาสูบ (Tobacco use) ความชุกของการมกี จิ กรรมทางกาย แหล่งขอ้ มลู : การสำ� รวจสุขภาพ ปัจจยั เสย่ี งทางชวี วทิ ยา ทไี่ มเ่ พียงพอในประชากรอายุต้งั แต่ ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย 6. ความดนั โลหิตสงู 18 ปีขนึ้ ไป * ลดลงรอ้ ยละ 10 (Raise blood pressure) (*หมายถงึ การมีกิจกรรมทาง กายระดบั ปานกลางนอ้ ยกว่าหรือ เทา่ กบั 150 นาทีต่อสัปดาห์) การบรโิ ภคเกลือและโซเดียมใน แหลง่ ขอ้ มลู : การส�ำรวจสุขภาพ ประชากรอายตุ ้ังแต่ 18 ปีข้นึ ไป ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ลดลงรอ้ ยละ 30* (*ตามคำ� แนะนำ� ขององคก์ ารอนามยั โลก คอื นอ้ ยกวา่ 5 กรมั ของเกลอื หรอื 2 กรมั ของโซเดียมตอ่ วนั ) ความชุกของการสูบบหุ ร่ใี นประชากร แหล่งข้อมลู : การส�ำรวจพฤติกรรมการ อายุตงั้ แต่ 15 ปีขนึ้ ไป ลดลงรอ้ ยละ 30 สบู บุหรแี่ ละการด่มื สรุ าของประชากร ส�ำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ ความชกุ ของโรคความดนั โลหิตสูง* แหลง่ ข้อมูล: การส�ำรวจสขุ ภาพ ในประชากรอายุ 18 ปี ขึ้นไป ลดลง ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย รอ้ ยละ 25 (*หมายถึง ความชุกของภาวะ ความดนั โลหติ สงู ในประชากรอายุ 18 ปี ขน้ึ ไป ทมี่ คี า่ คา่ ความดนั ซสิ โตลิค (systolic blood pressure) ≥ 140 มิลลิเมตรปรอท และ/หรือ คา่ ความดันไดแอสโตลคิ (diastolic blood pressure) ≥ 90 มลิ ลเิ มตรปรอท และผู้ปว่ ยความดันโลหิตสูง) 10 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปจั จัยเสี่ยงท่ีเกย่ี วข้อง พ.ศ. 2562

ตารางท่ี 5 : รายละเอยี ดนยิ าม แหลง่ ขอ้ มลู ของ 9 เปา้ หมายของการปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั โลกและตวั ชว้ี ดั เบอื้ งตน้ 9 ตวั ชวี้ ดั ทใ่ี ช้สำ� หรบั ประเทศไทย (ต่อ) รายการขอ้ มูล ตัวช้ีวดั /เปา้ หมาย แหลง่ ข้อมูล 7. โรคเบาหวานและภาวะโรคอว้ น ความชกุ ของโรคเบาหวาน* และโรคอว้ น** แหลง่ ขอ้ มลู : การสำ� รวจสขุ ภาพ (Diabetes and obesity) ในประชากรอายตุ ้งั แต่ 18 ปขี ึ้นไป ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ไมเ่ พมิ่ ขน้ึ (*หมายถงึ ความชุกของภาวะความ น้�ำตาลในเลอื ดสูงในประชากรอายุ 18 ปี ข้นึ ไป ท่มี ีคา่ fasting plasma glucose ≥ 7 mmol/L (126 mg/dl หรอื ผู้ปว่ ยเบาหวาน **ภาวะน้�ำหนักเกิน คอื มคี ่าดัชนีมวล กายมากกว่า 25 kg/m2 และโรคอว้ น คอื มคี า่ ดชั นมี วลกายมากกวา่ 30 kg/m2) การจดั การระบบบรกิ ารสขุ ภาพ 8. การไดร้ ับยาเพือ่ ปอ้ งกัน ประชากรอายุ 40 ปขี นึ้ ไป ทม่ี คี วามเสย่ี ง แหลง่ ข้อมูล: การส�ำรวจสขุ ภาพ (โรคหัวใจ/ภาวะหวั ใจวายเฉยี บพลนั ) ตอ่ การเกิดโรคหัวใจและหลอดเลอื ด ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย และโรคหลอดเลอื ดสมอง (อัมพฤกษ์ ไดร้ บั คำ� ปรกึ ษา เพอื่ ปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรม อัมพาต) (Drug therapy to Prevent และได้รบั ยาทเ่ี หมาะสมเพอื่ ปอ้ งกนั heart Attacks and Strokes) โรคหวั ใจและโรคหลอดเลือดสมอง (อมั พฤกษ์ อมั พาต) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 (มคี า่ ความเส่ียงตอ่ การเกิดโรคหวั ใจ และหลอดเลอื ด ภายใน 10-year cardiovascular risk มากกวา่ หรือ เทา่ กบั ร้อยละ 30) 9.ยาที่จำ� เปน็ สำ� หรับการรกั ษาโรค การมียาทีจ่ �ำเปน็ และเทคโนโลยี แหล่งขอ้ มูล: การสำ� รวจโดยองคก์ าร อนามยั โลก SARA (Service ไม่ตดิ ต่อ รวมถึงมเี ทคโนโลยขี ้นั พืน้ ฐาน ขน้ั พืน้ ฐานสำ� หรบั รักษา/บรกิ ารผปู้ ว่ ย Availability and Readiness Assessment) (Essential NCD medicines โรคไม่ตดิ ตอ่ ในสถานบรกิ ารระดบั and basic technologies to ปฐมภูมทิ ้งั รัฐและเอกชน รอ้ ยละ 80 treat major NCDs) รายงานสถานการณ์โรค NCDs 11 เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปจั จัยเส่ยี งท่เี กย่ี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

1.2 สถานการณ์โรคไม่ติดตอ่ ตาม 9 เปา้ หมายระดับโลก ของประเทศไทย จำ� แนกตามตวั ชว้ี ดั เบอ้ื งตน้ 9 ตวั ชว้ี ดั ประเทศไทยไดม้ กี ารขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ผา่ นแผนปฏบิ ตั กิ ารตา่ งๆ ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากการ มีแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ระดับชาติท่ีมีการด�ำเนินงานท้ังในภาพรวมของโรคไม่ติดต่อและ ปจั จยั เสยี่ งเฉพาะรว่ มกบั การมแี ผนยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ระดบั ชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564) สอดคลอ้ ง ภายใต้กรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปีด้านการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน รวมท้ังการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ การบริหารจัดการภาครฐั และแผนยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) จากความร่วมมือของภาคีเครือขา่ ย นอกจาก นยี้ งั มยี ทุ ธศาสตรท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ปจั จยั เสยี่ งเฉพาะอกี ไดแ้ ก่ แผนยทุ ธศาสตรก์ ารควบคมุ ยาสบู แหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 2 พ.ศ.2559–2562, แผนยุทธศาสตร์นโยบายแอลกอฮอล์ ระดับชาติ พ.ศ.2554-2563, แผนยุทธศาสตร์การจัดการปัญหาภาวะน้�ำหนักเกินและ ภาวะอ้วน พ.ศ.2553-2562, ยุทธศาสตร์การลดโซเดียมในประเทศไทย พ.ศ. 2559-2568 และแผนส่งเสริมกิจกรรมทางกาย พ.ศ. 2561-2573 นอกจากนนั้ ยงั มหี นว่ ยงานภาครฐั ทเ่ี กยี่ วขอ้ งทง้ั ภายในกระทรวงสาธารณสขุ และภายนอกกระทรวงสาธารณสขุ รว่ มกนั ดำ� เนนิ การศึกษาในรปู แบบของการส�ำรวจขอ้ มูลดา้ นสุขภาพของประชากรไทย เพือ่ ทราบสถานการณก์ ารปว่ ย การตาย และปจั จยั เสยี่ งทเ่ี กีย่ วข้องกบั โรคไม่ติดตอ่ ตลอดจนตอบสนองต่อเป้าหมายในการป้องกันควบคมุ โรคไมต่ ดิ ต่อตาม 9 เปา้ หมาย ระดับโลกของประเทศไทย และเม่ือพิจารณาจากผลการศึกษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย (Thai BOD), ผลการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (NHES), ผลการศึกษาจากเครือข่ายกลุ่มวิจัยสถาบันแพทยศาสตร์ แห่งประเทศไทย (MedResNet), ผลการสำ� รวจพฤตกิ รรมสูบบหุ รแี่ ละดื่มสรุ า สำ� นกั งานสถิตแิ ห่งชาติ และผลการสำ� รวจการ บริโภคเกลอื แกงของกรมอนามยั พบความก้าวหน้าตามเปา้ หมาย เพื่อบรรลุตามเกณฑ์ทก่ี �ำหนดไว(้ 6) ดังแสดงในตารางที่ 6 ตารางท่ี 6 : สถานการณ์ตาม 9 เปา้ หมายระดับโลกของประเทศไทย (Situation of 9 Global Targets in thailand) รายการ ปี ผลการส�ำรวจ เปร้อลยยี่ ลนะแกปาลรง เป้าหมาย ลดลง 7.84% ลดลง 25% 1. การเสียชีวิตก่อนวยั อันควร 15.30% เพิม่ 10% 15.10% 1.1 ความนา่ จะเป็นของการเสยี ชวี ิตทอี่ ายุ 30 ปีถงึ 70 ปี จาก 2550 14.10% โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคปอดเร้ือรัง, โรคเบาหวาน 2553 343.06 ต่อแสน และโรคมะเร็ง 355.30 ต่อแสน 2557 ที่มา: Thai BOD, IHPP 1.2 อตั ราตายกอ่ นวยั อนั ควร (อายุ 30 - 70 ป)ี จากโรคหวั ใจและ 2553 หลอดเลอื ด โรคปอดเรื้อรัง, โรคเบาหวาน และโรคมะเรง็ 2556 ทีม่ า: Thai BOD, IHPP 12 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปจั จยั เส่ียงท่เี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

ตารางท่ี 6 : สถานการณต์ าม 9 เปา้ หมายระดับโลกของประเทศไทย (Situation of 9 Global Targets in thailand) (ต่อ) รายการ ปี ผลการสำ� รวจ ร้อยละการ เปา้ หมาย เปลีย่ นแปลง 2. การบริโภคสรุ าท่เี ปน็ อันตรายต่อสุขภาพ 2.1 ความชุกของผ้ดู ่ืมหนักในประชากรอายุ 15 ปขี ้ึนไป 2552 13.95% ในรอบ 12 เดอื นท่ผี า่ นมา 2557 11.90% ลดลง 14.69% ทม่ี า: ผลการสำ� รวจพฤติกรรมสบู บุหร่ีและด่ืมสรุ า ส�ำนกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ 2.2 ปริมาณแอลกอฮอลบ์ ริสุทธ์ติ ่อหวั ประชากร 2554 7.13 ลติ ร ลดลง 10% ทม่ี า: กรมสรรพสามิต กระทรวงการคลัง 2557 6.91 ลติ ร 2558 6.95 ลติ ร ไม่ลดลง 2559 7.11 ลติ ร 3. ความชกุ ของการมีกจิ กรรมทางกายไมเ่ พยี งพอ 2552 18.40% เพม่ิ 3.8% ลดลง 10% ทม่ี า: ผลการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 2557 19.20% 4. คา่ เฉล่ยี ปรมิ าณการบรโิ ภคเกลอื และโซเดยี ม 2552 3,246 มก./วนั (ไม่มคี า่ ลดลง 30% ของประชาชนไทย 2557 ไม่มรี ายงาน เปรยี บเทยี บ) ทีม่ า: ผลการสำ� รวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 5. ความชกุ ของการบรโิ ภคยาสบู ในประชากรทม่ี อี ายุ 15 ปขี นึ้ ไป 2554 21.40% ทม่ี า: ผลการส�ำรวจพฤตกิ รรมสูบบุหรี่และด่ืมสรุ า 19.10% ลดลง 10.7% ลดลง 30% สำ� นกั งานสถิตแิ หง่ ชาติ 2560 6. ความชกุ ของภาวะความดนั โลหติ สงู (Raised blood pressure) 2552 21.4% (22.6%) (ในประชากร15 ปีขึ้นไป (คา่ ปรบั ส�ำหรบั อาย1ุ 8 ปีข้ึนไป)) เพม่ิ 15.4% ลดลง 25% ท่ีมา: ผลการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 2557 24.7 (26.9%) 7.1 ความชุกของภาวะน�ำ้ ตาลในเลือดสงู /โรคเบาหวาน 2552 6.9% (7.3%) 0% (Diabetes mellitus) (ในประชากร15 ปขี นึ้ ไป 2557 8.9% (9.6%) เพิม่ 29.0% (ค่าปรับส�ำหรับอายุ18 ปีขนึ้ ไป)) ทมี่ า: ผลการสำ� รวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 7.2 ความชุกของโรคอ้วน ในประชากร15 ปขี ้ึนไป (Obesity) 2552 34.7% (9.1%) เพม่ิ 29.0% 0% ที่มา: ผลการสำ� รวจสุขภาพประชาชนไทย (NHES) 2557 37.% (11.3%) 8. ประชาชนไดร้ บั การยาและการใหค้ �ำปรึกษาในการป้องกนั 2553 ยังไมม่ ีขอ้ มลู 50% โรคหวั ใจเฉยี บพลัน 9. การมียาและเทคโนโลยีท่เี พยี งพอและเหมาะสม 2553 ยงั ไม่มขี อ้ มลู 80% ในการดูแลผู้ป่วยโรค NCDs ท่ีมา : สถานการณ์การดำ� เนินงานด้านการปอ้ งกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ (NCDs) กองโรคไมต่ ิดต่อ กรมควบคมุ โรค รายงานสถานการณ์โรค NCDs 13 เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปจั จยั เสีย่ งทเี่ กีย่ วข้อง พ.ศ. 2562

สถานการณ์ตาม 9 เป้าหมายระดับโลกของประเทศไทย จ�ำแนกตามตวั ช้วี ดั เบ้อื งตน้ 9 ตวั ชวี้ ดั ตัวชี้วดั ท่ี 1 อตั ราตายกอ่ นวยั อนั ควรดว้ ยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน และโรคระบบทางเดนิ หายใจ เรอื้ รงั ในประชากรอายรุ ะหวา่ ง 30-70 ปี ลดลงรอ้ ยละ 25 ตัวช้ีวัดที่ 1 เป็นตัวช้ีวัดท่ีส�ำคัญในด้านอัตราตายและอัตราป่วย ซ่ึงบ่งบอกถึงความรุนแรงของปัญหาโรคไม่ติดต่อ ทเ่ี กิดข้ึนโดยเฉพาะในกลมุ่ ประชากรท่ีมีอายรุ ะหว่าง 30-70 ปี โดยการลดอตั ราตายกอ่ นวัยอนั ควรดว้ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ 4 โรคหลัก ประกอบดว้ ย โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคระบบทางเดินหายใจเร้ือรังในประชากรอายรุ ะหวา่ ง 30-70 ปี ลดลงรอ้ ยละ 25 น้นั ประเทศไทยใช้ขอ้ มูลจากโครงการศกึ ษาภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย ส�ำนกั งาน พฒั นานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ ปสี ถานการณอ์ า้ งองิ ในการดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายระดบั โลก ในปี พ.ศ. 2568 ซงึ่ มตี วั ชว้ี ดั 2 ลกั ษณะ คอื 1) ความนา่ จะเปน็ ของการเสยี ชวี ติ ทอ่ี ายุ 30 ปถี งึ 70 ปี จากโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด, โรคปอดเรอื้ รงั , โรคเบาหวาน และโรคมะเรง็ ซงึ่ พบวา่ ลดลง จาก 15.3 % ในปี 2550 เปน็ 15.1% และ 14.1 % ในปี 2553, 2557 ตามล�ำดับ (ที่มา: Thai BOD, IHPP) ลักษณะที่ 2) อตั ราตายกอ่ นวยั อันควรของประชากรไทยด้วยโรคไมต่ ดิ ตอ่ 4 โรคหลัก ซงึ่ พบวา่ ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2552, 2554 และ 2556 มีแนวโน้มเพ่มิ ข้ึนต่อเนื่องทกุ ปี (อตั ราตายเทา่ กับ 343.1 350.3 และ 355.3 ตอ่ ประชากรแสนคน ตามลำ� ดับ) เม่อื คดิ อัตราการเปล่ยี นแปลงจากปีอา้ งอิง (พ.ศ. 2552) ถงึ ปีล่าสดุ (พ.ศ. 2556) พบวา่ เพ่มิ ขึน้ ร้อยละ 10(5) (ดังแผนภูมิที่ 3) ดังนัน้ เปา้ หมายในปี พ.ศ. 2568 ทตี่ อ้ งการลดอตั ราตายก่อนวัยอันควรด้วยโรคไมต่ ิดต่อ 4 โรคหลัก ในประชากรอาย ุ 30-70 ปีลงร้อยละ 25 นั้น ค่าอัตราตายก่อนวัยอันควรของประชากรไทยด้วยโรคไม่ติดต่อ 4 โรคหลัก ควรต่�ำกว่า 257.3 ตอ่ ประชากรแสนคน จึงจะบรรลตุ ามเป้าหมายระดบั โลก(5) แผนภูมทิ ี่ 3 : อตั ราตายกอ่ นวยั อนั ควรดว้ ยโรคหวั ใจและหลอดเลอื ด โรคมะเรง็ โรคเบาหวาน และโรคระบบทางเดนิ หายใจเรอ้ื รงั ในประชากรอายรุ ะหวา่ ง 30-70 ปี ปี พ.ศ. 2552, 2554 และ 2556 เปรยี บเทยี บสถานการณเ์ ปา้ หมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใช้ ปี พ.ศ. 2552 เปน็ ปอี า้ งองิ 14 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปัจจัยเส่ยี งทเี่ กยี่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตัวชี้วัดที่ 2 ปรมิ าณการบรโิ ภคแอลกอฮอลบ์ รสิ ทุ ธต์ิ อ่ หวั ประชากรตอ่ ปใี นประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี นึ้ ไป ลดลงรอ้ ยละ 10 ตัวชี้วัดที่ 2 เป็นตัวช้ีวัดปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมสุขภาพ ด้านการดื่มเครื่องด่ืมแอลกอฮอล์ ซ่ึงการวัดปริมาณ การบรโิ ภคแอลกอฮอลบ์ รสิ ทุ ธต์ิ อ่ หวั ประชากรตอ่ ปใี นประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป โดยเปา้ หมายระดบั โลกไดม้ กี ารกำ� หนดเกณฑ์ ตวั ชว้ี ดั ในการบรรลเุ ปา้ หมายคอื ลดลงรอ้ ยละ 10 ซง่ึ ประเทศไทยใชข้ อ้ มลู จากกรมสรรพสามติ กระทรวงการคลงั และ กองยทุ ธศาสตร์ และแผนงาน กระทรวงสาธารณสขุ ปี พ.ศ. 2553 เปน็ ปีสถานการณอ์ ้างอิงในการด�ำเนนิ งานเพอื่ ให้บรรลเุ ป้าหมายระดับโลก ในปี พ.ศ. 2568 โดยสถานการณ์การบริโภคแอลกอฮอล์บริสุทธ์ิต่อหัวประชากรต่อปี ตั้งแต่ ปีพ.ศ. 2553 ถึง พ.ศ. 2560 มีแนวโนม้ เพ่ิมข้ึนเลก็ นอ้ ย โดยในปี พ.ศ. 2560 พบปรมิ าณการบริโภคแอลกอฮอลบ์ รสิ ุทธิ์ตอ่ หวั ประชากรไทยเท่ากับ 7.33 ลิตร ตอ่ คนตอ่ ปี ซงึ่ ในภาพรวมเม่ือคดิ อตั ราการเปล่ยี นแปลงจากปอี า้ งอิง (พ.ศ. 2553) ถึงปลี า่ สุด (พ.ศ. 2560) สถานการณด์ งั กล่าว ยงั ไม่ลดลง(5) (ดังแผนภมู ิที่ 4) ดังน้ันการจะบรรลุตามเป้าหมายระดับโลกในการลดปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ต่อหัวประชากรต่อปี ในประชากรอายุต้งั แต่ 15 ปีขึ้นไป ลดลงร้อยละ 10 ในปี พ.ศ. 2568 นัน้ ปรมิ าณการบรโิ ภคแอลกอฮอลบ์ ริสทุ ธิต์ ่อหัวประชากร ตอ่ ปีในประชากรอายตุ ้ังแต่ 15 ปีขึ้นไป ควรนอ้ ยกว่า 6.03 ลิตรของแอลกอฮอลบ์ ริสุทธต์ิ ่อคนต่อปี ในปี พ.ศ. 2568(5) แผนภูมิที่ 4 : ปริมาณการบริโภคแอลกอฮอล์บริสุทธ์ิ (ลิตร) ต่อหัวประชากรต่อปีในประชากรไทยอายุตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป ปี พ.ศ. 2553 – 2560 เปรียบเทยี บสถานการณเ์ ป้าหมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใช้ปี พ.ศ. 2553 เป็นปอี า้ งอิง รายงานสถานการณ์โรค NCDs 15 เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปัจจยั เสยี่ งที่เก่ยี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตวั ช้วี ดั ท่ี 3 ความชกุ ของการมีกจิ กรรมทางกายทไ่ี มเ่ พียงพอในประชากรอายตุ งั้ แต่ 18 ปขี ้ึนไป ลดลงรอ้ ยละ 10 ตัวชี้วัดท่ี 3 เป็นหน่ึงในตัวช้ีวัดส�ำคัญท่ีเก่ียวข้องกับปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมสุขภาพคือ การมีกิจกรรมทางกาย ไมเ่ พียงพอ (หมายถึง การมกี จิ กรรมทางกายระดบั ปานกลางน้อยกวา่ หรอื เท่ากบั 150 นาทตี อ่ สปั ดาห์) โดยการปอ้ งกนั ควบคุม โรคไม่ติดต่อในระดับบุคคลน้ัน การมีกิจกรรมทางกายท่ีเพียงพอถือเป็นพฤติกรรมสุขภาพที่ประชาชนทั่วไปสามารถปฏิบัติได้ ด้วยตนเอง ซ่ึงท�ำได้ง่ายและใช้การลงทุนน้อย โดยเป้าหมายระดับโลกได้มีการก�ำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมายคือ ลดลงร้อยละ 10 ส�ำหรับประเทศไทยใช้ข้อมูลจากการส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ปี พ.ศ. 2552 เปน็ ปสี ถานการณอ์ า้ งองิ ในการดำ� เนนิ งานเพอ่ื ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายระดบั โลกในปี พ.ศ. 2568 ซงึ่ การสำ� รวจฯ ดงั กลา่ วไดด้ ำ� เนนิ การ เกบ็ ขอ้ มลู ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป พบวา่ สถานการณก์ ารมกี จิ กรรมทางกายไมเ่ พยี งพอ มแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 18.5 ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ รอ้ ยละ 19.2 ในปี พ.ศ. 2557 เมอื่ คดิ อตั ราการเปลย่ี นแปลงจากปอี า้ งองิ (พ.ศ. 2552) กบั ปลี า่ สดุ (พ.ศ. 2557) พบว่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.8(5) (ดังแผนภูมิท่ี 5) อย่างไรก็ตามข้อมูลการส�ำรวจฯ ในปี พ.ศ. 2562 ยังอยู่ระหว่างการด�ำเนินงาน ซง่ึ จะเป็นขอ้ มลู ครงั้ ล่าสุดทบ่ี ง่ บอกถึงสถานการณ์ปัจจบุ ันท่ีเปล่ียนแปลงไปในเชงิ บวกหรอื เชงิ ลบ ทั้งนใ้ี นส่วนของนโยบายหรอื มาตรการสง่ เสรมิ กจิ กรรมทางกายยงั คงตอ้ งขบั เคลอื่ นการดำ� เนนิ งานอยา่ งเขม้ ขน้ เพอื่ กระตนุ้ ใหป้ ระชาชนใสใ่ จดแู ลสขุ ภาพของตนเอง โดยเกิดจากการผลกั ดันและสนับสนุนจากหนว่ ยงานหลายภาคสว่ นท่เี กีย่ วขอ้ งท้ังภาครฐั และภาคเอกชนเพอ่ื ลดการมีกิจกรรม ทางกายทไ่ี ม่เพียงพอในประชากรไทย ดงั นน้ั การจะบรรลตุ ามเปา้ หมายระดบั โลกเพอื่ ลดความชกุ ของการมกี จิ กรรมทางกายทไี่ มเ่ พยี งพอในประชากรอายตุ งั้ แต่ 18 ปขี น้ึ ไป ลดลงรอ้ ยละ 10 ในปี พ.ศ. 2568 นนั้ ควรมคี วามชกุ ของการมกี จิ กรรมทางกายทไี่ มเ่ พยี งพอไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 16.7 ในปี พ.ศ. 2568(5) แผนภูมิท่ี 5 : ความชกุ ของการมกี จิ กรรมทางกายทไี่ มเ่ พยี งพอในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 สำ� รวจโดยสำ� นกั งานสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทย โดยใชแ้ บบสอบถาม GPAQ ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี นึ้ ไป เปรียบเทยี บสถานการณ์เป้าหมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใชป้ ี พ.ศ. 2552 เปน็ ปอี า้ งอิง 16 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสงู และปจั จัยเส่ียงทเ่ี ก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

ตัวชีว้ ดั ท่ี 4 คา่ เฉลี่ยปริมาณการบรโิ ภคเกลือและโซเดียมในประชากรอายตุ ั้งแต่ 18 ปขี น้ึ ไป ลดลงรอ้ ยละ 30 ตัวช้ีวัดท่ี 4 เป็นตัวช้ีวัดที่เก่ียวข้องกับปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมสุขภาพคือ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ซึ่งให้ความส�ำคัญในประเด็นของค่าเฉลี่ยปริมาณการบริโภคเกลือและโซเดียมในประชากรต่อวัน เน่ืองจากการบริโภคเกลือ และโซเดยี มในปรมิ าณทเี่ กนิ กำ� หนดมาตรฐานตอ่ วนั เปน็ ปจั จยั เสย่ี งสะสมทน่ี ำ� ไปสกู่ ารเกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ โดยเปา้ หมายระดบั โลก ได้มีการก�ำหนดเกณฑ์ตัวช้ีวัดในการบรรลุเป้าหมายคือ ลดลงร้อยละ 30 ส�ำหรับประเทศไทยใช้ข้อมูลจากการส�ำรวจสุขภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ปี พ.ศ. 2552 เป็นปีสถานการณอ์ ้างอิงในการดำ� เนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายระดบั โลก ในปี พ.ศ. 2568 ซ่งึ การสำ� รวจฯ ดังกล่าว ใชข้ อ้ มูลการสำ� รวจการบรโิ ภคอาหารยอ้ นหลงั 24 ชั่วโมงเพือ่ วเิ คราะห์หาปริมาณ โซเดียมทบ่ี ริโภค พบว่าค่ามธั ยฐานปริมาณโซเดียมที่บรโิ ภคเทา่ กับ 3,246 มลิ ลิกรัมต่อวัน (2,961.9 – 3,633.8 มลิ ลิกรัมตอ่ วัน) ซ่ึงถือว่าเกินเกณฑ์มาตรฐานการบรโิ ภคโซเดยี มทท่ี างองคก์ ารอนามัยโลกก�ำหนดคือ ไมค่ วรบรโิ ภคเกิน 2,000 มลิ ลกิ รัมตอ่ วัน สำ� หรับขอ้ มลู การส�ำรวจฯ ปี พ.ศ. 2557 ไม่พบการเก็บขอ้ มูลดังกล่าว จึงไม่มขี อ้ มูลเปรยี บเทียบเพือ่ ดูแนวโน้มของการบรโิ ภค เกลือและโซเดียมของประชากรไทยในปัจจุบนั (5) นอกจากน้ียังมีผลการส�ำรวจปริมาณการบริโภคโซเดียมคลอไรด์ของประชากรไทย ปี พ.ศ. 2552 ซึ่งด�ำเนินการ โดย สำ� นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ รว่ มมอื กบั คณะสาธารณสขุ ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล โดยทำ� การสำ� รวจ ปรมิ าณการบรโิ ภคโซเดยี มคลอไรดข์ องประชากรไทยทไ่ี ดร้ บั จากอาหารและผลติ ภณั ฑอ์ าหารทม่ี สี ว่ นประกอบของโซเดยี มคลอไรด์ พบวา่ ประชากรไทยได้รับโซเดยี มจากการบรโิ ภคอาหารในปรมิ าณทีม่ ากถึง 4,351.69 มลิ ลกิ รัมต่อคนต่อวนั (7) จากการส�ำรวจข้างต้นเป็นไปในทิศทางเดียวกันว่า ประชากรไทยมีการบริโภคเกลือและโซเดียมในปริมาณท่ีสูง ซงึ่ เกนิ คา่ มาตรฐานทก่ี ำ� หนดกวา่ 2 เทา่ เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั เกณฑม์ าตรฐานการบรโิ ภคโซเดยี มทท่ี างองคก์ ารอนามยั โลกกำ� หนด คือ ไม่ควรบริโภคเกิน 2,000 มิลลิกรัมต่อวัน ดังน้ันการจะบรรลุตามเป้าหมายระดับโลกเพ่ือลดการบริโภคเกลือและโซเดียม ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 18 ปขี นึ้ ไป ลดลงรอ้ ยละ 30 นนั้ คา่ มธั ยฐานปรมิ าณการบรโิ ภคโซเดยี มตอ้ งมคี า่ ไมเ่ กนิ 2,434.5 มลิ ลกิ รมั ต่อวนั แมแ้ ต่ค่าเปา้ หมายที่กำ� หนดในปี พ.ศ. 2568 ก็ยังมคี า่ เกินมาตรฐานเช่นกนั (5) รายงานสถานการณ์โรค NCDs 17 เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปจั จยั เสี่ยงทเี่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

ตัวช้วี ัดที่ 5 ความชกุ ของการสบู บุหร่ใี นประชากรอายุต้ังแต่ 15 ปีข้นึ ไป ลดลงรอ้ ยละ 30 ตัวชี้วัดที่ 5 เป็นตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงทางพฤติกรรมสุขภาพคือ การสูบบุหรี่ โดยเป้าหมายระดับโลก ได้มีการกำ� หนดเกณฑ์ตัวชี้วัดในการบรรลุเป้าหมายคือ ลดลงร้อยะ 30 ส�ำหรับประเทศไทยใช้ข้อมูลจากการสำ� รวจพฤติกรรม การสบู บหุ รแ่ี ละการดมื่ สรุ าของประชากร โดยสำ� นกั งานสถติ แิ หง่ ชาติ ในปี พ.ศ. 2554 เปน็ ปสี ถานการณอ์ า้ งองิ ในการดำ� เนนิ งาน เพอื่ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายระดบั โลกในปี พ.ศ. 2568 โดยสถานการณก์ ารสบู บหุ รใี่ นประชากรอายตุ งั้ แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2554, 2557 และ 2560 มแี นวโนม้ ลดลงเลก็ นอ้ ย (รอ้ ยละ 21.40 20.70 และ 19.10 ตามลำ� ดบั ) เมอื่ คดิ อตั ราการเปลยี่ นแปลงจากปอี า้ งองิ (พ.ศ. 2554) กับปีล่าสุด (พ.ศ. 2560) พบว่าประชากรไทยมีอัตราการสูบบุหร่ีลดลงร้อยละ 10.7 ซึ่งสะท้อนให้เห็น ถึงการ มีพฤตกิ รรมสุขภาพทดี่ ีข้ึน(5) (ดงั แผนภูมทิ ี่ 6) อย่างไรก็ตาม ข้อมลู การส�ำรวจฯ ดงั กลา่ ว มีการส�ำรวจทกุ 3 ปี แต่ในปัจจบุ ัน ยังอยู่ระหว่างการด�ำเนินงานซ่ึงยังไม่มีข้อมูลคร้ังล่าสุดมาเปรียบเทียบจึงไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าพฤติกรรมการสูบบุหร ่ี ของประชากรไทยจะเปลีย่ นแปลงไปในเชิงบวกหรอื เชงิ ลบ ดังนั้นการจะบรรลุตามเป้าหมายระดับโลกในการลดความชุกของการสูบบุหรี่ในประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ลดลงรอ้ ยละ 30 ในปี พ.ศ. 2568 นั้น ความชุกของการสบู บุหรีไ่ มค่ วรเกนิ รอ้ ยละ 14.95 ในปี พ.ศ. 2568(5) แผนภมู ทิ ี่ 6 : ความชกุ ของการสบู บหุ รใ่ี นประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2554, 2557 และ 2560 สำ� รวจโดยสำ� นกั งาน สถติ แิ หง่ ชาติ เปรียบเทียบสถานการณ์เป้าหมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใช้ปี พ.ศ. 2554 เปน็ ปีอา้ งอิง 18 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปจั จยั เสี่ยงที่เกีย่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

ตวั ชว้ี ัดที่ 6 ความชกุ ของโรคความดนั โลหิตสูง ลดลงร้อยละ 25 ตัวชี้วัดท่ี 6 เป็นตัวชี้วัดท่ีเกี่ยวข้องกับปัจจัยเสี่ยงทางชีววิทยาคือ ความดันโลหิตสูง โดยเป้าหมายระดับโลก ได้มีการก�ำหนดเกณฑ์ตัวช้ีวัดในการบรรลุเป้าหมายคือ ลดลงร้อยละ 25 ส�ำหรับประเทศไทยใช้ข้อมูลจากการส�ำรวจสุขภาพ ประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายปี พ.ศ. 2552 เป็นปีสถานการณ์อ้างอิงในการด�ำเนินงานเพ่ือให้บรรลุเป้าหมายระดับโลก ในปี พ.ศ. 2568 ซ่ึงการส�ำรวจฯ ดังกล่าวได้ด�ำเนินการเก็บข้อมูลในประชากรอายุตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไป พบว่าสถานการณ์ โรคความดันโลหติ สงู มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 24.7 ในปี พ.ศ. 2557 เมอื่ คิดอตั รา การเปลี่ยนแปลงจากปีอา้ งอิง (พ.ศ. 2552) กับปีลา่ สดุ (พ.ศ. 2557) พบว่าเพิ่มขึน้ รอ้ ยละ 15.4(5) (ดงั แผนภูมิท่ี 7) อยา่ งไรก็ตาม ขอ้ มลู การสำ� รวจฯ ในปี พ.ศ. 2562 ยงั อยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ งาน ซง่ึ จะเปน็ ขอ้ มลู ครงั้ ลา่ สดุ ทบ่ี ง่ บอกถงึ สถานการณโ์ รคความดนั โลหติ สงู ท่ีเปลี่ยนแปลงไปในเชิงบวกหรือเชิงลบ ทั้งน้ีในส่วนของนโยบายหรือมาตรการป้องกันควบคุมโรคความดันโลหิตสูงยังคงต้อง ขับเคลื่อนการด�ำเนินงานอย่างเข้มข้นโดยเกิดความร่วมมือจากหน่วยงานหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องในประเทศไทย เพ่ือลด ความชุกโรคความดันโลหติ สงู ดังน้ันการจะบรรลุเป้าหมายระดับโลกเพ่ือลดความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรอายุต้ังแต่ 18 ปี ขึ้นไป ลดลงร้อยละ 25 ในปี พ.ศ. 2568 น้นั ควรมีความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สูงไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 16.05 ในปี พ.ศ. 2568(5) แผนภมู ทิ ่ี 7 : ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 สำ� รวจโดยสำ� นกั งาน สำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทย เปรยี บเทยี บสถานการณเ์ ปา้ หมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใชป้ ี พ.ศ. 2552 เปน็ ปอี า้ งองิ รายงานสถานการณ์โรค NCDs 19 เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง และปัจจัยเสยี่ งที่เก่ยี วข้อง พ.ศ. 2562

ตัวชี้วัดที่ 7 ความชุกของโรคเบาหวานและภาวะอ้วนในประชากรอายุตั้งแต่ 18 ปีข้นึ ไป ไม่เพิ่มขึน้ ตัวชี้วัดท่ี 7 เป็นตัวชี้วัดท่ีมีความสัมพันธ์กันในด้านปัจจัยเส่ียงทางชีววิทยาและอัตราป่วยคือ โรคเบาหวานและ ภาวะอว้ น โดยเปา้ หมายระดบั โลกไดม้ กี ารกำ� หนดเกณฑต์ วั ชว้ี ดั ในการบรรลเุ ปา้ หมายคอื ไมเ่ พม่ิ ขนึ้ สำ� หรบั ประเทศไทยใช้ข้อมูล จาก การสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกายปี พ.ศ. 2552 เปน็ ปสี ถานการณอ์ า้ งองิ ในการดำ� เนนิ งานเพอื่ ใหบ้ รรลุ เปา้ หมายระดบั โลกในปี พ.ศ. 2568 ซง่ึ การสำ� รวจฯ ดงั กลา่ วไดด้ ำ� เนนิ การเกบ็ ขอ้ มลู ในประชากรอายตุ งั้ แต่ 15 ปขี น้ึ ไป พบว่า สถานการณ์โรคเบาหวาน มีแนวโนม้ เพิม่ ข้นึ จากรอ้ ยละ 6.9 ในปี พ.ศ. 2552 เป็นร้อยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2557 หากพิจารณา อตั ราการเปล่ยี นแปลงจากปีอา้ งอิง (พ.ศ. 2552) กบั ปีลา่ สุด (พ.ศ. 2557) พบวา่ เพ่ิมขึ้นร้อยละ 29.0(5) (ดังแผนภูมทิ ่ี 8) แผนภูมิท่ี 8 : ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรอายุตงั้ แต่ 15 ปขี นึ้ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 ส�ำรวจโดยส�ำนกั งาน สำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทย เปรยี บเทยี บสถานการณเ์ ปา้ หมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใชป้ ี พ.ศ. 2552 เปน็ ปอี า้ งองิ องคก์ ารอนามยั โลกไดก้ ำ� หนดจดุ ตดั คา่ ดชั นมี วลกาย (BMI ≥25 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) สำ� หรบั ประชากรเอเชยี ใหเ้ ปน็ ภาวะอว้ น สำ� หรบั สถานการณภ์ าวะอว้ นในประเทศไทยนน้ั พบวา่ ความชกุ ของภาวะอว้ น (BMI ≥25 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) ในประชากรอายตุ งั้ แต่ 15 ปขี น้ึ ไป มแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ จากรอ้ ยละ 34.7 ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ รอ้ ยละ 37.5 ในปี พ.ศ. 2557 หากพจิ ารณาอตั ราการเปลย่ี นแปลงจากปอี า้ งองิ (พ.ศ. 2552) กบั ปลี า่ สดุ (พ.ศ. 2557) พบวา่ เพมิ่ ขนึ้ รอ้ ยละ 8.1 (ดงั แผนภมู ทิ ี่ 9) อยา่ งไรกต็ าม เมอื่ พจิ ารณาขนาดของปญั หาภาวะอว้ นจะเหน็ ไดว้ า่ มากกวา่ 1 ใน 3 ของประชากรไทยมภี าวะอว้ น ซงึ่ เปน็ ความเสย่ี ง ตอ่ การเกดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ สำ� หรบั ขอ้ มลู การสำ� รวจฯ ในปี พ.ศ. 2562 ยงั อยรู่ ะหวา่ งการดำ� เนนิ งาน ซงึ่ จะเปน็ ขอ้ มลู ครง้ั ลา่ สดุ ทบ่ี ง่ บอก ถงึ สถานการณโ์ รคเบาหวานและภาวะอว้ นทเี่ ปลย่ี นแปลงไปในเชงิ บวกหรอื เชงิ ลบ ทงั้ นใ้ี นสว่ นของนโยบายหรอื มาตรการปอ้ งกนั ควบคุมโรคเบาหวานและการจัดการภาวะอ้วนยังเป็นประเด็นส�ำคัญที่ต้องเร่งแก้ไข โดยเกิดความร่วมมือจากหน่วยงานหลาย ภาคส่วน ทเี่ กย่ี วขอ้ งในประเทศไทย เพื่อลดความชกุ ของภาวะอ้วน ดงั นนั้ การจะบรรลเุ ปา้ หมายระดบั โลกเพอื่ ลดความชกุ ของโรคเบาหหวานและภาวะอว้ นในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 18 ปี ขน้ึ ไป ตอ้ งไมเ่ พม่ิ ขนึ้ ในปี พ.ศ. 2568(5) 20 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง และปจั จัยเสย่ี งท่เี กยี่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

แผนภมู ทิ ่ี 9 : ความชกุ ของภาวะอว้ น (BMI ≥25 กโิ ลกรมั ตอ่ ตารางเมตร) ในประชากรอายตุ ง้ั แต่ 15 ปขี น้ึ ไป ปี พ.ศ. 2552 และ 2557 ส�ำรวจโดยส�ำนักงานส�ำรวจสุขภาพประชาชนไทย เปรียบเทียบสถานการณ์เป้าหมายในปี พ.ศ. 2568 โดยใช ้ ปี พ.ศ. 2552 เปน็ ปอี า้ งอิง รายงานสถานการณ์โรค NCDs 21 เบาหวาน ความดนั โลหติ สูง และปัจจยั เสี่ยงที่เกย่ี วข้อง พ.ศ. 2562

ตัวชว้ี ัดท่ี 8 ประชากรอายุ 40 ปีขึ้นไป ท่ีมีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ได้รับค�ำปรึกษาเพื่อปรับ เปลย่ี นพฤตกิ รรมและไดร้ บั ยาทเ่ี หมาะสมเพอ่ื ปอ้ งกนั โรคหวั ใจและโรคหลอดเลอื ดสมอง (อมั พฤกษ์ อมั พาต) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 เป้าหมายน้ีให้ความส�ำคัญท่ีการป้องกันการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยได้ก�ำหนดตัวชี้วัดท่ีให้ความส�ำคัญ ในการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในประชากร โดยก�ำหนดให้สัดส่วนของประชากรอายุ 40 ปี ขึ้นไปท่ีมี ความเสย่ี งตอ่ การเกดิ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดใน 10 ปี มากกวา่ หรอื เทา่ กบั รอ้ ยละ 30 ไดร้ บั คำ� ปรกึ ษาเพอื่ ปรบั เปลย่ี นพฤตกิ รรม และได้รับยาที่เหมาะสมเพ่ือป้องกันโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดอย่างเหมาะสม นอกจากนั้นยังรวมถึงผู้ป่วยโรคหัวใจและ หลอดเลือด ที่ต้องได้รับการรักษาอย่างเหมาะสมเช่นกัน โดยท่ีเป้าหมายองค์การอนามัยโลกก�ำหนดคือ อย่างน้อยร้อยละ 50 ของผูม้ คี วามเสยี่ งตอ้ งได้รับค�ำแนะน�ำหรอื การรกั ษาที่เหมาะสม(5) การตดิ ตามตวั ช้ีวดั จำ� เปน็ ต้องพิจารณาขอ้ มลู 3 ด้านคอื (5) 1. ความครอบคลุมในการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดของบริการภาครัฐ: แหล่งข้อมูลจะได้ จากหน่วยบรกิ าร แตใ่ นปจั จุบนั ระบบรายงานการประเมินความเส่ียงน้ีอยู่ระหวา่ งการพฒั นา 2. สถานการณค์ วามเสยี่ งตอ่ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ดในประชากร: แหลง่ ขอ้ มลู คอื การสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทย โดยการตรวจราง่ กาย ซง่ึ ใชเ้ กณฑป์ ระเมนิ ขององคก์ ารอนามยั โลก และใชเ้ กณฑป์ ระเมนิ ของโปรแกรมวเิ คราะหข์ อ้ มลู โอกาสเสย่ี ง ต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (Thai CV risk score) 3. สดั สว่ นผทู้ มี่ คี วามเสยี่ งตอ่ โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด ทไ่ี ดร้ บั คำ� แนะนำ� และการรกั ษาทเ่ี หมาะสม: แหลง่ ขอ้ มลู หลกั คอื การสำ� ารวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย ซง่ึ ใชเ้ กณฑป์ ระเมนิ ขององคก์ ารอนามยั โลก และใชเ้ กณฑป์ ระเมนิ ของ Thai CV risk score สถานการณ์ในประเทศไทย ในปจั จุบนั ยงั ไมม่ ีการรายงานตัวชีว้ ัดนอ้ี ย่างเปน็ ทางการ แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศไทย มีระบบบริการเฉพาะโรค โดยเฉพาะคลินิกโรคเรี้อรัง รวมทั้งระบบการคัดกรองผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงอย่าง ครอบคลมุ ดังน้ันการให้คำ� แนะนำ� และการไดร้ ับยาทีเ่ หมาะสมเพอ่ื ป้องกนั โรคหวั ใจนา่ จะสามารถทำ� ไดม้ ากกว่าร้อยละ 50 22 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง และปจั จัยเส่ยี งทีเ่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

ตัวช้วี ดั ที่ 9 การมยี าทจี่ ำ� เปน็ และเทคโนโลยขี นั้ พน้ื ฐานสำ� หรบั รกั ษา/บรกิ าร ผปู้ ว่ ยโรคไมต่ ดิ ตอ่ ทสี่ ำ� คญั ในสถานบรกิ ารรฐั และเอกชนร้อยละ 80 การมียาที่จ�ำเป็นและเทคโนโลยีข้ันพ้ืนฐานส�ำหรับรักษา/บริการผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อ ในสถานบริการระดับปฐมภูมิ ท้งั รัฐและเอกชนร้อยละ 80 ซึง่ เป้าหมายน้ถี ูกกำ� หนดเพอื่ ใหป้ ระชาชนในแตล่ ะประเทศสมาชกิ สามารถเขา้ ถงึ ยาและเทคโนโลยี ที่จ�ำเป็นพื้นฐานได้ โดยยาที่จ�ำเป็นและเทคโนโลยีข้ันพ้ืนฐานส�ำหรับโรคไม่ติดต่อนั้น ได้ถูกนิยามในแผนปฏิบัติการระดับโลก ซึ่งเป็นขอ้ ตกลงของประเทศสมาชกิ ใหเ้ ป็นบัญชยี าและเทคโนโลยีขัน้ ต่ำ� ท่ที กุ ประเทศสมาชิกควรมี อันประกอบไปดว้ ย(8)  ยา: แอสไพรนิ (Aspirin), สแตตนิ (statin), แองจโิ อเทซนิ - คอนเวอรต์ งิ เอนไซม์ อนิ ฮบิ เิ ตอร์ (angiotensin-converting enzyme inhibitor), ไทอะไซด์ (thiazide diuretic), แคลเซยี ม แชนแนล บลอ็ กเกอร์ ทอ่ี อกฤทธน์ิ าน (a long-acting calcium channel blocker), เมตฟอรม์ นิ (metformin), อนิ ซลู นิ (insulin), ยาขยายหลอดลม (bronchodilator) และ ยาพน่ สเตยี รอยด์ (steroid inhalant)  เทคโนโลยี: เครื่องวัดความดันโลหิต, เคร่ืองช่ังน้�ำหนัก, อุปกรณ์ส�ำหรับวัดระดับน�้ำตาล ระดับคอเลสเตอรอล, และแถบวดั คา่ อลั บมู ินในปัสสาวะ สถานการณ์ในประเทศไทยน้ัน เนื่องจากประชาชนไทยทุกคนมีหลักประกันสุขภาพตั้งแต่ พ.ศ. 2541 และระบบ บริการสาธารณสุขไทยน้ัน มีการพัฒนาแนวปฏิบัติส�ำหรับการดูแลรักษาและการส่งต่อ ตั้งแต่ระดับต�ำบลถึงระดับประเทศ ซึ่งการดูแลรักษาโรคเรื้อรังในกรณีท่ีต้องใช้ยาพ้ืนฐาน ตามท่ีองค์การอนามัยโลกก�ำหนดนั้น ในระดับอ�ำเภอของประเทศไทย มีครบทุกอย่าง ถึงแม้ว่ายาหรือเทคโนโลยีบางชนิดจะยังไม่มีในระดับต�ำบล แต่ด้วยแนวทางการส่งต่อ และการจัดบริการ ทคี่ รอบคลมุ ประชากรระดบั อำ� เภอ จงึ สามารถกลา่ วไดว้ า่ ประชาชนไทยสามารถเขา้ ถงึ ยาและเทคโนโลยขี นั้ พนื้ ฐานไดอ้ ยา่ งทวั่ ถงึ นอกจากน้ันยังมีกระบวนการอ่ืนท่ีช่วยเพิ่มการเข้าถึงการบริการท่ีดีข้ึน คือ นโยบายการกระจายผู้ป่วยโรคเรื้อรังเพ่ือติดตาม การรกั ษาตอ่ ทห่ี นว่ ยปฐมภมู ใิ กลบ้ า้ น เพอื่ ลดความแออดั ในโรงพยาบาล และเพม่ิ คณุ ภาพการบรกิ ารรกั ษา ประกอบกบั นโยบาย การดงึ องคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถนิ่ เขา้ มามสี ว่ นรว่ มดา้ นสขุ ภาพซง่ึ ทำ� าใหม้ กี ารสนบั สนนุ ดา้ นเทคโนโลยพี น้ื ฐาน ในระดบั ปฐมภมู ิ เพ่ิมมากขน้ึ รายงานสถานการณ์โรค NCDs 23 เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปัจจยั เสีย่ งทีเ่ กยี่ วข้อง พ.ศ. 2562

เอกสารอา้ งอิง (1) World Health Organization. Noncommunicable diseases 2018. [อินเทอรเ์ นต็ ]. เขา้ ถงึ ได้จาก https://www. who.int/news-room/fact-sheets/detail/noncommunicable-diseases (2) World Health Organization. Noncommunicable diseases 2018. [อนิ เทอร์เน็ต]. เข้าถึงได้จาก https://www. who.int/gho/ncd/mortality_morbidity/ncd_total/en/ (3) กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ . สถติ สิ าธารณสขุ พ.ศ. 2561. นนทบรุ :ี กองยุทธศาสตร์และแผนงาน ส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข; 2561 เข้าถึงได้จาก http://bps.moph.go.th/ new_bps/node/232 (4) ส�ำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ. รายงานภาระโรคและการบาดเจ็บของประชากรไทย พ.ศ. 2557. นนทบุร:ี ส�ำนกั งานพฒั นานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ; 2561 (5) สำ� นกั งานพฒั นานโยบายสขุ ภาพระหวา่ งประเทศ. รายงานสถานการณโ์ รค NCDs ฉบบั ที่ 2 “KICK OFF TO THE GOALS”. นนทบรุ ี: ส�ำนกั งานพฒั นานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ; 2558 (6) กองโรคไมต่ ดิ ตอ่ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ . สถานการณก์ ารดำ� เนนิ งานดา้ นการปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ (NCDs). นนทบรุ :ี กองโรคไมต่ ดิ ต่อ กรมควบคุมโรค; 2562 (7) สำ� นกั โภชนาการ กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสขุ . รายงานการสำ� รวจปรมิ าณการบรโิ ภคโซเดยี มคลอไรดข์ องประชากรไทย. นนทบรุ ี: สำ� นักโภชนาการ กรมอนามัย; 2552 (8) World Health Organization. Essential medicines and basic health technologies for noncommunicable diseases: towards a set of actions to improve equitable access in Member States: World Health Organization; 2015. 24 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สูง และปจั จัยเส่ยี งทเี่ ก่ียวข้อง พ.ศ. 2562

2บทที่ การเฝา้ ระวงั โรคไมต่ ิดต่อ 2.1 การเฝา้ ระวังโรคไม่ติดตอ่ 2.1.1 โรคไม่ติดต่อส�ำคญั ทอี่ ยใู่ นระบบเฝ้าระวงั 2.1.2 องค์ประกอบการเฝ้าระวงั 5 มติ ิ 2.2 สถานการณ์โรคไมต่ ิดต่อ ตามกรอบ 5 มิติ (เบาหวาน, ความดันโลหติ สงู และปจั จยั เสย่ี งทีเ่ ก่ยี วข้อง) 2.2.1 สถานการณ์ป่วย/ตาย 2.2.2 สถานการณป์ จั จยั เสยี่ งท่เี กยี่ วข้อง ปจั จัยกำ� หนดสขุ ภาพ นโยบายและมาตรการ รายงานสถานการณ์โรค NCDs 25 เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปัจจยั เสย่ี งท่ีเก่ียวขอ้ ง พ.ศ. 2562

2.1 การเฝา้ ระวงั โรคไมต่ ดิ ตอ่ 2.1.1 โรคไมต่ ิดตอ่ ท่สี �ำคัญทีอ่ ยู่ในระบบเฝ้าระวัง โรคไม่ติดต่อเป็นโรคที่ไม่สามารถติดต่อจากคนหนึ่งไปอีกคนหนึ่ง ไม่มีสาเหตุจากการติดเชื้อเฉียบพลัน แต่เป็นสาเหตุการเจ็บป่วยหรืออันตรายต่อชีวิตในระยะยาว และท�ำให้เกิดความต้องการในการดูแลรักษาระยะยาวหรือ ตลอดชีวิตที่เหลืออยู่ แต่นานาประเทศทั้งประเทศก�ำลังพัฒนาเห็นสอดคล้องเช่นเดียวกับองค์การอนามัยโลก ให้การเน้นหนัก ในการแกไ้ ขปัญหาโรคไมต่ ดิ ต่อ 5 โรคส�ำคัญคือ โรคหัวใจและหลอดเลือด, โรคเบาหวาน, โรคมะเรง็ , โรคทางเดินหายใจเรอื้ รงั และปญั หาสขุ ภาพจติ ทเี่ ปน็ สาเหตหุ ลกั ซงึ่ มจี ำ� นวนการเสยี ชวี ติ รวมกนั ของ 4 โรค ดงั กลา่ วแลว้ มากกวา่ จากโรคทเี่ หลอื อยรู่ ว่ มกบั การพจิ ารณาปจั จยั เสย่ี งพนื้ ฐานสำ� คญั ทรี่ ว่ มกนั ทำ� ใหเ้ กดิ โรคไมต่ ดิ ตอ่ สำ� คญั ดงั นี้ ดา้ นพฤตกิ รรมเสยี่ ง 4 พฤตกิ รรม ประกอบดว้ ย พฤติกรรมการบริโภคยาสูบ, การบริโภคเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์, การรับประทานอาหารท่ีไม่เหมาะสม, การมีกิจกรรมทางกาย ทไ่ี มเ่ พยี งพอ และปญั หามลพษิ ทางอากาศ และทางดา้ นปจั จยั เสยี่ งทางสรรี ะวทิ ยา 4 ปจั จยั คอื การมภี าวะนำ้� หนกั เกนิ และอว้ น, ภาวะไขมันในเลอื ดผิดปกติ, ภาวะนำ�้ ตาลในเลอื ดสูงกวา่ เกินปกติ และภาวะความดนั โลหิตสงู (1) การเฝา้ ระวงั โรคไมต่ ดิ ตอ่ มคี วามซบั ซอ้ นทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั องคป์ ระกอบทงั้ ดา้ นสรรี ะวทิ ยา บคุ คล สงั คม เศรษฐกจิ ในระดบั ตา่ งๆ ตง้ั แตบ่ คุ คล ชมุ ชน สงั คม นอกจากนย้ี งั มคี วามแตกตา่ งของการเฝา้ ระวงั ระหวา่ งโรคไมต่ ดิ ตอ่ ตา่ งๆ (specific disease) คณะกรรมการอ�ำนวยการพัฒนาระบบเฝ้าระวัง 5 ระบบโรค กรมควบคุมโรค จึงพัฒนากรอบแนวคิดรวบยอดการเฝ้าระวัง โรคไมต่ ิดตอ่ (Overall Non-communicable disease surveillance) ประกอบดว้ ย 5 องคป์ ระกอบคือ ปจั จัยตน้ เหตุ หรอื ปัจจัยก�ำหนดสุขภาพ (Determinant), พฤติกรรมเสี่ยงหรือปัจจัยเส่ียง (Behavioral Risk), การป่วย/การตาย/ความพิการ (Health outcome), เหตกุ ารณผ์ ิดปกติ (Abnormal event and outbreak), และการตอบสนองของแผนงานควบคมุ โรค (Program response)(1) อยา่ งไรกต็ ามดว้ ยความซบั ซอ้ นของกลมุ่ โรคไมต่ ดิ ตอ่ ประกอบกบั บรบิ ทของประเทศไทยทปี่ ญั หาโรคไมต่ ดิ ตอ่ ในประชากรไทยเกิดจากปัญหาโรคหัวใจและหลอดเลือด เบาหวาน และความดันโลหิตสูง รายงานสถานการณ์โรคไม่ติดต่อ และปจั จยั เสย่ี งทเี่ กยี่ วขอ้ งดา้ นโรคไมต่ ดิ ตอ่ ฉบบั นจี้ งึ มงุ่ เนน้ ทก่ี ารวเิ คราะห์ และแปลผลสถานการณโ์ รคเบาหวาน โรคความดนั โลหติ สงู และปัจจยั ดา้ นพฤติกรรมและสง่ิ แวดล้อมทเ่ี ก่ียวขอ้ งเป็นหลัก 2.1.2 องค์ประกอบการเฝา้ ระวัง 5 มติ ิ ในทกุ กลมุ่ โรคหรอื ภยั สขุ ภาพจะมอี งคป์ ระกอบทต่ี อ้ งเฝา้ ระวงั อยา่ งนอ้ ย 5 มติ ิ ไดแ้ ก่ ปจั จยั ตน้ เหตุ พฤตกิ รรมเสยี่ ง การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program response) การติดเชื้อ/การป่วย/การตาย/ความพิการ และเหตุการณ์ ผดิ ปกติ เชน่ การระบาด โดยแต่ละมติ ิมคี วามหมายโดยย่อดังน(ี้ 1) 1. ปจั จยั ตน้ เหตุ (Determinants) ไดแ้ ก่ รากเหงา้ ของปญั หา ซงึ่ หากไมม่ ปี จั จยั ตวั นแ้ี ลว้ โรคหรอื ภยั สขุ ภาพนน้ั ไม่สามารถดำ� เนินวงจรชวี ิตของมนั ได้ อาจแบ่งงา่ ยๆ เปน็ Biological determinants และ Social determinants ตวั อยา่ งเชน่ ในกลมุ่ โรคตดิ ตอ่ ตา่ งๆ เชอ้ื โรคทง้ั โรคเกา่ หรอื โรคอบุ ตั ใิ หม่ ลว้ นเปน็ ปจั จยั ตน้ เหตทุ างชวี ภาพทส่ี ำ� คญั ทตี่ อ้ งเฝา้ ระวงั (Biological determinants) แตป่ จั จยั ทางเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง (Social determinants) อาจเปน็ ตวั ทท่ี ำ� ใหโ้ รคเกดิ การระบาดขยายตวั ลุกลาม เช่น แรงงานอพยพย้ายถิ่นท�ำให้โรคที่เคยหายไปกลับมาใหม่ ธุรกิจทางเพศท�ำให้โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เพิ่มขึ้น การส่งเสริมการขายท�ำให้มีการติดบุหร่ีและสุรา และน�ำไปสู่ปัญหาอื่นๆ การเพิ่มข้ึนของปริมาณรถมอเตอร์ไซค์ท�ำให้ การบาดเจ็บทางถนนเพ่ิมมากขึน้ ฯลฯ 26 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สูง และปัจจัยเส่ยี งทีเ่ กี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

2. พฤตกิ รรมเสย่ี ง (Biological risk) มนุษยเ์ องกม็ พี ฤติกรรมบางอย่างท่ีทำ� ใหต้ วั เองเส่ยี งและป่วยไดง้ า่ ย เช่น การด่ืมเหล้าแล้วขับยานพาหนะต่างๆ การไม่สวมหมวกกันน็อค การไม่ใช้ถุงยางอนามัย การรับประทานอาหารดิบ การไม่ออกก�ำลังกาย การสูบบุหร่ี ฯลฯ และในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเมื่อเกิดพฤติกรรมเสี่ยงหรือพันธุกรรมแล้วก็จะทำ� ให้ร่างกาย สะสมปัจจัยเส่ียงทางชีวภาพ (Biological risk factor) ขึ้นมาซ่ึงเป็นตัวการให้เกิดโรคเบาหวาน หัวใจหลอดเลือด และ มะเรง็ ตามมา เช่น การมีภาวะน�ำ้ หนักเกนิ อว้ น น�ำ้ ตาลในเลอื ดสูง ไขมันในเลอื ดสูง จึงมคี วามจ�ำเป็นตอ้ งเฝ้าระวัง 3. การตอบสนองของแผนงานควบคุมโรค (Program response) แผนงานควบคุมโรคท่ีดีต้องม ี การกำ� หนดกลมุ่ มาตรการสำ� คญั ทจี่ ะแกไ้ ขปญั หาของโรคนน้ั การเฝา้ ตดิ ตามความครอบคลมุ และความเขม้ ขน้ ของการดำ� เนนิ งาน ท่ีส�ำคัญของแผนงานควบคุมโรค จะท�ำให้เราทราบว่าเรามีโอกาสประสบความส�ำเร็จในการควบคุมมากหรือน้อย เช่น ความครอบคลมุ ของวคั ซนี ในโรคทีป่ ้องกันไดด้ ้วยวคั ซนี การลดการรังเกยี จเดยี ดฉันท์ในโรคเอดส์ การเพ่ิมภาษีบุหรี่ สุรา ในการ ควบคุมเครื่องด่มื การบงั คับใช้กฎหมายในเรอ่ื งการบาดเจ็บทางถนน ฯลฯ 4. การตดิ เชอ้ื /การปว่ ย/การตาย/ความพกิ าร (Infection/Mortality/Morbidity/Disability) เมอื่ มปี จั จยั ตน้ เหตุ มพี ฤตกิ รรมเสย่ี ง และไมไ่ ดร้ บั การแกไ้ ข มนษุ ยก์ จ็ ะปว่ ยและตายหรอื พกิ ารดว้ ยโรคตา่ งๆ โรคตดิ ตอ่ ทเ่ี รอื้ รงั บางอยา่ งอาจ เร่ิมด้วยการติดเช้ือแต่ยังไม่แสดงอาการ เช่น โรคเอดส์ จึงมีความจ�ำเป็นต้องท�ำการเฝ้าระวังการติดเช้ือ การป่วย การตาย และความพกิ ารท่เี ป็นปัญหาสำ� คัญ พร้อมกนั ไปหมด 5. เหตกุ ารณผ์ ดิ ปกตแิ ละการระบาด (Abnormal event and outbreak) การควบคมุ โรคนน้ั มจี ดุ มงุ่ หมาย สุดท้ายคือ การก�ำจัดกวาดล้างโรคต่างๆ ให้หมดไป (Elimination and eradication) แต่ส่วนใหญ่แล้วยังไม่สามารถท�ำได้ เปา้ หมายเบอื้ งตน้ คอื ควบคมุ ใหอ้ ยใู่ นระดบั ทไ่ี มก่ อ่ ใหเ้ กดิ ปญั หา หรอื ผลกระทบรนุ แรง จงึ มคี วามจำ� เปน็ ตอ้ งเฝา้ ระวงั เปรยี บเทยี บ จ�ำนวนและแบบแผนการเกิดโรค หากพบว่ามีการเปล่ียนแปลงไปหรือเกิดเหตุการณ์ผิดปกติหรือท่ีภาษานักระบาดวิทยาเรียก วา่ การระบาด กม็ คี วามจำ� เปน็ ตอ้ งออกไปสอบสวนโรคซง่ึ จะทำ� ใหเ้ รารวู้ า่ ความผดิ ปกตนิ น้ั มตี น้ เหตจุ ากอะไร เชน่ Determinants หรือ Risk behavior หรอื Risk factor อ่ืนๆ หรอื เปน็ เพราะความย่อหยอ่ นของการน�ำมาตรการไปสูก่ ารปฏบิ ัติ รายงานสถานการณ์โรค NCDs 27 เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปัจจัยเส่ยี งที่เกยี่ วข้อง พ.ศ. 2562

2.2 สถานการณ์โรคไมต่ ิดตอ่ ตามกรอบ 5 มิติ 2.2.1 สถานการณป์ ่วย/ตาย (Morbidity/Mortality) ในช่วงระยะเวลา 5 ปที ผี่ ่านมา (พ.ศ. 2557-2561) สถานการณก์ ารเสยี ชีวิตจากโรคไมต่ ดิ ต่อในประเทศไทย พบอัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรค ไม่ติดต่อ (NCDs) ท่ีส�ำคัญในประชากรไทย ประกอบด้วย โรคหลอดเลือดสมอง, โรคหัวใจขาดเลือด, โรคเบาหวาน, โรคความดันโลหิตสูง และโรคทางเดินหายใจเร้ือรัง ซ่ึงมีแนวโน้ม เพิม่ ขึน้ ตงั้ แต่ ปี พ.ศ. 2557 ถึงปี พ.ศ. 2559 หลงั จากนนั้ มีแนวโน้มลดลงเล็กนอ้ ยและคงท่ใี นปี พ.ศ. 2561 (ดังแผนภมู ิท่ี 10) หากพิจารณาความแตกต่างระหว่างรายโรคร่วมกับปีปฏิทินที่มีการเสียชีวิต ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2561 พบว่า โรคหลอดเลอื ดสมองมอี ตั ราการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควร (30-69 ป)ี สงู กวา่ ทกุ โรค ซงึ่ พบมากในเขตสขุ ภาพท่ี 3 โดยในปี พ.ศ. 2561 ภาพรวมของประเทศ มจี ำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ ทอ่ี ยใู่ นกลมุ่ อายุ 30-69 ปี จำ� นวน 15,874 ราย อตั ราการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควรเทา่ กบั 44.3 ตอ่ ประชากรแสนคน (ดงั ตารางที่ 1) สว่ นโรคทางเดนิ หายใจเรอ้ื รงั มอี ตั ราการเสยี ชวี ติ กอ่ นวยั อนั ควร (30-69 ป)ี ตำ่� กวา่ ทกุ โรค ซงึ่ พบมากในเขตสขุ ภาพที่ 1 โดยในปี พ.ศ. 2561 ภาพรวมประเทศ มจี ำ� นวนผเู้ สยี ชวี ติ ทอี่ ยใู่ นกลมุ่ อายุ 30-69 ปี จำ� นวน 1,669 ราย คิดเป็นอตั ราการเสยี ชีวติ ก่อนวัยอันควร 4.7 ตอ่ ประชากรแสนคน (ดังภาคผนวก ข) แผนภูมิท่ี 10 : อัตราการเสียชีวิตก่อนวัยอันควร (30-69 ปี) จากโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลอื ดสมอง และโรคทางเดนิ หายใจอดุ กนั้ เรอื้ รงั ตอ่ ประชากรแสนคน ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557-2561 ท่มี า : ขอ้ มลู มรณบตั ร กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สำ� นกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสขุ กระทรวงสาธารณสขุ ขอ้ มลู ณ วนั ท่ี 15 ตลุ าคม พ.ศ. 2562 วเิ คราะห์ : กลมุ่ เทคโนโลยี ระบาดวิทยา และมาตรการชุมชน 28 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปัจจยั เส่ียงทเ่ี กี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

1 สถานการณ์โรคเบาหวาน ความชกุ ของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป มแี นวโนม้ เพมิ่ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 7 ในปี พ.ศ. 2547 เปน็ รอ้ ยละ 8.9 ในปี พ.ศ. 2557 ซ่งึ เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ความชกุ ของผู้ท่ไี ดร้ บั การบอกจากแพทย์ว่าเปน็ โรคเบาหวานในประชากร อายุ 15-79 ปี ทมี่ แี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2547, 2548, 2550, 2553, 2558 ถงึ พ.ศ. 2561 (ดงั แผนภมู ทิ ่ี 11) แผนภมู ิท่ี 11 : ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึน้ ไป และความชุกผู้ท่ไี ด้รับการบอกจากแพทยว์ ่าเป็น โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี ระหวา่ งปี พ.ศ. 2547 ถึง พ.ศ. 2561 ทีม่ า : ความชกุ ของโรคเบาหวาน จากการส�ำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (NHES) ปี พ.ศ. 2547, 2552 และ 2557 ความชกุ ผทู้ ไ่ี ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ เปน็ โรคเบาหวาน จากการสำ� รวจพฤตกิ รรมเสย่ี งโรคไมต่ ดิ ตอ่ และการบาดเจบ็ (BRFSS) พ.ศ. 2547 ประชากร อายุ 15 ปีข้ึนไป, พ.ศ. 2548, 2550 และ 2553 ประชากรอายุ 15-74 ปี, พ.ศ. 2558 และ 2561 ประชากรอายุ 15-79 ปี วเิ คราะห์ : กลุ่มเทคโนโลยี ระบาดวทิ ยา และมาตรการชมุ ชน เมอ่ื พจิ ารณาความชกุ ของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี น้ึ ไป จำ� แนกตามเพศ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2552 และ 2557 พบวา่ เพศหญงิ มคี วามชกุ สงู กวา่ เพศชาย (ดงั แผนภมู ทิ ี่ 12) ซง่ึ เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ความชกุ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การบอกจากแพทย์ วา่ เปน็ โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี ปี พ.ศ. 2558 และ 2561 พบวา่ เพศหญงิ มคี วามชกุ สงู กวา่ เพศชาย (ดงั แผนภมู ทิ ี่ 13) หากพจิ ารณาความชกุ ของโรคเบาหวาน ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป ตามกลมุ่ อายุ ระหวา่ งปี พ.ศ. 2552 และ 2557 พบความชกุ ตำ�่ สุดในกลุ่มอายุ 15-29 ปี จากน้ันเพ่มิ ขึน้ สูงสดุ ในกลมุ่ อายุ 60-69 ปี และเมื่ออายุ 70 ปขี ึน้ ไป ความชุกจะลดลง (ดงั แผนภมู ิท่ี 14) สว่ นความชกุ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ เปน็ โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี ระหวา่ งปี พ.ศ. 2558 และ 2561 พบวา่ ความชกุ ของโรคตำ่� สดุ ในกลมุ่ อายุ 15-24 ปี จากนน้ั ความชกุ จะเพม่ิ ขนึ้ ในกลมุ่ อายุ 45-54 ปี จนสงู สดุ ในกลมุ่ อายุ 65-74 ปี (ดงั แผนภูมทิ ่ี 15) จากขอ้ มูลดังแผนภาพที่ 14 และ 15 จะเหน็ ได้ว่าเมอ่ื กลมุ่ อายุสูงสดุ แนวโน้มของโรคจะสูงขึน้ ตามล�ำดบั แผนภูมิท่ี 12 : ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึน้ ไป จ�ำแนกตามเพศ 29 ทีม่ า : การส�ำรวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย (NHES) พ.ศ. 2552 และ 2557 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และปจั จัยเสี่ยงท่ีเกย่ี วขอ้ ง พ.ศ. 2562

แผนภูมทิ ่ี 13 : ความชกุ ผูท้ ไ่ี ด้รบั การบอกจากแพทยว์ ่าเปน็ โรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี จ�ำแนกตามเพศ ทม่ี า : การส�ำรวจพฤติกรรมเส่ยี งโรคไม่ติดตอ่ และการบาดเจบ็ (BRFSS) พ.ศ. 2558 และ 2561 แผนภมู ิท่ี 14 : ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป จ�ำแนกตามกลมุ่ อายุ ท่มี า : การสำ� รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย (NHES) พ.ศ. 2552 และ 2557 แผนภูมิท่ี 15 : ความชุกผทู้ ไ่ี ดร้ บั การบอกจากแพทย์ว่าเป็นโรคเบาหวานในประชากรอายุ 15-79 ปี จ�ำแนกตามกลุม่ อายุ ทม่ี า : การสำ� รวจพฤตกิ รรมเสย่ี งโรคไมต่ ดิ ตอ่ และการบาดเจ็บ (BRFSS) พ.ศ. 2558 และ 2561 30 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู และปจั จยั เสย่ี งทเี่ กีย่ วขอ้ ง พ.ศ. 2562

เมอ่ื พจิ ารณาเฉพาะผปู้ ว่ ยทไ่ี ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั โรคเบาหวานรายใหม่ จากขอ้ มลู ระบบคลงั ขอ้ มลู ดา้ นการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ (Health Data Center: HDC) กระทรวงสาธารณสขุ พบวา่ ผปู้ ว่ ยทไี่ ดร้ บั การวนิ จิ ฉยั รายใหมม่ แี นวโนม้ เพมิ่ มากขน้ึ ในปี พ.ศ.2558 ถึงปี พ.ศ.2561 ในอัตราเพิ่มข้ึนท่ีลดลง ขณะท่ีความครอบคลุมการคัดกรองมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึนต่อเนื่อง โดยในปี พ.ศ. 2561 มคี วามครอบคลุมการคัดกรองเท่ากับรอ้ ยละ 86.32 (ดังแผนภมู ทิ ่ี 16) นอกจากนยี้ งั พบวา่ มผี ปู้ ว่ ยเบาหวานทไ่ี ดร้ บั การตรวจระดบั นำ้� ตาลในเลอื ด (HbA1c) 1 ครงั้ ตอ่ ปเี พมิ่ มากขน้ึ จากรอ้ ยละ 32.21 ในปี พ.ศ.2558 เป็นรอ้ ยละ 63.44 ในปี พ.ศ. 2561 โดยในกลมุ่ นีม้ ผี ้ทู ่คี วบคุมระดบั น้ำ� ตาลในเลอื ด ไดด้ ี (HbA1c <7%) มแี นวโนม้ ลดลงในชว่ งปี พ.ศ.2558 ถงึ พ.ศ. 2560 จากรอ้ ยละ 57.15 เปน็ รอ้ ยละ 39.68 โดยหลงั จากปี พ.ศ. 2560 มแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ เล็กน้อยเปน็ ร้อยละ 42.37 ในปี พ.ศ.2561 (ตามแผนภูมทิ ่ี 17) สำ� หรบั รายงานผลการดำ� เนินงานการประเมนิ ผลการดแู ลผู้ป่วย เบาหวานชนดิ ที่ 2 และโรคความดนั โลหติ สงู ของโรงพยาบาลในสงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ และสถานพยาบาลในพนื้ ทก่ี รงุ เทพมหานคร จากเครอื ขา่ ยวจิ ยั กลมุ่ สถาบนั แพทยศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย (MedResNet) พบวา่ ความครอบคลมุ การตรวจระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด (HbA1c) 1 ครงั้ ตอ่ ปี ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2557 ถงึ ปี พ.ศ. 2561 มแี นวโนม้ เพมิ่ ขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดยในกลมุ่ นมี้ ผี ทู้ คี่ วบคมุ ระดบั นำ้� ตาล ในเลือดได้ดี (HbA1c <7%) ต้ังแตป่ ี พ.ศ. 2557 ถงึ ปี พ.ศ. 2561 มแี นวโน้มเพม่ิ ข้นึ (ตามแผนภมู ทิ ี่ 18) ซงึ่ แนวโนม้ ดงั กลา่ ว สอดคลอ้ งกบั ผลการสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย(NHES) ปี พ.ศ. 2557 ทแี่ สดงรอ้ ยละของผทู้ ค่ี วบคมุ ระดบั นำ้� ตาล ในเลอื ดจากการตรวจนำ�้ ตาลในเลอื ดหลงั จากอดอาหาร 8 ชว่ั โมง (fasting blood sugar: FBS) เทา่ กบั รอ้ ยละ 43.44 ในปี พ.ศ. 2557 แผนภูมทิ ี่ 16 : ร้อยละของประชากรอายุ 35 ปีขนึ้ ไปที่ได้รบั การคดั กรองเบาหวาน และอตั ราผ้ปู ่วยเบาหวานรายใหมท่ ี่ได้รบั การวินจิ ฉัย ในปงี บประมาณ 2558-2561 ทมี่ า : ระบบคลังข้อมลู ดา้ นการแพทย์และสขุ ภาพ (HDC) กระทรวงสาธารณสุข ข้อมูล ณ วนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2562 แผนภมู ิท่ี 17 : รอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวานทม่ี ารบั การตรวจระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด (HbA1c) 1 ครงั้ ตอ่ ปี และรอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวาน ทคี่ วบคมุ ระดบั นำ้� ตาลในเลอื ดไดด้ ี (HbA1c <7%) ในปงี บประมาณ 2558-2561 ที่มา : ระบบคลงั ขอ้ มูลดา้ นการแพทยแ์ ละสขุ ภาพ (HDC) กระทรวงสาธารณสขุ ข้อมลู ณ วันท่ี 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 รายงานสถานการณ์โรค NCDs 31 เบาหวาน ความดันโลหติ สงู และปจั จัยเส่ียงที่เกี่ยวข้อง พ.ศ. 2562

แผนภมู ทิ ่ี 18 : รอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวานทมี่ ารบั การตรวจระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ด (HbA1c) 1 ครงั้ ตอ่ ปี และรอ้ ยละผปู้ ว่ ยเบาหวาน ทค่ี วบคมุ ระดบั นำ�้ ตาลในเลอื ดไดด้ ี (HbA1c <7%) ปี พ.ศ. 2555-2561 ทีม่ า : รายงานผลการด�ำเนินงานการประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเบาหวานชนิดท่ี 2 และโรคความดันโลหิตสูง ของโรงพยาบาลในสังกัดกระทรวง สาธารณสุขและสถานพยาบาลในพื้นท่ีกรุงเทพมหานคร จากเครือข่ายวิจัยกลุ่มสถาบันแพทยศาสตร์แห่งประเทศไทย (MedResNet) พ.ศ. 2555, 2556, 2557, 2558 และ 2561 2 สถานการณ์โรคความดนั โลหติ สูง ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป มแี นวโนม้ เพม่ิ ขน้ึ จากรอ้ ยละ 21.4 ในปี พ.ศ. 2552 เปน็ รอ้ ยละ 24.7 ในปี พ.ศ. 2557 ซงึ่ เปน็ ไปในทศิ ทางเดยี วกนั กบั ความชกุ ของผทู้ ไี่ ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ มภี าวะความดนั โลหติ สงู ในประชากรอายุ 15-79 ปี ที่มแี นวโน้มเพมิ่ ขึ้นอย่างต่อเน่ือง ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547, 2548, 2550, 2553, 2558 ถึง พ.ศ. 2561 (ดงั แผนภูมทิ ี่ 19) แผนภูมทิ ี่ 19 : ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี นึ้ ไป และความชกุ ผทู้ ไี่ ดร้ บั การบอกจากแพทยว์ า่ มภี าวะความดนั โลหติ สงู ในประชากร อายุ 15-79 ปี ระหวา่ งปี พ.ศ. 2547-2561 ทมี่ า : ความชกุ ของโรคความดนั โลหติ สงู จากการสำ� รวจสขุ ภาพประชาชนไทยโดยการตรวจรา่ งกาย (NHES) พ.ศ. 2547, 2552 และ 2557 ความชุก ผ้ทู ี่ไดร้ ับการบอกจากแพทย์ว่ามภี าวะความดนั โลหติ สูง จากการส�ำรวจพฤติกรรมเสย่ี งโรคไม่ตดิ ต่อและการบาดเจบ็ (BRFSS) พ.ศ. 2547 ประชากรอายุ 15 ปีข้ึนไป, พ.ศ. 2548, 2550 และ 2553 ประชากรอายุ 15-74 ป,ี พ.ศ. 2558 และ 2561 ประชากรอายุ 15-79 ปี 32 รายงานสถานการณ์โรค NCDs เบาหวาน ความดนั โลหติ สงู และปจั จยั เส่ยี งทีเ่ กี่ยวขอ้ ง พ.ศ. 2562