Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

Published by nurse4thai, 2021-01-18 16:16:44

Description: แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564)

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี เพื่อเป็นกลไกเชื่อมต่อเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ด้านสุขภาพ ให้สามารถนำสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม เกิดประสิทธิผลตามเป้าหมายการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศ



download เอกสาร ได้จาก link ต่อไปนี้

Keywords: แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564),แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ,แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12,ยุทธศาสตร์ชาติ

Search

Read the Text Version

แผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2564) กระทรวงสาธารณสุข

คานา รัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้จัดทายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี(พ.ศ.2560-2579) เป็นแผนแม่บทหลักของการพัฒนาประเทศ และสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ได้จัดทาแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่สี บิ สอง พ.ศ. 2560 – 2564 เพื่อเปน็ กลไก ขับเคลื่อนเปาู หมายยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏบิ ัตเิ พื่อวางรากฐานการพัฒนาให้ประเทศไทยมีความม่ันคง มั่งค่ัง และย่ังยืน น้ัน กระทรวงสาธารณสุข เป็นองค์กรหลักในการพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศ ได้มีการจัดทา แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติภายใต้ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ควบคู่กันมาในแต่ละช่วงปี เมือ่ แผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ได้ส้ินสดุ ลง จึงไดจ้ ัดทาแผนพัฒนาสุขภาพ แห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ซึ่งเป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี เพ่ือเป็นกลไกเชื่อมต่อเปูาหมาย ยทุ ธศาสตร์ชาตริ ะยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ด้านสุขภาพ ให้สามารถ นาสูก่ ารปฏบิ ตั ิไดอ้ ยา่ งเป็นรปู ธรรม เกดิ ประสิทธผิ ลตามเปาู หมายการพัฒนาดา้ นสุขภาพของประเทศต่อไป คณะรัฐมนตรีได้มีมติเม่ือวันท่ี 9 ธันวาคม 2559 อนุมัติร่างแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) และเหน็ ชอบให้หน่วยงานท่ีเก่ียวข้องใช้แผนฯ ดงั กล่าวเป็นกรอบแนวทาง ในการดาเนินงานพฒั นาดา้ นสุขภาพของประเทศตามห้วงระยะเวลาของแผนต่อไป กระทรวงสาธารณสุข จึงหวงั เป็นอย่างยิ่งว่า แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) น้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน องค์การที่เก่ียวข้องกับสุขภาพ สามารถนาไปปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม เพ่ือส่งผลให้ระบบสุขภาพของประเทศมี ความเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ ประชาชนไทยมีสุขภาพดตี อ่ ไป คณะกรรมการอานวยการจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 กระทรวงสาธารณสุข ตลุ าคม 2559 ก

สารบญั หนา้ คานา ก สรปุ สาระสาคญั 1 สว่ นที่ 1 ทบทวนแผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 – 11 7 ส่วนที่ 2 บทสง่ ท้ายแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555 - 2559) 11 สว่ นท่ี 3 สถานการณแ์ ละปจั จัยท่ีมีผลต่อการพฒั นาสุขภาพ 16 สว่ นที่ 4 ทศิ ทางของแผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 37 4.1 หลกั การจดั ทาแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 39 4.2 วิสัยทัศน์ 39 4.3 พันธกิจ 39 4.4 เปูาประสงค์ 40 4.5 ยทุ ธศาสตร์การพฒั นา สว่ นที่ 5 ยทุ ธศาสตรก์ ารพัฒนาในระยะแผนพัฒนาสขุ ภาพแห่งชาติ 42 ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) 45 ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 เร่งการเสริมสรา้ งสขุ ภาพคนไทยเชงิ รกุ ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 สร้างความเปน็ ธรรม ลดความเหล่อื มลา้ ในระบบบริการสุขภาพ 49 ยุทธศาสตรท์ ี่ 3 พัฒนาและสรา้ งกลไกเพอื่ เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการ 51 กาลงั คนด้านสขุ ภาพ 54 ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 พัฒนาและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอภบิ าลระบบสุขภาพ 56 58 สว่ นท่ี 6 การบริหารจดั การแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) สู่การปฏิบตั ิ เอกสารอ้างอิง ภาคผนวก

สรุปสาระสาคัญ แผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) 1) หลกั การของแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 12 แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 (พ.ศ.2560 - 2564) อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 เป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี และเป็นกลไกเชื่อมต่อเปูาหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ด้านสุขภาพ ให้สามารถนาสู่การปฏิบัติอย่าง เปน็ รูปธรรม จึงได้ยึดหลกั การ ดงั น้ี (1) ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพฒั นา เพ่ือให้คนไทยมีสุขภาวะท่ีดี (3) ยึดเปูาหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ควบคู่กับกรอบเปูาหมายการ พัฒนาที่ย่ังยืน (SDGs) (5) การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 (6) ประเด็นการปฏิรูป ประเทศด้านสาธารณสุข (7) ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 (8) กรอบแนวทางแผนระยะ 20 ปี ด้านสาธารณสขุ เพ่ือวางฐานรากของระบบสุขภาพในระยะ 5 ปีให้เข้มแข็งเพื่อคนไทยมีสุขภาพแข็งแรง สามารถสรา้ งความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกิจของประเทศได้ท้งั ทางตรงและทางอ้อม 2) สถานการณแ์ ละปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ การพฒั นาสขุ ภาพ การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วของประเทศไทยอันเนื่องมาจาก การลดลงของภาวะเจริญพันธ์หรือการเกิดน้อยลง และภาวการณ์ตายลดลง คนไทยอายุคาดเฉล่ียยืนยาวขึ้น การเปล่ียนแปลงทางระบาดวิทยาทาให้รูปแบบของภาระโรคเปล่ียนจากโรคติดเชื้อไปเป็นโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง และยังมีปัญหาสุขภาพจาก อุบัติเหตุ ภัยพบิ ัติและภัยสุขภาพ รวมทั้งโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจาก ส่ิงแวดล้อมสูงข้ึน การจัดการกาลังคนดา้ นสุขภาพยังไม่สามารถตอบสนองต่อการสร้างประสิทธภิ าพของระบบ บรกิ ารสุขภาพ ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพก็ยังมีปัญหาในการจัดการ ระบบข้อมูลข่าวสารและการวิจัย ด้านสุขภาพยังไม่สามารถใช้ประโยชน์จากข้อมูลและงานวิจัยท่ีมีได้อย่างเพียงพอ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของประชาชนยังไม่เพียงพอในการปอู งกันปจั จัยเส่ียงต่างๆดา้ นสุขภาพ กลไกการอภิบาล ระบบสุขภาพในระดับชาติและระบบธรรมาภิบาลยังไม่ชัดเจน การปรับโครงสร้างประเทศไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” กรอบเปูาหมายการพฒั นาที่ยั่งยืน (SDGs) และการปฏิรูปประเทศดา้ นสาธารณสุข ประเด็นสถานการณ์ และปัจจัยท่ีมีผลต่อการพัฒนาสุขภาพสุขภาพเหล่าน้ี การวางแผนเตรียมพร้อมรองรับและเผชิญกับสภาพ ปัญหาจะชว่ ยให้สามารถรบั มอื กบั ความเส่ียงและภยั คกุ คามด้านสขุ ภาพท่จี ะเกิดได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 3) วสิ ยั ทศั นแ์ ละพันธกิจ วิสยั ทัศน:์ ระบบสขุ ภาพไทยเข้มแข็ง เป็นเอกภาพ เพอ่ื คนไทยสขุ ภาพดสี รา้ งประเทศให้ ม่ันคง มั่งค่ังและย่งั ยืน พนั ธกิจ: เสริมสรา้ ง สนับสนนุ และประสานใหเ้ กิดการมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาคส่วน ท้งั ภาครัฐ เอกชน นักวชิ าการและภาคประชาสังคม ในการอภบิ าลและพัฒนาระบบสขุ ภาพไทยให้เขม้ แข็ง รองรับกับ บริบทของการเปลย่ี นแปลงในอนาคต 4) เป้าประสงค์ (Goals) 1. ประชาชน ชุมชน ท้องถิน่ และภาคีเครอื ข่าย มี ความรอบรู้ด้านสขุ ภาพเพ่ิมมากขึน้ สง่ ผลใหก้ าร เจ็บปุวยและตายจากโรคท่ีปอู งกันไดล้ ดลง 2. คนไทยทุกกลมุ่ วัยมีสขุ ภาวะทีด่ ี ลดการตายกอ่ นวยั อนั ควร -1-

3. เพม่ิ ขีดความสามารถของระบบบริการสุขภาพทกุ ระดบั ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ บรกิ ารได้ อย่างสะดวก เหมาะสม 4. มีบุคลากรดา้ นสขุ ภาพทด่ี ูแลประชาชน ในสดั สว่ นท่ีเหมาะสม 5. มีกลไกการอภิบาลระบบสุขภาพแหง่ ชาติ ทเี่ หมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล 5) ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาสุขภาพ กาหนดไว้ 4 ยทุ ธศาสตร์ แต่ละยุทธศาสตรป์ ระกอบดว้ ย วตั ถุประสงค์ ตวั ช้วี ัด มาตรการและแนวทางการพฒั นา ดังนี้ วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายและตัวชวี้ ดั มาตรการและแนวทางพัฒนา ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1: เร่งการเสรมิ สรา้ งสุขภาพคนไทยเชิงรกุ 1) เพ่อื สรา้ งความเข้มแขง็ ของ 1) ระดับพัฒนาการเด็กไทยสมวัย 1) เสรมิ สร้างภาคเี ครือข่ายและ ( ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ 85) บุคคล ชุมชน ประชาชน องค์กร 2) IQ เฉลี่ยเดก็ ไทย (ไม่ต่ากวา่ พนั ธมติ รด้านสุขภาพ ปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ ภาคเี ครือข่าย 100) (1) สร้างศกั ยภาพของภาคเี ครอื ข่ายและ ภาคประชาชนและภาคประชา 3) EQ เดก็ ไทย สูงกว่าคะแนน พันธมิตร สังคมด้านสุขภาพ ให้มีศักยภาพ มี มาตรฐาน (รอ้ ยละ 70) (2) บูรณาการองคก์ รทกุ ภาคสว่ น ความรู้และทัศนคตทิ ถ่ี กู ต้องดา้ น 4) อัตราการเสยี ชีวิตจากการ (3) เชอ่ื มโยงระบบสุขภาพไทยกับ พฤตกิ รรมสุขภาพ มกี ารเรยี นรู้ มี บาดเจ็บทางถนน (ไมเ่ กิน 16 คน นานาชาติ พฤตกิ รรมเส่ียงทางสุขภาพลดลง ต่อประชากรแสนคน) 2) พฒั นากระบวนการกาหนดนโยบาย สามารถช่วยเหลือ ดูแลตนเองและ 5) อัตราตายก่อนวยั อนั ควรจาก และกฎหมายดา้ นสขุ ภาพตามหลกั โรคNCD (เบาหวาน ความดนั ชมุ ชน ตลอดจนมีสว่ นรว่ มในการ โลหติ สงู หลอดเลอื ดหวั ใจ หลอด Health in All Policy สรา้ งและจดั การระบบสขุ ภาพ เลือดสมอง ปอดเรอ้ื รัง) (ลดลง 3) สรา้ งความรอบรดู้ ้านสุขภาพเพอื่ 2) เพอื่ สร้างระบบสขุ ภาพเชิงรุก ท่ี จากปี 2559 รอ้ ยละ 25) การปรบั เปลยี่ นพฤตกิ รรมสขุ ภาพ มุ่งสร้างเสริมใหค้ นไทยทกุ ชว่ งวยั มี 6) อัตราของ Healthy Ageing 4) พฒั นาระบบเพอ่ื จดั การกับปัจจยั ท่ี สุขภาพดี มีระบบการปูองกัน เพ่ิมข้นึ (ADL มากกว่า 12 กาหนดสขุ ภาพ ควบคุมโรคและปัจจยั เสี่ยงด้าน คะแนน) (1) พัฒนาระบบการส่งเสรมิ สุขภาพ สุขภาพ มีการคุ้มครองผู้บรโิ ภค 7) อัตราการเจบ็ ปวุ ยจาก ปอู งกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ดา้ นสขุ ภาพที่ดี มีสภาพแวดลอ้ มท่ี ผลติ ภัณฑ์สุขภาพและสิง่ แวดลอ้ ม (2) พัฒนาและยกระดับมาตรฐาน เอ้ือต่อการมีสุขภาพดี (ลดลงร้อยละ 5 เม่ือเปรียบเทยี บ 3) เพื่อพัฒนาระบบการดูแล กับปี 2559) อนามยั ส่ิงแวดล้อม ผูส้ งู อายรุ ะยะยาวทีเ่ กิดจากความ 8) ระดับความรอบรดู้ ้านสุขภาพ (3) พฒั นาระบบการดูแลผ้สู ูงอายุระยะ ร่วมมอื ของครอบครัว ชุมชน และ ของคนไทย (ระดบั ดีมาก เพ่ิมขน้ึ ยาว สถานพยาบาล ให้มีความพอเพยี ง ร้อยละ 25) (4) ลดการตายก่อนวยั อนั ควร และเหมาะสมตอ่ การเข้าถึงบรกิ าร 9) พฤตกิ รรมสุขภาพของคนไทย (5) สร้างความเขม้ แข็งของระบบสุขภาพ ของผูส้ ูงอายุ ส่งผลใหผ้ สู้ งู อายมุ ี (เปรียบเทียบจากขอ้ มูลการ อาเภอ (District Health System) คณุ ภาพชีวติ ท่ีดี เข้าสู่สังคมสงู วัย สารวจสุขภาพคนไทยครงั้ ที่ 5) (6) เสริมสรา้ งความเข้มแข็งของระบบ ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภคด้านผลติ ภณั ฑ์ 9.1 อัตราการออกกาลังกาย สุขภาพและบรกิ ารสุขภาพ (เพมิ่ ขึน้ รอ้ ยละ 50) (7) พฒั นาการสาธารณสขุ มลู ฐาน 9.2 อตั ราการบริโภคผัก ผลไม้ (เพมิ่ ขน้ึ รอ้ ยละ 10) -2-

วตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมายและตวั ชว้ี ัด มาตรการและแนวทางพัฒนา 9.3 ความชุกของการสูบบุหร่ี และบริโภคแอลกอฮอล์ (ลดลง รอ้ ยละ 5) ยุทธศาสตรท์ ่ี 2: สรา้ งความเป็นธรรม ลดความเหล่อื มลา้ ในระบบบริการสขุ ภาพ 1) เพอ่ื สร้างและพัฒนาระบบ 1) ความครอบคลมุ ของหนว่ ย 1) จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภูมิ บรกิ ารปฐมภูมิท่ีมีแพทย์เวชศาสตร์ บรกิ ารปฐมภมู ิ (PCC) ท่มี ีทีม (Primary Care Cluster) ครอบครัวประจาใหค้ รบทุกแห่ง แพทยเ์ วชศาสตรค์ รอบครวั 2) เพ่มิ ขีดความสามารถของหน่วย เพอื่ เพิ่มความเปน็ ธรรมในการ (ร้อยละ 100) บริการทุกระดบั เข้าถึงบริการและคุณภาพในการ 2) จานวนศนู ยแ์ พทย์เชีย่ วชาญ (1) พัฒนาระบบบริการตามแผนพฒั นา ดแู ลประชาชน เฉพาะทาง 4 สาขาหลัก (มะเรง็ ระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) 2) เพ่อื ยกระดับขดี ความสามารถ หวั ใจ อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด) (2) พฒั นาระบบบรกิ ารด้านสขุ ภาพท่มี ี ของหนว่ ยบรกิ ารทกุ ระดับให้มี ใน 12 เขตสุขภาพ (มีครบทง้ั 4 ความจาเพาะและเหมาะสมกบั ปัญหา คณุ ภาพ ตามมาตรฐาน มคี วามเป็น สาขาทุกเขตสขุ ภาพ) สขุ ภาพในทุกระดบั ธรรม ตอบสนองตอ่ ความตอ้ งการ 3) อัตราส่วนเตยี ง (ในระบบ (3) พัฒนาระบบเครอื ขา่ ยการสง่ ต่อทกุ ของประชาชนและสามารถเขา้ ถึง ประกนั สขุ ภาพภาครัฐ)ตอ่ ระดบั บริการไดอ้ ย่างทวั่ ถึง ทัดเทยี มกัน ประชากรภาพรวมทั้งประเทศ (4) พฒั นาระบบบริการแพทย์แผนไทย 3) เพือ่ สร้างความเข้มแข็งและ (ไมน่ ้อยกว่า 2 : 1,000) และ และการแพทยผ์ สมผสาน สามารถในการแข่งขันให้กบั ระบบ การกระจายระหวา่ งพ้นื ที่ (5) สง่ เสรมิ การจดั บริการสุขภาพ สขุ ภาพของประเทศ (แตกต่างกนั ไมเ่ กิน รอ้ ยละ 10) นานาชาติ (Medical & Wellness 4) เพอ่ื ลดความเหล่อื มลา้ ในการ 4) ระยะเวลารอคอยในการรับ Hub) ทไ่ี มก่ อ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อบริการ ไดร้ ับบรกิ ารดา้ นการแพทยแ์ ละ การรกั ษาพยาบาลท่แี ผนกผปู้ ุวย สุขภาพโดยรวมของคนไทย สาธารณสุข นอก (ลดลงรอ้ ยละ 30 จาก 3) พฒั นาความร่วมมอื กับภาคี คา่ เฉลย่ี ของปี 2557, 2558, เครอื ขา่ ยและพนั ธมติ ร 2559) (1) บูรณาการการจดั ทาแผนงาน/ 5) อตั ราการสง่ ต่อออกนอกเขต โครงการพัฒนาด้านการแพทย์และ สขุ ภาพ (ลดลงร้อยละ 50) สาธารณสขุ 6) อตั ราตายจากโรคท่สี าคัญ (2) สรา้ งกลไกประชารฐั ในการ (มะเรง็ ตับ หลอดเลือดหวั ใจ จัดบริการดา้ นสขุ ภาพ หลอดเลือดสมอง) (ลดลงรอ้ ยละ 4) สรา้ งระบบคุณภาพและความ 5 จากคา่ เฉลี่ยของปี 2557, ปลอดภยั ของผปู้ ว่ ย (Patient Safety) 2558, 2559) และการลดปญั หาการฟูองรอ้ ง 7) ความพงึ พอใจของ 5) พฒั นาระบบการประเมนิ เพอื่ การ ผู้รับบรกิ ารสุขภาพ (ไม่นอ้ ยกว่า ตดั สินใจในการใช้เทคโนโลยีด้าน ร้อยละ 90) สุขภาพ (HTA) 8) ความพงึ พอใจของผใู้ ห้บริการ 6) ส่งเสริมและสนบั สนนุ การวิจยั ดา้ น สุขภาพ (ไมน่ อ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90) สุขภาพ -3-

วตั ถุประสงค์ เป้าหมายและตัวชว้ี ดั มาตรการและแนวทางพฒั นา ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3: พฒั นาและสรา้ งกลไกเพอ่ื เพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การกาลังคนดา้ นสขุ ภาพ 1) เพอื่ วางแผนกาลังคนดา้ น 1) อัตราสว่ นกาลังคนดา้ น 1) พฒั นาระบบและกลไกการ สุขภาพท่สี อดรบั กับการออกแบบ สุขภาพตอ่ ประชากร ขบั เคล่ือนการบรหิ ารจัดการและการบรู ระบบสุขภาพและความจาเป็นด้าน แพทย์ 1 : 1,800 ณาการ สุขภาพของประชาชนแตล่ ะพื้นที่ ทนั ตแพทย์ 1 : 3,600 (1) วางแผนกาลังคนด้านสุขภาพ และทิศทางระบบสุขภาพของ เภสัชกร 1 : 2,300 (2) พฒั นาระบบข้อมลู สารสนเทศด้าน ประเทศ พยาบาลวิชาชีพ 1 : 300 กาลังคน 2) เพอ่ื บรู ณาการระบบการผลติ 2) สดั สว่ นแพทยต์ อ่ ประชากร (3) พฒั นาระบบการธารงรักษากาลงั คน กาลังคนดา้ นสุขภาพของประเทศให้ ระหวา่ งพื้นท่ี (แตกต่างกันไม่เกิน ดา้ นสุขภาพ ตั้งอย่บู นฐานของความร่วมมอื ร้อยละ 20) (4) สรา้ งสภาพแวดลอ้ มให้เออ้ื ตอ่ การ ระหว่างผ้ผู ลิต และผใู้ ช้กาลังคน 3) ขีดความสามารถของ ปฏิบัติงานและเป็น happy work place ดา้ นสุขภาพทั้งภาครัฐและเอกชน บุคลากรดา้ นสุขภาพ (อย่ใู น (5) ปรับปรุงกฎหมาย ระเบียบ 3) เพือ่ สร้างกลไกและระบบการ ระดบั 1 ใน 3 ของเอเชยี ) ขอ้ บงั คับตา่ งๆทเ่ี กยี่ วขอ้ ง บริหารจดั การกาลังคนดา้ นสขุ ภาพ 4) ระดบั ความสุขในการ 2) เรง่ ผลิตและพฒั นากาลังคนด้าน รวมทั้งระบบการตดิ ตามและ ปฏิบตั งิ านของบุคลากรดา้ น สุขภาพ ประเมินผลการบรหิ ารจัดการ สุขภาพ (ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 80) (1) วางแผนการผลติ กาลังคนดา้ นสขุ ภาพในทุกระดับ (2) สนบั สนุนใหม้ ีกลไกประชารัฐ รว่ ม 4) เพอื่ สรา้ งเครือขา่ ยกาลังคนดา้ น ในการบริหารจดั การกาลังคนดา้ น สุขภาพ ที่ประกอบดว้ ยภาครฐั สขุ ภาพในเขตสขุ ภาพ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ (3) พัฒนากลไกการดูแลการผลติ และ และภาคประชาชน การประกอบวิชาชีพ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน มี คณุ ธรรมจริยธรรม (4) สรา้ งความเข้มแข็งของบุคลากรดา้ น สขุ ภาพ โดยการพฒั นาศักยภาพ เสริม ทกั ษะ มกี ารจดั การความรอู้ ยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนอ่ื งให้ทนั ต่อสถานการณ์ การเปลยี่ นแปลง 3) สร้างกลไกการส่ือสารและภาคี เครือข่ายกาลงั คนด้านสขุ ภาพ (1) พัฒนาระบบการส่ือสารองคก์ ร เพ่ือส่งเสริมการรับรูแ้ ละความเขา้ ใจใน ทิศทางเดยี วกนั (2) พัฒนาเครือข่ายกาลังคนด้าน สุขภาพให้เข้มแข็ง และย่งั ยืน -4-

วัตถปุ ระสงค์ เป้าหมายและตัวชวี้ ดั มาตรการและแนวทางพัฒนา ยุทธศาสตรท์ ่ี 4: พฒั นาและสร้างความเขม้ แขง็ ในการอภบิ าลระบบสขุ ภาพ 1) เพอื่ อภิบาลระบบสขุ ภาพอยา่ งมี 1) ความครอบคลุมของ 1) สร้างระบบธรรมาภบิ าลและการ ธรรมาภิบาล เป็นเอกภาพ อนั จะ หนว่ ยงานด้านสขุ ภาพท่ีผา่ น จัดการความรู้ ส่งผลให้มคี วามมั่นคง ย่งั ยนื ของ เกณฑก์ ารประเมนิ ITA (1) สรา้ งกลไกระดับชาติในการดูแล ระบบสขุ ภาพ (Integrity and Transparency ระบบบริการสุขภาพใหเ้ กดิ เอกภาพ 2) เพ่อื พัฒนาระบบสนบั สนุนการ Assessment) (ร้อยละ 93) (2) ส่งเสรมิ การบรหิ ารจดั การทรพั ยากร บรกิ ารสขุ ภาพ ระบบข้อมลู ข่าวสาร 2) ระดบั การใช้ประโยชนไ์ ด้ทั้ง สุขภาพอย่างมธี รรมาภิบาล ดา้ นสุขภาพ การเงนิ การคลงั ดา้ น การบรหิ ารจัดการและบรกิ าร (3) ส่งเสริมให้เกิดกลไกประชารัฐ ในการ สุขภาพ รวมถงึ ยาและเทคโนโลยี ประชาชนของระบบข้อมลู ร่วมลงทุนดา้ นการใหบ้ รกิ ารทาง ด้านสุขภาพ สุขภาพ ครอบคลมุ ประเดน็ การแพทยแ์ ละสาธารณสขุ บนพน้ื ฐาน ข้อมูลทีส่ าคัญ (ใชป้ ระโยชน์ได้ ประโยชนข์ องประชาชน ในระดบั นโยบายและการปฏิบตั ิ) (4) ปรับปรงุ กฎหมาย ระเบยี บ ข้อบังคบั 3) จานวนผลงานวิจัย/ 2) ส่งเสรมิ ระบบการวิจยั และการสรา้ ง นวัตกรรม ดา้ นสุขภาพที่ นวัตกรรมดา้ นสขุ ภาพ สามารถนาไปใช้ประโยชนไ์ ด้ (1) สนับสนนุ การวิจยั และการสร้าง (เพิ่มข้นึ รอ้ ยละ 5) นวัตกรรมสอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหาท่ี 4) สดั สว่ นมลู คา่ การนาเขา้ ยา สาคญั และเทคโนโลยดี า้ นสุขภาพ (ไม่ (2) ส่งเสรมิ และสนับสนุนการวจิ ัย เพมิ่ ขึ้น) สมุนไพรไทยอย่างครบวงจร 5) รายจ่ายด้านสุขภาพตอ่ 3) พฒั นาระบบยา เวชภณั ฑแ์ ละ ผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ เทคโนโลยที างการแพทยข์ องประเทศ (ไมเ่ กินร้อยละ 5) 4) เสริมสรา้ งกลไกและกระบวนการใน 6) มกี ลไกท่ีสามารถสร้างความ การบรหิ ารจดั การข้อมลู เป็นเอกภาพด้านสขุ ภาพอย่าง (1) สร้างมาตรฐานระบบขอ้ มูล สขุ ภาพ ย่งั ยืน ท่ีสามารถแลกเปลีย่ นและเช่อื มโยงกัน (2) พัฒนาคลงั ขอ้ มูลสุขภาพ (3) พฒั นาระบบข้อมูลสขุ ภาพส่วน บคุ คล (Personal Health Record: PHR) (4) พฒั นาเทคโนโลยีดิจทิ ัลดา้ นสุขภาพ 5) ปรบั ปรุงและพฒั นาระบบ หลักประกนั สขุ ภาพถว้ นหน้า 6) สรา้ งและพฒั นากลไกการดแู ลดา้ น การเงนิ การคลังสขุ ภาพของประเทศ ให้ มี S A F E -5-

6) การขบั เคล่อื นแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) สกู่ ารปฏบิ ตั ิ 1. ดาเนินการส่ือสาร ประชาสัมพันธ์ สร้างความรู้ความเข้าใจ ให้ประชาคมสาธารณสุข องค์กร ภาคี สขุ ภาพ ตระหนักและเข้าใจในสาระสาคัญของแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) และพร้อมเขา้ ร่วมในการขับเคลื่อนแผนส่กู ารปฏบิ ัติ 2. สรา้ งความเชือ่ มโยงระหว่างแผนพัฒนาฯ 12 และนโยบายรัฐบาล เข้าสู่แผนการบริหารราชการแผ่นดนิ และแผนระดบั อนื่ ๆ 3. ผบู้ รหิ ารทุกระดับของหนว่ ยงานที่เกี่ยวข้อง ใหค้ วามสาคญั ใชเ้ ปน็ กรอบแนวทางดาเนนิ งาน 4. จัดตงั้ คณะกรรมการกากับทศิ ทางการขบั เคลือ่ นแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) เพอ่ื กากับการดาเนนิ งาน ติดตามประเมนิ ผลแผนฯ เปน็ ระยะและต่อเน่ือง 5. จัดใหม้ ีกลไกในการพัฒนาวิธหี รือกระบวนการยกร่างแผนพัฒนาสขุ ภาพฯ ฉบับตอ่ ไป -6-

ส่วนท่ี 1 ทบทวน แผนพฒั นาสขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 1 ถึง ฉบับท่ี 11 นับต้ังแต่ พ.ศ.2475 หลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง ประเทศไทยไดเ้ ร่ิมยกร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ แห่งชาติ มีการจัดต้ังสภาเศรษฐกิจแห่งชาติและคณะกรรมการดาเนินการ ในปีพ.ศ.2502 ได้มีการตรา พระราชบัญญัติพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ เปลี่ยนชื่อสภาเศรษฐกิจแห่งชาติ เป็นสภาพัฒนาการเศรษฐกิจ แห่งชาติเป็นหน่วยงานถาวร (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ในปัจจุบัน) จัดทาแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ หรือ ผังเศรษฐกิจแห่งชาติ และพิจารณาโครงการเสนอรัฐบาล และในปี พ.ศ.2504 ได้เร่ิมมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ.2504-2509) ซ่ึงเน้นการเติบโตทาง เศรษฐกิจด้วยการพัฒนา(ลงทุน) โครงสร้างพื้นฐานต่างๆ การคมนาคมและขนส่ง สร้างเขื่อนเพื่อการ ชลประทานและพลังงานไฟฟูา และกระทรวงสาธารณสุข ได้ริเร่ิมจัดทาแผนพัฒนาการสาธารณสุขภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกิจแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 1 (พ.ศ.2504 - 2509) ควบคกู่ นั ตง้ั แต่นัน้ เป็นต้นมา แผนพฒั นาการสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 1 (2504 – 2509) เน้นการขยายสถานบริการสาธารณสุขได้แก่ โรงพยาบาลและสถานีอนามัยให้เป็นพื้นฐานในการ พัฒนาประเทศ มีการก่อสร้างโรงพยาบาลใหม่ๆเพ่ิมข้ึนหลายแห่ง แต่ยังไม่เน้นหนักในส่วนภูมิภาคเท่าที่ควร สาหรับงานด้านอนามัย ปราบปรามและควบคุมโรคติดต่อนั้น ได้ดาเนินการได้ตามเปูาหมายท่ีกาหนดไว้ ยกเว้นในเรอื่ งการแกไ้ ขปัญหาการขาดแคลนแพทย์และพยาบาลในชนบทหา่ งไกล แผนพฒั นาการสาธารณสขุ ฉบับที่ 2 (2510 – 2514) เน้นการวางแผนกาลังคนและการกระจายการพัฒนาสู่ชนบท เร่งรัดการผลิตบุคลากรทางการแพทย์ และการสาธารณสุข การปรบั ปรุงบริการสาธารณสขุ โดยขยายขอบเขตการบรกิ ารด้านสาธารณสขุ แก่ประชาชน ในชนบทห่างไกล มกี ารบังคับนักศึกษาแพทย์ให้ทาสัญญาปฏิบัติงานชดใช้ทุนเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2508 ผลการดาเนินงานพบว่าการผลิตแพทย์และพยาบาลยังไม่เป็นไปตามเปูาหมายที่กาหนดไว้ในแผน การส่งเสริม สุขภาพมีอัตราความก้าวหน้าสูงกว่าช่วงแผน ฯ 1 เช่น ผลงาน BCG เพิ่มเป็น 3 เท่า การรักษาพยาบาล ครอบคลุมประชากรไดร้ ้อยละ 11 สถานบริการระดับอาเภอเพ่ิมจากร้อยละ 42.3 เป็นร้อยละ 54.9 ของ จานวนอาเภอทั้งหมด แผนพฒั นาการสาธารณสุข ฉบบั ที่ 3 (2515 – 2519) เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตมากย่ิงข้ึน กาหนดนโยบายประชากรเป็นครั้งแรก มุ่งเน้นการอนามัยแม่ และเด็ก การวางแผนครอบครัว การควบคุมโรคติดต่อ การปรับปรุงและขยายการบริการ รักษา มีการทดลอง รูปแบบการพัฒนาอนามัยส่ิงแวดล้อมด้วย พัฒนาความร่วมมือของประชาชนและมีนโยบายการให้บริการ รกั ษาพยาบาลฟรแี ก่ผู้รายได้น้อยเป็นคร้ังแรก พ.ศ. 2518 อัตราเพ่ิมของประชากรลดลง 31.5 ตอ่ พนั เป็น 26.1 ต่อ 1,000 อัตราตายของประชากรลดลงจาก 11.6 ต่อพันเป็น 10.9 ต่อพัน การผลิตบคุ ลากร สาธารณสุขยังต่ากวา่ เปูาหมาย แพทย์ใช้ทุนเริ่มปฏิบัติงานใน พ.ศ. 2515 ทาให้มีแพทย์ในชนบทมากกวา่ ขึ้น ในส่วนของการขยายบริการในลักษณะจานวนเตียง จานวนสถานบริการและการให้ภูมิคุ้มกันโรคยังไม่เป็นไป ตามเปาู หมาย -7-

แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 4 (2520 – 2524) มุ่งเน้นท่ีการแก้ไขและลดช่องว่างของปัญหาสาธารณสุข การให้บริการสาธารณสุขแบบผสมผสานแก่ ประชาชนอย่างทั่วถึงโดยเร่ิมต้ังเปา้ หมายสุขภาพดีถ้วนหน้าใน ปี 2543 ด้วยกลยุทธ์สาธารณสุขมูลฐานใน พ.ศ. 2522 โรคติดตอ่ บางอย่างลดลงจนไม่เปน็ ปญั หา เชน่ กาฬโรค ไข้ทรพิษ ประชาชนในชนบทยังมีสุขภาพ อนามัยไม่ดี เนื่องจากอยู่ในสภาพแวดล้อมที่ไม่ถูกสุขลักษณะขาดแคลนน้าสะอาดในการบริโภคและมี พฤติกรรมที่เส่ียงต่อการเกิดโรค ด้านสถานบริการเริ่มมีโรงพยาบาลประจาอาเภอแทนศูนย์การแพทย์และ อนามยั และมีโครงการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคข้ันพน้ื ฐานเป็นครั้งแรกใน พ.ศ. 2521 มีการอบรม ผสส./อสม. ครงั้ แรกใน พ.ศ. 2520 แผนพฒั นาการสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 5 (พ.ศ. 2525 – 2529) เน้นการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ ให้ความสาคัญกับการพัฒนาอุตสาหกรรมโดยเฉพาะ อุตสาหกรรมส่งออก เน้นการพัฒนาชนบทอย่างผสมผสานโดยชมุ ชนมีส่วนร่วมภายใตร้ ะบบของคณะกรรมการ พฒั นาชนบทแห่งชาติ (กชช.) ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการสาธารณสุขมูลฐาน การจัดต้ัง โรงพยาบาลระดับ อาเภอให้ครบทุกอาเภอรวมทั้งยกฐานะสานักงานผดุงครรภ์ให้เป็นสถานีอนามัยท้ังหมด และการ ต้งั เปาู หมายทางสังคมระยะยาว (20 ป)ี “สุขภาพดถี ้วนหน้า 2543” จัดตั้งโรงพยาบาลชมุ ชนในระดับอาเภอ ได้ครอบคลมุ ร้อยละ 85.2 และสถานีอนามัยไดค้ รอบคลุมร้อยละ 97.9 การผลิตแพทย์และพยาบาลสามารถ ดาเนินการไดร้ ้อยละ 93.6 และร้อยละ 93.8 ของเปูาหมายตามลาดับ การฝึกอบรมอาสาสมัครสาธารณสุข ประจาหมู่บา้ นได้ถึงรอ้ ยละ 126.9 ของเปาู หมาย การอบรมผ้สู ่อื ขา่ วสาธารณสุขไดถ้ งึ รอ้ ยละ 119.6 ของ เปูาหมาย รวมทง้ั จัดต้งั กองทุนยาไดถ้ ึงร้อยละ 232.2 แผนพฒั นาการสาธารณสุข ฉบับท่ี 6 (2530 – 2534) ขยายสถานบริการสาธารณสุขให้ครบตามเปูาหมาย การยึดหลักการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ พัฒนาและการรณรงค์ควบคุมโรคเอดส์เพื่อมิให้กระทบต่อความม่ันคงของชาติ และ เร่ิมแนวคิดเรื่อง หลักประกันสุขภาพ ประชาชนมีอายุยืนยาวขึ้นเป็น 60.8 ปี และ 64.8 ปี ในเพศชายและเพศหญิง ตามลาดบั อัตราการตายของมารดาและทารกลดลง สถานบริการสาธารณสขุ ครอบคลมุ ครบจนถึงระดับอาเภอ / ตาบล ให้ความสาคัญกบั ปัญหาสาธารณสขุ ใหม่ คอื เอดส์ อบุ ัตเิ หตุ หวั ใจ มะเรง็ สุขภาพจติ แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบบั ที่ 7 (2535 – 2539) เน้นการพัฒนาสถานีอนามัยให้เป็นจุดเชื่อมของงานสุขภาพดีถ้วนหน้าและการพัฒนาสถานบริการ สาธารณสขุ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐาน เน้นความพยายามในการสร้างหลักประกันดา้ นสุขภาพแก่คนไทยทุกคนเริ่ม หันมาเน้นการพัฒนาคุณภาพบริการและการแก้ปัญหาขาดแคลนบุคลากรที่ลาออกไปอยู่ภาคเอกชน สถาน บริการสาธารสุขทุกระดับมีการกระจายครอบคลุมพื้นท่ีต่างๆอย่างท่ัวถึง ท้ังในเมืองและชนบทแตม่ ีปัญหาการ ขาดแคลนกาลังคนโดยเฉพาะแพทย์อย่างรุนแรง อัตราการเพิ่มลดลงเหลือร้อยละ 1.3 ใน พ.ศ. 2537 การ สร้างหลักประกันสุขภาพได้ครอบคลุมร้อยละ 72 ของประชาชนทั้งหมด การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคติดต่อ โดยเฉพาะการให้วัคซนี ขนั้ พืน้ ฐานในเดก็ อายุตา่ กว่า 1 ปี มคี วามครอบคลมุ เพ่ิมขึน้ มากกวา่ ร้อยละ 80 จึงทา ให้อัตราการปุวยจากโรคดงั กล่าวลดลง -8-

แผนพัฒนาการสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 8 (2540 – 2544) เน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นวัตถุประสงค์หลัก เน้นการพัฒนาศักยภาพของคนในด้านสุขภาพ โดยเฉพาะพฤติกรรมสุขภาพ เน้นเร่ืองความครอบคลุมหลักประกันสุขภาพด้วยบริการที่มีคุณภาพและ ประสิทธิภาพ เน้นการพฒั นาอตุ สาหกรรมด้านสุขภาพ มีการปรับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั ท่ี 8 ดา้ นสาธารณสขุ ให้สอดคล้องกบั วิกฤตทางดา้ นเศรษฐกจิ แผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 9 (2545 – 2549) เนน้ สขุ ภาพคอื สุขภาวะ พัฒนาระบบสุขภาพท้ังระบบ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับสุขภาพ: ระบบสุขภาพพอเพียง ภาพลักษณ์ของสังคมและระบบสุขภาพที่พึงประสงค์ เริ่มกาหนดวิสัยทัศน์และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพ โดยมีวิสัยทัศน์ว่า “คนในสังคมไทยทุกคนมีหลักประกันที่จะดารงชีวิตอย่างมี สุขภาวะ และเข้าถึงบริการสุขภาพท่ีมคี ุณภาพ อย่างเสมอภาค รวมทั้งอยู่ในครอบครัว ชุมชนและสังคมที่ มีความพอเพียงทางสุขภาพ มีศักยภาพ มีการเรียนรู้ และมีส่วนร่วมในการจัดการสุขภาพ โดยสามารถใช้ ประโยชน์ทง้ั จากภูมิปัญญาสากลและภูมิปัญญาไทยได้อย่างรู้เท่าทัน” พันธกิจหลัก: การระดมพลังท้ังสังคม เพอื่ สรา้ งสุขภาพ (All for Health) ระดมพลังท้ังสังคมเพ่ือร่วมสร้างสุขภาพโดยจะต้องทาให้เกิดสานึกสุขภาพ ในสังคมทุกส่วนอย่างท่ัวถึง และเปิดโอกาสให้ส่วนต่างๆ ในสังคมมีบทบาทและได้ใช้ศักยภาพของตนในการ พฒั นาเพ่อื บรรลุสู่สังคมแห่งสุขภาวะ มี 10 เปูาหมาย คือ 1) การสร้างเสริมสุขภาพและการปูองกันโรค 2) คนไทยทุกคนมีหลักประกันสุขภาพ 3) การสร้างความเสมอภาคทางดา้ นสุขภาพ 4) การปรับบทบาทภารกิจ และโครงสร้างองค์กร/กลไกของรัฐในการพัฒนาสุขภาพ 5) การสนับสนุนการกระจายอานาจดา้ นสุขภาพ 6) การพัฒนาศักยภาพด้านสุขภาพของประชาชน/ครอบครัว/ชุมชน/ประชาคม 7) การพัฒนาสถานบริการ สาธารณสุขระดบั ต้นทั้งเขตเมืองและชนบท โดยเช่ือมโยงกับระบบบริการขั้นสูง 8) การพัฒนาคุณภาพสถาน บริการสาธารณสุข 9) การสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทางปัญญาของระบบสุขภาพ โดยเน้นการแพทย์แผน ไทย สมนุ ไพร และการแพทย์ทางเลือกทง้ั จากภูมปิ ัญญาไทยและสากล 10) การสนบั สนุนอุตสาหกรรมสขุ ภาพ ยุทธศาสตร์การพัฒนามี 6 ยุทธศาสตร์ 1) เร่งการสร้างสุขภาพเชิงรุก 2) การสร้างหลักประกันการเข้าถึง บริการสุขภาพถ้วนหน้า 3) ปฏิรูประบบ โครงสร้าง และกลไกการบริหารจัดการระบบสุขภาพ 4) การสร้าง ความเข้มแขง็ ของภาคประชาสงั คมเพ่ือสุขภาพ 5) การบริหารจดั การความรแู้ ละภมู ิปัญญาเพ่อื สขุ ภาพ 6) การ พัฒนากาลังคนด้านสขุ ภาพเพ่ือรองรับการเปลย่ี นแปลงและระบบสขุ ภาพใหม่ แผนพฒั นาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 10 (2550 – 2554) แนวคิดน้อมนา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการพัฒนาสุขภาพ และยึดหลักการ สุขภาพดเี ปน็ ผลจากสงั คมดี วสิ ัยทัศน์ มุ่งสู่ระบบสุขภาพพอเพยี ง เพ่ือสร้างให้สุขภาพดี บริการดี สังคมดี ชวี ิต มีความสุขอย่างพอเพียง พันธกิจ สร้างเอกภาพทางความคิด สร้างจิตสานึกสุขภาพใหม่ สร้างระบบจัดการที่ โปรง่ ใส สรา้ งกลไกการมสี ว่ นร่วมในการพฒั นา ยทุ ธศาสตร์ 6 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1) การสร้างเอกภาพและธรร มาภิบาลในการจัดการระบบสุขภาพ 2) การสร้างวัฒนธรรมสุขภาพและวิถีชีวิตท่ีมีความสุขในสังคมแห่งสุข ภาวะ 3) การสร้างระบบบริการสุขภาพและการแพทย์ที่ผู้รับบริการอ่นุ ใจ ผู้ให้บริการมีความสุข 4) การสร้าง ระบบภมู ิคุ้มกันเพ่ือลดผลกระทบจากโรคและภัยคุกคามสุขภาพ 5) การสร้างทางเลือกสุขภาพที่หลากหลาย ผสมผสานภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล 6) การสรา้ งระบบสขุ ภาพฐานความร้ดู ้วยการจัดการความรู้ -9-

แผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (2555 – 2559) หลักการมุ่งพัฒนาภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลในการ อภิบาลระบบสุขภาพ ให้ความสาคัญกับการสร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคมมุ่งเน้น การสร้างหลกั ประกนั และการจัดบริการทีค่ รอบคลุมเปน็ ธรรมเห็นคุณค่าของการสร้างความสัมพันธ์ท่ีดีระหวา่ ง ผู้ให้และผู้รับบริการ วิสัยทัศน์: “ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียง เป็นธรรม นาสสู่ ังคมสขุ ภาวะ” พนั ธกิจ: พัฒนาระบบสุขภาพพอเพียงโดยยึดหลักธรรมาภิบาล สร้างภูมิคุ้มกันต่อภัย คุกคาม และสร้างเสริมการมสี ่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมถึงการใช้ภูมปิ ัญญาไทย มี 5 ยุทธศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1) ยุทธศาสตร์เสริมสร้างความเข้มแข็งของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ ตลอดจนการพึ่งพาตนเองด้าน สุขภาพบนพื้นฐานภูมิปัญญาไทย 2) ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบเฝูาระวัง เตือนภัย และการจัดการภัยพิบัติ อุบัติเหตุและภัยสุขภาพ 3) ยุทธศาสตร์มุ่งเน้นการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกัน ควบคุมโรค และคุ้มครอง ผูบ้ รโิ ภคด้านสุขภาพ เพ่อื ให้คนไทยแข็งแรงท้งั ร่างกาย จิตใจ สังคม และปญั ญา 4) ยุทธศาสตรเ์ สริมสร้างระบบ บรกิ ารสุขภาพให้มีมาตรฐานในทุกระดบั เพื่อตอบสนองตอ่ ปญั หาสุขภาพในทุกกลุ่มเปูาหมาย และพัฒนาระบบส่ง ต่อท่ีไร้รอยต่อ 5) ยุทธศาสตร์สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และพัฒนาระบบ บริหารจัดการทรัพยากรใหม้ ปี ระสิทธิภาพ - 10 -

สว่ นท่ี 2 บทสง่ ทา้ ยแผนพัฒนาสขุ ภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ในช่วงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) ประเทศไทยได้ลงทุน ด้านสุขภาพ ได้แก่ โครงสร้างพื้นฐานการบริการในระดับต่างๆ เพ่ือก้าวสู่ความเป็นเลิศ ในการเป็นผู้นาใน ภูมิภาคอาเซียน ผลิตและพัฒนาทรัพยากรบุคคล พัฒนาวชิ าการ องค์ความรู้ในการพัฒนาสุขภาพอนามัยของ ประชากร การจัดระบบบริการสุขภาพให้ครอบคลุมทุกกลุ่มวัย โดยเฉพาะ กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พกิ าร และกลุ่มดอ้ ย โอกาสอน่ื ๆ ซึง่ ลว้ นมีผลต่อเปาู หมายการบรรลุ ด้านสขุ ภาพ ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในประเทศที่มีความก้าวหน้าในการดาเนินการเพ่ือบรรลุเปูาหมายของ MDGS และเน่ืองจากส่วนใหญ่บรรลุเปาู หมายแล้ว ความท้าทายสาคัญในเรื่องการการตายของเด็กอายุต่ากว่า ห้าปีประมาณ 8.5 เหลือ 4.3 ต่อประชากรหนึ่งพัน ในช่วง 2533-2558 การที่ไม่บรรลุเปูาหมายนี้ จาก ปจั จัยหลายประการโดยเฉพาะการต้ังครรภ์ไม่พร้อม มารดาวัยรุ่น ประเทศไทยสามารถบรรลุเปูาหมายการลด อัตราการตายของทารกให้เหลือ 15 ต่อการเกิดมีชีพพันคนภายในปี 2559 ยกเว้นในเขตพ้ืนที่สูงในบาง จังหวัดในภาคเหนือและสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ มีโอกาสต่าในการบรรลุเปูาหมาย การพฒั นาสุขภาพสตรี มีครรภ์ มีโอกาสไม่บรรลุเปูาหมายการลดอัตราส่วนตายของมารดาลงสามในส่ี หรือลดลงประมาณ 31.5 ต่อ การเกดิ มชี พี แสนคน ให้เหลือ 18 ต่อการเกิดมีชพี แสนคน ปัญหามารดาตายในประเทศไทยมี 2 เรื่อง คือเรื่อง ข้อมูลที่มีหลายแหล่งแตกต่างกันซึ่งหน่วยงานต่างๆ กาลังศึกษาเปรียบเทียบและปรับระบบข้อมูลให้มี มาตรฐาน ครอบคลุม และ มีประสิทธิภาพย่ิงขึ้น อีกเร่ืองคือการดาเนินงานในพื้นท่ีเฉพาะบางพื้นท่ีซ่ึงยังมี ความก้าวหน้าล่าช้ากว่าพื้นท่ีอื่นๆ สาหรับหญิงมีครรภ์เป็นจุดเริ่มต้นของการพัฒนาคน และเป็นเร่ืองสาคัญที่ หน่วยงานและภาคสว่ นตา่ งๆ ตอ้ งรว่ มมอื กนั ในทกุ ระดบั อย่างไรก็ดีประเทศไทยยังจะต้องพัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์โดยเฉพาะการพัฒนา ทรัพยากรบุคคลด้านสุขภาพให้สามารถพัฒนาคุณภาพในการดูแลสุขภาพ และสร้างหลักประกันสุขภาพใน ระยะยาวสาหรับสังคมผู้สูงอายุในอนาคต การพัฒนาสุขภาพมารดาและเด็ก โดยเฉพาะอย่างย่ิงในจังหวัด ภาคเหนือบนพ้ืนท่ีสูงและสามจังหวดั ชายแดนภาคใต้ การส่งเสริมให้ประชากรทุกกลุ่มเข้าถึงอนามัยการเจริญ พันธ์ุ การยับยั้งและปูองกันการแพร่ระบาดครั้งใหม่ของโรคเอดส์และวัณโรค การส่งเสริมสุขภาพเพ่ือลดและ ปอู งกันการเกิดโรคมะเรง็ และหลอดเลือดหวั ใจ ระบบบริการสาธารณสขุ ไทยในปัจจบุ ันถงึ แม้จะประสบผลสาเรจ็ ในการขยายความครอบคลุม ของสถานบริการสาธารณสุข โดยมีโครงสร้างหน่วยบริการต้ังแต่ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ กระจาย ครอบคลุมทุกจังหวัด และมีการจัดหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแก่ประชาชนไทย โดยมีเปูาหมายหลักเพ่ือให้ เกดิ ความเปน็ ธรรมในการเข้าถงึ บริการสาธารณสขุ ทจี่ าเปน็ อย่างไรกด็ ี ยังพบวา่ ความไม่เป็นธรรมในการเข้าถึง บริการสาธารณสุขยังคงดารงอยู่ อันเนื่องมาจากการขาดความเป็นธรรมในการกระจายของบุคลากร สาธารณสุข การกระจายเทคโนโลยีทางการแพทย์ รวมถึงการกระจายของโรงพยาบาลตติยภูมิข้ันสูงท่ีมีการ กระจุกตัวบางพื้นที่ เช่น กรุงเทพมหานคร ในขณะที่บางเขตพื้นท่ีไม่มีบริการดังกล่าว การบริการที่จาเป็น สาหรับปัญหาสุขภาพใหม่ เช่น บริการระยะกลางและบริการระยะยาวสาหรับผู้สูงอายุที่อยู่ในวัยพึ่งพิง ผู้มี ภาวะทุพพลภาพหรอื พิการ ทั้งในชมุ ชนและในสถาบันยังไม่ได้รับการพัฒนาเท่าท่ีควร บริการฟ้นื ฟูสมรรถภาพ ทางกายทั้งชั่วคราวและถาวรเกือบทั้งหมดจากัดอยู่ในโรงพยาบาลใหญ่ ซ่ึงเป็นข้อจากัดในการเข้าถึงบริการ สาหรับผู้ปวุ ยที่มีภาวะทพุ พลภาพโดยเฉพาะสาหรับผู้ปุวยท่ีอยู่ในชนบท ระบบบริการปฐมภูมิขาดคุณภาพและ - 11 -

ไม่เข้มแข็ง แม้ว่าจะมีแนวคิดในการผลักดันให้เกิดบริการปฐมภูมิซึ่งครอบคลุมบริการสาธารณสุขมูลฐานด้วย สถานบริการปฐมภูมิของรัฐซึ่งส่วนใหญ่อยู่ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีบคุ ลากรไม่เพียงพอ ประชาชนยังไม่ เข้าใจและขาดความเช่ือมั่นต่อระบบบริการปฐมภูมิ ศักยภาพของบุคลากรยังมีจากัดในการจัดการกับปัญหา สุขภาพทเ่ี ปลย่ี นแปลงไป มคี วามซับซ้อนมากขน้ึ และต้องการความรว่ มมือจากภาคส่วนอื่นและชมุ ชน สรุปสาระสาคญั การประเมนิ ผลแผนพฒั นาสขุ ภาพ ฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 เป็นแผนยุทธศาสตร์ท่ีจัดทาขึ้นเพื่อช้ีนาทิศทางการ พัฒนาด้านสุขภาพ และเป็นแผนท่ีอยู่ในช่วงแผนพัฒนาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) วิสัยทัศน์ของแผนพัฒนาสุขภาพในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ที่กาหนด “ประชาชนทุกคนมีสุขภาพดี ร่วมสร้างระบบสุขภาพพอเพียง เป็นธรรม นาสู่สังคมสุขภาวะ” ภายใต้หลักการสร้างเอกภาพและธรรมาภิบาลของระบบสุขภาพ ให้ความสาคัญกับการ สร้างกระบวนการการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม มุ่งเน้นการสร้างหลักประกันและการจัดบริการที่ ครอบคลุม เปน็ ธรรม เหน็ คุณคา่ ของการสรา้ งความสัมพันธท์ ีด่ รี ะหว่างผใู้ ห้และผูร้ ับบรกิ าร ระบบสุขภาพพอเพียง หมายถึง “กระบวนการพัฒนาสุขภาพของประชาชนให้ไปสู่การมี สุข ภาวะท้ังมิติทางกาย จิต สังคมและปัญญา โดยมีระบบบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ มาตรฐาน เข้มแข็ง เพยี งพอ และเขา้ ถงึ ได้สะดวก ตอบสนองตอ่ ปัญหาและความต้องการท่แี ทจ้ ริงของประชาชน บนตน้ ทุนท่ีเหมาะสม” แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) มีเปูาหมายสาคัญคือการ พัฒนาสุขภาพไทยไปสู่ระบบสุขภาพพอเพียง เป็นธรรม นาสู่สังคมสุขภาวะ สอดคล้องกับปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพยี งอันเปน็ นโยบายสาคญั ของแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ ฉบบั ท่ี 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) การประเมินผลจะครอบคลุมการออกแบบของแผนและการดาเนินการตามแผนตั้งแต่ปี พ.ศ. 2555 ถึงต้นปี 2559 การประเมินผลจะดูกิจกรรมท่ีมีการดาเนินการภายใตย้ ุทธศาสตร์ทั้ง 6 ของแผน โดย มุ่งเน้นโครงการและแผนงานด้านการพัฒนาสุขภาพในระดับชาติในภาพรวม และระดับภาค เพื่อสะท้อน แนวโน้มของปัญหาสุขภาพท่ีสาคัญ รวมท้ังปัจจัยต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้องอันจะนาไปสู่การปรับปรุงการ ดาเนินงานเพอ่ื ให้สามารถบรรลุตามเป้าหมายของแผนและการกาหนดแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติฉบับท่ี 12 (2560 - 2564) ผลการประเมินในแตล่ ะยทุ ธศาสตร์สขุ ภาพทใี่ ชใ้ นการพัฒนา มีดงั นี้ ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 : เสริมสรา้ งความเขม้ แขง็ ของภาคีสุขภาพในการสร้างสุขภาพ ตลอดจน การพงึ่ พาตนเองดา้ นสุขภาพบนพนื้ ฐานภมู ปิ ญั ญาไทย ผลการประเมินพบว่า ทุกจังหวัดไม่ได้นาแผนฯ 11 มาเป็นกรอบการพัฒนาโดยตรง แต่ผ่าน การกาหนดเปูาหมายของกระทรวงสาธารณสุขเป็นหลัก ผลของการประเมิน มีรายละเอียดดังต่อไปน้ี 1) นโยบายไม่ชัดเจน ไม่ต่อเนื่อง การขับเคลื่อนไม่สามารถดาเนินการครอบคลุมทุกพื้นท่ี 2) การดาเนินงานส่วน ใหญ่ยังไม่เป็นท่ียอมรับของผู้ใช้ยา(แพทย์) แพทย์แผนปัจจุบันไม่สั่งยา สถานท่ีผลิตมีน้อย ราคาแพง 3) การ เผยแพร่องค์ความรู้ไม่ท่ัวถึง ขาดความรู้/คู่มือ สาหรับประชาชน ควรบรรจุหลักสูตรแพทย์แผนไทยลงใน หลักสูตรแพทย์ 4) การสนับสนุนเครือข่าย ชุมชน ท้องถิ่น กระทรวง ทบวง กรมต่างๆ ให้ความสาคัญกับ นโยบาย การประสานงาน และการขับเคลื่อน 5) ควรฟื้นฟูและพัฒนาแกนนาเครือข่ายเพ่ิมขึ้น เนื่องจาก อสม. มีภาระงานมากและเปลี่ยนตัวบ่อยขาดความต่อเน่ือง 6) ขาดจานวนผู้มีจิตอาสาท่ีแท้จริงในการทางาน - 12 -

ท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพ 7) บทบาทสมัชชาไม่ชัดเจน ไม่เข็มแข็ง และขาดความต่อเน่ือง 8) การ ขับเคลอื่ นนโยบายสาธารณะ ไม่ชัดเจนในรูปแบบสาธารณะ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : พฒั นาระบบเฝา้ ระวงั เตอื นภัย และการจดั การภัยพิบตั ิ อุบตั ิเหตุ และภัย สุขภาพ ผลการประเมินพบว่า 1) ข้อมูลในการวเิ คราะห์สถานการณ์ ขาดความครบถ้วน ทาให้การวาง แผนการเตือนภัยไม่มีประสิทธิภาพ 2) การซ้อมแผนในหน่วยย่อย ขาดการบูรณาการกับหน่วยงานอ่ืนๆ 3) การจัดโครงการความรับผิดชอบ ขาดเอกภาพและการบูรณาการ และ 4) การบริหารจัดการ งบประมาณ ทรัพยากร คน เงนิ ของ ระเบยี บการเบิกจ่ายยุ่งยาก ยุทธศาสตร์ที่ 3 : มุ่งเนน้ การส่งเสรมิ สขุ ภาพ การปอ้ งกนั ควบคุมโรค และคุม้ ครองผู้บรโิ ภค ด้านสุขภาพ เพ่อื ให้คนไทยแขง็ แรงท้ังร่างกาย จติ ใจ สังคม และปัญญา ผลการประเมินพบว่า 1) นโยบายมีความหลากหลายในทางปฏิบัติ ขาดองค์กรท่ีรับผิดชอบที่ ชัดเจนในกระทรวงสาธารณสุขนโยบายเปลี่ยนแปลงบ่อย ขาดความต่อเน่ือง ไม่ยังยืน 2) ช่องทางการ ประชาสัมพันธม์ ีน้อย ไม่ครอบคลุม ไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในวิถีชีวิตได้ 3) การบังคับใช้กฎหมายไม่ มปี ระสิทธภิ าพ 4) การเฝูาระวัง การคัดกรองโรคเร้อื รัง การเชื่อมโยงฐานข้อมูล ไม่ทราบข้อมูลที่ชัดเจน ข้อมูล ไม่ครบถ้วน 5) ขาดบุคลากรท่ีดูแลโรคเร้ือรัง เจ้าหน้าท่ีรพ.สต.มีภาระงานมาก ดูแลกลุ่มเปูาหมายไม่ทั่วถึง 6) การสง่ เสริมสุขภาพแม่และเดก็ การเข้าถึงบริการไม่ครอบคลุม ไม่ได้มาตรฐาน 7) การใช้ยาเสพติดผิดประเภท 8) การลงทุนดา้ นการสง่ เสริมสขุ ภาพ ต่ากว่าดา้ นอ่ืนๆ โดยเฉพาะดา้ นการรกั ษาพยาบาล ยุทธศาสตรท์ ่ี 4 เสรมิ สรา้ งระบบบริการสขุ ภาพใหม้ ีมาตรฐานในทุกระดบั เพอ่ื ตอบสนองต่อ ปญั หาสุขภาพในทกุ กลมุ่ เป้าหมาย และพัฒนาระบบส่งต่อท่ีไร้รอยตอ่ ผลการประเมนิ พบวา่ 1) เพิ่มขีดความสามารถของบริการปฐมภมู ิให้มีมาตรฐานและสอดคล้อง กบั ปญั หาของชมุ ชน งานฟ้นื ฟสู ขุ ภาพยังทาไดไ้ มค่ รอบคลุม ขาดอุปกรณ์ เงินงบประมาณ ดาเนินการไดไ้ ม่ครบ ตาม Core package ขาดอัตรากาลัง (นักกายภาพบาบัด ทันตแพทย์ พยาบาลวิชาชีพ) และ การวิเคราะห์ ปัญหาชุมชนไม่ชัดเจน 2) พัฒนาระบบมาตรฐานบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข และความเชี่ยวชาญ เฉพาะในแต่ละระดับ ขาดบุคลากรท่ีจาเป็น ไดแ้ ก่ เจ้าหน้าท่ีบางสายงาน ขาดข้อมูลนาเข้า Service plan แต่ ละสาขา และ ขาดความเชือ่ มโยงระหว่าง ระบบบริการตติยภูมิ ทุติยภูมิ และปฐมภูมิ 3) จัดสรรทรัพยากรโดย ยึดแผนการพฒั นาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) เป็นกรอบในการกระจายทรัพยากร พบว่า 1. การ สร้างศูนย์ท่ีเป็นเลิศ ไม่เหมาะสมกับระยะทางของผู้รับบริการในพื้นท่ี เช่น ประจวบคีรีขันธ์ 2. การจัดการ ระดับเขต ในการกระจายทรัพยากรทั้ง คน เงิน ของ ยังเป็นแบบแยกส่วน ไม่สอดคล้องกับบริบท 3. การ จัดการระดับจังหวัด ไม่สอดคล้องกับบริบทการให้บริการ เช่น การพัฒนาบุคลากรเพ่ือรองรับศูนย์ให้บริการ 4. การกาหนดสถานบริการในการเป็นศูนย์บริการเฉพาะทาง (Excellence) 5. ขาดการบูรณาการระหว่าง หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น พม. อปท. สภากาชาดไทย ฯลฯ 6. การส่งต่อผู้สูงอายุที่คัดกรองพบปัญหาสุขภาพ ขาดการสง่ ตอ่ ทีเ่ ป็นระบบ จากชุมชนเขา้ สสู่ ถานบริการ 7. สถานบริการส่วนใหญ่ ขาดการจัดระบบรองรับการ ดแู ลผู้สูงอายุท่ีเป็นกลุ่มเส่ียงโดยเฉพาะทาให้ได้รับการบริการล่าช้า 8. นโยบายเร่ืองศูนย์ดูแลผู้สูงอายุกลางวัน ยังไม่ชัดเจน (ไม่กาหนดว่าควรเป็นบทบาทใคร ไม่มีการขับเคลื่อน) 4) พัฒนาระบบบริการฟน้ื ฟสู มรรถภาพผู้ พิการให้สามารถเข้าถึงบริการได้ครอบคลุมมากข้ึน ยังมีปัญหา ขาดบุคลากรด้านการฟื้นฟู การขึ้นทะเบียนผู้ พิการยังไม่ครอบคลุม ทาให้ผู้พิการไม่สามารถเข้าถึงบริการ 5)ขยายขีดความสามารถในการบาบัดรักษาและ - 13 -

ฟ้ืนฟูผู้เสพ ผู้ตดิ ยาและสารเสพติด พบว่า ไม่มีผู้สมัครใจเข้ารับการบาบัด เนื่องจากหลักเกณฑ์ของตารวจ ถ้า จับผเู้ สพได้ ตอ้ งจบั ผู้ค้าด้วย และ ต้องอาศัยความร่วมมือจากหน่วยงานอ่ืน 6) สร้างระบบความปลอดภยั ของ ผ้ปู วุ ยและกระบวนการสร้างความสัมพนั ธท์ ี่ดี มีการดาเนินงานอย่างตอ่ เน่ืองและเปน็ รูปธรรม 7) พัฒนาระบบ บริการแพทย์ฉุกเฉินให้มีความครอบคลุม ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้ทั้งภาวะปกติและภาวะภัยพิบัติ พบวา่ ประชาสัมพันธ์ยังไมค่ รอบคลุมพน้ื ท่ี และขาดการซอ้ มแผนระดับชุมชน ในกรณีเตรียมพร้อมรับภัยพบิ ัติ และขาดการบรู ณาการกับหน่วยงานทเี่ ก่ียวขอ้ ง 8) สง่ เสรมิ การจดั บรกิ ารสขุ ภาพนานาชาติ (Medical Hub) ท่ี ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย โดยเน้นการสนับสนุนกิจการสปา การส่งเสริม สขุ ภาพ การแพทยแ์ ผนไทย ผลิตภณั ฑ์สขุ ภาพและสมนุ ไพรไทย ยุทธศาสตร์ท่ี 5 : สร้างกลไกกลางระดับชาติในการดูแลระบบบริการสุขภาพ และพัฒนา ระบบบรหิ ารจัดการทรพั ยากรให้มปี ระสิทธิภาพ ผลการประเมินพบว่า ยังไม่มีความก้าวหน้าในสร้างกลไกกลางระดับชาติ เป็นส่ิงที่ต้องพัฒนา รปู แบบและแนวทางในการดาเนินการต่อไป การนานโยบายไปสู่การปฏิบัติในช่วงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 ภายใต้ สถานการณ์ทางการเมืองการปกครองท้ังรัฐบาลพลเรือนและคณะรักษาความสงบแห่งชาติ มีผลต่อความ ตอ่ เน่ืองของนโยบาย มีขอ้ สงั เกต ดังนี้ 1. ความตั้งใจจริงของผู้กาหนดนโยบายในการใช้ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 11 ในการขับเคล่ือนมีพลังไม่เพียงพอ และขาดกลไกท่ีเป็นเอกภาพในการบริหารทรัพยากรของ หน่วยงานด้านสขุ ภาพ 2. ปัญหาการบูรณาการระหว่างภาคส่วนต่างๆ โดยเฉพาะภาครัฐ และภาคเอกชน เนื่องจาก ความชดั เจนของนโยบายมไี ม่เพยี งพอ ประเด็นทย่ี ังคงต้องพิจารณาต่อไปในเรอื่ งสาระสาคญั ทีย่ งั คงเป็นปัญหาด้านสขุ ภาพ คือ 1. ยังคงพบปัญหาพฤติกรรมท่ีไม่เหมาะสมของคนไทยซึ่งเป็นสาเหตุที่สาคัญของโรค เร้ือรังซ่ึงเป็นโรคที่ปูองกันได้หากมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม ได้แก่ การสูบบุหรี่ลดลงเล็กน้อย ท้ัง เพศหญิงและชาย แต่การรับควันบุหร่ีมือสองยังมีปริมาณสูง ถึงแม้จะลดลงจากเดิม ร้อยละ 78 เป็น ร้อยละ 73 การดืม่ แอลกอฮอลล์ ดลงในระดับการดม่ื ปานกลาง แตพ่ บการดืม่ อย่างหนัก เพิ่มขึ้น สัดส่วนของกิจกรรม ทางกายไมเ่ พียงพอ เพม่ิ ข้ึนจากรอ้ ยละ 17 เป็น ร้อยละ 20 สดั ส่วนการกินผกั ผลไม้ไม่เพยี งพอเพมิ่ ขึ้น 2. การขาดแคลนกาลังคนด้านสาธารณสุข โดยเฉพาะปัญหาการขาดแคลนบุคลากร ด้านปูองกันและส่งเสริมสุขภาพ ระบบบริการเชิงรุกและหน่วยบริการปฐมภูมิที่ดูแลผู้ปุวยแบบองค์รวมใน ระดบั ชมุ ชนและครอบครัว 3. การขาดแคลนบุคลากรทางการแพทย์ยังเกิดจากภาวะสมองไหลที่แพทย์ลาออก จากโรงพยาบาลรัฐที่ให้บริการแก่สาธารณชนไปทางานในระบบเอกชนมากขึ้น ธุรกิจทางการแพทย์ที่เติบโต อย่างรวดเร็วได้ทาใหม้ ีการขยายตวั ของโรงพยาบาลเอกชนในพ้ืนที่ที่มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ ในเขตเศรษฐกิจพิเศษ นโยบายส่งเสริมการเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ ท่ีมุ่งทาการแพทย์ให้เป็นการค้าเพ่ือ หารายได้จากการให้บริการทางการแพทย์แก่ผู้ปุวยท่ีมีฐานะดีจากต่างชาติ ได้ทาให้เกิดสมองไหลของแพทย์ จากภาครฐั ไปส่ภู าคเอกชน 4. การสร้างสุขภาพดีถ้วนหน้า (Health for All) ไม่ได้มีแตบ่ ุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุขเท่านั้น แต่เป็นเรื่องของทุกคน ทุกภาคส่วนจะต้องช่วยกัน “การระดมพลังทั้งสังคมเพ่ือสร้าง สุขภาพ” (All for Health) ซงึ่ ต้องสร้างภาวะผนู้ าทางการเมืองและพันธมิตรใหม่ ทั้งภาครัฐ ธุรกิจเอกชน และ - 14 -

ประชาสงั คม ตอ้ งเข้ามามสี ว่ นร่วมมากข้ึนในการชว่ ยสร้างวฒั นธรรมทเ่ี อื้อต่อสุขภาพและพัฒนาการเรียนรู้ของ คนในสังคมไทยให้สามารถปรับตัวอย่างรู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง ตลอดจนการสร้างความร่วมมือและร่วม รับผิดชอบต่อการพัฒนาท่ีส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และการพัฒนานโยบายสุขภาพนานาชาติและธรรมาภิบาล ในแวดวงสุขภาพโลก โดยเฉพาะอย่างย่ิงการพัฒนาด้านสุขภาพอนามัยของประชากรตามเปาู หมายการพัฒนา แห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals - MDGs) ของประเทศไทย ที่ส่วนใหญ่บรรลุเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้ 5. ปัญหาการจัดสรรงบประมาณให้แก่สถานพยาบาลโดยการคานวณอัตราเหมาจ่าย รายหัวต่ากว่าต้นทุนท่ีแท้จริงทาให้งบประมาณท่ีได้รับจัดสรรไม่เพียงพอโดยเฉพาะในระบบบริการภาครัฐน้ัน งบประมาณเกือบร้อยละ 40 ถูกใช้เป็นงบบุคลากร ทาให้สถานพยาบาลจานวนมากอยู่ในสภาพมีหนี้สินต้อง แบกรับภาระทางการเงินและขาดสภาพคล่องทางการเงิน ซึ่งจะเป็นภาระงบประมาณค่าใช้จ่ายด้าน สาธารณสขุ ของรัฐบาลต่อไปในอนาคต นอกจากน้ีหากขยายความครอบคลุมสิทธปิ ระโยชน์ที่เพิ่มมากข้ึนจะทา ใหม้ ีคา่ ใชจ้ ่ายท่เี พมิ่ ขน้ึ โดยเฉพาะผู้ปวุ ยโรคไตวายเรื้อรังระยะสดุ ท้าย 6. แนวโน้มภาระค่าใช้จ่ายทางการแพทย์ในอนาคตจะเพิ่มมากข้ึนจากปัจจัยหลาย ประการได้แก่ (1) การบีบค้ันจากการค้าเสรีท่ีจะบังคับใช้ข้อตกลงทางการค้าท่ีทาให้ต้องซื้อยาในราคาท่ีแพง ข้ึน ในขณะท่ีประเทศไทยไม่สามารถผลิตวัตถุดิบด้านยาได้ (2) การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนผู้สูงอายุท่ีมีความ เจ็บปุวยเร้ือรงั เชน่ โรคเบาหวาน ความดนั โลหิตสูง มะเร็ง โรคกระดูกและข้อ โรคต้อกระจก และทันตกรรม (3) พฤตกิ รรมการสงั่ จ่ายยาของแพทย์ท่มี แี นวโน้มใช้ยาราคาแพงและเทคโนโลยชี ้ันสงู มากขน้ึ (4) การฟอู งรอ้ ง แพทยท์ ่ีเพม่ิ มากขน้ึ ทาใหแ้ พทยส์ ง่ั การรกั ษาและการตรวจท่ีมากเกนิ จาเปน็ ปูองกันการถูกฟูองร้องวา่ ไม่ทาการ ตรวจรกั ษาให้ครบถว้ น (5) การแพทยแ์ นวพาณิชยท์ ี่ใชเ้ ทคโนโลยกี ารแพทย์ทฟี่ ุมเฟือยและไมม่ คี วามจาเป็น - 15 -

ส่วนที่ 3 สถานการณ์และปัจจัยท่ีมีผลต่อการพฒั นาสุขภาพ 3.1 สถานการณ์ภายนอกประเทศ 3.1.1 ปจั จยั ระดับโลกทีส่ าคัญ 1) ภาวะเศรษฐกจิ โลก: เศรษฐกิจโลกขยายตัวชา้ ผันผวนทางการเงิน กดี กนั การค้า คา้ เสรเี ฉพาะกลุม่ เศรษฐกจิ โลกมแี นวโน้มขยายตวั ช้า มคี วามผนั ผวนในระบบเศรษฐกิจและการเงินสงู เกิดตลาดใหม่ ท่ีมีกาลังซื้อสูง เช่น อินเดีย แอฟริกาใต้ รัสเซีย เกิดการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจรูปแบบใหม่ทั่วโลกเพื่อสร้าง อานาจต่อรอง เช่น Tran-Pacific Partnership (TPP) และ Regional Comprehensive Economic Partnership (RCEP) ทาให้รูปแบบการค้ามีความเป็นเสรีและแข่งขันกันมากขึ้น เกิดการเคล่ือนย้ายทุนและ แรงงาน กอ่ ให้เกิดมาตรการกีดกันทางการค้าที่ไมใ่ ชภ่ าษีเพ่มิ มากขึ้น เช่น การออกกฎระเบยี บ มาตรฐานสินค้า และบริการ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม และสิทธิมนุษยชน ซ่ึงประเทศไทยต้องพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมบน ฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ปรับปรุงระเบียบกฎหมายให้สอดรับกับข้อตกลง ระหว่างประเทศรวมท้งั สร้างสภาพแวดลอ้ มให้เกิดการแขง่ ขันท่ีเป็นธรรม 2) ภาวะโลกร้อน/Climate change ž ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) หรือภาวะ “โลกร้อน” ส่งผลให้สภาพภูมิอากาศ แปรปรวน ภูเขานา้ แขง็ ละลายทาให้เกิดนา้ ทว่ มหลายประเทศอย่างรนุ แรง เกิดภยั พบิ ัติทางธรรมชาตทิ ี่บ่อยคร้ัง และรุนแรงข้ึนไปทั่วโลก ทั้งวาตภัย อทุ กภัย ภัยแล้ง ความหลากหลายทางชีวภาพถูกทาลาย การสูญเสียพืน้ ที่ บริเวณชายฝัง่ ทะเลเน่อื งจากระดบั นา้ ทะเลทสี่ งู ข้ึน ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ มีผลต่อสขุ ภาวะทง้ั ทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งต่อนิเวศวิทยา เศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ทั้งในระดับพ้ืนท่ี ระดับชาติและระดับโลก รวมทั้ง ก่อให้เกิดภาวะโรคระบาด ปจั จยั จากภาวะโลกร้อน มผี ลใหแ้ มลงพาหะนาโรคต่างๆ สามารถแพร่ขยายพันธุ์ ได้ มากขึ้น และขยายพื้นที่อาศัยข้ามประเทศหรือทวีปได้ ขณะเดียวกันจุลชีพก่อโรคต่างๆ ก็พัฒนาเติบโต ได้ รวดเรว็ ขึ้นอกี ดว้ ย ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเกิดโรคตดิ ต่อทัง้ ในคนและสัตว์เช่น โรคติดต่อระหว่าง สัตว์และ คน และโรคตดิ ต่อนาโดยแมลง และส่งผลกระทบทางออ้ มโดยทาใหเ้ กิดภัยพิบตั ิทางธรรมชาติ ที่มีผลกระทบให้ เกิดโรคระบาดต่างๆตามมา เช่น โรคระบาดท่ีสัมพันธ์กับการบริโภคอาหารและน้าดื่มที่ไม่สะอาด ภาวะโลก ร้อนทาให้ส่งิ แวดลอ้ มเปลีย่ นแปลง การดารงชวี ิตของสัตวท์ ่ีเป็นพาหะของโรค เปล่ียนแปลงตามไปด้วย ทาให้มี โอกาสท่ีจะแพร่เชื้อได้ง่ายหรือแพร่เชอ้ื ข้ามสายพันธไุ ด้ อาจส่งผลให้เชื้อโรคทวีความรุนแรงมากข้ึน กลายเป็น โรคตดิ ต่ออบุ ัติใหม่ซึ่งคนไม่มีภมู ิคุ้มกัน อกี ทั้งเชอ้ื โรค ท่ีเจริญได้ดีในอณุ หภมู ิสูง เช่น เช้ือโรคไข้เลือดออก เชื้อ โรคมาลาเรยี ทมี่ ียุงเป็นพาหะจะแพรพ่ ันธแ์ุ ละเจรญิ เตบิ โตได้ดีขน้ึ หรืออาจทาให้ฤดกู าลระบาดยาวนานมากขนึ้ 3) สงั คมผู้สูงอายโุ ลก องค์การสหประชาชาติได้ประเมินสถานการณ์ว่าปี พ.ศ. 2544-2643 (2001-2100) จะเป็น ศตวรรษแห่งผู้สูงอายุ หมายถึงการมีประชากรอายุ 60 ปขี ึ้นไปมากกวา่ ร้อยละ 10 ของประชากรรวมทั่วโลก และมแี นวโนม้ วา่ ประชากรผูส้ งู อายเุ หล่านจี้ ะมีฐานะยากจน ความตอ้ งการสินค้าและบริการสาหรับผู้สูงอายุจะ มากข้ึน โดยประเทศท่ีพัฒนาแล้วเชน่ ฝร่ังเศส อเมริกา สวีเดน จะมีระยะเวลาเตรียมตัวสาหรับการเป็นสังคม สูงวัยค่อนข้างนานเมื่อเทียบกับประเทศที่กาลังพัฒนา สาหรับประเทศไทยมีระยะเวลาที่เข้าสู่สังคมสูงวัยท่ี - 16 -

ค่อนข้างเร็วประมาณ 16 ปี ซึ่งจะส่งผลต่อการออม การลงทุน และการคลังของประเทศ แนวโน้มการ เปลี่ยนแปลงและกระจายตัวของประชากรโลกพบว่าสว่ นใหญ่มากกว่าร้อยละ 50 จะอาศัยอยู่ในเขตเมือง ซ่ึงมี สัดส่วนการบริโภคมากกวา่ ร้อยละ 80 ของประชากรท้ังหมด การบริโภคสินค้าและบริการดา้ นสุขภาพจะเพ่ิม มากข้ึน การพัฒนาบริการทางการแพทย์และการดูแลผู้สูงอายุเพื่อรองรับความต้องการของกลุ่มผู้สูงอายุท่ี เพ่มิ ข้ึน เป็นประเดน็ ท้าทายท้งั ทางสงั คมและเศรษฐกจิ ท่ปี ระเทศต้องเตรียมพรอ้ มรับมอื 4) ความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยี ความก้าวหน้าและการเปล่ียนแปลงทางเทคโนโลยีด้านการโทรคมนาคมและการติดต่อส่ือสารท่ี รวดเรว็ ทาใหน้ าไปสูค่ วามเปน็ หนึง่ เดียวของสงั คมโลกหรอื โลกาภวิ ัตน์ ก่อให้เกิดเทคโนโลยีทางดา้ นการค้าขาย การเงิน การบริการที่ไร้พรมแดน สังคมโลกเร่ิมเข้าสู่ยุคระบบเศรษฐกิจและสังคมดิจิตัลมากขึ้น เทคโนโลยี ดิจิทัลจะไม่ได้เป็นเพียงเคร่ืองมือสนับสนุนการทางานหรือการส่ือสารเท่านั้น ในอนาคตเทคโนโลยีดิจิทัลจะ หลอมรวมเข้ากับชีวิตประจาวัน (Internet all of things) โครงสร้าง รูปแบบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ กระบวนการผลิต การค้า การบริการ กระบวนการทางสังคม และมีนวัตกรรมใหม่ๆเพิ่มข้ึน รวมถึงการ ใหบ้ ริการทางด้านสขุ ภาพซึ่งจะมีผลตอ่ ภาระคา่ ใช้จา่ ยดา้ นสุขภาพทเี่ พม่ิ มากข้นึ 5) วาระการพฒั นาของโลกภายหลงั ค.ศ.2015 ประเทศไทยได้ลงมติรับรองเปูาหมายการพัฒนาอย่างย่ังยืนปี 2559-2573 (Sustainable Development Goals : SDGs) ภายใต้ความร่วมมือของสหประชาชาติ ในเดือนกันยายน 2558 โดยตอ้ ง บรรลุในอกี 15 ปีข้างหน้า (ในปี 2573) SDGs เป็นวาระการพฒั นาใหม่ของโลก ที่กาหนดขึ้นแทนเปูาหมาย การพัฒนาแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ท่ีหมดอายุลงเมื่อสิ้นปี 2558 (2015) SDGs มงุ่ เนน้ ใหม้ คี วามเช่ือมโยงมติ ิการพฒั นาทง้ั ด้านเศรษฐกิจ สังคม และส่งิ แวดล้อม ให้ความสาคัญ ใน 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การยึดมั่นในหลักการพัฒนาที่ย่ังยืน 2) การสร้างภูมิคุ้มกัน 3) การลดความ เหลื่อมล้าและให้ความสาคัญกับสิทธิมนุษยชน 4) รูปแบบการดาเนินงานต้องเร่ิมจากการวางกรอบกตกิ าสังคม ใหม้ ่นั คงและเป็นธรรมใหท้ ุกคนมีความเสมอภาค มีโอกาสเขา้ ถงึ ทรัพยากรและการบริการภาครัฐอย่างเท่าเทียม และใหค้ วามสาคัญกบั การเสรมิ สรา้ งความเป็นหุ้นสว่ นการพัฒนาทง้ั ในประเทศและระหวา่ งประเทศ SDGs ประกอบด้วย 17 เปูาหมายหลัก และเปูาหมายย่อย 169 ข้อ ที่ทุกประเทศในอีก 15 ปี ข้างหน้าไม่ว่าจะเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือกาลังพัฒนาจะบรรลุเปูาหมายสังคมที่เจริญแล้ว 17 เปูาหมาย ซึ่งเปาู หมายที่ 3 เปน็ เร่ืองสุขภาพ “การมีสุขภาพดใี นทุกชว่ งอายุ” (Ensure healthy life and promote wellbeing for all at all ages) มีเปูาประสงค์ให้ประชาชนทุกคนในทุกช่วงวัยมีสุขภาพดี มีเปูาหมายย่อย 13 เปูาหมาย ประกอบดว้ ย 1) ลดการตายของมารดาท่เี กยี่ วข้องกับการคลอดใหไ้ ม่เกนิ 70 ตอ่ การคลอดมชี ีพ 100,000 คน 2) ลดการตายของเด็กทารกไม่เกนิ 12 และเด็กอายตุ า่ กว่าห้าปใี หไ้ มเ่ กิน 25 ตอ่ พันเดก็ เกดิ มชี พี 3) หยุดยง้ั การระบาดของโรคเอดส์ มาลาเรยี วณั โรค โรคตดิ ตอ่ ในกลมุ่ ประเทศเขตร้อน โรคไวรัสตบั อกั เสบ โรคติดต่อทเ่ี กิดจากการบริโภคน้า อาหารทไ่ี มส่ ะอาดและโรคติดตอ่ ตา่ งๆ 4) ลดการตายกอ่ นวัยอันควรจากโรคไมต่ ดิ ต่อลงหนง่ึ ในสามของการตายในปี 2558และแกไ้ ข ปัญหาสุขภาพจิต 5) เสรมิ สร้างความเข็มแขง็ ในการการปอู งกันและบาบัดรักษาผ้ตู ดิ ยาและสารเสพติด และเครอ่ื งด่ืม แอลกอฮอล์ - 17 -

6) การลดการตายและบาดเจ็บจากอุบัติเหตุทางถนนลงใหน้ ้อยกว่าคร่งึ หน่งึ ของการบาดเจบ็ และ เสียชีวติ ในปี พ.ศ.2558 (ภายในปี 2020) 7) การเข้าถงึ บริการดา้ นอนามัยเจรญิ พนั ธอ์ ยา่ งทัว่ ถงึ 8) ให้ประชาชนเข้าถึงหลักประกนั สุขภาพถ้วนหนา้ เพ่ือไดร้ บั การดูแลรกั ษาดว้ ยยาหลักและวคั ซนี 9) ลดการปุวยและการตายจากการปนเปอื้ นสารเคมอี นั ตราย และมลพษิ ในดิน น้าและอากาศ รวมทง้ั มลพษิ ในสภาวะแวดล้อมตา่ งๆ 10) การนาหลกั การในกรอบอนสุ ัญญาควบคมุ ยาสบู ของ WHO ไปปฏบิ ตั ิอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 11) สนับสนุนการวิจัยและพฒั นาการผลติ วัคซนี ยา เวชภัณฑ์ เทคโนโลยที างสขุ ภาพ 12) เพ่มิ การลงทุนดา้ นสุขภาพอย่างมีนัยสาคัญ 13) เสรมิ สรา้ งศกั ยภาพในการเตือนภัย เฝูาระวังและลดความสูญเสียทเ่ี กิดจากภัยพบิ ัติและภัย คกุ คามต่างๆ รวมทง้ั โรคตดิ ต่ออุบัติใหม่ ท้ังนี้ นอกเหนือจากเปูาหมายหลักในข้อ 3 น้ีแล้ว ยังมีเปูาหมายอื่นท่ีเก่ียวข้องด้านสุขภาพ เช่น เปูาหมายย่อยท่ี 5.6 เร่ืองสิทธิของสตรีและเด็กผู้หญิง เปูาหมายย่อยที่ 6.1 เร่ืองการเข้าถึงน้าสะอาดสาหรับ บรโิ ภคอยา่ งถว้ นหน้า เป็นตน้ จากเปูาหมายย่อยทั้ง 13 ข้อของเปูาหมายหลักข้อ 3 มีประเด็นท้าทาย คือ ข้อ 3 4 และ 6 เป็นประเด็นท่ีค่อนข้างยาก ซึ่งจะส่งผลต่อการวางแผนการพัฒนาประเทศที่ต้องเน้นการพัฒนา เพ่ือให้บรรลตุ ามเปาู หมายการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื ตอ่ ไป 6) ความมน่ั คงทางอาหาร พลังงาน ความมั่นคงทางอาหารและพลังงานโลก ความตอ้ งการพชื พลังงาน สินค้าเกษตรและอาหารมีแนวโน้ม เพิ่มขึ้น แต่การผลิตพืชอาหารลดลงจากข้อจากัดด้านพื้นที่ เทคโนโลยีท่ีมีอยู่ และการเปล่ียนแปลงของ ภูมิอากาศ ทาให้เกิดความขัดแย้งระหว่างการผลิตพืชอาหารและพืชพลังงานในอนาคต นอกจากนี้ความวิตก กงั วลในเรอ่ื งความปลอดภยั ของโรงไฟฟาู นิวเคลยี ร์ จากกรณสี ารกัมมนั ตรงั สีรัว่ ไหลจากโรงไฟฟูานิวเคลียร์ฟกู ูชิ มะ ประเทศญี่ปนุ ทาให้ในหลายประเทศต้องทบทวนโครงการสร้างโรงไฟฟูานิวเคลียร์ และกลับมาใช้พลังงาน อยา่ งอนื่ แทน โดยเฉพาะอยา่ งยิ่งพลงั งานชีวมวล ซง่ึ สง่ ผลตอ่ ความมน่ั คงทางอาหารเชน่ กัน 7) การก่อการรา้ ยสากลและข้อพพิ าทระหวา่ งประเทศ การกอ่ การร้ายสากล เป็นภยั คุกคามประชาคมโลก ทข่ี ยายตวั และมคี วามรนุ แรงส่งผลกระทบตอ่ ความ มน่ั คงของประเทศ รวมถงึ การมีข้อขัดแยง้ ระหวา่ งประเทศ ขอ้ พพิ าทระหว่างประเทศ เช่น กรณีพิพาททะเลจีน ใต้ระหวา่ งจีน-เวียดนาม ความขัดแย้งของจีนและญ่ีปุน ปัญหาความขัดแย้งในคาบสมุทรเกาหลีระหว่างเกาหลี เหนอื และเกาหลใี ต้ ซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกจิ การคา้ การลงทนุ ของโลกดว้ ย 8) การคกุ คามของโรคระบาด การแพร่ระบาดของโรคตดิ ตอ่ อบุ ตั ใิ หมใ่ นภูมิภาคทว่ั โลก เป็นภยั คุกคามต่อภาวะสขุ ภาพในทกุ ประเทศ ทั่วโลก ในช่วงหลายทศวรรษที่ผ่านมา ได้เกิดการระบาดของโรคติดต่ออุบัติใหม่ขึ้นทั่วโลกอย่าง ต่อเนื่อง ท้ัง โรคตดิ เช้ือชนิดใหม่ที่เพิ่งค้นพบการระบาดในมนุษย์หรือโรคติดเชื้อท่ีพบในพน้ื ที่ใหม่ เช่น โรคเอดส์ โรคซาร์ส โรคตดิ เชื้อไวรัสนิปาห์ (Nipah viral disease) และไวรัสเฮนดรา โรคตดิ เชื้อไวรัสอโี บลา-มาร์ โรคไข้เวสต์ ไนล์ โรคสมองฝุอ หรือเกิดจากเช้ือโรคที่กลายพันธุ์เช่น เช้ือไข้หวัดนก (H5N1) เช้ือไข้หวัดใหญ่ A (H1N1) pdm09 ท่ีระบาดใหญ่ในปีพ.ศ.2552 เช้ืออีโคไลโอ 104 โรคไข้กาฬหลังแอ่นจากเช้ือสายพนั ธุ์ ใหม่ เช้ือโรค ดอ้ื ยา รวมท้ังโรคติดต่ออบุ ัติซ้า ซ่ึงเปน็ โรคตดิ เช้ือท่ีเคยแพร่ระบาดในอดีตและสงบไป แล้ว แตก่ ลับระบาดขึ้น ใหม่ เช่น โรคไข้ปวดข้อยุงลาย กาฬโรค รวมถึงความเสี่ยงจากโรคติดเชื้อที่ใช้ เป็นอาวุธชีวภาพ เช่น แอน - 18 -

แทรกซ์ไข้ทรพิษ ดังน้ัน ทุกประเทศทั่วโลกจาเป็นต้องเตรียมการเฝูาระวัง ปูองกันการระบาดของโรคติดต่อ อุบัติใหม่ รวมถึงประสานข้อมูลระหว่างประเทศต่างๆ อย่างใกล้ชิด เพื่อปูองกันและสกัดก้ันการแพร่ระบาด ของโรคอยา่ งเต็มท่ี 3.1.2 ปจั จยั ในระดบั ภูมิภาค การรวมตัวเป็นประชาคมอาเซียนของ 10 ประเทศในภูมิภาค ซึ่งเป็นภูมิภาคท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ ของทรัพยากรธรรมชาติ เป็นการเสริมแรงและอานาจต่อรองที่สาคัญในการแข่งขันเชิงสร้างสรรค์กับภูมิภาค และกลุ่มมหาอานาจอ่นื ๆของโลกและเพือ่ ความม่ันคงของภมู ภิ าคดา้ นเศรษฐกิจ การเมอื ง สังคมและวฒั นธรรม แตใ่ นระบบสขุ ภาพของแต่ละประเทศ ยังคงมีความแตกต่างกันอย่างมาก ทั้งระดับการพฒั นาของระบบบริการ สุขภาพ ทรัพยากรสุขภาพ สภาพพ้ืนฐานด้านสุขภาพ สภาวะสุขภาพของประชาชน จึงอาจส่งผลกระทบต่อ ประเทศไทยซึ่งมีภูมิศาสตร์ท่ีต้ังอยู่บนภาคพื้นทวีปตรงกลางภูมิภาคและเป็นเส้นทางสาคัญของการเดินทาง เคลื่อนย้ายในภูมิภาคอาเซียน ท้ังการมาอยู่อาศัยและการผ่านแดนของประชาชนจากประเทศเพื่อนบ้านท้ังท่ี ถกู กฎหมายและผิดกฎหมาย การเพ่ิมข้ึนของการขนส่งสินค้าต่างๆ หรือผลิตภัณฑ์ซ่ึงอาจก่อให้เกิดอันตรายตอ่ สุขภาพ การลักลอบขนส่งยาเสพติดและสารตั้งต้นในการผลิต รวมถึงโรคระบาดและโรคติดต่อข้ามแดน โรค อุบัติใหม่และอุบัติซ้า ตลอดจนผลกระทบจากการพัฒนาเส้นทางคมนาคมท่ีอาจก่อให้เกิดปัญหาอุบัติเหตุจาก การจราจรที่เพิ่มข้ึน ปัญหาต่างๆเหล่าน้ีเป็นความเส่ียงทางสุขภาพท่ีประเทศไทยไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ แต่ต้อง ปรบั ตัวโดยการทางานเชิงบูรณาการร่วมกันระหวา่ งส่วนราชการและภาคส่วนท่ีเก่ียวข้องอย่างเป็นระบบและมี กลไกขับเคลื่อนท่ีเหมาะสมเพื่อให้ประเทศมีภูมิคุ้มกันในตนเองและมีความมั่นคงทางสุขภาพในระยะยาว ขณะเดียวกันก็สามารถใช้โอกาสจากการรวมตวั เป็นประชาคมในการแสดงบทบาทเชงิ สร้างสรรค์และเป็นผู้นา ด้านสุขภาพในอาเซียน รวมท้ังพัฒนาขีดความสามารถและยกระดับคุณภาพบริการทางการแพทย์และการ สาธารณสุขเพื่อประชาชนไทย 3.2 ปัจจัยภายในประเทศท่ีสาคัญ 3.2.1 โครงสรา้ งประชากร ปี พ.ศ.2559 ประเทศไทยมีประชากรทั้งหมด 65.72 ล้านคน ชาย 32.28 ล้านคน หญิง 33.44 ล้านคน (ข้อมูลตามประกาศกระทรวงมหาดไทย ณ วนั ท่ี 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2559) มีสัดส่วนวยั เด็กร้อยละ 17.82 วัยแรงงานรอ้ ยละ 65.67 และวัยสงู อายรุ อ้ ยละ16.90 อตั ราการเจริญพันธุ์รวมของประชากรไทยใน ปี 2560 อยูท่ ี่ 1.59 ซ่ึงต่ากวา่ ระดบั ทดแทน โดยคาดวา่ จะมีแนวโน้มลดลงตลอดชว่ งแผนพฒั นาฯ ฉบับ 12- 15 (พ.ศ.2560-2579) เหลือเพียง 1.35 ในปี 2579 หากไม่มีการดาเนินการใดๆในการเพิ่มอัตราการเกิด ของประชากรจะส่งผลให้โครงสรา้ งประชากรไทยเปลี่ยนแปลงเข้าสู่การเป็นสังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์เม่ือสิ้นสุด แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 ประเทศไทยเป็นประเทศลาดับที่สามในทวีปเอเชียท่ีโครงสร้างประชากรสูงอายุเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว (รองจากประเทศญี่ปุนและเกาหลีใต้) สาเหตุสาคัญของการเพิ่มสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุอย่างรวดเร็ว เนื่องมาจากปัจจัยสาคัญ 2 ประการ คือ (1) การลดลงของภาวะเจริญพันธ์ุหรือการเกิดน้อยลง จากข้อมูล อัตราเจริญพนั ธรุ์ วม ท่ีสตรีคนหน่ึงมีตลอดวัยเจริญพันธไุ์ ดล้ ดลงเป็นลาดับ จาก 4.9 คน ต่อสตรี 1 คนในปี 2517 เหลือเพียงประมาณ 1.6 คน ต่อสตรี 1 คน ในปี2556 และเหลือประมาณ 1.3 คน ในปี2576 (2) การลดภาวะการตาย ทาให้อายุคนไทยยืนยาวขึ้น ดูไดจ้ ากอายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิดของคนไทย เม่ือ 50 ปี ก่อน อายุคาดเฉลี่ยฯ ของเพศชายประมาณ 55 ปี เพศหญิงประมาณ 62 ปี แต่ปัจจุบนั (2557) อายุคาด - 19 -

เฉลี่ยฯ ไดเ้ พม่ิ สูงข้ึน โดยเพศชายประมาณ 72 ปี เพศหญิง ประมาณ 79 ปี ในอนาคต สัดส่วนประชากรวัย เด็ก วัยแรงงานจะลดลง คนสูงอายุเพ่มิ มากขึ้น ส่งผลให้อัตราส่วนการพ่ึงพิงมีแนวโน้มเพม่ิ ขึ้น อตั ราการพ่ึงพิง ของประชากรสูงอายุตอ่ คนวัยทางาน พบว่า พ.ศ. 2553 วยั ทางาน 100 คน ต้องดูแลผู้สูงอายุ 19.7 คน พ.ศ. 2563 วัยทางาน 100 คน ตอ้ งดแู ลผูส้ ูงอายุ 30.3 คน และมีแนวโน้มทเี่ พม่ิ ข้ึนเรื่อยๆ จากสถานการณ์น้ีจะส่งผลต่อการเปล่ียนแปลงรูปแบบการจัดบริการสุขภาพ การเตรียมกาลังคนด้าน สุขภาพท่ีต้องการความเฉพาะทางมากขึ้น ภาวะพง่ึ พิงตอ่ วัยทางานเพ่ิมข้ึน ค่าใช้จ่ายในการดูแลสุขภาพสูงข้ึน ตามการสูงวัยของประชากร (การเป็นสังคมสูงวัย) ซ่ึงมีการคาดการณ์ว่าค่าใช้จ่ายสุขภาพของผู้สูงอายุในอีก 12 ปีข้างหน้า เพ่ิมขึ้น 3.6 เท่าและสูงกว่าค่าใช้จ่ายสุขภาพโดยรวมทุกอายุจาก 63,565.1 ล้านบาท ใน พ.ศ. 2553 เป็น 228,482.2 ล้านบาท ในพ.ศ. 2565 หรือจากร้อยละ 2.1 ตอ่ GDP เป็นร้อยละ 2.8 ตอ่ GDP ในชว่ งเดียวกนั 3.2.2 การเปลย่ี นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ การเมือง สงั คม 3.2.1.1 ประเทศไทยจัดอยู่ในประเทศท่ีมีรายได้ระดับปานกลางขั้นสูง (Upper middle-income country)ด้วยเหตุท่ีว่าประเทศไทยประสบความสาเร็จในการพัฒนาประเทศในระดับหน่ึงแล้ว ตัวอย่างเช่น อตั ราการขยายตัวของผลผลิตมวลรวมในระยะเวลากว่า 5 ทศวรรษท่ีผ่านมา (ปี 2504-2552) เฉล่ียอยู่ท่ี ระดับ 6.2 เปอรเ์ ซน็ ต์ต่อปี และคนไทยอยเู่ หนอื ระดบั จากความยากจนเป็นจานวนกวา่ 80 เปอร์เซ็นตข์ องคน ไทยทั้งประเทศ อันดับความสามารถในการแข่งของประเทศโดยรวมดีข้ึน จากการจัดลาดับของ World Economic Forum ในปี 2558 อยู่ในอันดบั ท่ี 32 จาก 140 ประเทศ แต่การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน การขนส่งและ โลจิสติกส์ ยังขาดประสิทธิภาพและขาดการเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ ทาให้ต้นทุนสูงเมื่อเทียบ กับต่างประเทศ 3.2.1.2 ประเทศไทย 4.0 ปัจจุบันการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยอยู่ระหว่างยุค อุตสาหกรรม 2.0 ท่ีใช้พลังงานไฟฟูาและสายพานร่วมกับแรงงานมนุษย์ในกระบวนการผลิตกับอุตสาหกรรม 3.0 ท่ีเปน็ ยุคของการใชเ้ คร่อื งจกั รอตั โนมัตหิ รือหุ่นยนตใ์ นกระบวนการผลิต ในขณะท่ีประเทศที่พฒั นาแล้วมุ่ง สู่อตุ สาหกรรม 4.0 ท่ีเป็นยุคของการนาเทคโนโลยีดิจิทัลและอนิ เทอร์เนตมาใช้ในกระบวนการผลิต ซึ่งต้องใช้ แรงงานท่ีมีผลิตภาพสูง แต่ผลิตภาพแรงงานไทยในช่วงปี 2544-2557 เพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 2.9 ต่อปี และ เป็นแรงงานทักษะต่า จึงมีโอกาสสูงที่แรงงานทักษะและศักยภาพสูงจะไหลเข้ามาทางานในประเทศ แต่ก็มี โอกาสไหลออกไปสปู่ ระเทศทมี่ คี ่าตอบแทนสูงกวา่ ไดเ้ ช่นกัน รัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้ต้ังเปูาหมายเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” เพื่อก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางท่ีกาลังเผชิญอยู่ เป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “Value- base Economy”หรือ “เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือนด้วยนวตั กรรม”โดยการแปลงความไดเ้ ปรียบของประเทศใน 2 ด้าน คือ ความหลากหลายเชิงชีวภาพ และ ความหลากหลายเชิงวัฒนธรรม ให้เป็นความได้เปรียบในเชิง แข่งขัน เติมเต็มด้วยนวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการวิจัยและพัฒนา ต่อยอด ด้วย 5 กลุ่มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ได้แก่ 1) กลุ่มอาหาร เกษตร และเทคโนโลยีชีวภาพ 2) กลุ่ม สาธารณสุข สุขภาพ และเทคโนโลยีทางการแพทย์ 3) กลุ่มเครื่องมืออุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์ และระบบ เคร่ืองกลทใี่ ชร้ ะบบอิเล็คทรอนิกส์ควบคมุ 4) กลมุ่ ดิจติ อล เทคโนโลยีอนิ เตอร์เนตท่ีเช่ือมต่อและบังคับอุปกรณ์ ตา่ งๆ ปัญญาประดิษฐ์และเทคโนโลยีสมองกลฝังตัว 5) กลุ่มอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม และบริการท่ี มมี ลู คา่ สูง ทง้ั 5 กล่มุ ตอ้ งเร่งพฒั นาตอ่ ยอดให้เกิดมลู คา่ เพมิ่ และฐานเศรษฐกจิ ใหม่ - 20 -

3.2.1.3 ยงั มคี วามเหลอ่ื มล้าทางสังคมและความยากจน ความเหลอ่ื มลา้ ทางด้านรายได้ระหวา่ งคน จนกับคนรวยมีแนวโน้มดขี ึ้นเล็กน้อย ค่าสัมประสิทธิ์ความไม่เสมอภาคด้านรายได้ (Gini Coefficient) ลดลง จาก 0.484 ในปี 2554 เหลือ 0.465 ในปี 2556 ยังมีความเหล่ือมล้าในมิติต่างๆ เช่น ความเหล่ือมล้าใน การเข้าถึงเทคโนโลยี โครงสร้างพนื้ ฐาน อันเนื่องมาจากความแตกตา่ งทางความรู้ การกระจายรายได้สูง ทักษะ ด้านแรงงาน เป็นต้น ความเหลื่อมล้าจะมีแนวโน้มรุนแรงมากขึ้นจากกระแสโลกาภิวัฒน์ ความก้าวหน้าทาง เทคโนโลยีสมัยใหม่ในหลากหลายสาขา การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุอย่าง รวดเร็ว การเปล่ียนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ผันผวนรุนแรง ทรัพยากรธรรมชาติท่ีเส่ือมโทรม ปัญหามลพิษ ความเหล่ือมล้าจากการเขา้ ถงึ และการจดั สรรการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ 3.2.1.4 สังคมเมืองเพ่ิมข้ึน การขยายตัวของเมืองเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจากข้อมูลสามะโนประชากร และเคหะในรอบ 40 ปี (พ.ศ.2523-2553) พบว่าจานวนประชากรเมืองเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 26.4 ในปี 2523 เป็นร้อยละ 44.1 ในปี 2553 และคากว่าในอีก 10 ปี ประชากรเมืองของประเทศไทยจะเพิ่มเป็น ร้อยละ 60 ซ่ึงการวางแผนพฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐานต่างๆและการบริหารจัดการท่ีมีประสิทธภิ าพเป็นสิ่งจาเปน็ เพ่ือรองรับและอานวยความสะดวกสาหรบั คนทกุ กลมุ่ ในการขยายตัวของเมอื งในอนาคต 3.2.1.5 ปัจจัยท่ีกาหนดสุขภาพ (Determinants of health) ปจั จัยที่เป็นตวั กาหนดสุขภาพ มี ทั้งท่ีใกล้ตัวท่ีมีผลต่อสุขภาพของบุคคล ครอบครัวและชุมชน ได้แก่ ปัจจัยทางปัจเจกบุคคล ปัจจัยด้าน สง่ิ แวดลอ้ มท่ีอยู่รอบตัว ปัจจัยดา้ นระบบบริการสุขภาพ และยังมีปัจจัยที่อยู่ไกลตัวออกไป เช่น ปัจจัยทางดา้ น เศรษฐกิจและสังคม การเมือง และการกระจายทรัพยากร ในระดับท้องถ่ิน ระดับชาติ และระดับโลก ซ่ึงจะมี ผลหรือเปน็ ตวั กาหนดปัจจยั ใกลต้ วั อีกทีหนงึ่ ซง่ึ ในแต่ละดา้ นมีความเชอ่ื มโยงและมีอิทธิพลต่อกันอย่างเป็นองค์ รวม แยกกันไม่ออก และมีความเป็นพลวตั เคล่ือนไหวเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา ปัจจัยเหล่านี้ มีผลทาให้ บุคคลมีความแตกต่างกันในเชิงสังคม และทาให้เกิดความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ ปัจจัยท่ีเป็นตัวกาหนด สขุ ภาพนัน้ ต้องมหี ลายหน่วยงาน/หลายกระทรวงเข้ามาเกี่ยวข้อง เนื่องจากมิติของเศรษฐกิจ สังคม เชน่ เรื่อง ความยากจน การจ้างงาน การกีดกันทางสังคม โลกาภิวัตน์ หรือภัยทางธรรมชาติ หรือภาวะโรคร้อน ซึ่งเปน็ เร่ืองระดบั โลก และสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพต่อคนทั่วโลก แม้จะไม่ได้เป็นประเทศที่เป็นต้นเหตุหลัก ของปัญหา ระบบบริการสุขภาพ ถือเปน็ ปจั จัยกาหนดสุขภาพที่สาคัญด้วย การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เพอ่ื ให้เกิดความเทา่ เทยี ม ประชาชนทกุ คนสามารถเข้าถงึ ระบบบริการสุขภาพที่ไดม้ าตรฐาน และมีความยั่งยืน ไม่เปน็ ภาระงบประมาณจนไมส่ ามารถท่จี ะดาเนินการไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพในระยะยาวได้ 3.2.1.6 สถานการณ์ทางการเมืองและความม่ันคงภายในป ระเทศ ปัญหาความมั่นคง ภายในประเทศมีความซับซ้อน สะสมมาอย่างยาวนาน ความขัดแย้งทางการเมืองรุกลามถึงสถาบันหลักของ ชาติ ถึงแมว้ า่ จะมีคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557) และมีรัฐบาลปกครองประเทศ แม้ว่าสถานการณ์ความขัดแย้งจะเบาบางลง แตก่ ็ยังคงมีการแบ่งฝักฝุายทางการเมือง แบ่งสี ซึ่งได้ขยายไปทั่ว ทุกภูมิภาคของประเทศและขยายลงลึกถึงระดับครอบครัว ชมุ ชน สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดน ใต้ยังเกิดข้ึนอย่างต่อเนื่องและรุนแรง ปัญหายาเสพติด แรงงานข้ามชาติ ปัญหาการทุจริตคอรัปช่ัน เหล่าน้ี ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาสุขภาพในด้านต่างๆ เป็นปัญหาอุปสรรคต่อการบรรลุเปูาหมาย ส่งผลต่อ ภาพลกั ษณแ์ ละความมั่นคงของประเทศ 3.2.1.7 การปฏิรปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ แผนการปฏริ ปู ประเทศดา้ นสาธารณสขุ มแี ผนการปฏิรปู ใน 3 เรอื่ ง ได้แก่ - 21 -

1) ปฏริ ปู ระบบบรกิ ารสุขภาพ เพ่อื ใหม้ รี ะบบบริการสขุ ภาพที่เป็นมาตรฐาน ครอบคลมุ และเช่อื มโยง ทุกระดับ มีความเป็นธรรม ยึดผู้รับบริการเป็นศูนย์กลาง มีประสิทธิภาพ ภายใต้งบประมาณท่ีเหมาะสม ประเด็นในการปฏิรูป คือ ระบบบริการปกติ (ระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ และตติยภูมิขั้นสูง) การสร้าง เสริมสุขภาพและปูองกันโรค การแพทย์ฉุกเฉิน การพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพแบบองค์รวม การพัฒนา ยุทธศาสตร์เรอ่ื งยา การแพทย์แผนไทยและสมนุ ไพร และการสอ่ื สารด้านสขุ ภาพ 2) ปฏิรูปการอภิบาลระบบสุขภาพ เพื่อให้มีหน่วยงานกลางระดับชาติ ท่ีจะกาหนดนโยบาย ยุทธศาสตร์ บทบาทหน้าที่ของหน่วยงานในระบบสุขภาพให้มีเอกภาพและเกิดประสิทธิภาพ ตลอดจน ตรวจสอบ ประเมินผล ให้เป็นไปตามกฎหมายและธรรมาภิบาล โดยมีประเด็นการปฏิรูป คือ จัดต้ัง คณะกรรมการกาหนดนโยบายสุขภาพแห่งชาติ การปรับบทบาท Regulator/Provider จัดต้ังสานักงาน มาตรฐาน และจดั การขอ้ มลู สารสนเทศระบบสขุ ภาพแหง่ ชาติ 3) ปฏริ ูปการเงนิ การคลังและการประกนั สขุ ภาพ เพือ่ ใหเ้ กิดความมนั่ คงและย่ังยืนของระบบการเงนิ การคลังดา้ นสขุ ภาพ ประชาชนต้องมีหลักประกันด้านสขุ ภาพ โดยมีประเดน็ การปฏิรูป คือ (1) สร้างหลักประกนั ความม่ันคงและแกไ้ ขความเหลื่อมลา้ ในระบบสขุ ภาพ โดย - ปรับสิทธปิ ระโยชน์พื้นฐานดา้ นสุขภาพให้เปน็ มาตรฐานเดียวกนั สาหรับประชาชนท้ังประเทศ - ประชาชน/ท้องถ่นิ ท่ีมศี กั ยภาพมีสว่ นรว่ มรับผดิ ชอบค่าใช้จา่ ยดา้ นสขุ ภาพเชน่ การประกนั สขุ ภาพ สว่ นบุคคลเพม่ิ เติมจากสทิ ธปิ ระโยชน์พน้ื ฐาน - จัดตง้ั กองทนุ สขุ ภาพแหง่ ชาติ เพือ่ เปน็ ท่ีรวมของงบประมาณ ค่าใช้จ่ายต่อหวั ประชากร และจากการ ประกนั สขุ ภาพส่วนบุคคล - จดั ตง้ั สานักงานประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ (รวมสานกั งานประกันสังคมและ สปสช.) อยภู่ ายใต้ คณะกรรมการนโยบายสขุ ภาพแห่งชาติ เพื่อทาหน้าทบ่ี รหิ ารจดั การกองทุนสขุ ภาพ เพื่อใหป้ ระชาชนไดร้ ับและ เขา้ ถงึ บรกิ ารสขุ ภาพทมี่ ีคุณภาพอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ - ประชาชน/ท้องถน่ิ มสี ่วนรว่ มรับผิดชอบคา่ ใช้จ่ายดา้ นสขุ ภาพ - จัดใหม้ ีระบบฐานขอ้ มูลด้านการเจบ็ ปุวย และคา่ ใช้จ่ายด้านสขุ ภาพระดับประเทศ (2) สรา้ งความยง่ั ยนื ของระบบการเงนิ การคลังดา้ นสุขภาพ โดย - การประกันสขุ ภาพสว่ นบุคคล - การประกนั สขุ ภาพแรงงานตา่ งด้าว/นักท่องเทย่ี ว - เพิม่ ภาษอี าหาร/เครือ่ งดมื่ ทีเ่ ปน็ ภัยต่อสุขภาพ - ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การแพทยแ์ ผนไทยคขู่ นานไปกับระบบปจั จุบัน - ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ธรุ กจิ สขุ ภาพภาคเอกชน และความรว่ มมอื ระหว่างรัฐและเอกชน 3.2.3 สถานสขุ ภาพคนไทย คนไทยมีอายยุ ืนยาวขึน้ แตส่ ญู เสียปีสขุ ภาวะเพิ่มข้ึน ปวุ ยและตายด้วยโรคทป่ี ูองกนั ได้ 3.2.3.1 อายุคาดเฉล่ียเม่ือแรกเกิด (Life Expectancy at birth) ของคนไทยมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้น เรื่อยๆ ทั้งเพศหญิงและชาย โดยเพศชายเพิ่มจาก 70.4 ในปี 2553 เป็น 71.3 ในปี 2557 และคาดว่าจะ เพิ่มเป็น 75.3 ในปี 2583 สาหรับเพศหญิงเพ่ิมจาก 77.5 ในปี 2553 เป็น 78.2 ในปี 2557 และคาด ประมาณว่าจะเพิ่มเป็น 81.9 ในปี 2583 (ข้อมูลจากการคาดประมาณประชากรของประเทศไทย 2553- 2583 โดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ) - 22 -

3.2.3.2 อายุคาดเฉลี่ยของภาวะสุขภาพดี (Health Adjusted Life Expectancy: HALE) เพิ่มขึ้นในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ. 2552 - 2556) จาก 62 ปีในปี 2552 เป็น 66 ปีในปี2556 (ที่มา: World Health Statistic 2013-2015) สาเหตุการสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรของ ประชากรไทย ในปี 2556 ทง้ั ในชายไทยและหญิงไทยมาจากโรคไม่ติดต่อและโรคเร้ือรัง ผู้ชายไทยสูญเสีย ปีสุขภาวะสูงสุดจากอุบัติเหตุทางถนน โรคหลอดเลือดสมอง โรคมะเร็งตับ และโรคหัวใจขาดเลือด ส่วน หญิงไทยสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุดจาก โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน โรคหัวใจขาดเลือดและการติดเช้ือ เอชไอว/ี เอดส์ ตามลาดับ 3.2.3.3 คนไทยปว่ ยและตายด้วยโรคท่ปี อ้ งกนั ได้ จากขอ้ มลู ผู้ปุวยในรายบคุ คลท่ีมารักษาและนอน ในโรงพยาบาลและมีหลักประกันสุขภาพจาก 3 กองทุนหลัก (หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า สวัสดิการ รักษาพยาบาลข้าราชการและครอบครัวและประกันสังคม) ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมาพบว่า แนวโน้มการเกิดโรค ไม่ติดตอ่ ของคนไทยเพิ่มขึ้นอย่างตอ่ เน่ือง และส่วนใหญ่ปุวยจากโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเรง็ และโรคไตวาย สาเหตุการตายของคนไทยจากข้อมูลการตายในฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร์กระทรวงมหาดไทย วเิ คราะหโ์ ดยสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข พบว่า โรคที่เป็นสาเหตกุ ารตายที่สาคัญและ มีแนวโน้มสูงข้ึน ได้แก่ กลุ่มโรคไม่ติดต่อและอุบัติเหตุ โดยเฉพาะกลุ่มโรคมะเร็งท่ีมีอัตราการตายเพ่ิมสูงขึ้น อย่างต่อเน่ือง รองลงมาได้แก่โรคหลอดเลือดสมอง โรคหัวใจขาดเลือด อุบัติเหตุทางถนน และโรคเบาหวาน สาหรับโรคเอดส์มีแนวโน้มการตายลดลงตัง้ แต่ พ.ศ. 2553 เป็นต้นมา (ภาพท่ี 1) เน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบาย ในการให้ยา ARV ฟรีในหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าจึงทาให้การตายในผู้ปุวยกลุ่มน้ีดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องกับ การศึกษาภาระโรคในปี 2556 (Burden of diseases Study) ที่พบวา่ การสูญเสียปที ่ีมีสุขภาพดี (DALYs loss) จากโรคไม่ติดต่อสูงกวา่ โรคตดิ ตอ่ กวา่ 5 เทา่ ในเพศชาย และมากกว่า 8 เทา่ ในเพศหญงิ ภาพท่ี 1 อตั ราการตายตอ่ ประชากร 100,000 คนจากสาเหตุสาคญั พ.ศ. 2548-2557 ท่ีมา: สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานักปลัดกระทรวงสาธารณสุข สาหรับสถานการณ์โรคติดต่ออุบัติใหม่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ประกอบกับโลกยุคโลกาภิวัตน์ ที่เป็นปัจจัย สาคัญทาให้การแพร่ระบาดของโรคเป็นไปอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ก่อให้เกิดผลกระทบรุนแรงต่อระบบ สาธารณสขุ ปัจจุบนั สถานการณ์โรคติดตอ่ อบุ ัตใิ หม่มแี นวโน้มของอุบตั กิ ารณแ์ ละความรุนแรงเพิม่ มากข้ึน มีการ ระบาดในหลายพื้นท่ี ทั้งในและต่างประเทศทั่วโลก เช่น การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก (H5N1) การแพร่ ระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ Pandemic (H1N1) 2009 การแพร่ระบาดของโรคซาร์ส การแพร่ระบาดของโรค ทางเดินหายใจตะวนั ออกกลางในทวปี ตะวนั ออกกลาง และในปี2557 มีโรคติดเชอ้ื ไวรัสอโี บลา - 23 -

สาหรบั ประเทศไทย มกี ารเกิดโรคติดต่ออุบัตใิ หม่ในบางช่วง เช่น ในปี พ.ศ. 2546 พบผู้ปุวยโรคซาร์ส เป็นคร้ังแรกและพบการระบาดของโรคไข้หวดั นกในสัตว์ปีก ระหวา่ งปี พ.ศ. 2547 – 2551 ซ่ึงทาให้พบ ผ้ปู วุ ยและเสยี ชีวติ ในชว่ งปี 2547 - 2549 นอกจากนั้นการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ Pandemic (H1N1) 2009 หรือไข้หวดั ใหญ่ 2009 ในปี พ.ศ. 2552 ทาให้มีผู้ปวุ ยและผู้เสียชวี ิตจานวนมาก สาหรับโรคมือ เท้า ปาก (Hand, Foot and Mount disease; HFMD) ท่ีเกิดจากเชื้อท่ีมีความรุนแรงก็พบบ่อยขึ้นในประเทศไทย และมีการแพร่ระบาดในปี 2555 สาหรับโรคอ่ืน ๆ ล่าสุดในช่วงเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. 2558 ได้พบผู้ปุวยโรค ทางเดนิ หายใจตะวันออกกลางหรือโรคเมอร์สเปน็ รายแรกในประเทศไทย โดยเป็นชาวต่างชาติที่เดินทางมาจาก พนื้ ท่ีทีม่ กี ารระบาดของโรค ส่วนโรคติดเช้ือไวรสั อีโบลายังไม่เคยมีรายงานการพบโรคนใี้ นประเทศไทย คนไทยตายจากอุบัตเิ หตทุ างถนนมากเป็นอนั ดับ 2 ของโลก ข้อมูลจากการเกบ็ สถติ ขิ องสถาบันวจิ ัย ด้านการคมนาคม มหาวทิ ยาลัยมิชิแกน สหรัฐอเมริกา ร่วมกับข้อมูลจากองค์การอนามัยโลก ระบุว่า สถิติการ เสยี ชวี ิตจากอุบัตเิ หตบุ นท้องถนนทั่วโลก มีค่าเฉลี่ยอยู่ที่ 18 คน ตอ่ ประชากร 100,000 คนตอ่ ปี แตส่ าหรับ นามิเบีย ไทย และอิหร่าน ซ่ึงเปน็ 3 อันดบั ตน้ ๆ มีสถิติมากกวา่ ค่าเฉลี่ยเกิน 2 เท่า คือ 45 คน, 44 คน, และ 38 คนต่อประชากร 100,000 คนต่อปี ตามลาดับ 3.2.3.4 ภาระโรคเปล่ยี นจากโรคตดิ เชอื้ เปน็ โรคไมต่ ดิ ต่อเร้อื รัง การเปลี่ยนแปลงทางระบาดวิทยาทาให้รูปแบบของภาระโลกเปล่ียนจากโรคติดเช้ือไปเ ป็นโรคไม่ ตดิ ต่อเรื้อรัง ซ่งึ มแี นวโนม้ เพมิ่ ข้ึนเกือบ 2 เท่าจาก 1,682,281 ราย ในปี 2548 เป็น 3,099,685 ราย ใน ปี 2555 สาเหตุการตายส่วนใหญ่ของประชากรไทยอายุต้ังแต่ 30 ปีขึ้นไปมีสาเหตุมาจากกลุ่มโรคไม่ติดต่อ เรือ้ รงั ข้อมลู การสารวจสุขภาพประชากรไทยครั้งที่ 5 พ.ศ.2557 พบวา่ - ความชุกของโรคเบาหวานในประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไปมีร้อยละ 8.9 ความชุกในผู้หญิงสูงกว่า ผู้ชาย ร้อยละ 9.8 และร้อยละ 7.9 ตามลาดบั เมื่อเปรียบเทยี บกับผลการสารวจครั้งท่ี 4 ในปี 2552 (มีร้อย ละ 6.9) พบวา่ ความชุกในปี 2557 เพ่มิ ขึ้น และสัดสว่ นของผู้เป็นเบาหวานท่ีไม่ได้รับการวนิ ิจฉัยเพ่ิมจากร้อย ละ 31.2 เป็นร้อยละ 43.1 ในส่วนของการรักษาและสามารถควบคุมน้าตาลในเลือดได้ตามเกณฑ์ (FPG<130มก./ดล.) ลดลงจากรอ้ ยละ 30.6 เป็นรอ้ ยละ 23.5 ตามลาดับ - ความชุกของโรคความดันโลหิตสูงในประชากรไทยอายุ 15 ปีขึ้นไปมีร้อยละ 24.7 ผู้ชายร้อยละ 25.6และผหู้ ญิงรอ้ ยละ 23.9 เมอ่ื เปรียบเทยี บกบั ผลการสารวจครัง้ ที่ 4 ในปี 2552 (ภาพรวมร้อยละ 22.0 : ผู้ชายร้อยละ 23.3 ผู้หญิงร้อยละ 20.9) พบวา่ ความชกุ ในปี 2557 เพ่ิมข้ึน แตก่ ารเข้าถึงบริการดขี ้ึน โดย ในจานวนคนท่ีเป็นความดันโลหิตสูงนั้น สัดส่วนของผู้ที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงลดลงจาก ร้อยละ 50.3 เป็นร้อยละ 44.7 สัดส่วนที่ได้รับการรักษาแต่ควบคุมไม่ได้ตามเกณฑ์ลดลงจากร้อยละ 23.6 เป็น20.1 และสัดส่วนของผู้ท่ีสามารถคุมความดันโลหิตได้ตามเกณฑ์สูงข้ึนกว่าเดิมจากร้อยละ 8.6 เป็นร้อย ละ 20.9 ตามลาดับ - ความชกุ ของภาวะอว้ น(BMI≥25 กก./ตร.เมตร) ในประชากรไทยอายุ 15 ปขี ึ้นไปมีร้อยละ 37.5 (ชายรอ้ ยละ 32.9 และหญิงร้อยละ 41.8) เมอ่ื เปรียบเทียบกับผลการสารวจคร้ังที่ 4 เมื่อปี 2552 ความชกุ ของภาวะอว้ น (BMI≥25 กก./ตร.เมตร) มีแนวโน้มสูงขึ้นอย่างชัดเจน โดยเฉพาะผู้หญิงความชุกเพ่ิมจากร้อย ละ 40.7 ในปี 2552 เปน็ ร้อยละ 41.8 ส่วนผชู้ ายเพม่ิ จากร้อยละ 28.4 เป็นรอ้ ยละ 32.9 - ความชุกของโรคเรื้อรังในประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป ท่ีเคยได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์และ บคุ ลากรสาธารณสุข พบว่าเป็นข้ออักเสบร้อยละ 11.4 โรคหอบหืดร้อยละ 3.5 นิ่วทางเดินปสั สาวะ ร้อยละ - 24 -

3.0 โรคเกาท์ ร้อยละ 2.4 ไตวาย ร้อยละ 1.0 ธาลัสซีเมีย ร้อยละ 0.7 และหลอดลมปอดอุดกั้นเรื้อรังร้อย ละ 0.6 (ข้อมูลจากการสัมภาษณ์) แนวโน้มขนาดของปัญหาเพิ่มขึ้นเร่ือยๆ อาจเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประเทศและภูมิภาค หากไม่ สามารถสกัดก้ันหรือหยุดย้ังปัญหาโรคไม่ติดต่อเร้ือรังได้ จะทาให้เกิดการเจ็บปุวย มีภาวะแทรกซ้อน พิการ และเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ส่งผลให้ภาระค่าใช้จ่ายทางด้านสุขภาพและการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่าง มหาศาล สานักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค ได้คาดการณ์ว่าในปี 2558 ประเทศไทยจะสูญเสียรายได้ เน่ืองจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 52,150 ล้านบาท แต่หากคนไทยช่วยกันปูองกันตนเองจะช่วยลดการสูญเสียได้ถึง รอ้ ยละ 10 – 20 3.2.3.5 คนไทยขาดความรอบรู้ด้านสุขภาพ จากการศึกษาความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ของประชาชนไทย เร่ือง ๓ อ ๒ ส พบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพในภาพรวม โดยส่วนใหญ่ร้อยละ 59.4 ของประชาชนทัง้ หมดมีระดบั ความรอบรดู้ ้านสขุ ภาพไมเ่ พยี งพอตอ่ การปฏบิ ตั ติ นตามหลัก 3 อ 2 ส และข้อมลู การสารวจสุขภาพประชากรไทยคร้งั ที่ 5 พ.ศ.2557 ดา้ นพฤตกิ รรมสุขภาพ พบวา่ - ความชกุ ของการสบู บหุ ร่ีเป็นประจาร้อยละ 16.0 (ชายรอ้ ยละ 31.1 และ หญิงรอ้ ยละ 1.8) - สัดส่วนของประชาชนไทยอายุ 15 ปี ขึน้ ไป ทมี่ ีกิจกรรมทางกายไม่เพยี งพอมีรอ้ ยละ 19.2 (ชาย 18.4 หญิง 20.0) การมกี จิ กรรมทางไม่เพยี งพอมีมากในผ้สู ูงอายุ ร้อยละ 31.3 - พฤติกรรมการกิน พบว่า ประชากรไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป ร้อยละ 76 กินอาหารครบ 3 ม้ือต่อวัน กลุ่มท่ีกินอาหารครบ 3 มื้อน้อยที่สุดคือ กลุ่มอายุ 15-29 ปี มีร้อยละ 69.9 และ กินผักและผลไม้ ปริมาณ เพียงพอต่อวันตามข้อแนะนามีเพียงร้อยละ 25.9 กินยาแก้ปวดทุกวัน ร้อยละ 2.4 และร้อยละ 2.7 กินยา คลายเครียดหรอื ยานอนหลับเป็นประจา โดยผูห้ ญิงกินยาดังกล่าวมากกว่าผูช้ าย 3.2.3.6 ปญั หาสขุ ภาพตามกล่มุ วยั (1) กลุม่ เดก็ ปฐมวัย (0 - 5 ปี ) สาเหตุการตายของมารดา 1 ใน 3 เกิดจากการบริหารจัดการการคลอด และ 2 ใน 3 มารดาตายมี โรคหรือภาวะโรคบางอย่างอยู่ก่อน เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคหัวใจ ฯลฯ อัตราส่วนการตายของ มารดา ในปี 2555 เท่ากับ 17.6 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน และเพ่ิมข้ึน ในปี 2556 และ 2557 เท่ากับ 22.3 และ 23.3 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ซึ่งยังสูงกว่าเปูาหมายการพัฒนาสหัสวรรษ (MDGS) ที่กาหนดให้ ลดอัตรามารดาตาย เหลือ 13 ต่อการเกิดมีชพี แสนคน ใน พ.ศ.2558 ซึ่งแสดงว่าแม่ตายยังเป็นปัญหาของ ประเทศไทย แต่เมื่อเปรียบเทียบกับประเทศในกลุ่มอาเซียน พบว่า ประเทศไทยมีอัตราตายของมารดาน้อย กว่าประเทศอื่นๆ เป็นอนั ดับ 2 รองจากประเทศสิงค์โปร์ (แต่สาหรับเปาู หมายของ SDGs ประเทศไทยได้บรรลุ แล้ว) สาหรับกลุ่มเด็ก 0 – 5 ปี อัตราตายมีแนวโน้มลดลงและต่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก แต่ยังสูงกว่าประเทศใน อาเซียน เช่น สิงค์โปร์ มาเลเซียและบูรไน ส่วนปัญหาพบว่า ทารกแรกเกิดน้าหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม มี ร้อยละ 9.0 ใน พ.ศ. 2556 ซ่ึงสูงกว่าเปูาหมายท่ีกระทรวงสาธารณสุขกาหนด ไม่เกินร้อยละ 7 การขาด ออกซิเจนในทารกแรกเกิดพบ 25.6 ต่อเด็กเกิดมีชีพพันคน ใน พ.ศ. 2555 การเล้ียงลูกด้วยนมแม่อย่าง เดียว พบร้อยละ 47.5 ในพ.ศ. 2555 รวมทั้งปัญหาพัฒนาการของเด็ก พบว่า เด็กปฐมวัย (0 - 5 ปี) มี พัฒนาการลา่ ชา้ กว่าร้อยละ 27.5 - 25 -

(2) กลุ่มวัยเรยี น (5 - 14 ป)ี พบภาวะเริ่มอ้วนในเด็กวัยเรียน ร้อยละ 12.2 (ข้อมูล HDC สนย, 2559) จากการคัดกรองภาวะ สายตาผิดปกติในเด็กก่อนประถมศึกษาและมัธยมศึกษาโดยครูในโรงเรียน 17 แห่ง พบว่า เด็กมีภาวะสายตา ผิดปกติ ร้อยละ 6.6 และจาเปน็ ตอ้ งใส่แว่นสายตา ร้อยละ 4.1 การสารวจทางสติปัญญาและความฉลาดทาง ทางอารมณ์ พบว่า เด็ก ป.1 มีระดับสติปัญญาเฉลี่ย 93.1 และความฉลาดทางอารมณ์เท่ากับ 45.1 ซึ่งต่า กว่ามาตรฐาน ( กรมสุขภาพจิต,2557) ส่วนสาเหตุการตายของเด็กไทยอายุต่ากว่า 15 ปี พบว่า การจมน้า ตายเป็นสาเหตอุ ันดบั หนึ่ง ในปี 2557 พบอัตราเด็กเสียชวี ิตจากการจมน้า 6.8 ต่อ ประชากรเด็กอายุตา่ กว่า 15 ปีแสนคน (3) กลมุ่ วัยรนุ่ (15 - 21 ป)ี การด่ืมแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น 15 - 24 ปี เพิ่มข้ึนจากร้อยละ 21.6 ในพ.ศ. 2544 เป็นร้อยละ 23.7 ในพ.ศ. 2554 หรือเพ่มิ ข้ึน ร้อยละ 9.5 อายุเฉลี่ยที่ด่มื สุรา 20.3 ปแี ละมีสัดส่วนการดืม่ หนักมากกว่า กลุ่มอายุอ่ืนๆ และความชุกของการสูบบุหรี่ของวัยรุ่นเป็นร้อยละ 22.4 โดยวัยรุ่นชาย สูบบุหร่ี สูงกว่าเพศ หญิง 17.2 เท่า (ร้อยละ 39.5 และ 2.3 ตามลาดับ) อายุเฉล่ียที่เร่ิมสูบบุหร่ีเท่ากับ 15.3 ปี และเกือบ คร่ึงหน่ึงสูบบุหร่ีทุกวันหรือเกือบทุกวันและประมาณ 3 ใน 4 มีอาการติดบุหรี่ และมีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ ของวัยรุ่น โดยพบว่า อายุเฉลี่ยของการมีเพศสัมพันธ์คร้ังแรกมีอายุน้อยลงจาก 15-16 ปี ในพ.ศ. 2545 - 2552 เป็นอายุ 12 - 15 ปี ใน พ.ศ. 2554 โดยพบการตัง้ ครรภข์ องวัยรุ่นไทยในชว่ ง 14 ปี ที่ผ่านมาเพมิ่ สูง ข้ึน 1.4 เท่าจาก 36 ต่อประชากร 1,000 คน ใน พ.ศ. 2540 เป็น 51.2 ต่อประชากร 1,000 คน ใน พ.ศ. 2556 มีแม่อายุ ตา่ กว่า 20 ปี 133,176 คน หรือร้อยละ 16.6 ของแม่ทุกกลุ่มอายุ พบวยั รุ่นทาแท้ง ปีละ 300,000 คน และมีเด็กกาพร้าถูกทอดท้ิง 88,730 คน และอัตราโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ์ในวยั รุ่น และเยาวชนอายุ 15-24 ปี เพิ่มสูงข้ึนเกือบ 2 เท่าจาก 46.2 ต่อประชากร 100,000 คน ใน พ.ศ. 2547 เปน็ 95 ตอ่ ประชากร 100,000 คน ใน พ.ศ. 2556 (4) กลมุ่ วัยทางาน (15 - 59 ปี) ประชากรวัยทางานปวุ ยและตายด้วยโรคไม่ติดตอ่ เร้ือรังมากขึ้น โดยในช่วง 5 ปที ี่ผ่านมา (2552 – 2556) อตั ราตายด้วยโรค NCD ที่สาคัญ พบว่าอตั ราการตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ ร้อยละ 20.43 และ อุบัติเหตุทางถนนมีแนวโน้มเพ่ิมสูงขึ้น ซ่ึงปัจจัยเส่ียงที่เปน็ สาเหตุสาคัญของการสูญเสียปีสุขภาวะของคนไทย 5 อันดับแรก เครื่องดื่มแอลกอฮอล์, บุหร่ี/ยาสูบ, HT, ไม่สวมหมวกนิรภัย และคอเลสเตอรอลในเลือดสูง อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน พบว่าอัตราตาย 3 ปี (54 - 56) ย้อนหลัง ในภาพรวมของประเทศยังคง เพ่ิมข้ึน มีเพียงบางเขตที่มีอัตราตายใกล้เคียงหรือต่ากว่าเปูาหมายประเทศ นอกนั้นสูงกว่า และพบอัตราตาย อย่างหยาบรวมทุกกลุ่มอายุด้วยโรค CHD ใน 9 เดือน เม่ือเทียบกับเปาู หมายท้ังปี (ไม่เกิน 23 ต่อแสน) เขต 3, 4, และกทม. จะมอี ัตราตายสงู กวา่ เปูาหมายของทั้งปีค่อนข้างมาก และเมื่อดูข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี ก็พบวา่ มี อตั ราตายสงู กวา่ ประเทศค่อนข้างมากและมแี นวโน้มเพม่ิ ขนึ้ สาเหตยุ ังอธบิ ายไม่ไดช้ ัดเจน แต่พบว่าทั้ง 3 เขตมี ความชกุ ของ HT สูง และออกกาลงั กายน้อย (5) กล่มุ สงู อายุ (60 ปขี นึ้ ไป) สาเหตุหลักของการสูญเสียปีสุขภาวะของผู้สูงอายุ พ.ศ. 2556 ในเพศชาย 3 ลาดับแรก คือ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็งและความผิดปกติทางการรับรู้ ส่วนเพศหญิง 3 ลาดับแรก คือ โรคหัวใจ และหลอดเลือด ความผิดปกติทางการรับรู้และโรคมะเร็ง และพบโรคที่ผู้สูงอายุตายเรียงลาดับ คือ มะเร็ง หลอดเลือดสมอง ปอดอกั เสบ ไต และเบาหวาน โดยพบวา่ ผู้สูงอายุตายดว้ ยโรคมะเร็งเพิ่มข้ึน การเข้าสู่สังคม - 26 -

ผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์ เม่ือส้ินแผนฯ 12 โดยจานวนประชากรจะเพ่ิมจาก 65.5 ล้านคนในปี 2560 เป็น 66.1 ลา้ นคน ในปี 2564 สัดส่วนผสู้ ูงอายุจะเพิ่มขนึ้ จากรอ้ ยละ 17.1 เป็น 19.8 ขณะท่ีสัดส่วนวัยเด็กและ วัยแรงงานจะลดลงจากร้อยละ 17.5 และ 65.3 เหลือร้อยละ 16.6 และ 64.1 ตามลาดับในช่วงเวลา เดียวกัน แสดงถึงความจาเป็นท่ีต้องปรับระบบบริการรองรับผู้สูงอายุ และการเตรียมความพร้อมประชากรใน การเขา้ สู่สงั คมสงู อายอุ ยา่ งมคี ณุ ภาพ ลดภาระค่าใชจ้ า่ ยดา้ นสขุ ภาพในอนาคต 3.2.4 สถานการณร์ ะบบบริการสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ได้มีการพัฒนาและขยายการให้บริการในทุกมิติอย่างต่อเน่ือง ในช่วงหลายทศวรรษท่ีผ่านมา มีหน่วยบริการครอบคลุมทุกพ้ืนที่ โครงสร้างระบบสุขภาพ มีองค์ประกอบที่ สาคัญประกอบด้วย การจัดบริการในระดับปฐมภูมิ ระดับทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ การจัดบริการเฉพาะทาง และระบบการส่งต่อ นอกจากน้ี ยังมีระบบสนับสนุนท่ีสาคัญ คือ ระบบสนับสนุนทรัพยากร(คน เงิน ของ) วชิ าการ การวิจยั และระบบข้อมลู ข่าวสารสุขภาพ 3.2.4.1 หนว่ ยบริการสุขภาพ จากข้อมูลการสารวจทรัพยากรด้านสาธารณสุข ปี 2557 ของสานักนโยบายและยุทธศาสตร์ สานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข มหี นว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพของรฐั ตามระดบั ของเขตการปกครอง ดังน้ี ในเขตกรุงเทพมหานคร มีโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ 5 แห่ง โรงพยาบาลท่ัวไป 26 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะโรคและสถาบนั เฉพาะโรค 18 แห่ง และศูนย์บริการสาธารณสุขครบทุกเขต รวม 132 ศูนย์ / 5 สาขา ระดับภาค มีโรงพยาบาลโรงเรียนแพทย์ 6 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ 28 แห่ง โรงพยาบาลเฉพาะทาง 49 แหง่ ระดับจังหวดั มีโรงพยาบาลทวั่ ไปครอบคลมุ ครบทุกจงั หวดั รวม 88 แห่ง ระดับอาเภอ มีโรงพยาบาลชุมชนครอบคลุมอาเภอร้อยละ 88.8 รวม 780 แห่งและศูนย์บริการ สาธารณสุขเทศบาล 295 แห่ง ระดับตาบล มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (สถานีอนามัย) 9,777 แห่ง ครอบคลุมครบทุก ตาบลแล้ว และหลายตาบลมีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล มากกวา่ 1 แห่ง ระดับหมู่บ้าน มีสถานบริการสาธารณสุขชุมชน 125 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชนในเขต ชนบท 48,049 แห่ง ศูนย์สาธารณสุขมลู ฐานชุมชนในเขตเมือง 3,108 แหง่ สรุปจานวนโรงพยาบาล(ที่มีเตียงรับผู้ปุวยไว้ค้างคืน) ท้ังประเทศ 1,303 แห่ง จานวนเตียง 150,350 เตียง เป็นภาครัฐ 1,019 แห่ง (78 %) 120,322 เตียง (80 %) เอกชน 284 แห่ง ( 22 %) 30,028 เตยี ง (20 %) 3.2.4.2 แนวโน้มจานวนเตียงโรงพยาบาล ในการขยายสถานบริการสุขภาพในส่วนของ โรงพยาบาล จะมีการขยายทั้งจานวนโรงพยาบาล และการเพ่ิมข้ึนของจานวนเตียงในโรงพยาบาลเพื่อรองรับ การให้บริการผู้ปุวยในที่มีจานวนเพ่ิมมากข้ึน จากจานวนประชากรและภาวการณ์เจ็บปุวยท่ีจาเป็นต้องนอน โรงพยาบาลที่เพิ่มขึ้น ทาให้จานวนโรงพยาบาลเพ่ิมจาก 671 โรงพยาบาลในปีพ.ศ.2522 เป็น 1,303 โรงพยาบาลในปี พ.ศ.2557 และจานวนเตียงเพิม่ จาก 61,274 เตยี งในปี พ.ศ.2522 เป็น 150,035 เตียง ในปีพ.ศ.2557 โดยอตั ราส่วนประชากรตอ่ เตียงลดจาก 752:1 ในปีพ.ศ.2522 เหลือ 432:1 ในปีพ.ศ. - 27 -

2557 และอตั ราส่วนเตียงต่อแพทย์ลดลงจาก 9.3:1 ในปีพ.ศ.2522 เหลือ 5:1 ในปีพ.ศ.2557 ท้ังน้ี เน่ืองจากการเพิ่มขึ้นของแพทย์มากกว่าการเพิ่มข้ึนของเตียงโรงพยาบาลในภาพรวม ปี 2557 มีอัตราการ ครองเตยี งภาพรวมท้งั ประเทศร้อยละ 74 3.2.4.3 แนวโนม้ สถานบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพ จาแนกตามสงั กดั สัดส่วนของโรงพยาบาลและสัดส่วนของเตียงโรงพยาบาล จาแนกตามสังกัด สัดส่วนของโรงพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 34.6 ในปีพ.ศ.2516 เป็นร้อยละ 69.38 ในปพี .ศ.2557 ในขณะท่ีเตียงโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขอยู่ที่ร้อยละ 65.97 ในปพี .ศ.2557 ในขณะท่ีสัดส่วน โรงพยาบาลสงั กดั กระทรวงอ่ืนๆ ลดลงจากร้อยละ 20.1 ในปีพ.ศ.2516 เหลอื รอ้ ยละ 7.37 ในปีพ.ศ.2557 โดยมีเตียงอยู่ท่ีร้อยละ 10.7 ในปพี .ศ.2557 และโรงพยาบาลเอกชน มีสัดส่วนที่ลดลงจากร้อยละ 39.2 ใน ปีพ.ศ.2516 เหลือรอ้ ยละ 21.8 ในปพี .ศ.2557 โดยมเี ตยี งอย่ทู ีร่ อ้ ยละ 19.97 ในปพี .ศ.2557 3.2.4.4 แนวโนม้ สถานบรกิ ารด้านสขุ ภาพ รายภาค สาหรับการกระจายเตียงโรงพยาบาลระหวา่ งภาค พบวา่ อัตราส่วนประชากรตอ่ เตียง ลดลงในทุกภาค โดยในปีพ.ศ.2557 อัตราส่วนประชากรต่อเตียง ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 203:1 ภาคกลางเท่ากับ 374:1 ภาคเหนอื เท่ากับ 443:1 ภาคใตเ้ ท่ากับ 476:1 และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเท่ากับ 606:1 ความแตกตา่ ง ระหวา่ งกรุงเทพฯกับภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือลดลงจาก 4.5 เท่า ในปพี .ศ.2522 เหลือ 2.8 เท่า ในปพี .ศ. 2557 สาหรับอัตราส่วนประชากรต่อรพ.สต.เพ่ิมขึ้นเล็กน้อยในทุกภาคแสดงว่าประชากรเพิ่มข้ึนเร็วกว่าการ เพิ่มขึ้นของรพ.สต. โดยในแต่ละภาคมีอตั ราส่วนประชากรต่อรพ.สต.ท่ีใกล้เคียงกันมาก ระหว่าง 4,623:1 ถึง 5,725:1 ในปพี .ศ.2557 3.2.4.5 การเข้าถึงบรกิ ารสขุ ภาพ (1) ความครอบคลุมหลกั ประกนั สขุ ภาพ ความครอบคลุมของการมีหลักประกันสุขภาพของคนไทยเพ่ิมมากขึ้นอย่างตอ่ เน่ือง หลังจากการสร้าง หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าต้ังแต่ปีพ.ศ.2545โดยมีความครอบคลุมเพิ่มขึ้นจากร้อยละ 92.47 ในปีพ.ศ. 2545 เป็นร้อยละ 99.84 ในปีพ.ศ.2557 โดยมีสิทธิประกันสุขภาพแห่งชาติ 48.31 ล้านคน สิทธิ ประกนั สงั คม 11.07 ล้านคน และสิทธิสวสั ดกิ ารข้าราชการและรัฐวสิ าหกจิ 4.84 ล้านคน (2) แนวโน้มสัดส่วนผปู้ ว่ ยนอก จาแนกตามสังกดั สัดส่วนผ้ปู ุวยนอกจาแนกตามสงั กดั ระหวา่ งปพี .ศ. 2546-2556 มีความเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก โดย กระทรวงสาธารณสุขมีสัดส่วนผู้ปุวยนอกประมาณร้อยละ 60-65 ของผู้ปุวยนอกท้ังหมด รองลงมาคือ โรงพยาบาลเอกชน ร้อยละ 20-25กระทรวงศกึ ษาธิการ รอ้ ยละ 5 และกระทรวงกลาโหม รอ้ ยละ 3 (3) แนวโน้มอตั ราการใชบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยนอก รายภาค อัตราการใช้บริการผู้ปุวยนอกต่อประชากร จะช่วยสะท้อนการเข้าถึงบริการสุขภาพ หากภาวะการ เจ็บปุวยไม่เปล่ียนแปลง ทั้งน้ีอัตราการใช้บริการผู้ปุวยนอกในภาพรวมระดับประเทศ มีแนวโน้มท่ีเพ่ิมขึ้นจาก 1.9 ครั้งต่อคนต่อปี ในปพี .ศ.2546 เป็น 2.8 คร้ังต่อคนต่อปีในปีพ.ศ.2556 ในขณะท่ีแตล่ ะภาคก็มีอัตรา การใชบ้ รกิ ารเพิม่ ข้ึนเช่นกัน โดยกรุงเทพฯเพ่มิ ข้ึนจาก 4.4 คร้ังตอ่ คนตอ่ ปใี นปีพ.ศ.2546 เปน็ 6.1 ครง้ั ต่อคน ตอ่ ปีในปีพ.ศ.2556 ภาคกลางเพิ่มขึ้นจาก 2.3 ครั้งต่อคนตอ่ ปใี นปพี .ศ.2546 เป็น 3.3 คร้ังต่อคนตอ่ ปใี นปี พ.ศ.2556 ภาคเหนือเพมิ่ ขึ้นจาก 1.7 ครั้งต่อคนต่อปีในปีพ.ศ.2546 เป็น 2.6 คร้ังต่อคนต่อปีในปีพ.ศ. 2556 ภาคใตเ้ พม่ิ ข้ึนจาก 1.7 ครั้งต่อคนต่อปีในปพี .ศ.2546 เป็น 2.4 ครั้งต่อคนต่อปีในปีพ.ศ.2556 และ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือเพิม่ ข้ึนจาก 1.3 คร้ังต่อคนตอ่ ปีในปพี .ศ.2546 เป็น 1.9 ครั้งต่อคนต่อปีในปพี .ศ. - 28 -

2556 โดยความแตกตา่ งระหว่างกรุงเทพฯกับภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยู่ที่ประมาณ 3 เท่าในปพี .ศ.2556 (ภาพที่ 2 ) ภาพที่ 2 แนวโน้มอตั ราการใชบ้ รกิ ารผู้ปวุ ยนอก (จานวนครั้งผู้ปุวยนอกตอ่ ประชากร) รายภาค พ.ศ. 2546-2556 ทม่ี า: รายงานทรัพยากรสาธารณสุข สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ (4) การใชบ้ ริการผปู้ ่วยใน การใช้บริการผู้ปุวยใน เป็นส่วนหนึ่งที่สะท้อนถึงการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยมีข้อมูลได้แก่ สัดส่วน ของผูป้ วุ ยในจาแนกตามสงั กดั และอตั ราการใชบ้ รกิ ารผปู้ ุวยในตอ่ ประชากรจาแนกตามภาค (5) แนวโน้มสดั ส่วนผปู้ ว่ ยใน จาแนกตามสงั กัด สัดสว่ นผู้ปุวยในจาแนกตามสงั กัดระหว่างปีพ.ศ. 2546-2556 มีความเปล่ียนแปลงไมม่ ากนกั โดย กระทรวงสาธารณสขุ มสี ดั ส่วนผู้ปวุ ยในประมาณร้อยละ 70-75 ของผปู้ วุ ยในทั้งหมด รองลงมาคอื โรงพยาบาลเอกชน ร้อยละ 20-25 กระทรวงศกึ ษาธิการ รอ้ ยละ 4 และกระทรวงกลาโหม รอ้ ยละ 1.5 (ภาพท่ี 3) ภาพท่ี 3 แนวโน้มสดั ส่วนผปู้ ุวยใน (รอ้ ยละ) จาแนกตามสงั กดั พ.ศ. 2546-2556 ท่ีมา: รายงานทรัพยากรสาธารณสขุ สานกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ (6) แนวโน้มอัตราการใชบ้ รกิ ารผปู้ ว่ ยใน รายภาค อัตราการใชบ้ รกิ ารผ้ปู วุ ยในต่อประชากรในภาพรวมระดบั ประเทศ มีแนวโนม้ ท่เี พิ่มขนึ้ จาก 13.3 ครั้ง ต่อ 100 คนตอ่ ปี ในปีพ.ศ.2546 เป็น 15.1 ครั้งต่อ 100 คนต่อปีในปพี .ศ.2556 ในขณะท่ีแต่ละภาคก็มี อัตราการใช้บริการเพิ่มข้ึนเล็กน้อย โดยกรุงเทพฯเพิ่มขึ้นจาก 20.3 คร้ังต่อ 100 คนต่อปีในปีพ.ศ.2546 เป็น 22 คร้ังต่อ 100 คนตอ่ ปใี นปีพ.ศ.2556 ภาคกลางเพ่ิมข้ึนจาก 14.4 ครั้งต่อ 100 คนตอ่ ปีในปีพ.ศ. - 29 -

2546 เป็น 16.7 คร้ังต่อ 100 คนต่อปีในปพี .ศ.2556 ภาคเหนือเพิม่ ข้ึนจาก 13.1 คร้ังต่อ 100 คนตอ่ ปี ในปพี .ศ.2546 เปน็ 14.9 ครั้งต่อ 100 คนตอ่ ปใี นปพี .ศ.2556 ภาคใต้เพิม่ ข้ึนจาก 13.5 คร้ังต่อ 100 คน ต่อปใี นปพี .ศ.2546 เป็น 16.1 ครั้งต่อ 100 คนต่อปีในปีพ.ศ.2556 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเพิม่ ข้ึน จาก 10.7 ครั้งต่อ 100 คนตอ่ ปีในปีพ.ศ.2546 เป็น 11.8 ครั้งต่อ 100 คนตอ่ ปีในปพี .ศ.2556 ความ แตกตา่ งระหว่างกรุงเทพฯกบั ภาคตะวันออกเฉียงเหนืออยูท่ ปี่ ระมาณ 2 เท่า ในปีพ.ศ.2556 3.2.4.6 การส่งต่อมที ง้ั ไม่ยอมทาเองและปฏเิ สธการรบั มีความพยายามพัฒนาระบบส่งตอ่ ผ้ปู วุ ยอย่างต่อเน่ือง แต่ยังพบการปฏิเสธการส่งต่อผู้ปวุ ยภายในเขต ข้ามเขตและส่วนกลาง มีมากในเกือบทุกจังหวัด ต้องใช้เวลาการประสานงานนาน โดยเฉพาะใน กรุงเทพมหานครพบอตั ราการปฏิเสธค่อนข้างสงู ในทางตรงข้ามสถานบริการท่คี วรมศี กั ยภาพในการดูแลผู้ปุวย ไดก้ ลบั ทาได้นอ้ ยลง 3.2.5 สถานการณก์ าลงั คนดา้ นสุขภาพ ปัจจุบันสถานการณ์กาลังคนด้านสุขภาพ ยังเป็นปัญหาท่ีสาคัญของระบบสุขภาพของประเทศ โดยเฉพาะอย่างย่ิงปัญหาด้านจานวนท่ีไม่เพยี งพอและการกระจายบุคลากรที่ไม่เหมาะสมก็ยังคงเป็นปัญหา มี ความแตกต่างระหวา่ งเมืองและชนบท แม้ว่ากระทรวงสาธารณสุขได้มีนโยบายการเพิ่มการผลิตกาลังคนอย่าง ต่อเน่ือง การใช้มาตรการเพ่ิมแรงจูงใจ ท้ังในรูปแบบค่าตอบแทนประเภทต่างๆ และความก้าวหน้าในอาชีพ ราชการ แตป่ ัญหาก็ยังคงมอี ยู่ 3.2.5.1 แนวโนม้ กาลังคนดา้ นสุขภาพ กาลังคนด้านสุขภาพ 5 สาขาหลัก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวชิ าชีพ และพยาบาล เทคนิค มีแนวโน้มที่ดีข้ึนตลอดช่วงเวลากว่า 3 ทศวรรษท่ีผ่านมา ยกเว้นกรณีของพยาบาลเทคนิค ท่ีมีการ เปลี่ยนไปเป็นพยาบาลวิชาชีพตั้งแต่ประมาณปีพ.ศ.2546 ทาให้จานวนพยาบาลเทคนิคลดลงอย่างต่อเน่ือง อัตราส่วนประชากรตอ่ แพทย์ ลดลงจากประมาณ 7,000:1 ในปี พ.ศ.2522 เหลือประมาณ 2,521:1 ในปี พ.ศ. 2556 ในขณะที่อัตราส่วนประชากรต่อทันตแพทย์ ลดลงจากประมาณ 45,000:1 ในปพี .ศ.2522 เหลือประมาณ 10,580:1 ในปพี .ศ.2556 อัตราส่วนประชากรตอ่ เภสัชกร ลดลงจากประมาณ 18,000:1 ในปีพ.ศ.2522 เหลอื ประมาณ 6,352:1 ในปพี .ศ.2556 และอัตราส่วนประชากรต่อพยาบาลวชิ าชีพ ลดลง จากประมาณ 2,600:1 ในปพี .ศ.2522 เหลือประมาณ 500:1 ในปพี .ศ.2556 แต่อัตราส่วนประชากรตอ่ พยาบาลเทคนิค กลับเพิม่ ขึ้นจากประมาณ 2,900:1 ในปีพ.ศ.2531 เป็น ประมาณ 9,400:1 ในปีพ.ศ. 2556 (ภาพท่ี 4) ภาพท่ี 4 แนวโน้มอตั ราส่วนประชากรตอ่ กาลังคนด้านสุขภาพ พ.ศ. 2522-2556 ที่มา: รายงานทรัพยากรสาธารณสขุ สานักนโยบายและยุทธศาสตร์ - 30 -

3.2.5.2 แนวโนม้ กาลังคนดา้ นสุขภาพ จาแนกตามสังกดั สัดส่วนกาลังคนด้านสุขภาพจาแนกตามสังกัด จะสะท้อนการเจริญเติบโตทั้งภาครัฐและเอกชน ท่ีมี บทบาทในการให้บริการสุขภาพที่เพ่ิมมากข้ึนและการขยายสถานบริการสุขภาพในระดับพ้ืนที่ทั่วท้ังประเทศ ทาใหก้ าลงั คนด้านสุขภาพในสว่ นของกระทรวงสาธารณสขุ มสี ดั ส่วนสงู ทสี่ ดุ สั ด ส่ ว น ข อ ง แ พ ท ย์ สั ง กั ด กระทรวงสาธารณสุข มีแนวโน้มท่ีเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 37.1 ในปี พ.ศ.2514 เป็นร้อยละ 58.8 ในปี พ.ศ. 2556 ในขณะท่ีสัดส่วนของแพทย์สังกัดกระทรวงอ่ืนๆน้ัน ลดลงจากร้อยละ 44.8 ในปี พ.ศ.2514 เหลือ ร้อยละ 19.5 และสัดสว่ นของแพทย์โรงพยาบาลเอกชน เพมิ่ ข้นึ จากร้อยละ 6.7 ในปี พ.ศ.2514 เปน็ ร้อยละ 18 ในปพี .ศ.2556 ซ่ึงมสี ดั ส่วนทคี่ อ่ นขา้ งคงที่นับตง้ั แตป่ ีพ.ศ.2537 เปน็ ตน้ มา สัดส่วนของทันตแพทย์สังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีแนวโน้มท่ีเพ่ิมขึ้นจากร้อยละ 27.5 ในปีพ.ศ. 2514 เป็นร้อยละ 60.7 ในปพี .ศ.2556 ในขณะท่ีสัดส่วนของทันตแพทย์สังกัดกระทรวงอื่นๆน้ัน ลดลงจาก ร้อยละ 55.7 ในปีพ.ศ.2514 เหลือร้อยละ 13.3 และสัดสว่ นของทันตแพทย์โรงพยาบาลเอกชน เพมิ่ ขึ้นจาก ร้อยละ 3.8 ในปีพ.ศ.2514 เปน็ รอ้ ยละ 23 ในปีพ.ศ.2556 สัดสว่ นของเภสชั กรสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ มแี นวโนม้ ท่ีเพมิ่ ข้ึนจากร้อยละ 18.9 ในปีพ.ศ.2514 เป็นร้อยละ 65.7 ในปีพ.ศ.2556 ในขณะท่ีสัดส่วนของเภสัชกรสังกัดกระทรวงอ่ืนๆน้ัน ลดลงจากร้อยละ 17.8 ในปีพ.ศ.2514 เหลือร้อยละ 9.6 และสัดส่วนของเภสัชกรโรงพยาบาลเอกชน ลดลงจากร้อยละ 57 ในปพี .ศ.2514 เป็นรอ้ ยละ 22.3 ในปพี .ศ.2556 โดยมีสัดส่วนทคี่ ่อนข้างคงทตี่ ้ังแตป่ พี .ศ.2543 สัดส่วนของพยาบาลวิชาชีพสังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีแนวโน้มท่ีเพิ่มข้ึนจากร้อยละ 42.9 ในปี พ.ศ. 2514 เป็นร้อยละ 72.4 ในปีพ.ศ.2556 ในขณะที่สัดส่วนของพยาบาลวชิ าชีพสังกัดกระทรวงอ่ืนๆน้ัน ลดลงจากร้อยละ 39.7 ในปีพ.ศ.2514 เหลือร้อยละ 13.4 และสัดส่วนของพยาบาลวชิ าชีพโรงพยาบาล เอกชน เพม่ิ ขนึ้ จากร้อยละ 6.8 ในปีพ.ศ.2514 เปน็ ร้อยละ 10.9 ในปพี .ศ.2556 3.2.5.3 การกระจายกาลงั คนดา้ นสุขภาพ การติดตามสถานการณ์การกระจายกาลังคนดา้ นสุขภาพระหว่างภูมิภาค เป็นประเดน็ ด้านความเสมอ ภาคในการเข้าถึงบริการสุขภาพ โดยเฉพาะความเสมอภาคระหว่างพ้ืนที่ท่ีมีภาวะเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน เช่น ระหว่างกรุงเทพมหานครกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นอกจากนี้ยังมีประเด็นการกระจายของกาลังคนด้าน สุขภาพระหว่างระดับของบริการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงการกระจายของแพทย์ระหว่างโรงพยาบาลระดับต่างๆ และประเด็นผลกระทบต่อภาระงานของกาลังคนดา้ นสุขภาพ โดยเฉพาะแพทย์ ที่ดูแลผู้ปุวยนอกและผู้ปุวยใน ระหวา่ งโรงพยาบาลระดับต่างๆ 3.2.5.4 แนวโน้มการกระจายกาลังคนด้านสุขภาพ รายภาค การกระจายกาลังคนดา้ นสุขภาพ ระหวา่ งภูมิภาค ประกอบด้วยบคุ ลากร 6 สาขา ได้แก่ แพทย์ ทันต แพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ พยาบาลเทคนิค และบุคลากรที่ทางานที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล (รพ.สต.) ดงั น้ี อัตราส่วนประชากรต่อแพทย์ ลดลงในทุกภาค โดยอัตราส่วนประชากรต่อแพทย์ ในปีพ.ศ.2556 ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 886:1 ภาคกลาง เท่ากับ 2,220:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 2,821:1 ภาคใต้ เท่ากับ 2,792:1 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เท่ากับ 3,763:1 โดยความแตกต่างระหว่างกรุงเทพฯกับภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ลดจาก 21.3 เท่า ในปีพ.ศ.2522 เหลือ 4.2 เทา่ ในปพี .ศ.2556 (ภาพที่ 5) - 31 -

ภาพท่ี 5 แนวโนม้ อตั ราสว่ นประชากรตอ่ แพทย์รายภาค พ.ศ. 2522-2556 ท่ีมา รายงานทรพั ยากรสาธารณสขุ สานักนโยบายและยทุ ธศาสตร์ อัตราส่วนประชากรต่อทันตแพทย์ ลดลงในทุกภาค โดยอัตราส่วนประชากรต่อทันตแพทย์ ในปีพ.ศ. 2556 ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 2,932:1 ภาคกลาง เท่ากับ 8,499:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 9,147:1 ภาคใต้ เท่ากับ 9,300:1 และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เท่ากับ 13,783:1 โดยความแตกตา่ งระหว่างกรุงเทพฯกับ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ลดจาก 40.2 เท่า ในปีพ.ศ.2522 เหลือ 4.7 เทา่ ในปีพ.ศ.2556 อัตราส่วนประชากรต่อเภสัชกร ลดลงในทุกภาค โดยอตั ราส่วนประชากรตอ่ เภสัชกร ในปพี .ศ.2556 ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 2,465:1 ภาคกลาง เท่ากับ 4,717:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 6,548:1 ภาคใต้ เท่ากับ 6,330:1และภาคตะวันออกเฉียงเหนือเท่ากับ 8,237:1 โดยความแตกต่างระหว่างกรุงเทพฯกับภาค ตะวันออกเฉยี งเหนอื ลดจาก 98.1 เท่า ในปพี .ศ.2522 เหลอื 3.3 เทา่ ในปีพ.ศ.2556 อัตราส่วนประชากรต่อพยาบาลวิชาชีพ ลดลงในทุกภาค โดยอัตราส่วนประชากรต่อพยาบาลวิชาชีพ ในปีพ.ศ.2556 ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 240:1 ภาคกลาง เท่ากับ 497:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 543:1 ภาคใต้ เท่ากับ 466:1 และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เท่ากับ 646:1 โดยความแตกต่างระหว่างกรุงเทพฯกับภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ลดจาก 18.2 เท่า ในปพี .ศ.2522 เหลือ 2.7 เท่า ในปีพ.ศ.2556 อตั ราส่วนประชากรต่อพยาบาลเทคนิค ในปีพ.ศ.2556 ของกรุงเทพฯ เท่ากับ 1,880:1 ภาคกลาง เทา่ กับ 13,279:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 17,656:1 ภาคใต้ เท่ากับ 16,782:1 และภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ เท่ากับ 15,482:1 โดยความแตกต่างระหว่างกรุงเทพฯกับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพ่ิมข้ึนจาก 1.4 เท่า ใน ปีพ.ศ.2522 เป็น 8.2 เท่า ในปพี .ศ.2556 ทั้งนี้เนื่องจากการลดลงอย่างมากของพยาบาลเทคนิคในแต่ละ ภูมภิ าค อตั ราส่วนประชากรต่อเจา้ หน้าท่รี พ.สต. คอ่ นข้างคงทีใ่ นทุกภาค โดยอตั ราส่วนประชากรต่อเจ้าหน้าท่ี รพ.สต. ในปีพ.ศ.2556 ของภาคกลาง เท่ากับ 1,754:1 ภาคเหนือ เท่ากับ 1,595:1 ภาคใต้ เท่ากับ 1,461:1 และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เท่ากับ 1,626:1 โดยมีค่าเฉลี่ยระดับประเทศ เท่ากับ 1,624:1 แสดงใหเ้ ห็นวา่ บคุ ลากรในรพ.สต. มคี วามใกลเ้ คยี งกันมากในแตล่ ะภาค 3.2.6 การเงนิ การคลังดา้ นสุขภาพ แนวโน้มรายจ่ายสุขภาพในภาพรวมระดับประเทศ มีแนวโน้มที่เพ่ิมขึ้นจาก 127,655 ล้านบาท (2,160 บาทต่อคน) ในปี พ.ศ.2537 เป็น 513,213 ล้านบาท (7,962 บาทต่อคน) ในปี พ.ศ.2555 หรือ เพ่ิมขึ้นประมาณ 4 เท่า โดยร้อยละของรายจ่ายสุขภาพ เมื่อเทียบกับมูลค่าผลิตภณั ฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) - 32 -

คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.5 ของ GDP ในปพี .ศ.2537 แล้วเพิ่มขึ้นอย่างช้าๆ เป็นร้อยละ 4.5 ของ GDP ในปีพ.ศ. 2555 ทั้งนี้สัดส่วนรายจ่ายสุขภาพทเ่ี ป็นภาครัฐ เพม่ิ ข้นึ จากร้อยละ 45 ในปีพ.ศ.2537 เป็นร้อยละ 75.8 ในปี พ.ศ. 2555 (ภาครัฐส่วนกลางร้อยละ 63.0 ส่วนท้องถ่ินร้อยละ 5.5และกองทุนประกันสังคมร้อยละ 7.3) ในขณะที่สัดส่วนรายจ่ายสุขภาพท่ีเปน็ ภาคเอกชน ลดลงจากร้อยละ 55 ในปีพ.ศ.2537 เหลือร้อยละ 24.2 ใน ปีพ.ศ. 2555 (ครัวเรือนจ่ายเองร้อยละ 11.6 การประกันสุขภาพเอกชน 8.8 ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ 3.8) ซึง่ เปน็ ผลมาจากนโยบายการสรา้ งหลกั ประกนั สขุ ภาพถ้วนหนา้ ตงั้ แตป่ ีพ.ศ.2545 ท่ีทาใหภ้ าครัฐมีบทบาท ต่อรายจ่ายสขุ ภาพมากขน้ึ อยา่ งต่อเนอื่ ง รายจ่ายสขุ ภาพปี พ.ศ.2555 รอ้ ยละ 69.6 เพ่ือซื้อสินคา้ และบรกิ ารสขุ ภาพส่วนบคุ คล รายจา่ ยอีก ร้อยละ 12.6 เพือ่ การบรหิ ารจดั การดา้ นระบบและการคลังสาธารณสุข รอ้ ยละ 6.3 เพ่ือกิจกรรมดา้ นการ สง่ เสรมิ สุขภาพและปอู งกนั โรค และอีกรอ้ ยละ 11.6 เป็นการลงทนุ ดา้ นสุขภาพ 3.2.7 ระบบข้อมูลขา่ วสารสุขภาพ ระบบข้อมูลข่าวสารสุขภาพ มีความสาคัญต่อการกาหนดทิศทางนโยบายสุขภาพท่ีอาศัยหลักฐาน สนับสนุนทางวิชาการ ท่ีสอดคล้องกับสถานการณ์ปัญหาสุขภาพปัจจุบัน และแนวโน้มของปัญหาสุขภาพใน อนาคต รวมท้ังยังมีความสาคัญต่อการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ และการจัดการกับปัญหาสุขภาพเฉพาะ ต่างๆ เพือ่ การพัฒนาระบบและวิธีการในการจัดการกับปัญหาและเพม่ิ คุณภาพบริการให้ดยี ิ่งข้ึน ตลอดจนการ ตดิ ตามประเมินผลระบบสุขภาพ สถานะสขุ ภาพของประชาชน ฯลฯ ระบบข้อมูลดา้ นสุขภาพยังมีปญั หาความ ครบถ้วน ถูกต้องของข้อมูล ข้อมูลกระจัดกระจายไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ขาดกลไกในการบริหาร จัดการข้อมูลสุขภาพในระดับประเทศ ภาครัฐ (กระทรวงสาธารณสุข) ขาดกาลังคนและผู้เชี่ยวชาญในการ บริหารจัดการและพัฒนาระบบ เป็นต้น ปัญหาต่างๆดังกล่าว จาเป็นต้องอาศัยความร่วมมือของภาคีที่ เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะผู้ใชข้ ้อมูล และผู้จัดทาข้อมูล ซึ่งประกอบด้วย กระทรวงสาธารณสุข กองทุนด้านสุขภาพ กระทรวงอ่นื ๆ สานักงานสถิติแห่งชาติ สถานพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชน รวมท้ังภาคประชาชน โดยต้องมี กลไกการสนับสนนุ ทัง้ ดา้ นงบประมาณและด้านวชิ าการ ท่ีเพียงพอและเหมาะสม ประกอบกับการมีบุคลากรที่ มีศักยภาพ ภายใต้การจัดการที่เป็นระบบและต่อเนื่อง และมีการประสานความร่วมมือกัน ท้ังแบบท่ีเป็น ทางการ และไม่เปน็ ทางการ โดยอยใู่ นรปู แบบของเครือขา่ ย เพอ่ื การเรยี นรแู้ ละพฒั นาระบบรว่ มกนั 3.2.8 ระบบยาและเทคโนโลยีดา้ นสขุ ภาพ ยาและเทคโนโลยดี ้านสุขภาพ ไดแ้ ก่ ยา เวชภัณฑ์ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ในการรักษาพยาบาล มี ความสาคญั ในการจดั บริการสขุ ภาพ นอกเหนอื จากกาลังคนดา้ นสขุ ภาพและสถานบรกิ ารสุขภาพ 3.2.8.1 ยาและเวชภณั ฑ์ ยาและเวชภัณฑ์ มีความจาเป็นในการให้บริการสุขภาพ ซ่ึงต้องมีคุณภาพได้มาตรฐาน และสามารถ กระจายไปยงั ประชาชนในภูมิภาคต่างๆได้อยา่ งท่ัวถงึ ผา่ นการผลติ และนาเข้ามาจากตา่ งประเทศ แนวโน้มสถานท่ีผลติ ยาท่ไี ดม้ าตรฐาน ยาที่ผลิตในประเทศส่วนหนึ่งมาจากโรงงานผลิตยาท่ีได้รับการส่งเสริม หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีใน การผลิต (Good Manufacturing Practice: GMP) ในพ.ศ.2546 กระทรวงสาธารณสุขไดอ้ อกกฎหมายให้ โรงงานผลิตยาทุกแห่งต้องได้มาตรฐานตามหลักเกณฑ์วธิ ีการทดี่ ใี นการผลิต ซ่ึงแนวโน้มของสถานท่ีผลิตยาท่ีได้ มาตรฐาน GMP เพิ่มขึ้นจากร้อยละ 30.4 ในปพี .ศ.2532 เป็นร้อยละ 75.6 ในปพี .ศ.2546 และเพ่ิมเป็น ร้อยละ 95.2 ในปพี .ศ.2556 โดยล่าสุดปีพ.ศ.2558 สถานท่ีผลิตยาได้มาตรฐาน GMP ร้อยละ 86.9 (ภาพ ที่ 6) - 33 -

ภาพท่ี 6 แนวโน้มรอ้ ยละของสถานที่ผลิตยาที่ได้ GMP พ.ศ. 2532-2556 ทม่ี า: สานักยา สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา แนวโนม้ มลู คา่ การผลติ และนาเข้ายาแผนปัจจบุ นั นอกจากการผลิตยาไวใ้ ชเ้ องภายในประเทศแล้ว ยังมียาและเวชภัณฑ์ที่ต้องนาเข้ามาจากตา่ งประเทศ โดยมูลค่าการผลติ ยาและนาเข้ายา มีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นอย่างตอ่ เนอ่ื ง แตแ่ นวโนม้ การเพ่ิมข้ึนของมูลค่าการนาเข้า ยา เพิ่มขึ้นเร็วกว่าการผลิตยา ทาให้สัดส่วนของมูลค่าการผลิตยาลดลงจากร้อยละ 76.5 ในปีพ.ศ.2527 เหลือร้อยละ 33 ในปพี .ศ.2556 ในขณะที่มูลค่าการนาเข้ายาเพมิ่ ข้ึนจากร้อยละ 23.5 ในปีพ.ศ.2527 เป็น ร้อยละ 67 ในปีพ.ศ.2556 หรอื คดิ เป็นประมาณ 2 เทา่ ของมลู ค่าการผลติ 3.2.8.2 เทคโนโลยที างการแพทยแ์ ละการสาธารณสขุ สถานการณ์เทคโนโลยีทางการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ ท่ีสาคญั จะหมายถึงอุปกรณ์การทางแพทยท์ ่ี สาคญั โดยเฉพาะท่ีมีราคาแพง ทั้งในด้านแนวโน้มและการกระจายระหว่างภมู ิภาคต่างๆ แนวโนม้ อปุ กรณก์ ารแพทยท์ ส่ี าคญั อุปกรณ์เครื่องมือแพทย์ที่สาคัญ มีส่วนในการให้บริการสุขภาพที่จาเป็น ไม่ว่าจะเป็นการวินิจฉัย หรือ การรักษาโรค โดยเฉพาะเคร่ืองมือแพทย์ที่มีราคาแพง หากพิจารณาจากแนวโน้มจะพบว่ามีการเพ่ิมขึ้นของ เคร่ืองมือแพทย์ราคาแพงอย่างต่อเนื่อง โดยเคร่ืองเอ็กซ์เรย์คอมพิวเตอร์ (CT-scanner) เพ่ิมข้ึนจาก 266 เครื่องในปี พ.ศ. 2546 เป็น 553 เคร่ืองในปีพ.ศ.2556 เช่นเดียวกับเคร่ืองตรวจอวัยวะภายในด้วย สนามแม่เหล็กไฟฟูา (MRI) เคร่ืองสลายนิ่ว (ESWL) และเครื่องตรวจมะเร็งเต้านม (Mammogram) ซึ่งสะท้อน ถงึ การเตบิ โตของการลงทนุ ในด้านบริการสุขภาพ โดยเฉพาะในดา้ นการรักษาพยาบาล การกระจายอปุ กรณก์ ารแพทยท์ สี่ าคญั การกระจายของอุปกรณ์การแพทย์ท่ีสาคัญ ระหวา่ งภูมิภาคต่างๆ จะพบว่าเครื่องมือแพทย์ราคาแพง ส่วนใหญ่ยังกระจุกตัวอยู่ท่ีกรุงเทพฯ โดยกรุงเทพฯ มีอัตราส่วนเคร่ืองมือแพทย์ต่อประชากรล้านคน ที่สูงกว่า ค่าเฉล่ียระดับประเทศอยู่ที่ประมาณ 2-4 เท่า ตัวอย่างเช่นเคร่ือง Mammogram ท่ีกรุงเทพฯมีมากกว่า ค่าเฉล่ีย 4.2 เท่า หรือมากกวา่ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 8 เท่า ในส่วนของเครื่องเอ็กซ์เรย์คอมพวิ เตอร์ (CT- scanner) จะพบวา่ ถึงแม้แนวโน้มของอัตราส่วนตอ่ ประชากรล้านคนของเคร่ืองCT-scanner จะเพ่ิมข้ึนในทุก ภมู ภิ าค แตค่ วามแตกต่างระหว่างภูมิภาคก็ยังคงอยู่ โดยกรุงเทพฯยังคงมีเครื่องCT-scannerที่มากกว่าค่าเฉล่ีย ประเทศอยปู่ ระมาณ 3-4 เท่า มาตลอดตัง้ แต่ปีพ.ศ.2542 เปน็ ต้นมา - 34 -

3.2.9 การอภบิ าลในระบบสุขภาพไทย การพัฒนาระบบสุขภาพ ไม่ได้เป็นบทบาทของกระทรวงสาธารณสุขแต่เพียงลาพัง ยังมีกระทรวงอื่นๆ ท้ังที่มีบทบาทโดยตรงเช่น โรงเรียนแพทย์สังกัดกระทรวงศึกษา และส่วนที่เก่ียวข้องกันเช่นกระทรวงเกษตร และสหกรณ์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงมนุษย์ กระทรวงการท่องเท่ียวและกีฬา เป็นต้น และมี หนว่ ยงานดา้ นสุขภาพเกดิ ข้นึ ใหม่ตามกฎหมายอาทิ สวรส.(2537) สสส.(2544) สปสช.(2545) สช.(2550) สพฉ.(2551) สรพ.(2552) แต่ประเทศกลับขาดกลไกระดับชาติในการสร้างเอกภาพในการกาหนดทิศทาง นโยบาย ยุทธศาสตร์และมาตรการท่ีไม่ทับซ้อนหรือไปคนละทางอย่างในปัจจุบัน หลายๆเร่ืองคนคิดไม่ได้ทา คนทาไม่ไดค้ ิด ตา่ งคนตา่ งทา ขาดการกาหนดเปาู หมายรว่ ม ความเป็นคู่ขัดแย้ง ความไม่ไว้วางใจระหวา่ งกันใน ระดับนโยบายทาให้ขาดความร่วมมือ ขาดการประสานงาน ตลอดจนหน่วยงานด้านสุขภาพท่ีตั้งข้ึนตามพรบ. ตา่ งๆ ไม่มีกลไกกลางในการเช่อื มร้อยระหวา่ งองค์กร ทาให้เกิดการแตกแยกในแนวคิดและการกระทาที่นามา สนับสนุนความคิดของตน นาไปสู่การขาดประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ท้ังที่หลายๆกรณีที่เกิดข้ึนมีเปูาหมาย สดุ ท้ายไมแ่ ตกตา่ งกัน บทสรปุ การเปล่ียนแปลงด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ เป็นปัจจัยที่สาคัญและส่งผลให้เกิด การปฏริ ูปในระบบสุขภาพของประเทศ รัฐบาล(พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้วางยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เพ่อื เปน็ กรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศใหม้ ีความต่อเนอื่ งเพอ่ื ใหบ้ รรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังค่ัง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ในช่วงระยะ 5 ปีแรก เปน็ ชว่ งเปล่ียนผา่ นทส่ี าคัญ การวางแผนพัฒนาต้องมุ่งตอบสนองต่อเปูาหมายชาติที่ต้อง บรรลุและวางรากฐานการพัฒนาที่มุ่งผลสัมฤทธิ์สามารถสานต่อการพัฒนาได้ในแผนพัฒนาสุขภาพฯฉบับ ต่อๆไป จากสถานการณ์และปัจจัยทม่ี ีผลต่อการพฒั นาสุขภาพดังกล่าวมาแล้วน้ัน สรุปปจั จัยท่ีเป็นจุดเปล่ียนท่ี สาคัญ ดังนี้ (1) เปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนปี 2559-2573 (Sustainable Development Goals: SDGs) มี 17 เปูาหมายหลัก ท่ีทุกประเทศจะตอ้ งบรรลุในอีก 15 ปีข้างหน้า ดังนั้นทิศทางการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และสง่ิ แวดลอ้ มตา่ งๆ ตอ้ งปรบั ตวั เพ่อื ตอบสนองต่อเปูาหมาย SDGs ให้บรรลุ (2) การปรับโครงสร้างประเทศไทย ไปสู่ “ประเทศไทย 4.0” เพื่อก้าวข้ามกับดักรายได้ปานกลางท่ี กาลังเผชิญอยู่ เป็นการปรับเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่ “Value-base Economy”หรือ “เศรษฐกิจท่ี ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม” การพัฒนาด้านสุขภาพจะปรับตัวอย่างไร เพ่ือให้เกิดมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจของ ประเทศได้ (3) การเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างรวดเร็วของประเทศไทย อัน เน่ืองมาจากการลดลงของภาวะเจริญพันธ์หรือการเกิดน้อยลง และภาวการณ์ตายลดลง คนไทยอายุคาดเฉลี่ย ยนื ยาวขึน้ (4) การเปลย่ี นแปลงทางระบาดวิทยาทาใหร้ ูปแบบของภาระโรคเปลี่ยนจากโรคติดเชอ้ื ไปเปน็ โรคไม่ติดตอ่ เรื้อรัง และยังมีปัญหาสุขภาพจาก อบุ ัติเหตุ ภยั พบิ ัตแิ ละภัยสุขภาพ รวมทั้งโรคจากการประกอบ อาชีพและโรคจากสิง่ แวดลอ้ มสูงข้นึ (5) โลกาภวิ ัตน์ และความรวดเรว็ ของการพฒั นาเทคโนโลยดี ้านการแพทย์ สง่ ผลต่อพฤตกิ รรม - 35 -

สุขภาพของประชาชนรวมถึงพฤตกิ รรมการให้บริการสุขภาพ การขาดการประเมินเทคโนโลยีสุขภาพ (Health Technology Assessment) อยา่ งเพยี งพอ จะทาให้ประเทศไม่สามารถเลอื กลงทนุ ใชท้ รพั ยากรท่มี ีอย่างจากัด ได้อย่างคมุ้ ค่า (6) สัดส่วนค่าใชจ้ ่ายด้านการส่งเสริมสุขภาพและการปูองกันโรคมีเพียงร้อยละ 9 ท่ีเหลือเปน็ การใช้ จ่ายสาหรับการรักษาพยาบาล ท้ังๆ ที่แนวคิดเรื่อง “ปูองกันดีกว่ารักษา” มีมานานมาก บริการสุขภาพใน ระดับปฐมภูมิจึงมีความสาคัญเพียงในระดับหลักการหรือนโยบาย แต่ไม่เป็นจริงในระดับการปฏิบัติและการ สนบั สนนุ (7) การจัดการกาลังคนด้านสุขภาพ ยังไม่สามารถตอบสนองต่อการสร้างประสิทธิภาพของระบบ บริการสขุ ภาพ เกดิ วกิ ฤตขาดแคลนผนู้ าและนกั วชิ าการท่มี คี ุณภาพ (8) ระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพก็ยังมีปัญหาในการจัดการ ความเหล่ือมล้าระหว่างกองทุน ประกันสุขภาพทั้ง 3 ระบบยังคงอยู่ มีความคิดเห็นที่แตกตา่ ง ขัดแย้ง และมีโรงพยาบาลหลายแห่งมีปัญหา วกิ ฤตทางการเงิน (9) ระบบข้อมูลข่าวสารและการวจิ ยั ด้านสุขภาพ ยงั ไม่สามารถใช้ประโยชนจ์ ากข้อมูลและงานวจิ ัยที่มี ได้อยา่ งเพียงพอในการบรหิ ารงานของรัฐ และการเข้าถึงของประชาชนในลกั ษณะประโยชน์สาธารณะ (10) กลไกการอภิบาลระบบสขุ ภาพในระดบั ชาติ และระบบธรรมาภิบาลยงั ไม่ชดั เจน (11) ความรอบรดู้ า้ นสุขภาพ (Health Literacy) ของประชาชนยังไมเ่ พยี งพอในการ ปูองกันปัจจัยเส่ียง และประชาชน ชุมชน องค์การตา่ งๆส่วนหน่ึงยังขาดการมีส่วนร่วมในการพัฒนาและพ่ึงพา ตนเองไมไ่ ด้ - 36 -

ส่วนท่ี 4 หลกั การของแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) หลกั การของแผนพัฒนาสุขภาพแหง่ ชาติ ฉบับท่ี 12 การพัฒนาด้านสุขภาพในช่วงแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (2555 - 2559) สถานการณ์ ภายในประเทศที่มีผลกระทบจากมหาอุทกภัยช่วงปลายปี2554 ที่ต่อเน่ืองมาถึงปี 2555 ในปี 2556 มี เหตุการณ์ประท้วงทางการเมืองของมวลมหาประชาชน จนกระท่ังช่วงเดือนพฤษภาคม 2557 เกิดคณะรักษา ความสงบแห่งชาติ ความกดดันจากภาวะเศรษฐกิจโลก กระแสการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน การเปิดการค้าเสรี การเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ การก่อการร้ายข้ามชาติ การเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีและอื่นๆ ประกอบกับการ พัฒนาด้านสุขภาพทีผ่ ่านมา ยังคงประสบปญั หาดา้ นการเงินการคลังสุขภาพ การขาดเอกภาพเชิงนโยบาย ต่าง คนต่างทา ขาดการกาหนดเปาู หมายรว่ ม ขาดความรว่ มมือ โครงสร้างการทางานท่ีมีความซ้าซ้อน และท่ีสาคัญ ในช่วงท้ายของแผนฯเป็นห้วงระยะเวลาแห่งการปฏิรูปประเทศไปสู่ความ “มั่นคง มั่งค่ัง และยั่งยืน” เพ่ือ ความสุขของคนไทยทุกคน ประเดน็ ปญั หาด้านสุขภาพท่ียังคงอยู่ ต้องไดร้ ับการแก้ไขและพัฒนาในแผนพฒั นา สขุ ภาพแห่งชาติ ฉบบั ที่ 12 ตอ่ ไป รัฐบาล (พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา) ได้กาหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560 – 2579) เพ่ือ เป็นกรอบในการพฒั นาประเทศให้มีความตอ่ เนื่อง เพอ่ื ให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง ม่ังคั่ง ย่ังยืน เป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” นาไปสู่การพัฒนาให้คนไทยมี ความสุขและตอบสนองต่อการบรรลุซึ่งผลประโยชน์แห่งชาติ ในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างรายได้ ระดับสูง เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว และสร้างความสุขของคนไทย สังคมมีความม่ันคง เสมอภาคและเปน็ ธรรม ประเทศสามารถแข่งขันได้ในระบบเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบดว้ ย 6 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ (1) ยุทธศาสตร์ด้านความ ม่ันคง (2) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความม่ันคงในการแข่งขัน (3) ยุทธศาสตร์การพัฒนาและเสริมสร้าง ศักยภาพคน (4) ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันในสังคม (5) ยุทธศาสตร์ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชวี ิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (6) ยุทธศาสตร์ด้านการปรับสมดุลและการ พฒั นาระบบบริหารจัดการภาครัฐ - 37 -

สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้จัดทา (ร่าง)แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) ที่มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยมุ่งให้มีการบรรลุเปูาหมายในระยะ 5 ปี และสามารถต่อยอดในระยะต่อไปตามเปูาหมายยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปีได้ ซึง่ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (2560 – 2564 ) มีหลักการสาคัญของแผน คือ (1) ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (2) ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา (3) ยึดวิสัยทัศน์ภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (4) ยึดเปูาหมายอนาคตประเทศไทยปี 2579 ควบคู่กับกรอบเปูาหมายการพัฒนาที่ ยงั่ ยืน (SDGs) (5) ยึดหลักการนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิใหเ้ กดิ ผลสัมฤทธิ์อยา่ งจริงจังใน 5 ปีที่ตอ่ ยอดไปสู่ผลสัมฤทธ์ิท่ี เป็นเปูาหมายระยะยาว โดยใช้แผนพัฒนาฯเป็นกลไกเชื่อมต่อในลาดับแรกที่จะกากับและส่งต่อแนวทางการ พฒั นาและเปูาหมายในยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ให้เกิดการปฏิบัติในทุกระดับและในแต่ละด้านอย่างสอดคล้อง กนั การจัดทาแผนพฒั นาสุขภาพแหง่ ชาตใิ นชว่ งแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564 ) จึงได้ยึดหลักการพัฒนาและเช่ือมโยงภายใต้กรอบของยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาตฉิ บับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เป็นหลัก ตลอดจนเช่ือมโยงกรอบ เปูาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ธรรมนูญว่าด้วย ระบบสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 2 พ.ศ.2559 การปฏิรูปประเทศไทยด้านสาธารณสุข แผนระยะ 20 ปี ด้าน สาธารณสุข และให้ความสาคัญกับการอภิบาลระบบสุขภาพให้ยั่งยืน ลดความเหล่ือมล้า จัดระบบบริการ สุขภาพให้ครอบคลมุ เป็นธรรม เพ่อื คนไทยมีสุขภาพแข็งแรง สามารถสรา้ งความเจริญเตบิ โตทางเศรษฐกจิ ของ ประเทศได้ทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม - 38 -

แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560-2564) เป็นแผนพัฒนาระยะ 5 ปี จะ เป็นกลไกเชอ่ื มต่อเปูาหมายยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี และแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 ให้สามารถนาสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ดังนั้น การกาหนดทิศทางเปูาหมายการพัฒนาและ ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้พิจารณาจากการประเมินสถานการณ์และปัจจัยแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนา สุขภาพ ซ่ึงแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบบั ท่ี 12 เปน็ ช่วงระยะเวลาของการปฏิรูปประเทศในระยะ 5 ปี แรก และจะเป็นการวางรากฐานของระบบสุขภาพให้เข้มแข็ง มีเอกภาพ สามารถต่อยอดให้เกิดผลสัมฤทธ์ิ ได้อย่างต่อเน่ืองภายใต้แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับต่อๆไป จึงกาหนดเปูาประสงค์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ดงั น้ี วสิ ัยทัศน์ ระบบสขุ ภาพไทยเขม้ แข็ง เปน็ เอกภาพ เพื่อคนไทยสุขภาพดี สร้างประเทศให้มนั่ คง ม่งั ค่ังและยงั่ ยืน พันธกจิ เสริมสร้าง สนบั สนุนและประสานให้เกิดการมีสว่ นร่วมของทุกภาคส่วน ท้ัง ภาครัฐ เอกชน นกั วิชาการและภาคประชาสังคม ในการอภิบาลและพฒั นาระบบสขุ ภาพไทยให้เข้มแขง็ รองรับกบั บริบทของการเปลย่ี นแปลงในอนาคต เปา้ ประสงค์ 1. เพื่อให้คนไทย ชุมชน ท้องถ่ิน ภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมดา้ นสุขภาพ มีความรอบรู้ ดา้ นสุขภาพ มพี ฤติกรรมสขุ ภาพทด่ี ี สามารถชว่ ยเหลอื ดูแลตนเอง ครอบครวั และชมุ ชนดา้ นสขุ ภาพได้ 2. เพอ่ื ใหค้ นไทยทกุ ชว่ งวยั ไดร้ ับการพฒั นาศักยภาพและสร้างเสริมให้มีสุขภาวะที่ดี ได้รับการส่งเสริมสุขภาพ ปูองกันโรค และปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีการคุ้มครองด้านสุขภาพท่ีดี มีสภาพแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการมี สุขภาพดี มีระบบการดูแล ผู้สูงอายุท่ีเอ้ือต่อการเข้าถึงบริการได้สะดวกส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตท่ีดี เขา้ สู่สังคมสูงวัยได้อยา่ งมคี วามสขุ ลดการตายก่อนวยั อันควร 3. เพื่อให้ระบบบริการสุขภาพทุกระดับมีการเพ่ิมขีดความสามารถ มีคุณภาพ มาตรฐาน มีระบบบริการท่ี ทันสมัย มคี วามพอเพยี ง มีการกระจายท่ีเป็นธรรม มีเทคโนโลยที างการแพทย์ขน้ั สูงที่คนไทยสามารถเข้าถึง บรกิ ารไดส้ ะดวก เหมาะสม ท้ังนโี้ ดยการบรู ณาการและการมสี ว่ นร่วมจากทุกภาคส่วน 4. เพื่อให้มีระบบการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพท่ีมีประสิทธิภาพ มีแผนความต้องการอัตรากาลังคน ด้านสุขภาพท่ีชัดเจน มีการผลิตและพัฒนากาลังคนด้านสุขภาพที่ตอบสนองต่อปัญหาและความต้องการ ของประเทศ 5. เพื่อให้มีระบบการอภิบาลด้านสุขภาพมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยมีกลไกทั้งระดับชาติและระดับ พื้นที่ ท่ีจะทาให้การดาเนินงานงานด้านสุขภาพมีการบูรณาการ มีการกาหนดเปูาหมายร่วมกัน มีการ จดั สรรและใช้ทรัพยากรร่วมกันอยา่ งเหมาะสม สง่ ผล ให้ระบบสุขภาพมีความย่ังยืน คนไทยไดร้ ับบริการท่ีดี มคี ุณภาพ - 39 -

ยุทธศาสตร์การพฒั นา ยุทธศาสตรท์ ่ี 1: เร่งการเสรมิ สรา้ งสุขภาพคนไทยเชงิ รกุ (P3: Health Promotion + Disease Prevention + Consumer & Environmental Protection Excellence) ให้ความสาคัญกับการปฏิรูปด้านสุขภาพเพ่อื ให้คนไทยทุกชว่ งวัยมีสุขภาพแข็งแรง เร่งรัดพัฒนาระบบ การดูแลเด็กให้มีพัฒนาการท่ีสมวัย เสริมสร้างความร่วมมือในการดูแลให้เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ เจริญเติบโต เตม็ ศกั ยภาพ แข็งแรง พรอ้ มที่จะเรียนรู้ ส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่และอาหารตามวัยท่ีถูกหลักโภชนาการ เติบโตอย่างมีคุณภาพทุกชว่ งวัย มีความฉลาดทางสตปิ ัญญาและอารมณ์ ดูแลผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม สร้าง ความตระหนักรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดปัจจัยเส่ียงและผลกระทบด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้ บุคคล ชมุ ชน และประชาชนกลมุ่ ต่างๆมคี วามรู้ และทัศนคตทิ ่ีถูกตอ้ งดา้ นสุขภาพ เพ่ือให้มีพฤติกรรมสุขภาพที่ ถูกต้อง ไมก่ ่อให้เกิดโรค ไม่ปวุ ยและตายดว้ ยโรคทป่ี อู งกนั ได้ มีจติ สานึกและรว่ มสรา้ งส่ิงแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะอย่างมีส่วนร่วมของประชาชนและทุกภาคส่วน พัฒนา ระบบสุขภาพเชิงรุกโดยการส่งเสริมสุขภาพ การปูองกันควบคุมโรคและระบบการคุ้มครองผู้บริโภคที่มี ประสิทธิผล มีความปลอดภัยด้านอาหาร พัฒนาและส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติด้านพฤติกรรมสุขภาพของ ประชาชน สร้างมาตรการทางสังคมในการควบคุมพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพที่สาคัญ ส่งเสริมการออกกาลัง กายและการมสี ุขภาพทีด่ ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 2: สร้างความเปน็ ธรรม ลดความเหล่อื มล้าในระบบบริการสุขภาพ (Service Excellence) ใหค้ วามสาคญั กับการปฏิรปู ระบบบริการปฐมภูมทิ ีม่ ีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกระจายครอบคลุมทุก พ้ืนท่ีเพ่ือดูแลประชาชนในสัดส่วนท่ีเหมาะสม เร่งรัดพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิท้ังในเขตเมืองและชนบท พัฒนาความร่วมมือในด้านวิชาการ การวิจัย และการจัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขทุกระดับกับ มหาวิทยาลัย องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในพ้ืนที่และหน่วยงานอื่นๆที่ให้บริการสุขภาพ ยกระดับการ ให้บริการด้านสุขภาพโดยการพัฒนาและขยายขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูมิ ทุติย ภูมิ ตติยภูมิ และตติยภูมิข้ันสูง ตลอดจนความเชี่ยวชาญด้านการแพทย์เฉพาะทาง สร้างศูนย์ความเช่ียวชาญ ระดับสูงกระจายในพ้ืนทีเ่ ขตสุขภาพ พฒั นาโครงสร้างพื้นฐานของการให้บริการดา้ นการแพทย์และสาธารณสุข ให้มีความทันสมัยมากข้ึน มีเทคโนโลยีทางการแพทย์ที่เหมาะสมและคุ้มค่าในทุกพ้ืนท่ีเขตสุขภาพ มีระบบส่ง ตอ่ ที่รวดเรว็ มปี ระสิทธภิ าพ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก ไม่เป็น ภาระเร่ืองค่าใช้จ่าย พัฒนาศูนย์กลางด้านสุขภาพ บริการ และผลิตภัณฑ์สุขภาพนานาชาติ พัฒนาบริการใน เขตเศรษฐกิจพิเศษและการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพในพื้นท่ีชายแดนใต้ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและการไกล่ เกลย่ี ลดความขดั แย้งระหว่างผรู้ บั บรกิ ารและผูใ้ ห้บรกิ ารเม่อื เกดิ ภาวะไม่พงึ ประสงค์ สร้างความเขา้ ใจท่ถี ูกต้อง ตรงกันระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และประชาชนในเรื่องกระบวนการรักษา สิทธิประโยชน์ และความ คาดหวัง เพ่อื ผใู้ หบ้ ริการสามารถปฏบิ ัตงิ านอยา่ งมคี วามสุข ผ้รู ับบรกิ ารมีความพึงพอใจ - 40 -

ยุทธศาสตร์ท่ี 3: พฒั นาและสรา้ งกลไกเพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การกาลังคน ดา้ นสุขภาพ (People Excellence) ให้ความสาคัญกับการปฏิรูประบบและกลไกการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพในทุกระดับ พัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศด้านกาลังคน การวางแผนกาลังคนด้านสุขภาพ สนับสนุนการวางแผนผลิตและ พัฒนากาลังคนให้มีความเป็นเลิศ เช่ียวชาญในวิชาชีพ มีทักษะการทางานเป็นทีมสุขภาพ มีคุณธรรมและ จริยธรรม เคารพศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีคุณภาพชีวิตและมีความสุขในการทางาน ใส่ใจในการเรียนรู้ ตอ่ เน่ืองตลอดชีวิต สอดคล้องกับการศึกษาวิชาชพี แบบTransformative Learningในศตวรรษที่ 21 ส่งเสริม ความร่วมมือระหว่างภาครัฐ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน สภาวิชาชีพ หน่วยผลิตและพัฒนากาลังคนด้าน สุขภาพ ภาคเอกชนและภาคประชาสังคม ให้มีบทบาทร่วมกันในการวางแผนการผลิต เร่งผลิตและพัฒนา กาลังคนด้านสุขภาพใหม้ ปี ริมาณเพียงพอและมีคุณภาพ มีการกระจายกาลังคนท่ีเหมาะสมเป็นธรรมและท่ัวถึง การธารงรักษาและการบริหารจัดการกาลังคนด้านสุขภาพให้มีความเพียงพอ ความเป็นธรรม ตอบสนองต่อ ความต้องการด้านสุขภาพของประชาชนอย่างแทจ้ รงิ ยทุ ธศาสตร์ที่ 4: พฒั นาและสรา้ งความเขม้ แขง็ ในการอภิบาลระบบสุขภาพ (Governance Excellence ) ให้ความสาคัญกับการปฏิรูปกลไกการบริหารจัดการระบบสุขภาพให้เกิดความเป็นเอกภาพ มีธรรมาภิ บาล จัดต้ังกลไกที่มีหน้าที่ในการกาหนดนโยบายและกากับทิศทางด้านสุขภาพของประเทศ ปรับปรุงระบบ หลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สร้างความสมดุลระหว่างผู้ซื้อและผู้ให้บริการ กาหนดทิศทางการเงินการคลังด้านสุขภาพของประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ บริหารจัดการทรัพยากรให้มี การกระจายอย่างเหมาะสม มีระบบข้อมูลสุขภาพท่ีแม่นยา ครบถ้วน ทันเวลา สามารถใช้ประโยชน์ได้ สร้าง ระบบยา เวชภัณฑ์และเทคโนโลยีทางการแพทย์ท่ีมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล พัฒนาระบบการคุ้มครอง ผู้บริโภคด้านสุขภาพ สร้างระบบงานให้สามารถสร้างกาลังใจและแรงจูงใจให้บุคลากรทางการแพทย์และ สาธารณสุขมีความสุขและเห็นคุณค่าของการทางาน ส่งเสริมให้มีกลไประชารัฐ เข้ามามีส่วนร่วมในการบริการ ด้านสุขภาพ สร้างกลไกการบูรณาการแผนงาน/โครงการ กิจกรรม และการใช้ทรัพยากรร่วมกันระหว่าง หน่วยงานด้านสุขภาพท้ังภาครัฐและเอกชน รวมถึงองค์กรต่างๆในระดับท้องถ่ิน สนับสนุนการวิจัยด้าน การแพทย์และสาธารณสุขท่ีเป็นปัญหาที่สาคัญของประเทศ ให้สามารถนาผลการวิจัย/นวัตกรรมมาใช้ในการ พฒั นางานบริการ - 41 -

ส่วนท่ี 5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพฒั นาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตร์ที่ 1: เรง่ การเสรมิ สร้างสุขภาพคนไทยเชิงรกุ (P3: Health Promotion + Disease Prevention + Consumer & Environmental Protection Excellence) คนไทยมีอายุยืนยาวข้ึน แตส่ ูญเสียปสี ุขภาวะเพ่ิมขึ้น ปุวยและตายด้วยโรคที่ปูองกันได้ สาเหตุหลัก ของการสูญเสียปสี ุขภาวะท้ังในชายไทยและหญิงไทยมาจากโรคไม่ติดต่อและโรคเรื้อรัง ผู้ชายไทยสูญเสียปี สุขภาวะสูงสุดจากการติดสุรา อุบัติเหตจุ ราจรและโรคหลอดเลือดสมอง ส่วนหญิงไทยสูญเสียปีสุขภาวะสูงสุด จากโรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดสมอง และภาวะซึมเศร้า ตามลาดับ ในช่วง 10 ปี ท่ีผ่านมาพบว่า แนวโน้ม การเกิดโรคไม่ติดต่อของคนไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเน่ือง และส่วนใหญ่ปุวยจากโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคเบาหวาน โรคมะเร็ง และโรคไตวาย และถึงแม้วา่ อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิด (Life Expectancy at birth) ของคนไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ทั้งเพศหญิงและชาย โดยเพศชายมีอายุคาดเฉลี่ย 71.6 เพศหญิง 78.4 แต่คนไทยก็ยังปุวยและตายด้วยโรคท่ีปูองกันได้ โดยคนไทยตายจากอุบัติเหตุทางถนนมากเป็นอันดับ 2 ของ โลก เด็กปฐมวัยยังมีปัญหาพัฒนาการล่าช้ากวา่ ร้อยละ 27.5 ปัญหาแม่ตาย ลูกตายยังมีอยู่แตไ่ ม่มาก ปญั หา เด็กวยั เรียนอว้ น น้าหนักเกิน ผลการเปล่ียนแปลงโครงสร้างประชากรที่เข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โดยคาดวา่ การเข้า สู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์เม่ือส้ินปี 2564 (ส้ินแผนฯ 12) สัดส่วนผู้สูงอายุจะเพ่ิมขึ้นเป็นร้อยละ 19.8 ในขณะท่ีวัยเด็กและวัยแรงงานลดลง ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดบริการสุขภาพ ภาวะพง่ึ พิงและ ความต้องการการบริการด้านสุขภาพในกลุ่มผู้สูงอายุเพ่ิมสูงขึ้น ทาให้ส่งผลต่อการเตรียมบุคลากรทาง การแพทย์และสาธารณสุขท่ีมีความเฉพาะทางมากขึ้น ภาระค่าใชจ้ ่ายด้านสุขภาพของภาครัฐเพ่ิมข้ึน ดังน้ันจึง ให้ความสาคัญกับการปฏิรูปด้านสุขภาพเพ่ือให้คนไทยทุกช่วงวัยมีสุขภาพแข็งแรง เร่งรัดพัฒนาระบบการดูแล เด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัย เสริมสร้างความร่วมมือในการดูแลให้เด็กเกิดอย่างมีคุณภาพ เจริญเติบโตเต็ม ศักยภาพ แข็งแรง พร้อมที่จะเรียนรู้ ส่งเสริมการเล้ียงลูกด้วยนมแม่และอาหารตามวัยที่ถูกหลักโภชนาการ เติบโตอย่างมีคุณภาพทุกช่วงวัย มีความฉลาดทางสติปัญญาและอารมณ์ ดูแลผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม ลด ปัจจัยเสย่ี งและผลกระทบด้านสุขภาพ ส่งเสริมให้บุคคล ชุมชน และประชาชนกลุ่มต่างๆมีความรู้ และทัศนคติ ทีถ่ กู ตอ้ งด้านสุขภาพ เพอื่ ให้มีพฤตกิ รรมสุขภาพที่ถูกต้อง ไม่ก่อให้เกิดโรค ไม่ปวุ ยและตายดว้ ยโรคท่ีปอู งกันได้ มจี ิตสานกึ และร่วมสร้างส่ิงแวดล้อมที่ดีต่อสุขภาพ ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะอย่างมี ส่วนรว่ มของประชาชนและทุกภาคสว่ น พฒั นาระบบสุขภาพเชิงรุกโดยการส่งเสริมสุขภาพ การปอู งกันควบคุม โรคและระบบการคุม้ ครองผบู้ ริโภคทม่ี ปี ระสทิ ธผิ ล เฝูาระวังและตรวจสอบผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพในตลาดใหม้ คี วาม ปลอดภยั ความปลอดภยั ดา้ นอาหาร พฒั นาและสง่ เสริมการใช้แนวปฏิบตั ิด้านพฤติกรรมสุขภาพของประชาชน สร้างมาตรการทางสังคมในการควบคุมพฤตกิ รรมเสี่ยงทางสุขภาพท่ีสาคัญ ส่งเสริมการออกกาลังกายและการ มสี ขุ ภาพท่ีดี - 42 -

1.1 วตั ถปุ ระสงค์ 1.1.1 เพื่อสร้างความเข้มแข็งของบุคคล ชุมชน ประชาชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภาคี เครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้านสุขภาพ ให้มีศักยภาพ มีความรู้และทัศนคติที่ถูกต้องด้าน พฤติกรรมสุขภาพ มีการเรียนรู้ มีพฤติกรรมเส่ียงทางสุขภาพลดลง สามารถช่วยเหลือ ดูแลตนเองและชุมชน ตลอดจนมีส่วนรว่ มในการสรา้ งและจัดการระบบสขุ ภาพ 1.1.2 เพื่อสร้างระบบสุขภาพเชิงรุก ที่มุ่งสร้างเสริมให้คนไทยทุกช่วงวัยมีสุขภาพดี มีระบบการ ปูองกันควบคุมโรคและปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ มีการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพท่ีดี มีสภาพแวดล้อมที่เอ้ือ ตอ่ การมีสุขภาพดี 1.1.3 เพ่ือพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวท่ีเกิดจากความร่วมมือของครอบครัว ชุมชน และ สถานพยาบาล ให้มีความพอเพียงและเหมาะสมต่อการเข้าถึงบริการของผู้สูงอายุ ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพ ชวี ิตทด่ี ี เข้าสู่สงั คมสงู วัยไดอ้ ย่างมีความสขุ 1.2 เปา้ หมายการพัฒนา 1.2.1 คนไทยทกุ ช่วงวัยมสี ุขภาพดี แข็งแรง 1.2.2 มนี โยบายสาธารณะที่เอ้อื ตอ่ การสง่ เสริมสุขภาพ และลดปัจจัยเสยี่ งตอ่ การทาลายสขุ ภาพ 1.2.3 มีการสื่อสารสาธารณะ ในการลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพ เพื่อการปรับเปล่ียนพฤติกรรม สขุ ภาพของประชาชน 1.2.4 มีการบูรณาการระหว่างหน่วยงานต่างๆ และองค์กรด้านสุขภาพ ในการดาเนินงานส่งเสริม สขุ ภาพ ปอู งกนั ควบคุมโรคและคุ้มครองผบู้ ริโภคด้านผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารสขุ ภาพมากขึน้ 1.3 ตวั ชวี้ ดั 1.3.1 ระดบั พฒั นาการเด็กไทย (สมวยั ไม่นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 85) 1.3.2 IQ เฉล่ยี เด็กไทย (ไมต่ ่ากว่า 100) 1.3.3 EQ เดก็ ไทยสูงกวา่ คะแนนมาตรฐาน (รอ้ ยละ 70) 1.3.4 อัตราการเสยี ชีวติ จากการบาดเจบ็ ทางถนน (ไม่เกนิ 16 คน ต่อประชากรแสนคน) 1.3.5 อัตราตายกอ่ นวัยอนั ควรจากโรคNCD (ลดลงจากปี 2559 ร้อยละ 25) (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หลอดเลอื ดหัวใจ หลอดเลอื ดสมอง ปอดเรอ้ื รัง) 1.3.6 อัตราของ Healthy Ageing เพ่ิมขน้ึ (ADL มากกว่า 12 คะแนน) 1.3.7 อตั ราการเจ็บปวุ ยจากผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพและสง่ิ แวดล้อม (ลดลงรอ้ ยละ 5 เมือ่ เปรียบเทียบกบั ปี 2559) 1.3.8 ระดับความรอบรดู้ า้ นสุขภาพของคนไทย (ระดับดมี าก เพ่ิมขึ้นร้อยละ 25) 1.3.9 พฤติกรรมสขุ ภาพของคนไทย (เปรยี บเทียบจากข้อมลู การสารวจสขุ ภาพคนไทยครั้งท่ี 5) 1.3.9.1 อตั ราการออกกาลงั กาย (เพม่ิ ขึ้นรอ้ ยละ 50) 1.3.9.2 อัตราการบริโภคผัก ผลไม้ (เพิม่ ขน้ึ ร้อยละ 10) 1.3.9.3 ความชุกของการสูบบหุ ร่ี และ บริโภคแอลกอฮอล์ (ลดลงรอ้ ยละ 5) - 43 -

1.4 มาตรการ / แนวทางการพฒั นา 1.4.1 เสริมสร้างภาคีเครือขา่ ยและพนั ธมิตร (1) สร้างศักยภาพของภาคีเครือข่ายและพันธมิตร พัฒนาศักยภาพของบุคคล ชุมชน ประชาชนกลุ่มต่างๆ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ภาคีเครือข่ายภาคประชาชนและภาคประชาสังคมด้าน สุขภาพ ให้มีความสามารถในการดูแลสุขภาพตนเอง สามารถแสดงบทบาทในการสร้างเสริมสุขภาพและ ปอู งกันโรคของตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม ตลอดจนสามารถนาแนวคิด และประสานการดาเนินงาน ดา้ นสุขภาพเชงิ รกุ ในพื้นท่ี (2) บูรณาการองค์กรทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ให้มี การดาเนินงานด้านสุขภาพทห่ี นุนเสรมิ ซงึ่ กันและกนั ไมซ่ า้ ซอ้ น สามารถใช้ทรัพยากรรว่ มกัน (3) เชื่อมโยงระบบสุขภาพไทยกับนานาชาติ โดยพฒั นาความร่วมมือกับนานาชาติ ทั้งด้าน วิชาการและทรัพยากร พฒั นาระบบการบรกิ ารส่งเสริมสขุ ภาพและขอ้ มูลสขุ ภาพสู่ประชาชนอย่างเปน็ ระบบ 1.4.2 พฒั นากระบวนการกาหนดนโยบายและกฎหมายดา้ นสุขภาพ ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการพัฒนานโยบายสาธารณะและกฎหมายเพื่อสุขภาพอย่างมีส่วน ร่วมของประชาชนและองคก์ รทกุ ภาคส่วน ตามหลกั การ “ทุกนโยบายห่วงใยสขุ ภาพ” (Health in All Policy) 1.4.3 สรา้ งความรอบรูด้ ้านสุขภาพเพอื่ การปรบั เปลย่ี นพฤติกรรมสุขภาพ โดยให้ความสาคัญกับการสร้างช่องทางการสื่อสาร เผยแพร่ความรู้ท่ีประชาชนเข้าใจได้ง่าย เพ่ือให้เข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพอย่างท่ัวถึง สร้างกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่างๆ เพ่ือให้ประชาชนมีความ เข้าใจในพฤติกรรมสุขภาพท่ีถูกต้อง ส่งเสริมการนาข้อมูลข่าวสาร ความรู้ด้านสุขภาพ เข้าไปประสมประสาน กับกิจกรรมของชมุ ชนเพอ่ื ให้เกดิ การปรับเปลี่ยนพฤตกิ รรมสุขภาพและการช่วยเหลือในการดแู ลสุขภาพรว่ มกัน 1.4.4 พฒั นาระบบเพือ่ จดั การกบั ปจั จัยทก่ี าหนดสขุ ภาพ (1) พัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ โดยพัฒนา ศักยภาพคนไทย ให้ความสาคัญกับการดูแลเด็กปฐมวัยให้มีพัฒนาการที่สมวัย เติบโตอย่างมีคุณภาพทุกช่วงวัยมี ความฉลาดทางสตปิ ัญญาและอารมณ์ (พฒั นาเดก็ ไทย 4.0 IQ ดี EQ เด่น) ส่งเสริมสุขภาพจิตที่ดใี นประชาชนทุก กลมุ่ วยั ลดปัจจัยเส่ียงตา่ งๆด้านสขุ ภาพ สนบั สนุนการสร้างเสรมิ สุขภาวะประชากรกลมุ่ เฉพาะ (2) พัฒนาและยกระดับมาตรฐานอนามัยส่ิงแวดล้อม มีระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล้อมท่ี เออ้ื ต่อสขุ ภาพของประชาชนทุกชว่ งวยั (3) พัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวแบบบูรณาการโดยการสร้างCare giverใน ชุมชน สนับสนุนให้ชมุ ชนมีระบบการดูแลผู้สูงอายุในชมุ ชน ส่งเสริมให้ประชาชนทุกวยั มีความรู้และมีส่วนร่วม ในการดูแลรับผดิ ชอบผูส้ งู อายใุ นครอบครัวและชมุ ชน ตระหนักในคุณค่าและศกั ดศิ์ รขี องผู้สงู อายุ (4) ลดการตายกอ่ นวยั อันควร โดยใหค้ วามสาคญั กับการปูองกนั ควบคมุ การบาดเจ็บเพอ่ื ลด จานวนการตายและการบาดเจบ็ ทางถนนของคนไทย ควบคมุ การบรโิ ภคเคร่ืองดื่มแอลกอฮอลแ์ ละยาสบู (5) สร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพอาเภอ (District Health System) เพ่ือบูรณา การและดาเนนิ งานดา้ นสุขภาพในพ้ืนที่ระดับอาเภอ สามรถจัดการปญั หาในพืน้ ท่ีได้อย่างมีประสิทธผิ ล ซ่ึงเป็น จดุ คานงัดของการพัฒนาระบบสขุ ภาพไทย (6) เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและ บริการสุขภาพ ให้สามารถคุ้มครองดูแลความปลอดภัยด้านสุขภาพให้กับประชาชนได้อย่างมีประสิทธิผล ลด - 44 -

ขั้นตอนเงื่อนไขในระบบท่ีไม่จาเป็น มีระบบการเฝูาระวังตรวจสอบหลังผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด มีช่องทางการ ส่ือสารข้อมูลใหป้ ระชาชนไดร้ ับรอู้ ยา่ งสะดวก รวดเรว็ (7) พัฒนาการสาธารณสุขมลู ฐาน สง่ เสรมิ ให้อาสาสมัครสาธารณสุข สามารถปฏิบัติงานได้ อยา่ งมีประสทิ ธิผล และชมุ ชนมคี วามเขม้ แขง็ 1.5 แผนงาน/ โครงการทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง 1) แผนงานพัฒนาคุณภาพชีวติ คนไทยทกุ กล่มุ วยั 1.1 โครงการพัฒนาและสร้างเสรมิ ศกั ยภาพคนไทย - กล่มุ สตรแี ละเดก็ ปฐมวยั - กลมุ่ วยั เรยี นและวัยรุ่น - กลุ่มวยั ทางาน - กลมุ่ วัยผสู้ ูงอายุ 2) แผนงานปอู งกันควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ 2.1 โครงการพัฒนาระบบการตอบโตภ้ าวะฉกุ เฉินและภยั สขุ ภาพ 2.2 โครงการควบคมุ โรคติดตอ่ 2.3 โครงการควบคมุ โรคไมต่ ดิ ตอ่ และภยั สุขภาพ 3) แผนงานลดปจั จัยเส่ียงด้านสขุ ภาพ 3.1 โครงการสง่ เสริมและพัฒนาความปลอดภยั ด้านอาหาร 3.2 โครงการลดปัจจยั เสยี่ งดา้ นสขุ ภาพ 3.3 โครงการคุ้มครองผ้บู ริโภคด้านผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพและบรกิ ารสขุ ภาพ 4) แผนงานบริหารจดั การส่งิ แวดล้อม 4.1 โครงการบริหารจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม 4.2 โครงการคุ้มครองสุขภาพประชาชนจากมลพิษส่ิงแวดล้อมในพนื้ ที่เสย่ี ง (Hot Zone) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2: สรา้ งความเปน็ ธรรม ลดความเหลื่อมลา้ ในระบบบรกิ ารสขุ ภาพ (Service Excellence) ระบบบริการสุขภาพของไทยมีการพฒั นาและขยายการให้บริการในทุกมิติอย่างต่อเน่ือง ในชว่ งหลาย ทศวรรษที่ผ่านมา มีหน่วยบริการครอบคลุมทุกพน้ื ที่เชื่อมต่อกันต้งั แตป่ ฐมภูมิ ทุตยิ ภูมิ ตติยภูมิ บริการเฉพาะ ทาง เครือข่ายระบบการส่งต่อ และมีระบบสนับสนุนที่สาคัญ คือ ระบบกาลังคน ยาและเทคโนโลยีทางการ แพทย์ และระบบการเงินการคลัง แตใ่ นช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา ระบบบริการสุขภาพของไทยยังประสบปัญหา ท่ีสาคัญหลายอย่าง เช่น ประสิทธิภาพการรักษา คุณภาพบริการ ความเป็นธรรม การจัดสรรทรัพยากรและ บคุ ลากรทางการแพทย์ การกระจายบคุ ลากรที่ไม่สอดคล้องกบั ระบบบริการของพ้นื ท่ี ความไม่เป็นธรรมในการ กระจายเครอื่ งมอื แพทยท์ มี่ รี าคาแพงและเทคโนโลยชี ้ันสูง ทาให้การเข้าถึงเทคโนโลยีราคาแพงมีความแตกต่าง ระหว่างกลุ่มคนและภูมิภาคอยู่ค่อนข้างมาก ความแออัดของผู้ปุวยท่ีมารอรับบริการ โดยมีผู้ปุวยมารับบริการ เพิ่มขึ้นจาก 125.5 ล้านครั้งในปี 2555 เป็น 292.6 ล้านครั้ง ในปี 2558 ส่งผลให้ระยะเวลารอคอยการ บริการบางโรคยังมีควิ ยาวนาน ผูด้ ้อยโอกาสไมไ่ ดร้ ับการตอบสนองอย่างทัว่ ถงึ ได้ยาท่ีคุณภาพแตกตา่ งกัน และ เกิดปัญหาข้อร้องเรียนบ่อย และการเปล่ียนแปลงท่ีเกิดขึ้นท้ังด้านสังคมและเศรษฐกิจ เทคโนโลยีด้านต่างๆ การดารงชีวิตท่ีเปล่ียนแปลงไปสู่สังคมเมือง ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั้งร่างกายและสุขภาพจิต ในปี 2556 - 45 -

ประชากรเขตเมอื งมสี ูงถงึ รอ้ ยละ 53.55 และมีแนวโน้มเพ่ิมขึ้นเร่ือยๆ ในขณะที่การให้บริการสาธารณสุขข้ัน พื้นฐานในเขตเมืองยังเป็นปัญหา คนในเขตเมืองเข้าถึงบริการเพียงบางส่วน ดังนั้นจึงให้ความสาคัญกับการ ปฏิรูประบบบริการปฐมภูมิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวกระจายครอบคลุมทุกพ้ืนที่เพื่อดูแลประชาชนใน สัดส่วนท่ีเหมาะสม เร่งรัดพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิท้ังในเขตเมืองและชนบท พัฒนาความร่วมมือในด้าน วิชาการ การวิจัย และการจัดบริการดา้ นการแพทย์และสาธารณสุขทุกระดับกับมหาวิทยาลัย องค์กรปกครอง ส่วนท้องถ่ินในพ้ืนท่ีและหน่วยงานอ่ืนๆท่ีให้บริการสุขภาพ ยกระดับการให้บริการด้านสุขภาพโดยการพัฒนา และขยายขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับต้ังแต่ปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ตติยภูมิ และตติยภูมิข้ันสูง ตลอดจนความเชี่ยวชาญด้านการแพทย์เฉพาะทาง สร้างศูนย์ความเชี่ยวชาญระดบั สูงกระจายในพื้นท่ีเขตสุขภาพ จัดทาแผนการลงทุนเพื่อพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของการให้บริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้มีความ ทันสมัยมากขึน้ มเี ทคโนโลยที างการแพทยท์ เ่ี หมาะสมและคุ้มค่าในทุกพ้นื ที่เขตสุขภาพ มีระบบส่งต่อที่รวดเร็ว มีประสิทธิภาพ พัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการได้สะดวก ไม่เป็นภาระเรื่อง คา่ ใชจ้ ่าย พฒั นาศนู ยก์ ลางด้านสขุ ภาพ บรกิ าร และผลติ ภณั ฑส์ ขุ ภาพนานาชาติ พฒั นาบรกิ ารในเขตเศรษฐกิจ พิเศษและการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพในพ้ืนท่ีชายแดนใต้ สร้างความสัมพันธ์ท่ีดีและการไกล่เกลี่ย ลดความ ขัดแย้งระหว่างผู้รับบริการและผู้ให้บริการเม่ือเกิดภาวะไม่พึงประสงค์ สร้างความเข้าใจที่ถูกต้องตรงกัน ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์และประชาชนในเร่ืองกระบวนการรักษา สิทธิประโยชน์ และความคาดหวัง เพ่ือผู้ให้บริการสามารถปฏบิ ัตงิ านอยา่ งมคี วามสุข ผู้รับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจ 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ 2.1.1 เพอ่ื สร้างและพัฒนาระบบบริการปฐมภมู ิที่มีแพทย์เวชศาสตร์ครอบครัวประจาให้ครบทุกแห่ง เพอื่ เพิ่มความเปน็ ธรรมในการเข้าถงึ บรกิ ารและคณุ ภาพในการดแู ลประชาชน 2.1.2 เพ่ือยกระดับขีดความสามารถของหน่วยบริการทุกระดับให้มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน มีความ เป็นธรรม ตอบสนองตอ่ ความต้องการของประชาชนและสามารถเขา้ ถึงบรกิ ารไดอ้ ยา่ งทว่ั ถงึ ทดั เทยี มกัน 2.1.3 เพ่อื สร้างความเขม้ แขง็ และสามารถในการแข่งขันใหก้ บั ระบบสุขภาพของประเทศ 2.1.4 เพอื่ ลดความเหลอ่ื มล้าในการได้รบั บริการดา้ นการแพทยแ์ ละสาธารณสขุ 2.2 เปา้ หมายการพัฒนา 2.2.1 จัดกลุ่มหน่วยบริการปฐมภมู ิ (Primary Care Cluster) 1 Cluster ประกอบด้วย ทีมแพทย์ เวชศาสตร์ครอบครัว 3 ทีม ให้การดูแลรับผิดชอบประชากรประมาณ 30,000 คน (1 ทีม : 10,000 คน) และขยายความครอบคลุมและยกระดับคุณภาพบริการของหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท โดยให้มีแพทย์เวชศาสตรค์ รอบครัว และทมี สุขภาพประจาใหค้ รบทกุ แหง่ เพื่อการบริการทงั้ เชงิ รบั เชิงรุก และ การบริการต่อเน่อื ง 2.2.2 ลดความเหล่ือมล้าและเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงบริการด้านสุขภาพทุกระดับ ท่ีตอบสนองต่อ ความจาเปน็ ดา้ นสุขภาพของประชาชนทุกกลมุ่ 2.2.3 สร้างความร่วมมือทางวิชาการและการใช้ทรัพยากรร่วมกัน ในการจัดบริการด้านสุขภาพทุก ระดับต้ังแต่ปฐมภมู ิ ทุติยภูมิและตติยภมู ิ ของทุกภาคส่วน ท้ังภาครัฐ เอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินและ ภาคส่วนอืน่ ๆ เพ่อื การใหเ้ กดิ นวัตกรรมและการใช้ทรพั ยากรทคี่ มุ้ คา่ เกดิ ประโยชน์สูงสุด 2.2.4 จัดบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุขให้กับประชากรท่ีเป็นกลุ่มเปูาหมายเฉพาะและ ประชากรท่ีอยู่ในพื้นท่ีห่างไกลทุรกันดาร เช่น ประชากรในพ้ืนท่ีสูง พื้นท่ีเกาะ พ้ืนท่ีชายขอบของประเทศ Stateless คนพิการ เปน็ ตน้ - 46 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook