Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำบ้าน 2562

คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำบ้าน 2562

Published by nurse4thai, 2021-01-22 10:42:27

Description: คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำบ้าน 2562

Keywords: คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำบ้าน 2562,คู่มือสำหรับเจ้าหน้าที่เพื่อการยกระดับ อสม.,อสม. หมอประจำบ้าน 2562

Search

Read the Text Version

สารรองนายกรฐั มนตรแี ละรฐั มนตรี วา่ การกระทรวงสาธารณสุข ด้วยรัฐบาล ให้ความส�าคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนดูแล สุขภาพตนเอง และชมุ ชนมีศกั ยภาพในการพ่งึ พาตนเองไดอ้ ยา่ งย่ังยืน ตามหลักการ การสาธารณสุขมูลฐาน โดยมีเครือข่ายในการด�าเนินงานท่ีส�าคัญ คือ อาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) จ�านวนกว่า ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน เป็นตัวแทน ประชาชนผู้มีจิตอาสา เสียสละ เข้ามามีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน โดย อสม. ถือเปน็ จุดเช่อื มทสี่ า� คัญในการน�านโยบายตา่ งๆ จากสว่ นกลาง ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิในพืน้ ท่ีอย่างเปน็ รปู ธรรม ตลอดระยะเวลา ๔๐ ปี ในปี ๒๕๖๒ รัฐบาลมีนโยบายในการพัฒนายกระดับความรู้อาสาสมัคร สาธารณสุขประจา� หม่บู า้ นหรอื อสม. ใหเ้ ป็น อสม. หมอประจ�าบา้ นควบคู่กบั การใช้ เทคโนโลยีการส่ือสารทางการแพทย์ พร้อมทั้งเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริการ สาธารณสุขในชมุ ชนผ่านการพฒั นาระบบการแพทยท์ างไกล (Telemedicine) เพอ่ื ให้ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพ เข้าถึงข้อมูลสุขภาพ รวมทั้งส่งเสริมให้ ประชาชนดแู ลสขุ ภาพตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน ตลอดจนพงึ่ ตนเองดา้ นสขุ ภาพได้ ทง้ั นีจ้ ะเรมิ่ ขบั เคลือ่ นและพฒั นา อสม. หมอประจา� บา้ น ต้งั แต่ปงี บประมาณ ๒๕๖๓ เปน็ ต้นไป และกระทรวงสาธารณสขุ คาดหวังว่าการด�าเนนิ งานตามนโยบายดงั กล่าว จะแบง่ เบาภาระคา่ ใชจ้ า่ ยของประชาชนในการเดนิ ทางไปพบแพทย์ ลดโรคและปญั หา สุขภาพ และลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพึ่งพาโรงพยาบาลได้อย่างเป็น รปู ธรรมตอ่ ไป นายอนทุ ิน ชาญวรี กลู รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี วา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

สารรฐั มนตรชี ว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสุข รัฐบาล โดยกระทรวงสาธารณสุข มีความมุ่งม่ันที่จะขับเคลื่อนนโยบาย การพฒั นายกระดบั อสม. เปน็ “อสม. หมอประจา� บา้ น” ดว้ ยเหน็ คณุ คา่ ความสา� คญั ของ อสม. ในฐานะเป็นแกนน�าส�าคัญในการดูแล ส่งเสริมสนับสนุนการจัดกิจกรรม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการดแู ลสุขภาพของประชาชน ใหส้ ามารถพ่ึงตนเอง ด้านสุขภาพ มีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชนลดการพ่ึงพาโรงพยาบาล โดยไม่จ�าเป็น ชว่ ยผู้ป่วยลดภาวะแทรกซ้อน และลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางมาโรงพยาบาล อกี ทั้ง ช่วยลดความแออดั ของโรงพยาบาล ทงั้ นี้ หนงึ่ ในบทบาทหน้าท่ีทสี่ า� คัญของ “อสม. หมอประจ�าบ้าน” คือ การส่งเสริมสุขภาพให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายท่ีสมบูรณ์ แขง็ แรง โดยเปน็ แกนนา� ในการสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชน ดแู ลปฏบิ ตั ติ นดา้ นการรบั ประทาน อาหารท่ีมีประโยชน์ การออกก�าลังกายสม่�าเสมอ การท�าจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใส ห่างไกลสารเสพติดและอบายมขุ เพอื่ ช่วยลดอตั ราการปว่ ยโรคเรอ้ื รงั ปัญหาสขุ ภาพ จิต และการปอ้ งกันแก้ไขปัญหายาเสพตดิ อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ตามทมี่ ่งุ หวงั เพื่อให้การปฏิบัติงานของ “อสม. หมอประจ�าบ้าน” ถูกต้องและสัมฤทธิ์ผล กระทรวงสาธารณสขุ จงึ ไดจ้ ดั ทา� “คมู่ อื อสม. หมอประจา� บา้ น” สา� หรบั ใหผ้ เู้ กย่ี วขอ้ ง ใช้เป็นแนวทางการพัฒนาองค์ความรู้ ทักษะ ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ เสริมสร้างความเชื่อมั่นและขวัญก�าลังใจในการปฏิบัติงานสุขภาพชุมชน และให้ “อสม. หมอประจา� บา้ น” ใชเ้ ปน็ แนวทางปฏบิ ตั งิ าน และแสดงบทบาทอยา่ งเขม้ แขง็ ตอ่ ไป ขอขอบคุณผู้เก่ียวข้องในการจัดท�า “คู่มือ อสม. หมอประจ�าบ้าน” ในคร้ังน้ี และขอเป็นกา� ลงั ใจให้ “อสม. หมอประจา� บา้ น” ทุกท่าน ไดป้ ฏิบตั งิ านตามบทบาท หนา้ ทีด่ ว้ ยความมงุ่ มัน่ เสียสละ ดว้ ยจติ อาสา ตลอดไป ดร.สาธิต ปติ ุเตชะ รัฐมนตรีชว่ ยวา่ การกระทรวงสาธารณสขุ

สารผู้ชว่ ยรฐั มนตรปี ระจา� กระทรวงสาธารณสุข รัฐบาลให้ความส�าคัญกับการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน การเป็นจิตอาสา ของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมูบ่ ้าน(อสม.) ทเ่ี ป็นแนวร่วมสนับสนนุ กระทรวง สาธารณสุขในการส่งเสริมสุขภาพ เฝ้าระวังป้องกัน คัดกรองภาวะสุขภาพของ ประชาชนในพื้นท่ีชุมชน หมู่บ้านมาร่วม ๔๐ ปีมาแล้วน้ัน รัฐบาลจึงมีนโยบาย การพฒั นายกระดบั อสม. เปน็ “อสม. หมอประจ�าบา้ น” เพอ่ื เพิ่มศกั ยภาพการเป็น ผนู้ า� ทา� หนา้ ทเ่ี ปน็ จดุ สกดั การแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพของภาคประชาชนในพนื้ ท่ี คขู่ นาน ร่วมกับเจ้าหน้าสาธารณสุข เพ่ือให้ประชาชนลดการพึ่งพาโรงพยาบาลมาพึ่งตนเอง มากขน้ึ อกี ท้งั ลดภาระค่าใชจ้ า่ ยการเดนิ ทางมาโรงพยาบาล ลดภาวะแทรกซ้อนของ ผู้ป่วย ลดความแออดั และค่าใชจ้ ่ายในการรักษาของโรงพยาบาล ซง่ึ เปน็ บทบาทใหม่ ทค่ี าดหวัง ของ “อสม. หมอประจา� บ้าน” กระผมมคี วามเชอื่ มน่ั ในพลงั ของ อสม. “ แมเ้ ปน็ ชาวบา้ นสามารถดแู ลสขุ ภาพ ของตนเอง ครอบครัว และเพ่ือนบ้านได้ ” และมีเส้นทางของความเช่ือสละ การมี อดุ มการณเ์ ปน็ จติ อาสา เขา้ มารว่ มสรา้ งสขุ ภาพดใี หก้ บั ประชาชนไทยสง่ ผลใหป้ ระเทศ ชาติแขง็ แรง เศรษฐกจิ ประเทศไทยดขี น้ึ กเ็ พราะพลังของพ่นี อ้ งชาว อสม. ขอขอบคุณทุกพลังของทีมงานท่ีได้จัดท�า “คู่มือ อสม. หมอประจ�าบ้าน” ในคร้ังนี้ และขอเป็นก�าลังใจส่งให้ “อสม. หมอประจ�าบ้าน” ทกุ ทา่ น ได้ปฏบิ ตั งิ าน ได้ส�าเร็จ ลุล่วงไปด้วยดีตามบทบาทหน้าที่ด้วยจิตใจที่เสียสละ มีความมุ่งมั่นท่ีจะ รว่ มสรา้ งใหป้ ระชาชนไทยมีสุขภาพดี มคี ุณภาพชีวติ ทด่ี ี สืบไป ศาตราจารยพ์ ิเศษ ดร. นพ.สา� เริง แหยงกระโทก ผชู้ ว่ ยรัฐมนตรปี ระจา� กระทรวงสาธารณสขุ

สารปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ ใหค้ วามสา� คญั ในการสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหป้ ระชาชนดแู ล สขุ ภาพตนเอง และชมุ ชนมศี ักยภาพในการพง่ึ พาตนเองได้อยา่ งยง่ั ยนื ตามหลักการ การสาธารณสุขมูลฐาน โดยมีเครือข่ายในการด�าเนินงานท่ีส�าคัญ คือ อาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) ซึ่งเป็นตัวแทนประชาชนผู้มีจิตอาสา เสียสละ เข้ามามีส่วนร่วมดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัวท้ังน้ี อสม. เป็นจุดเช่ือมส�าคัญ ที่จะนา� นโยบายต่างๆ จากส่วนกลางสูก่ ารปฏิบัติในพน้ื ท่อี ย่างเป็นรูปธรรม โดยในปี ๒๕๖๒ ทผ่ี า่ นมารฐั บาลไดม้ อบนโยบายสา� คญั ดา้ นสาธารณสขุ ในการพฒั นายกระดบั ความรู้ อสม. ให้เป็น อสม. หมอประจ�าบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการส่ือสาร ทางการแพทย์ พร้อมท้ังเพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริการสาธารณสุขในชุมชน ผ่านการพัฒนาระบบการแพทย์ทางไกลควบคู่ไปกับการเพิ่มบทบาท อสม. เพื่อลด โรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพึ่งตนเองได้ และลดความแออัดของ โรงพยาบาลลดการพงึ่ พาโรงพยาบาล “คู่มือ อสม. หมอประจ�าบ้าน” ฉบับนี้ จัดท�าข้ึนโดยกรมสนับสนุนบริการ สขุ ภาพรว่ มกบั กรมวชิ าการทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอื่ เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ านตามบทบาท อสม. หมอประจ�าบา้ น และหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ ว่า อสม. หมอประจ�าบา้ นจะนา� ความรู้ จากคมู่ ือฉบับน้ีไปดแู ลสุขภาพประชาชนพื้นท่อี ยา่ งท่ัวถึงตอ่ ไป นายแพทย์สขุ ุม กาญจนพมิ าย ปลัดกระทรวงสาธารณสุข

สารอธิบดีกรมสนับสนุนบรกิ ารสุขภาพ ในปี ๒๕๖๓ กรมสนบั สนุนบริการสุขภาพ มีบทบาทในการสนบั สนนุ นโยบาย ดา้ นสขุ ภาพของอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมบู่ า้ น (อสม.) เพอื่ ใหก้ ารนา� นโยบาย สุขภาพภาคประชาชน บรรลุตามวัตถุประสงค์ ลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพ่ึงพาโรงพยาบาลแต่พึ่งตนเองเพ่ิมขึ้น และได้เล็งเห็นถึงความส�าคัญด้าน สขุ ภาพภาคประชาชน ตามวสิ ยั ทัศน์การเป็นองคก์ รหลักในการบริหารจดั การระบบ บรกิ ารสขุ ภาพและระบบสขุ ภาพภาคประชาชน ใหม้ คี ณุ ภาพเพอ่ื การคมุ้ ครองผบู้ รโิ ภค และการพึ่งตนเองด้านสุขภาพ ที่ยั่งยืนแบบมีส่วนร่วม จึงพัฒนายกระดับ อสม. ใหเ้ ปน็ อสม. หมอประจา� บา้ น โดยใหค้ วามสา� คญั ในการสง่ เสรมิ พฒั นาศกั ยภาพอาสา สมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมบู่ า้ น และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการดแู ล สุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึน รวมทั้งเสริมสร้างขวัญ และก�าลงั ใจ และเพอื่ ให้ อสม. หมอประจา� บ้าน สามารถทา� สร้างให้เกิดการเรยี นรู้ และเป็นพ่ีเล้ียง อสค. ให้ค�าปรึกษา เย่ียมบ้านแนะแนวทางต่างๆ น�าสู่การพัฒนา ความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพในการดแู ลสมาชกิ ในครอบครวั สนบั สนนุ ใหแ้ ตล่ ะครอบครวั ชุมชนเป็นเจา้ ของสุขภาวะของตนเอง นัน้ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ จึงได้จัดท�า “คู่มือ อสม. หมอประจ�าบ้าน” ส�าหรับให้ อสม. หมอประจ�าบ้าน และผู้ท่ีเก่ียวข้อง ใช้เป็นแนวทางการพัฒนา องค์ความรู้ ทักษะ ในการปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพ และให้ใช้เป็นแนวทาง ปฏิบตั ิงาน และแสดงบทบาทอยา่ งเข้มแขง็ ตอ่ ไป กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ขอขอบคุณผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกหน่วยงาน ท่ีได้ร่วม กนั ใหข้ อ้ คดิ เหน็ คา� แนะนา� ในการพฒั นาในการจดั ทา� “คมู่ อื อสม. หมอประจา� บา้ น” ในคร้ังนี้จนส�าเร็จ และหวังว่าคู่มือฉบับน้ีจะเป็นคู่มือท่ีสามารถน�าไปใช้ได้อย่าง เหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ และหวังว่าจะได้รับข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ ในการปรบั ปรงุ คมู่ ือนี้ ให้ดีย่ิงขน้ึ ในโอกาสตอ่ ไป นายแพทยธ์ เรศ กรัษนยั รวิวงค์ อธบิ ดกี รมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ ตลุ าคม ๒๕๖๒

ค�าน�า ในปี งบประมาณ ๒๕๖๒ รัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนา และยกระดับความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็น อสม. หมอประจ�าบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการส่ือสารทางการแพทย์ พร้อมท้ัง เพิ่มประสิทธิภาพระบบการบริการสาธารณสุขในชุมชนผ่านการพัฒนาระบบการ แพทย์ทางไกลควบคไู่ ปกบั การเพ่มิ บทบาทของ อสม. เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชนพ่ึงตนเองได้ และสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพงึ่ พาโรงพยาบาลได้ ดงั น้นั เพอ่ื ให้การยกระดบั ความรู้ อสม. ตามนโยบายรัฐบาลมมี าตรฐาน และ สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน กระทรวงสาธารณสุข โดยกรมสนับสนุนบริการ สุขภาพ จึงจัดท�าหลักสูตรฝึกอบรม อสม. หมอประจ�าบ้าน ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ ขนึ้ เพอ่ื พฒั นาศกั ยภาพผเู้ ขา้ รบั การอบรมใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ตั ิ หน้าท่ีตามบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้านได้ตามสมรรถนะท่ีก�าหนด โดยสามารถ สร้างการเรียนรู้ และเป็นพี่เล้ียง อสค. ให้ค�าปรึกษา เย่ียมบ้าน แนะแนวทางต่างๆ น�าสกู่ ารพฒั นาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ดูแลสมาชิกในครอบครวั สนับสนนุ ใหแ้ ต่ละ ครอบครัวผ่านการส่ือสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และ แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ และสนับสนุนให้ชุมชนเป็นเจ้าของสุขภาวะของตนเอง เพอื่ น�าไปสชู่ ุมชนสรา้ งสุข สขุ กาย สุขใจ สุขเงิน ตามเปา้ หมายทม่ี ุง่ หวังไว้ ในการน�าหลักสูตรฝึกอบรม อสม. หมอประจ�าบ้านไปสู่การปฏิบัติน้ัน มีความจ�าเปน็ ทจ่ี ะต้องสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ใหก้ บั เจ้าหน้าที่ ซึง่ ท�าหน้าเป็น ครู ก เพอ่ื จดั การน�าหลกั สตู รไปดา� เนินการในพนื้ ท่ไี ดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ กรมสนบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ ขอขอบพระคณุ ผู้บริหารกระทรวงสาธารณสขุ ทกุ ทา่ น ทใี่ หก้ ารสนบั สนนุ ในการขบั เคลอ่ื นนโยบายรฐั บาล และขอขอบคณุ เจา้ หนา้ ท่ี จากกรมวิชาการทเี่ กยี่ วข้อง ที่ไดร้ ว่ มกนั พฒั นาหลกั สตู รนี้จนส�าเร็จ และหวงั ว่าคูม่ อื สา� หรบั เจา้ หนา้ ทีเ่ พอื่ การยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�าบา้ น ฉบบั น้ี จะเปน็ ประโยชนใ์ นการดา� เนนิ งานพฒั นา อสม. หมอประจา� บา้ นไดอ้ ยา่ งเหมาะสมตามบรบิ ท ของพ้ืนท่ตี อ่ ไป กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ และคณะผูจ้ ัดทา� กันยายน ๒๕๖๒

สารบญั ค�าน�า ส่วนท่ี ๑ ข้อแนะน�าการใชห้ ลักสูตร ๑ ๑. ความเป็นมา ๑ ๒. วัตถปุ ระสงคท์ ัว่ ไป ๑ ๓. วัตถุประสงค์เฉพาะ 2 ๔. กรอบการยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจา� บา้ น 2 2 ๔.๑ หลักสตู ร อสม. หมอประจ�าบา้ น 2 • ความคาดหวังในบทบาทของ อสม. หมอประจ�าบา้ น 2 • คุณสมบัตขิ องผ้เู ข้ารับการฝกึ อบรมหลกั สูตร อสม. หมอประจา� บ้าน 4 • การประเมนิ ผลการฝกึ อบรม 4 • การรายงานผลการฝกึ อบรม ๔ ๔.๒ หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ิมพนู ความรู้ ทกั ษะ 5 อสม. หมอประจ�าบ้าน (Orientation) 5 5 ๔.๓ การอบรมฟ้นื ฟูความรู้ อสม. หมอประจ�าบา้ น 6 ๕. บทบาทผ้บู รหิ ารในจังหวัดท่ีเกยี่ วข้อง 6 ๖. บทบาทหนา้ ทีข่ องเจ้าหนา้ ทีจ่ งั หวัด 7 ๗. บทบาทวิทยากร ครู ก ๘. การสนับสนนุ งบประมาณ ๙. แผนปฏบิ ตั ิการยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจา� บ้าน ส่วนท่ี ๒ หลักสูตรการฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บา้ น ๙ ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ ๙ ๒.๑ ชอ่ื หลกั สูตร ๙ ๒.๒ หนว่ ยงานทรี่ ับผดิ ชอบ ๙ ๒.๓ เหตุผลและความจา� เป็น 10 ๒.๔ หลกั การของหลักสตู ร ๑๐ ๒.๕ บทบาทที่คาดหวงั ของ อสม. หมอประจา� บ้าน ๑๐ ๒.๖ จุดมุ่งหมายของหลักสูตร

๒.๗ วตั ถปุ ระสงคข์ องหลกั สตู ร ๑1 ๒.๘ กลุ่มเปา้ หมาย/คุณสมบัตขิ องผู้เข้าอบรม ๑1 ๒.๙ สมรรถนะท่คี าดหวงั ๑1 ๒.๑๐ โครงสรา้ งหลกั สตู ร ๑2 ๒.๑๑ ระยะเวลาในการฝกึ อบรม ๑2 ๒.๑๒ เนอื้ หาและมาตรฐานในแต่ละวิชา ๑2 12 ๒.๑๒.๑ วิชาอาสาสมัครประจา� ครอบครัว (อสค.) ๑3 และบทบาท อสม. หมอประจ�าบา้ น ๑3 ๑4 ๒.๑๒.๒ วิชาการเฝ้าระวัง ป้องกนั ควบคุมไม่ให้เกดิ โรคในพ้ืนท่ี 14 ๒.๑๒.๓ วชิ าการส่งเสรมิ สุขภาพและแกไ้ ขปญั หาสุขภาพที่สา� คัญ ๑5 ๒.๑๒.๔ วิชาภมู ปิ ญั ญาไทย สมนุ ไพร และการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ ๑5 ๒.๑๒.๕ วิชาเทคโนโลยีการส่อื สารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลิเคช่นั ดา้ น สุขภาพ ๒.๑๒.๖ วิชา ผนู้ �าการสรา้ งสขุ ภาพแบบมีส่วนรว่ ม ๒.๑๓.๗ การประเมนิ ผล ส่วนที่ ๓ แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๑๗ ๓.๑ วชิ าอาสาสมัครประจ�าครอบครวั (อสค.) และบทบาท อสม. หมอประจ�าบา้ น ๑8 ๓.๒ วิชาการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ควบคุมไม่ให้เกดิ โรคในพ้นื ที่ ๑9 ๓.๓ วชิ าการส่งเสรมิ สขุ ภาพและแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพทส่ี า� คญั ๒6 ๓.๔ วชิ าภูมิปญั ญาไทย สมนุ ไพร และการใช้กัญชาทางการแพทย์ ๓6 ๓.๕ วชิ าเทคโนโลยกี ารสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลเิ คชั่นดา้ นสขุ ภาพ 38 ๓.๖ วชิ าผู้นา� การสร้างสุขภาพแบบมสี ่วนรว่ ม ๓6 ตารางการฝึกอบรมหลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน 41 ใบประกาศนียบตั รหลกั สูตรฝึกอบรม อสม. หมอประจ�าบ้าน ๔2 แบบประเมิน กอ่ น – หลงั การฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บา้ น ๔3 ๔7 ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ 77 ความร้ทู ี่จ�าเป็นสา� หรับเจ้าหน้าท่ีในการอบรม ๖ วิชา (รา่ ง) คา� ส่งั กระทรวงสาธารณสุข เรอ่ื ง แตง่ ตง้ั คณะกรรมการขับเคลื่อน และยกระดบั อสม. หมอประจา� บา้ น

ส่วนท่ี ๑ ค�าแนะน�าการใชห้ ลักสูตร ๑. ความเป็นมา สืบเนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็นหมอประจ�าบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการส่ือสารทาง การแพทย์ พรอ้ มทงั้ เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบการบรกิ ารสาธารณสขุ ในชมุ ชนผา่ นการพฒั นาระบบการแพทย์ ทางไกลควบคู่ไปกับการเพ่ิมบทบาทของ อสม. เพ่ือลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชน พึ่งตนเองได้ และสามารถลดความแออัดของโรงพยาบาล ลดการพ่งึ พาโรงพยาบาลได้ กระทรวงสาธารณสุข ให้ความส�าคัญในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนและยกระดับคุณภาพ บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ โดยพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพเนน้ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรคและภยั สขุ ภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภคด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยให้ประชาชนมีโอกาสในการร่วมคิด รว่ มนา� รว่ มทา� และรว่ มในการอภบิ าลแบบเครอื ขา่ ย ภายใตก้ ระบวนการทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การพฒั นาบทบาท ด้านสุขภาพภาคประชาชน ตามหลักการการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งปัจจุบันมีเครือข่ายอาสาสมัคร สาธารณสุขประจา� หมบู่ ้าน (อสม.) จ�านวนกวา่ ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน ซึ่งเป็นตัวแทนประชาชนผูท้ ่ีมีจิตอาสา เสียสละ เขา้ มามีส่วนรว่ มดูแลสขุ ภาพของตนเอง ครอบครวั และชมุ ชน จนไดร้ ับการยอมรับจากสังคม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีบทบาทส�าคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแล สขุ ภาพตนเองได้ และชมุ ชนมศี กั ยภาพในการพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสา� คญั ในการสง่ เสรมิ พฒั นาศกั ยภาพอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมบู่ า้ น และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการดแู ล สุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น รวมทั้งเสริมสร้างขวัญและก�าลังใจให้ อสม. ดงั นนั้ เพอื่ ใหก้ ารนา� นโยบายสขุ ภาพภาคประชาชน บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ลดความแออดั ของโรงพยาบาล ลดการพ่ึงพาโรงพยาบาลแต่พึ่งตนเองเพ่ิมขึ้น กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน จึงจดั ท�าหลกั สูตรฝกึ อบรมการพัฒนายกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�าบา้ น ๒. วตั ถปุ ระสงค์ทั่วไป ๑. เพ่ือลดความแออดั ของโรงพยาบาล ลดการพ่ึงพาโรงพยาบาล แตพ่ ง่ึ ตนเองเพม่ิ ข้นึ ๒. เพ่ือลดค่าใช้จา่ ยของโรงพยาบาล ๓. เพือ่ ลดคา่ ใช้จ่ายของผู้ปว่ ยในการเดินทางมาโรงพยาบาล ๔. เพ่อื ลดภาวะแทรกซ้อนของผปู้ ว่ ย [ ]ค่มู ือส�ำหรับเจำ้ หน้ำท่ี เพ่อื กำรยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจ�ำบำ้ น 1

๓. วตั ถปุ ระสงค์เฉพาะ ๑. เพ่ือยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจา� บ้าน ๒. เพื่อให้ อสม. หมอประจา� บ้านเปน็ ส่อื ในการน�านโยบายสุขภาพไปสู่ประชาชน ๓. เพ่ือให้ อสม. หมอประจ�าบ้านเป็นกลไกขับเคลื่อนงานตามบทบาทใหม่ท่ีเพิ่มข้ึน เพ่ือลดโรค และปญั หาสขุ ภาพ และส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนพง่ึ ตนเองได้ ๔. กรอบการยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจา� บ้าน กระบวนกำรยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบ้ำน มี ๓ ขั้นตอนหลกั ดงั นี้ ๑. หลกั สตู ร อสม. หมอประจ�าบา้ น ๑๘ ชั่วโมง ๒. หลกั สูตรฝกึ อบรมเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ อสม. หมอประจ�าบ้าน ๑ วนั ๓. การฝึกอบรมฟืน้ ฟคู วามรปู้ ระจา� เดือน ๔.๑ หลักสูตรการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจา� บา้ น ประกอบด้วย ๑. หลักสูตรการฝึกอบรม อสม. หมอประจ�าบ้าน ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ จ�านวน ๑๘ ชั่วโมง ๓ วนั ๖ วิชา (รายละเอยี ดในสว่ นที่ ๒) ๒. หลกั สตู รฝึกอบรมเพ่ิมพนู ความรู้ ทกั ษะ อสม. หมอประจา� บ้าน ๑ วนั ๓. การฝึกอบรมฟน้ื ฟูความร้ปู ระจา� เดือน • ควำมคำดหวงั ในบทบำทของ อสม. หมอประจำ� บ้ำน เมือ่ ผ่ำนกำรฝกึ อบรมหลักสูตรแลว้ อสม. หมอประจ�ำบ้ำน ควรมคี วำมรู้ ทกั ษะ ดงั นี้ ๑. ความรู้ ทกั ษะ การเป็น อสม. หมอประจา� บา้ น อย่างถูกต้อง ตามหลกั วชิ าการ ๒. สามารถปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี อง อสม. หมอประจา� บา้ น อยา่ งครบถว้ น ๓. สามารถดูแลสขุ ภาพคนในชมุ ชนไมใ่ หเ้ จ็บปว่ ยจนตอ้ งไปโรงพยาบาล ๔. สามารถปฏิบัติงาน จัดการระบบดูแลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายในชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่าย การดูแลสขุ ภาพในชมุ ชน • คณุ สมบตั ิของผเู้ ขำ้ รับกำรฝกึ อบรมหลกั สูตร อสม. หมอประจ�ำบ้ำน : ๑. เปน็ อสม. ตามระเบียบกระทรวงสาธารณสขุ ๒. เป็นผู้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล ในการปฏิบัติหน้าท่ี อสม. หมอประจ�าบา้ น ๓. เป็นประธานชมรม อสม. ประจ�าหมู่บ้าน ที่ผ่านการอบรมเป็น อสม. หมอประจ�าบ้าน และ ได้รับการคัดเลือกเป็นประธานชมรม อสม. ระดับต�าบล โดยให้น�าร่องการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการ ในบทบาทหนา้ ที่ อสม. หมอประจา� บา้ น ๔. เปน็ ผูม้ ีความรคู้ วามสามารถในการปฏบิ ตั ิบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้าน ดงั น้ี [ ]2 ค่มู ือส�ำหรบั เจ้ำหนำ้ ที่ เพื่อกำรยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น

๔.๑ สรา้ งอาสาสมคั รประจา� ครอบครวั (อสค.) และบทบาท อสม. หมอประจ�าบา้ น ๔.๒ การเฝ้าระวัง ปอ้ งกนั ควบคุมไม่ใหเ้ กดิ โรคในพื้นที่ ๔.๓ การสง่ เสรมิ สุขภาพและแกไ้ ขปัญหาสุขภาพที่ส�าคัญ ๔.๔ ภูมปิ ญั ญาไทย สมุนไพร และการใช้กญั ชาทางการแพทย์ [ ]คมู่ ือส�ำหรับเจ้ำหน้ำที่ เพือ่ กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น 3

๔.๕ เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลเิ คชน่ั ด้านสุขภาพ ๔.๖ ผนู้ า� การสร้างสขุ ภาพแบบมสี ่วนรว่ ม • กำรประเมินผลกำรฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรมต้องเข้ารับการฝึกอบรมระยะเวลาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของระยะเวลา การฝกึ อบรมตลอดหลกั สตู ร ผเู้ ขา้ รบั การฝกึ อบรมตอ้ งมคี วามรู้ ความเขา้ ใจและปฏบิ ตั ติ ามเนอื้ หาทไี่ ดร้ บั การอบรมอยา่ งเครง่ ครดั และมผี ลการประเมินความร้หู ลังอบรมทั้งภาคปฏบิ ตั ิและทฤษฎี ๑. ภาคปฏิบัติ (ผา่ นการประเมินไมต่ �า่ กว่า ร้อยละ ๘๐) ๒. ภาคทฤษฎี แบบทดสอบความรู้ (ผ่านการประเมนิ ไมต่ ่�ากวา่ ร้อยละ ๖๐) ๓. คะแนนท้ังภาคทฤษฎแี ละภาคปฏบิ ตั ติ อ้ งผ่านตามเกณฑ์ • กำรรำยงำนผลกำรฝึกอบรม ๑. รายงานผา่ นฐานข้อมลู อสม. ๒. รายงานผ่านเวบ็ ไซต์ Thaiphc.net ๔.๒ หลักสูตรฝึกอบรมเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ อสม. หมอประจา� บ้าน (Orienta- tion) เมื่อ อสม. หมอประจ�าบ้าน (ประธาน อสม. ระดับหมู่บ้าน) ได้ผ่านการอบรมในหลักสูตร ๓ วัน ๖ วิชา ๑๘ ชั่วโมงแล้ว และได้มีการคัดเลือก อสม. หมอประจ�าบ้าน (ประธาน อสม. ระดับต�าบล) ให้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้าน ระดับต�าบล จะต้องผ่านการอบรมทักษะตามบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้าน (Orientation) โดยเจ้าหน้าที่ ครู ก หรือทีมวิทยากรจังหวัด อบรมให้มีทักษะ เพ่มิ ข้ึน ดงั นี้ ๑. ให้เจ้าหน้าท่ี ครู ก หรือทีมวิทยากรจังหวดั จัดอบรมท่ี รพช./อื่นๆ ตามความเหมาะสม ๑ วัน ในเรอื่ ง ดงั นี้ - ภารกิจท่ีต้องด�าเนินการ - บทบาทของ อสม. หมอประจ�าบ้าน - เรยี นรกู้ ารใชง้ านแอปพลิเคชั่นดา้ นสุขภาพ และโทรเวชกรรม (Telemedicine) - การดา� เนนิ งานตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ีก�าหนด - การสง่ รายงานผลการปฏิบตั งิ านตามทกี่ า� หนด ๒. ให้เจ้าหน้าที่ ครู ก หรือวิทยากรจังหวัด ฝึกซ้อมผู้เข้าอบรมในบทบาท อสม. หมอประจา� บ้าน [ ]4 คู่มอื ส�ำหรับเจ้ำหน้ำท่ี เพ่ือกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บ้ำน

๓. ให้เจ้าหน้าท่ี ครู ก หรือวิทยากรจังหวัด ร่วมแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) ในการแก้ปัญหาเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพ้ืนท่ี เช่น โรคไข้เลือดออก หรือโรคฉ่หี นู ๔. ให้เจ้าหน้าที่ ครู ก หรือวิทยากรจังหวัด ร่วมแสดงบทบาทสมมุติ (Role play) ในการเป็นผู้น�า แกนน�า เครือข่ายสุขภาพภาคประชาชน ในการดูแลสุขภาพในชุมชน เช่อื มกบั ทมี หมอครอบครัว และระบบการส่งต่อ ๕. ให้เจ้าหน้าท่ี ครู ก หรือวิทยากรจังหวัด อธิบาย ฝึกฝน ให้ อสม. หมอประจ�าบ้าน ได้ด�าเนินงานตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ก�าหนด และนัดหมายการส่งรายงาน ทกุ สิน้ เดอื นตามทก่ี า� หนด ๔.๓ การอบรมฟ้ นื ฟูความรู้ อสม. หมอประจา� บ้าน เม่ือ อสม. หมอประจ�าบ้าน (ประธาน อสม. ระดับต�าบล) ได้ปฏิบัติหน้าที่ในบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้าน และผ่านการฝึกอบรมเพ่ิมพูนความรู้ ทักษะ ตามบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้าน (Orientation) โดยเจา้ หน้าท่ี ครู ก หรือวทิ ยากรจังหวดั แล้วน้นั และต้องจัดใหม้ ีการอบรมฟนื้ ฟคู วามรู้ อย่างต่อเนื่องทุกเดือนๆ ละ ๑ วัน เพ่ือเพิ่มความรู้และทักษะ ในเรื่องท่ีมีความจ�าเป็นหรือตามนโยบาย ของกระทรวงสาธารณสขุ ๕. บทบาทผู้บรหิ ารในจงั หวดั ที่เกี่ยวขอ้ ง ๑. รับร้แู ละสนบั สนุนการอบรม อสม. หมอประจ�าบา้ น ๒. ติดตามผลการด�าเนินงานและสนับสนุน ส่งเสริม การจัดอบรม ของเจ้าหน้าที่ในแต่ละระดับ ๓. ให้ค�าปรึกษา ให้ข้อแนะน�าการแก้ไขปัญหาและสนับสนุนให้เป้าหมายการอบรม อสม. หมอประจา� บา้ น ประสบผลส�าเร็จ ๔. ออกเยี่ยมเสริมพลัง เสริมสร้างขวัญก�าลังใจ และติดตามทั้งการจัดอบรม การฟื้นฟูความรู้ การพัฒนา อสม. หมอประจ�าบา้ น ในพ้นื ท่ใี หส้ �าเรจ็ ตามเป้าหมาย ๖. บทบาทหน้าที่ของเจา้ หน้าที่จงั หวดั ๑. สนับสนุนการฝึกอบรมพัฒนาการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจ�าบ้านให้ครบ กลมุ่ เปา้ หมาย ๒. สนบั สนุนการอบรม วิทยากร ครู ก ไปขยายสพู่ น้ื ท่รี ะดับหมูบ่ ้านและระดบั ตา� บล เพอ่ื ยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�าบ้านตามหลักเกณฑ์ทีก่ �าหนด ๓. ติดตาม ประเมินผลการด�าเนินงานอบรมยกระดับ อสม. หมอประจ�าบ้าน ให้มีความสามารถ ตามบทบาท หน้าท่ี ครบถ้วนตามเป้าหมาย [ ]คู่มือสำ� หรับเจ้ำหนำ้ ท่ี เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบำ้ น 5

๔. เยีย่ มเสริมพลังในพื้นที่ สร้างขวัญก�าลงั ใจใหผ้ ู้ปฏิบตั งิ าน ๕. รายงานผลการฝกึ อบรมการยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจา� บ้าน ๗. บทบาทวทิ ยากร ครู ก ๑. ศึกษาหลักสูตรการอบรมยกระดับ อสม. หมอประจ�าบ้าน ท�าหน้าที่เป็นผู้จัดการน�าหลักสูตร ไปด�าเนินการในพน้ื ท่ี ๒. ประชุมหารือทีมครู ก ในจังหวัด และสนับสนุน การฝึกอบรม อสม. หมอประจ�าบ้าน ตามเปา้ หมายของจังหวดั - อสม. ประธานชมรม อสม. ระดับหม่บู า้ น ตามท่ีกระทรวงสาธารณสขุ กา� หนด - ประธานชมรม อสม. ระดบั ต�าบล ตามท่กี ระทรวงสาธารณสขุ ก�าหนด - ไดแ้ ผนปฏบิ ัตกิ ารจัดอบรม ทีมวิทยากร และเปา้ หมาย ๓. สร้างทมี จงั หวัดและจัดเตรยี มการฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บา้ น ตามเป้าหมาย ๔. ฝึกอบรมเพิ่มพูนความรู้ ทักษะ (Orientation) ให้ อสม. หมอประจ�าบ้าน (ประธานชมรม อสม. ระดบั ตา� บล ตามเป้าหมาย) ๕. สรปุ และรายงานผลงานการอบรมครู ก/อสม. หมอประจา� บา้ น และผลงานตามเปา้ หมายจงั หวดั ๖. ออกหนังสือรับรองผ้ทู ีผ่ ่านการอบรมตามหลักสตู ร ๘. การสนับสนุนงบประมาณ ๑. กระทรวงสาธารณสขุ โดยกรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ สนบั สนนุ งบประมาณการอบรมยกระดบั อสม. เปน็ หมอประจา� บ้าน (ตามเปา้ หมายหมู่บ้าน/ชุมชนเทศบาล/กทม.) ๒. กระทรวงสาธารณสุข สนับสนุนงบประมาณ สนับสนุนการพัฒนารูปแบบการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจา� บา้ น และให้ศูนยพ์ ัฒนาการสาธารณสขุ มูลฐานภาค ศูนยส์ นบั สนุนบรกิ ารสุขภาพ เขต สถาบนั สุขภาพอาเซยี น สถาบนั วจิ ัยระบบสาธารณสขุ ติดตามและประเมนิ ผลและสรุปผลการพัฒนา รูปแบบ [ ]6 คู่มอื ส�ำหรบั เจำ้ หน้ำที่ เพื่อกำรยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำ� บำ้ น

๙. แผนปฏิบัติการยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจา� บา้ น ล�ำ ัดบ กิจกรรม เปำ้ หมำย ส.ค. ๖๒ ก.ย.๖๒ ต.ค. ๖๒ พ.ย.๖๒ ธ.ค.๖๒ ผู้รบั ผดิ ชอบ กอง สช. ๑ ยกร่าง หารือ จัดท�ากรอบ ๑, ๒, ๕, ๖, - ๑๑ กอง สช. แนวคิด ยกระดับ อสม. เป็น ๑๓ (สง่ รา่ ง อสม. หมอประจ�าบ้าน หลักสตู ร) กอง สช. - ครง้ั ที่ ๒ กอง สช./ ๒ ตั้งคณะกรรมการอ�านวยการ/ คณะกรรมการ ๑๙-๒๖ ๑๓ (ที่กรม กรมวชิ าการ คณะทา� งานยกระดบั อสม. เปน็ ๒ ชดุ (คณะ สบส.) ค่มู อื ส�ำหรบั เจ้ำหนำ้ ท่ี เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบำ้ น [ ]7 อสม. หมอประจ�าบ้าน/คณะ อ�านวยการ ๒๕ (ที่ TK คณะกรรมการ/ ทา� งาน จดั ทา� หลกั สตู ร และคณะ palace) กอง สช. ท�างาน) ๓ - จดั ทา� แผนการยกระดบั อสม. ๓ เรื่อง ๑๔, ๑๖, ๑๙, เป็น อสม. หมอประจา� บ้าน (หลกั สูตร, ๒๒, ๒๓ และ - ยกร่างหลักสูตร/แนวทาง/ แนวทาง, คมู่ อื ) ๒๖ คู่มือ ๔ ประชุมคณะท�างานจัดท�า ๓๕ คน - ครง้ั ที่ ๑ หลกั สตู ร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓๐ (ทก่ี รม สบส.) ๕ ประชมุ ครู ก - เอกสารคู่มือส�าหรับ จนท./ หลักสตู ร

[ 8 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น ล�ำ ัดบ กิจกรรม เปำ้ หมำย ส.ค. ๖๒ ก.ย.๖๒ ต.ค. ๖๒ พ.ย.๖๒ ธ.ค.๖๒ ผูร้ ับผิดชอบ ๑๒ กอง สช. ๖ เตรยี มการเสนอคณะกรรมการ กลาง รบั รองหลกั สตู ร ๑๖ ๑๑-๒๐ กอง สช. เปน็ ต้นไป ๗ เผยแพร่/น�าใช้หลักสูตร/คู่มือ ๑๘-๒๓ กอง สช. อสม. หมอประจ�าบา้ น กอง สช. ๘ จดั พิมพ/์ สนบั สนนุ พ้ืนที่ ๑๘ (ช้แี จง ๑๘ (ช้ีแจง กอง สช. ๙ จัดท�าโครงการยกระดับ อสม. ภายใน กอง สบส. ศ.สสม.) สบส. เปน็ อสม. หมอประจ�าบา้ น สช.) จังหวดั ๑๐ ช้ีแจงพื้นท่ีให้อบรมยกระดับ จงั หวดั ม.ค.-ม.ี ค.๖๓ อสม. เป็น อสม. หมอประจ�า บา้ น ม.ี ค.๖๓ ๑๑ จังหวัดอบรม อสม. ๘๐,๐๐๐ คน เม.ย.-ก.ย. ๖๓ กอง สช. ๑๒ จังหวัดอบรม อสม. ๑๐,๐๐๐ ธ.ค.๖๒-ก.ย. ทีมวจิ ยั คน กอง สช. ๑๓ อสม. หมอประจ�าบ้านปฏิบัติ ๖๓ ทีมวจิ ัย งาน ๑๔ ติดตาม/ประเมินผล/สรุปผล การศกึ ษา (ทมี วจิ ยั สวรส./สถาบนั สขุ ภาพ อาเซียน/ศ.สสม./สบส./กรม วชิ าการ)

ส่วนที่ ๒ หลักสูตรการฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บ้าน ปีพุทธศักราช ๒๕๖๒ ๒.๑ ช่อื หลักสูตร หลกั สูตรการฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บ้าน ปพี ทุ ธศักราช ๒๕๖๒ ๒.๒ หน่วยงานที่รบั ผิดชอบ กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข ๒.๓ เหตผุ ลและความจา� เปน็ สืบเน่ืองจากรัฐบาลมีนโยบายด้านสาธารณสุข ในการพัฒนาและยกระดับความรู้อาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้าน (อสม.) ให้เป็นหมอประจ�าบ้าน ควบคู่กับการใช้เทคโนโลยีการส่ือสารทาง การแพทย์ พรอ้ มทง้ั เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพระบบการบรกิ ารสาธารณสขุ ในชมุ ชนผา่ นการพฒั นาระบบการแพทย์ ทางไกล ควบคู่ไปกับการเพ่ิมบทบาทของ อสม. เพื่อลดโรคและปัญหาสุขภาพ ส่งเสริมให้ประชาชน พ่งึ ตนเองได้ และสามารถลดความแออดั ของโรงพยาบาล ลดการพ่งึ พาโรงพยาบาลได้ กระทรวงสาธารณสุข ให้ความส�าคัญในการส่งเสริมสุขภาพของประชาชนและยกระดับคุณภาพ บรกิ ารดา้ นสาธารณสขุ โดยพฒั นาระบบบรกิ ารสขุ ภาพเนน้ การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ปอ้ งกนั โรคและภยั สขุ ภาพ และการคุ้มครองผู้บริโภคด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยให้ประชาชนมีโอกาสในการร่วมคิด รว่ มนา� รว่ มทา� และรว่ มในการอภบิ าลแบบเครอื ขา่ ย ภายใตก้ ระบวนการทสี่ ง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ การพฒั นาบทบาท ด้านสุขภาพภาคประชาชน ตามหลักการการสาธารณสุขมูลฐาน ซึ่งปัจจุบันมีเครือข่ายอาสาสมัคร สาธารณสุขประจ�าหมบู่ ้าน (อสม.) จา� นวนกวา่ ๑,๐๔๐,๐๐๐ คน ซง่ึ เปน็ ตวั แทนประชาชนผูท้ ม่ี ีจิตอาสา เสียสละ เข้ามามีสว่ นร่วมดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และชมุ ชน จนได้รบั การยอมรบั จากสังคม กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ มีบทบาทส�าคัญในการส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชนสามารถดูแล สขุ ภาพตนเองได้ และชมุ ชนมศี กั ยภาพในการพงึ่ พาตนเองไดอ้ ยา่ งยงั่ ยนื โดยใหค้ วามสา� คญั ในการสง่ เสรมิ พฒั นาศกั ยภาพอาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจา� หมบู่ า้ น และสง่ เสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของประชาชนในการดแู ล สุขภาพตนเอง ครอบครัว ชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน รวมท้ังเสริมสร้างขวัญและก�าลังใจให้ อสม. ดงั นน้ั เพอ่ื ใหก้ ารนา� นโยบายสขุ ภาพภาคประชาชน บรรลตุ ามวตั ถปุ ระสงค์ ลดความแออดั ของโรงพยาบาล ลดการพ่ึงพาโรงพยาบาลแต่พึ่งตนเองเพ่ิมข้ึน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ โดยกองสนับสนุนสุขภาพ ภาคประชาชน จึงจัดท�าหลกั สตู รการฝกึ อบรม อสม. หมอประจ�าบ้าน ปพี ุทธศกั ราช ๒๕๖๒ [ ]ค่มู อื สำ� หรับเจำ้ หน้ำที่ เพอ่ื กำรยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�ำบำ้ น 9

๒.๔ หลักการของหลักสูตร ๒.๔.๑ สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์การพัฒนาเครือข่ายก�าลังคนด้านสุขภาพ ภาคประชาชนทีน่ �าไปสกู่ ารพึ่งตนเองของชุมชน ๒.๔.๒ เป็นหลักสูตรท่ียืดหยุ่นท้ังด้านสาระการเรียนรู้และเวลาการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถน�าไป ปรับใช้กับบริบทของ อสม. หมอประจ�าบ้าน ๒.๔.๓ เป็นหลักสูตรที่เน้นผู้เรียนเป็นส�าคัญ โดยเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการ เรียนรอู้ ย่างแทจ้ ริง ไดเ้ รยี นรทู้ ดลองในเชงิ ปฏบิ ตั ิการ มลี ักษณะผสมผสานทั้งภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ ๒.๔.๔ สร้างสมรรถนะในเชิงปฏิบัติการ เพื่อให้การด�าเนินงานในการดูแลสุขภาพอนามัยของ ประชาชนใหบ้ รรลผุ ลส�าเร็จ ๒.๕ บทบาทที่คาดหวงั ของ อสม. หมอประจา� บา้ น ๒.๕.๑ สนบั สนนุ สง่ เสริมให้มี อสค. ใหค้ รอบคลุมกล่มุ เปา้ หมายทุกครอบครัว ๒.๕.๒ เปน็ พ่เี ลี้ยงใหก้ บั อสค. ในการดแู ลสุขภาพกลุม่ เป้าหมายทุกครอบครัว ๒.๕.๓ ด�าเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพ้ืนท่ี เช่น โรคไข้เลือดออก โรคเลปโตสไปโรซิส (ฉห่ี นู) ๒.๕.๔ ดา� เนินการสง่ เสริมสขุ ภาพ ลดอตั ราการป่วยโรคเรอื้ รัง ปัญหาสขุ ภาพจติ การปอ้ งกันแก้ไข ปญั หายาเสพติด และอบุ ตั เิ หตุ ๒.๕.๕ ถา่ ยทอดความรู้ ความเขา้ ใจในเรอ่ื งภมู ปิ ญั ญาไทย สมนุ ไพร และการใชก้ ญั ชาทางการแพทย์ ให้กับ อสค. และประชาชน ๒.๕.๖ ใชเ้ ทคโนโลยีการสือ่ สารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลิเคช่นั ด้านสุขภาพ ประเมนิ สุขภาพ โดยร่วมเปน็ ทมี หมอครอบครัว ๒.๕.๗ เปน็ แกนนา� เครอื ขา่ ยในการดแู ลสขุ ภาพ (อสม. อสค.) และจดั การปญั หาสขุ ภาพ ทงั้ ในระดบั ครอบครัวและชมุ ชน รวมทั้งการสง่ ตอ่ ผู้ป่วยไปยังระบบบรกิ ารสขุ ภาพที่รัฐจดั ให้ ๒.๕.๘ เขา้ ถึงและใช้ประโยชนจ์ ากข้อมลู สขุ ภาพในพื้นที่ น�ามาวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมท้งั รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านในระบบการรายงานทรี่ ะบุไว้ ๒.๖ จดุ มุ่งหมายของหลักสูตร การพฒั นาหลกั สตู รในครงั้ น้ี มจี ดุ มงุ่ หมายทส่ี า� คญั ในการฝกึ อบรมพฒั นาขดี ความสามรถของ อสม. โดยการพฒั นายกระดบั ให้เปน็ อสม. หมอประจ�าบ้าน สามารถท�า สร้างให้เกิดการเรยี นรู้ และเปน็ พเี่ ลยี้ ง อสค. ใหค้ า� ปรกึ ษา เยย่ี มบา้ น แนะแนวทางตา่ งๆ นา� สกู่ ารพฒั นาความรอบรดู้ า้ นสขุ ภาพในการดแู ลสมาชกิ ในครอบครัว สนับสนุนให้แต่ละครอบครัว ชุมชนเป็นเจ้าของสุขภาวะของตนเอง น�าไปสู่ชุมชนสร้างสุข สุขกาย สขุ ใจ สขุ เงนิ ตามทีม่ ุ่งหวงั ไว้ [ ]10 คมู่ อื สำ� หรับเจ้ำหนำ้ ที่ เพ่ือกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น

๒.๗ วตั ถปุ ระสงค์ของหลักสูตร เพอื่ พฒั นาศกั ยภาพผเู้ ขา้ รบั การอบรมใหม้ คี วามรู้ ความเขา้ ใจ และสามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ามบทบาท อสม. หมอประจ�าบ้านไดต้ ามสมรรถนะท่กี �าหนด ๒.๘ กล่มุ เป้าหมาย/คณุ สมบัติของผู้เข้าอบรม ๑. เปน็ อสม. ตามระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข ๒. เป็นผู้มีสุขภาพร่างกายแข็งแรง มีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยี ดิจิทัล ในการปฏิบัติหน้าท่ี อสม. หมอประจ�าบา้ น ๓. เปน็ ผูม้ ีความร้คู วามสามารถในการปฏบิ ตั ิบทบาท อสม. หมอประจ�าบา้ น ๒.๙ สมรรถนะท่ีคาดหวงั ๒.๙.๑ สามารถสนับสนุนสง่ เสริมใหม้ ี อสค. ใหค้ รอบคลมุ กลุม่ เป้าหมายทกุ ครอบครวั ๒.๙.๒ สามารถเป็นพเ่ี ลี้ยงให้กบั อสค. ในการดูแลสขุ ภาพกลมุ่ เป้าหมายทกุ ครอบครวั ๒.๙.๓ สามารถด�าเนินการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นท่ี เช่น โรคไข้เลือดออก โรคเลปโตสไปโรซิส (ฉห่ี นู) อน่ื ๆ ตามบรบิ ทของพื้นท่ไี ด้ ๒.๙.๔ สามารถด�าเนินการส่งเสริมสุขภาพ ลดอัตราการป่วยโรคเรื้อรัง ปัญหาสุขภาพจิต การป้องกนั แก้ไขปัญหายาเสพติด และอุบตั เิ หตุ ๒.๙.๕ สามารถถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจในเร่ืองภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใช้กัญชา ทางการแพทย์ให้กับ อสค. และประชาชน ได้ ๒.๙.๖ สามารถใชเ้ คร่ืองมือสือ่ สารและแอปพลิเคชนั ในการคดั กรอง ประเมนิ สขุ ภาพ โดยรว่ มเปน็ ทีมหมอครอบครวั ได้ ๒.๙.๗ สามารถเป็นแกนน�าเครือข่ายในการดูแลสุขภาพ (อสม., อสค.) และจัดการสุขภาพ ในครอบครัวและชุมชนได้ เชื่อมตอ่ ระบบบริการสุขภาพทร่ี ฐั จดั ใหไ้ ด้ ๒.๙.๘ สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์จากข้อมูลสุขภาพมาวางแผนและแก้ไขปัญหา พร้อมท้ัง รายงานผลในระบบ ได้ [ ]คู่มอื ส�ำหรบั เจำ้ หน้ำที่ เพอ่ื กำรยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบ้ำน 11

๒.๑๐ โครงสรา้ งหลักสูตร ระยะเวลำ ๓ ชว่ั โมง ประกอบด้วยเน้อื หาวชิ า ๖ รายวชิ า ดังน้ี ๓ ชวั่ โมง ๓ ชั่วโมง ลำ� ดบั ช่ือวิชำ ๓ ช่วั โมง ๑ วิชา อาสาสมัครประจ�าครอบครวั (อสค.) และบทบาท อสม. หมอประจา� บ้าน ๓ ช่วั โมง ๒ วชิ า การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดโรคในพืน้ ที่ ๓ วชิ า การสง่ เสริมสุขภาพและแก้ไขปญั หาสุขภาพทีส่ า� คัญ ๓ ชั่วโมง ๔ วชิ า ภูมิปัญญาไทย สมุนไพร และการใชก้ ัญชาทางการแพทย์ ๕ วชิ า เทคโนโลยกี ารสอ่ื สารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอป พลเิ คช่ันด้านสขุ ภาพ ๖ วชิ า ผนู้ า� การสร้างสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ๒.๑๑ ระยะเวลาในการฝึกอบรม จา� นวน ๑๘ ชัว่ โมง ๒.๑๒ เน้ือหาและมาตรฐานในแต่ละวชิ า ๒.๑๒.๑ วชิ าอาสาสมัครประจา� ครอบครวั (อสค.) และบทบาท อสม. หมอประจา� บ้าน เวลา ๓ ชวั่ โมง วัตถปุ ระสงคร์ ำยวชิ ำ เพอ่ื ให้ อสม. หมอประจา� บา้ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในบทบาทของ อสค. และ อสม. หมอประจา� บา้ น มีทักษะในการดแู ลถา่ ยทอดองค์ความร้ดู ้านสุขภาพ การเย่ียมบา้ น ส่งตอ่ และสรา้ งเครือขา่ ยในชมุ ชนได้ มำตรฐำนรำยวชิ ำ ๑. อสม. หมอประจา� บ้านอธิบาย บทบาทและหนา้ ทขี่ อง อสม. หมอประจ�าบา้ น และ อสค. ได้ ๒. อสม. หมอประจ�าบ้านมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสนับสนุนให้มี อสค. ได้ครอบคลุม กลุม่ เป้าหมาย ค�ำอธิบำยรำยวิชำ ความส�าคัญของ อสค. และบทบาทของ อสม. หมอประจ�าบ้าน ท�าหน้าท่ีในการดูแลสุขภาพ ของครอบครัว การถา่ ยทอดความรอบรูด้ า้ นสุขภาพท่ีเกย่ี วข้องกบั ปญั หาสุขภาพในพื้นที่ รวมถงึ การสรา้ ง เครอื ขา่ ย การส่งต่อระบบการดแู ลสขุ ภาพครอบครัว เชือ่ มโยงกบั เครือข่ายระบบบรกิ ารสขุ ภาพ [ ]12 คู่มอื สำ� หรับเจำ้ หน้ำที่ เพอ่ื กำรยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�ำบ้ำน

๒.๑๒.๒ วชิ าการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดโรคในพ้ืนที่ เวลา ๓ ชวั่ โมง วัตถุประสงคร์ ำยวชิ ำ เพ่ือให้ อสม. หมอประจ�าบ้านมีความรู้ความเข้าใจสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการป้องกัน ควบคุม ไมใ่ ห้เกิดโรคในพื้นที่ มำตรฐำนรำยวชิ ำ ๑. อสม. หมอประจ�าบ้านแสดงความรู้ความเข้าใจสาเหตุของการเกิดโรค วิธีการป้องกัน ควบคุม ไม่ใหเ้ กดิ โรคในพนื้ ที่ ๒. อสม. หมอประจ�าบ้านสามารถอธิบายวิธีการแก้ปัญหา วิธีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุม ไมใ่ หเ้ กดิ โรค ในพน้ื ที่ โดยการมสี ่วนรว่ มของชุมชน คำ� อธิบำยรำยวชิ ำ ความส�าคัญและวิธีการเฝ้าระวัง ป้องกัน ควบคุมไม่ให้เกิดโรคในพื้นที่ เช่น โรคไข้เลือดออก โรควัณโรค โรคพิษสุนัขบ้า โรคพยาธิใบไม้ตับ โรคเลปโตสไปโรซิส (โรคฉ่ีหนู) โรคไข้มาลาเรีย อ่ืนๆ ตามบริบทของพ้ืนท่ี ๒.๑๒.๓ วชิ า การส่งเสรมิ สุขภาพและแก้ไขปญั หาสุขภาพท่ีส�าคัญ เวลา ๓ ชว่ั โมง มำตรฐำนรำยวิชำ ๑. อสม. หมอประจ�าบ้าน อธบิ ายความสา� คัญของการดูแล ชว่ ยเหลอื ปอ้ งกนั ฟ้ืนฟู และการแก้ไข ปญั หาสุขภาพท่สี �าคญั ในพื้นที่ ได้แก่ ผู้ทมี่ ีปญั หาสุขภาพจติ ในพื้นที่ ปญั หาอบุ ตั เิ หตแุ ละอุบัตภิ ยั การดูแล แบบประคับประคองและระยะท้าย และปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเร้ือรัง ติดบ้านติดเตียง รวมทั้ง ผู้มีภาวะพึงพิง และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การใช้เคร่ืองกระตุกไฟฟ้า (AED) อสม. นักวิทยาศาสตร์ พิษภัยจากสารเคมยี าฆา่ แมลง ชุดทดสอบเบื้องตน้ (Test Kit) ๒. อสม. หมอประจ�าบ้านอธิบายวิธีการการดูแล ช่วยเหลือ ป้องกัน ฟื้นฟู และการแก้ไขปัญหา สุขภาพที่ส�าคัญในพ้ืนที่ ได้แก่ ผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตในพ้ืนที่ ปัญหาอุบัติเหตุและอุบัติภัย การดูแล แบบประคับประคองและระยะท้าย และปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเร้ือรัง ติดบ้านติดเตียง รวมทั้ง ผู้มีภาวะพึงพิง และการช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การใช้เคร่ืองกระตุกไฟฟ้า (AED) อสม. นักวิทยาศาสตร์ พิษภยั จากสารเคมียาฆ่าแมลง ชดุ ทดสอบเบอื้ งต้น (Test Kit) คำ� อธิบำยรำยวิชำ ความสา� คัญและวิธีการดแู ล ชว่ ยเหลือ ป้องกัน ฟนื้ ฟู และการแก้ไขปัญหาสขุ ภาพทสี่ �าคญั ในพืน้ ท่ี ได้แก่ ผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพจิตในพื้นที่ ปัญหาอุบัติเหตุและอุบัติภัย การดูแลแบบประคับประคองและ ระยะท้าย และปัญหาด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ติดบ้านติดเตียง รวมทั้งผู้มีภาวะพึงพิง และ [ ]คมู่ อื ส�ำหรบั เจำ้ หน้ำท่ี เพ่ือกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบ้ำน 13

การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) การใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้า (AED) อสม. นักวิทยาศาสตร์ พิษภัยจากสารเคมี ยาฆ่าแมลง ชดุ ทดสอบเบ้ืองต้น (Test Kit) ๒.๑๒.๔ วชิ า ภมู ิปัญญาไทย สมุนไพร และการใชก้ ัญชาทางการแพทย์ วตั ถุประสงคร์ ำยวิชำ ๑. เพอ่ื ให้ อสม. หมอประจา� บา้ นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจ การใชภ้ มู ปิ ญั ญาไทย สมนุ ไพร เพอื่ การดแู ล สุขภาพแบบพ่ึงตนเอง ๒. เพือ่ ให้ อสม. หมอประจ�าบ้านมีความรู้ ความเขา้ ใจ ขอ้ เท็จจริงเก่ียวกบั กัญชาในการรกั ษาทาง การแพทย์การใชย้ าอย่างสมเหตุสมผล (RDU) การบรจิ าคอวยั วะ ๓. ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักธรรมานามัย ซึ่งประกอบไปด้วย กายานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพ ทางกาย จิตตานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพทางจิตใจ ชีวิตานามัย คือการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ ครอบครวั มำตรฐำนรำยวชิ ำ ๑. อสม. หมอประจ�าบ้านอธิบายความส�าคัญ ประโยชน์ และวิธีการใช้ภูมิปัญญาไทย สมุนไพร เพือ่ การดูแลสขุ ภาพ ๒. อสม. หมอประจ�าบ้านอธิบายความส�าคัญ ข้อเทจ็ จรงิ เกย่ี วกับกญั ชาในการรักษาทางการแพทย์ การใช้ยาอย่างสมเหตุสมผล (RDU) การบริจาคอวัยวะ ค�ำอธบิ ำยรำยวชิ ำ ความส�าคัญ ประโยชน์ และวธิ กี ารใช้ภูมิปญั ญาไทย สมนุ ไพร เพ่อื การดูแลสขุ ภาพแบบพงึ่ ตนเอง และข้อเท็จจรงิ เก่ียวกับกญั ชาในการรักษาทางการแพทย์ การใชย้ าอย่างสมเหตสุ มผล (RDU) การบริจาค อวัยวะส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักธรรมานามัย ซึ่งประกอบไปด้วย กายานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพ ทางกาย จิตตานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพทางจิตใจ ชีวิตานามัย คือการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ ครอบครวั รวมทง้ั กฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง ๒.๑๒.๕ วชิ าเทคโนโลยกี ารส่ือสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลิเคชน่ั ด้านสุขภาพ เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์รำยวิชำ เมอ่ื ผา่ นการอบรมแลว้ อสม. หมอประจา� บา้ น มคี วามรู้ ความฉลาดรอบรู้ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยี การสอื่ สารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลเิ คชนั่ ดา้ นสขุ ภาพเพอื่ การคดั กรอง การติดตามการสง่ ตอ่ ผปู้ ว่ ย [ ]14 คู่มอื สำ� หรับเจำ้ หน้ำที่ เพอ่ื กำรยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บ้ำน

มำตรฐำนรำยวชิ ำ อสม. หมอประจ�าบ้านอธิบายความส�าคัญ ประโยชน์ และวิธีการใช้เทคโนโลยีการส่ือสารทาง การแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และความฉลาดรอบรู้การเลือกใช้แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพ เพื่อการติดตามการส่งต่อผู้ปว่ ย รวมทั้งกฎหมายท่เี ก่ยี วข้อง อสม. หมอประจำ� บ้ำน เขำ้ ใจ ๑. การใช้เคร่ืองมือสื่อสารตรวจคัดกรองประเมินผลสุขภาพ (Telemedicine) และแอปพลิเคช่ัน การบันทึกข้อมูล การรายงาน และส่งต่อผู้ป่วย และนา� ขอ้ มลู สขุ ภาพมาวางแผนแกไ้ ขปญั หาสขุ ภาพ ๒. การรูเ้ ทา่ ทนั สอ่ื และสารสนเทศ และการตัดสนิ ใจเลอื กปฏิบตั ใิ หถ้ ูกต้อง ๓. กฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับการใช้เคร่ืองมือส่ือสาร (Telemedicine) และแอปพลเิ คช่ัน คำ� อธิบำยรำยวชิ ำ ความส�าคัญ ประโยชน์ และวิธีการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และความฉลาดรอบรู้ การใช้แอปพลิเคชั่นด้านสุขภาพเพื่อการคัดกรอง ติดตาม และการส่งตอ่ ผู้ปว่ ย รวมทั้งกฎหมายท่เี กย่ี วข้อง ๒.๑๒.๖ วชิ า ผู้น�าการสรา้ งสุขภาพแบบมีส่วนรว่ ม เวลา ๓ ชว่ั โมง วัตถปุ ระสงค์รำยวชิ ำ เม่ือผ่านการฝึกอบรมแล้ว อสม. หมอประจ�าบ้าน สามารถ เป็นผู้น�าและใช้ภาวะผู้น�าในการสร้าง ทีมเครอื ขา่ ย ทมี อสม. อสค. เพือ่ การดแู ลสุขภาพผูส้ งู อายุ ติดเตียง ผู้ทมี่ ีภาวะพึ่งพงิ กลมุ่ ผู้ปว่ ยโรคเรอื้ รัง มำตรฐำนรำยวชิ ำ อสม. หมอประจ�าบ้าน สามารถเป็นผู้น�า ประสานงาน และบริหารจัดการทรัพยากร (Health Coacher and Manager) ให้ค�าแนะน�า เป็นพ่ีเลี้ยง เป็นทีมร่วมกับทีมหมอครอบครัว และถ่ายทอด ความรู้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง แก่เครือข่าย อสม. อสค. รวมท้ัง สามารถใช้เคร่ืองมือส่ือสารเพ่ือการดูแล จดั การใหก้ ลมุ่ เป้าหมายมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดี ค�ำอธิบำยรำยวชิ ำ ความส�าคัญ แนวคิดทฤษฎีการเป็นผู้น�า ภาวะผู้น�า การสร้างการมีส่วนร่วม บทบาทของพี่เลี้ยง ในการจดั การสขุ ภาพ การส่งตอ่ วธิ กี ารถา่ ยทอดความรทู้ ม่ี ีประสิทธิภาพ ๒.๑๓.๗ การประเมินผล ๒.๑๓.๑ เกณฑก์ ารประเมนิ - อสม. ตอ้ งมีระยะเวลาการเข้าร่วมฝกึ อบรมไม่น้อยรอ้ ยละ ๘๐ - อสม. ท่ีผ่านการฝึกอบรมมีความรู้และทักษะผ่านเกณฑ์ท่ีก�าหนดไม่น้อยกว่า ร้อยละ ๘๐ [ ]ค่มู อื สำ� หรบั เจ้ำหนำ้ ที่ เพื่อกำรยกระดับ อสม. เปน็ อสม. หมอประจ�ำบ้ำน 15

๒.๑๓.๒ เครื่องมอื ที่ใชแ้ ละวิธกี ารประเมนิ ผล - แบบทดสอบความรกู้ อ่ น – หลังการฝกึ อบรม - แบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมการเข้ารว่ มการฝึกอบรม อสม. หมอประจา� บา้ น - แบบประเมินผลการปฏบิ ัติงานเชงิ คณุ ภาพหลังการฝึกอบรม [ ]16 คู่มอื ส�ำหรบั เจ้ำหน้ำท่ี เพือ่ กำรยกระดบั อสม. เป็น อสม. หมอประจ�ำบำ้ น

ส่วนท่ี ๓ แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน [ ]คู่มือส�ำหรบั เจ้ำหน้ำท่ี เพื่อกำรยกระดับ อสม. เป็น อสม. หมอประจำ� บำ้ น 17

[ 18 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๑ วชิ าอาสาสมคั รประจา� ครอบครวั (อสค.) และบทบาท อสม. หมอประจา� บา้ น วัตถุประสงค์ เนอ้ื หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจัด ส่ือ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน กิจกรรมเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ อสม. หมอประจา� ๑. ความส�าคัญของ อสม. หมอ ๑. บรรยายความสา� คญั ๑. ใบความรู้ ๑ ๓ ชั่วโมง ๑. ท�าแบบทดสอบ บา้ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ประจ�าบา้ น และ อสค. ทา� หนา้ ที่ บทบาทของ อสค.และ ๒. ใบงาน ๑, ๒ (กลุ่ม) กอ่ น-หลงั เรียน ในบทบาทของ อสค. และ ในการดแู ลสุขภาพของครอบครวั บทบาท อสม. หมอ ๓. คู่มือ อสค. จากเว็บไซต์ http:// ๒. ความถกู ตอ้ งการ อสม. หมอประจ�าบ้าน ๒. การถ่ายทอดความรอบรู้ด้าน ประจ�าบา้ น fv.phc.hss.moph.go.th/ ตอบใบงาน มี ทั ก ษ ะ ใ น ก า ร ดู แ ล สุขภาพที่เกี่ยวข้องกับปัญหา ๒. แบง่ กลมุ่ แลกเปลยี่ น ๔. คูม่ ือ อสม. หมอประจ�าบ้าน ๓. การแลกเปล่ียน ถา่ ยทอดองคค์ วามรดู้ า้ น สุขภาพในพ้นื ที่ เรยี นรู้ ๕. Clip Video อสค.ปฏิบัติงาน การตอบคา� ถาม สุขภาพ การเยี่ยมบ้าน ๓. การสร้างเครือข่าย การส่งต่อ ๓. นา� เสนอ และสรปุ บท ในครอบครัว ๔. การสมุ่ ถาม สง่ ตอ่ และสรา้ งเครอื ขา่ ย ระบบการดูแลสุขภาพครอบครัว เรยี นร่วมกนั - อาสาสมัครประจา� ครอบครัว (อสค.) ๕. การสงั เกต การมี ในชมุ ชนได้ เชอ่ื มโยงกบั เครอื ขา่ ยระบบบรกิ าร ส่วนร่วม จงั หวดั นนทบรุ ี (๗.๓๑ นาท)ี https://www.youtube.com/ สุขภาพ watch?v=rvRymI_iIIk - Clip Video อาสมคั รประจา� ครอบครวั (อสค.) เทศบาลเมืองลา� พูน https://www.youtube.com/ watch?v=๐AMuZBMFh๘Y&fea- ture=youtu.be - Clip Video อาสาสมัครประจ�า ครอบครัว (อสค.) อ�าเภอแม่ทาและ อา� เภอปา่ ซาง จงั หวดั ล�าพูน https://www.youtube.com/ watch?v=uBEjujGsDcc ๖. กระดาษปรู๊ฟ

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๒ วชิ าการเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดโรคในพ้ืนที่ วัตถปุ ระสงค์ เนือ้ หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจัด สือ่ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรียนรู้ เพ่ือให้ อสม. หมอ ๑. ความส�าคัญ สาเหตุของโรค วงจรโรค/การคิดต่อ อาการโรค/ ๑. บรรยายความ ๑. ใบความรู้ ๒ 3 ชว่ั โมง ๑. ท� า แ บ บ ประจ�าบ้านมีความ การรกั ษา วิธีของการปฏบิ ตั ติ นในการปอ้ งกนั โรค เชน่ ส�าคัญสาเหตุของ ๒. ใบงาน ๒ ทดสอบก่อน - รคู้ วามเขา้ ใจสาเหตุ - โรคไขเ้ ลอื ดออก โรค วงจรโรค/การ ๓. คมู่ อื การปอ้ งกนั หลังเรยี น ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]19 ของการเกดิ โรค วธิ ี - โรควณั โรค ติดตอ่ อาการโรค/ ควบคมุ โรค ๒. ความถกู ตอ้ ง การปอ้ งกนั ควบคมุ - โรคพษิ สุนขั บา้ การรักษา วิธีของ ๔. Clip Video การตอบใบงาน ไม่ให้เกิดโรคใน - โรคพยาธิใบไม้ตบั การปฏิบัติตนใน เรอื่ งโรคการปอ้ งกนั ๓.การสังเกต/ พื้นที่ - โรคเลปโตสไปโรซิส (โรคฉห่ี น)ู การป้องกันโรค และควบคมุ โรค การซกั ถาม - โรคไข้มาลาเรีย (*พ้ืนท่ี ๔๑ จงั หวดั ) และการปอ้ งกนั การ ๕. คมู่ อื เรยี นรู้เขา้ ใจ ๒. บทบาทของ อสม. หมอประจ�าบ้านในการป้องกัน ควบคุมโรค แพร่กระจายโรค วัณโรคด้วยตนเอง และการสร้างจิตสา� นักของประชาชนในการปอ้ งกนั ควบคุมโรค เชน่ ในบา้ นและชมุ ชน สา� หรบั อสม. - โรคไขเ้ ลอื ดออก ๒. แบ่งกลุ่มระดม - โรควณั โรค สมองตามใบงาน - โรคพษิ สนุ ขั บ้า ๓. น�าเสนอ และ - โรคพยาธิใบไม้ตบั สรปุ ผลการประชมุ - โรคเลปโตสไปโรซสิ (โรคฉห่ี นู) กลมุ่ - โรคไขม้ าลาเรยี (*พ้ืนท่ี ๔๑ จังหวดั ) อน่ื ๆ ตามบริบทของพน้ื ที่ ๓. วิธีการก�ากับติตามและดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคแบบมีพ่ีเล้ียง ด้วย วธิ กี ารดแู ลการรบั ประทานยาโดยการสงั เกตตรง (DOT: directly ob- serve treatment) และการตดิ ตาม ประเมนิ ผลขา้ งเคยี งจากการใชย้ า

[ 20 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๒.๑ การเฝ้าระวงั ป้องกัน และควบคมุ โรคไข้เลือดออก วัตถปุ ระสงค์ เน้ือหำ/แนวคดิ รอบยอด แนวทำงกำรจดั สอื่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมนิ กจิ กรรมเรียนรู้ เมื่อผ่ำนกำรอบรมแล้ว อสม. หมอ ๑) ความรูเ้ รือ่ งโรคไข้เลอื ดออก การเฝ้า การบรรยาย ๑) สไลด์น�าเสนอ ๑๕ – ๒๐ นาที ท�าแบบทดสอบ ประจ�ำบำ้ น สำมำรถ ระวงั ปอ้ งกนั และควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก ๒) การฝึกปฏิบัติ ๒) วีดีทัศน์ กอ่ น - หลังเรียน ๑) อธบิ ายการคน้ หา คดั กรองผปู้ ว่ ยสงสยั ๒) แนวทางการสร้างการตระหนักรู้และ ๓) Application โรคไข้เลือดออก ป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกแก่ Smartอสม. ๒) ส�ารวจ/ก�าจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน�้า ประชาชนในเขตพื้นทร่ี ับผดิ ชอบ ยงุ ลาย ๓) การใช้ Application อสม. ออนไลน์ ๓) เป็นพี่เลี้ยงให้ค�าปรึกษา ถ่ายทอด ในการรายงานการคัดกรองผู้ป่วยสงสัย ความรู้ และค�าแนะน�าประชาชนในการ ไขเ้ ลอื ดออกและการสา� รวจลกู นา�้ ยงุ ลาย ปอ้ งกันตนเองจากโรคไข้เลอื ดออก ๔) ติดตามและส่งข้อมูลผู้ป่วย และผล การส�ารวจแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน�้ายุงลาย แกเ่ จา้ หนา้ ทสี่ าธารณสขุ โดยใชเ้ ทคโนโลยี

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๒.๒ การปอ้ งกัน ควบคมุ และ ดแู ลรกั ษาวณั โรค ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]21 วัตถปุ ระสงค์ เน้ือหำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจัด ส่อื อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรยี นรู้ เมอ่ื ผา่ นการอบรมแลว้ อสม. หมอประจา� บา้ น กรอบเน้ือหาส�าหรับการอบรมหลักสูตร - การบรรยาย - สไลดน์ า� เสนอ ๓๐ นาที Post test สามารถ ยกระดบั การพฒั นาหมอประจา� บา้ น (อสม. - ฝ ึ ก ป ฏิ บั ติ ก า ร - วีดีทศั น์ จ�านวน ๑๐ ขอ้ ๑. อธิบายความหมายของการป่วยและ หมอประจา� บา้ น) ใน ๔ เร่อื ง ดงั นี้ ท�าหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยง การแพรก่ ระจายของเชอ้ื วณั โรคได้ บทท่ี ๑ ความร้ทู วั่ ไปเรื่องวณั โรค กา� กับการกินยา ๒. อธิบายการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคในกลุ่ม บทที่ ๒ การค้นหาและวินจิ ฉยั วัณโรค ผู้สัมผัสได้ บทที่ ๓ การรักษาวัณโรค ๓. เขา้ ใจแนวทางการรักษาวัณโรคได้ บทท่ี ๔ บทบาทของ อสม. ในการควบคุม ๔. มคี วามเข้าใจในบทบาทของ อสม. ได้ วณั โรค

[ 22 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๒.๓ การเฝ้าระวงั ป้องกัน ควบคมุ โรคพิษสุนัขบา้ วตั ถปุ ระสงค์ เนื้อหำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั กิจกรรม สื่อ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน เรียนรู้ เมื่อส้ินสุดกำรอบรม อสม. กรอบเนื้อหาในการอบรม ๑. บรรยายสาเหตุของการ ๑. ใบความรู้โรคพิษสนุ ัขบ้า ๓๐ นาที ๑. แบบทดสอบ หมอ.ประจ�ำบำ้ น ๑. ทราบสาเหตขุ องการเกดิ โรค เกดิ โรค การตดิ ตอ่ อาการทพี่ บ ๒. สอ่ื การสอนเร่อื งพิษสุนขั บา้ ก่อน-หลังการ ๑. ทราบสาเหตขุ องการเกดิ โรค การติดต่อ อาการที่พบในคน ในคน และสตั ว์ และการปอ้ งกนั http://r๓๖.ddc.moph.go.th/ อบรม การติดต่อ อาการท่ีพบในคน และสตั ว์ และการปอ้ งกนั ตนเอง ตนเองจากโรคพษิ สุนขั บ้า r๓๖/uploads/document/ ๒. การสงั เกต และสตั ว์ และการปอ้ งกนั ตนเอง จากโรคพิษสุนัขบา้ ๒. ชมวดี ีทศั น์ ๕๗b๘๗fc๐ded๕c.pdf จากโรคพิษสนุ ัขบา้ ๒. บทบาทของ อสม. หมอ ๓. แสดงบทบาทสมมติ (Role ๓. วีดีทัศน์เร่ืองโรคพิษสุนัขบ้า ๒. ถ่ายทอดความรู้ และให้ ประจ�าบ้านในการป้องกันโรค play) ตา่ งๆ ในช่อง รู้กัน ทันโรค ค�าแนะน�าในการป้องกันโรค พษิ สนุ ัขบา้ https://www.youtube.com/ พิษสนุ ขั บา้ ใหแ้ กป่ ระชาชนได้ watch?v=MRrz๑NgxWs๘

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๒.๔ การเฝ้าระวงั ป้องกัน ควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดโรคพยาธิใบไม้ตับ วัตถุประสงค์ เนื้อหำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั ส่อื อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมนิ กจิ กรรมเรียนรู้ เมอ่ื สนิ้ สดุ กำรอบรม กรอบเนอ้ื หาในการอบรม ๑. บรรยายสถานการณ์ ๑. ใบความรู้ ๔ เรื่องโรคพยาธิใบไมต้ บั ๓๐ นาที ๑. แ บ บ อสม. หมอ.ประจ�ำ ๑. สถานการณ์ สาเหตุ การ สาเหตุ การตรวจ ๒. สอื่ การสอนเรอื่ งพยาธใิ บไมต้ บั และพยาธอิ น่ื ๆ ตามลงิ ค์ ทดสอบก่อน- บ้ำน ตรวจวินิจฉัย อาการ การ วินิจฉัย อาการ หลงั การอบรม ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]23 ๑. ทราบสถานการณ์ รกั ษา อาการแทรกซอ้ น และ การรักษา อาการ ๒. การสงั เกต สาเหตุ การตรวจ การป้องกันโรคพยาธิใบไม้ แทรกซ้อนและการ วินิจฉัย อาการ ตับ ป ้ อ ง กั น โ ร ค พ ย า ธิ การรักษา อาการ ๒. บทบาทของ อสม. หมอ ใบไม้ตบั แทรกซ้อนและการ ประจ�าบ้านในการป้องกัน ๒. ชมวีดีทศั น์ ๓. วีดีทัศน์เรื่องโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน�้าดี ป้องกันโรคพยาธิ และการสร้างจิตส�านักของ ๓. แบ่งกลุ่มๆละไม่ ตามลิงค์ ใบไมต้ ับ ประชาชนในการป้องกัน เกิน ๑๐ คน ท�า https://www.youtube.com/watch?v=๖gccR๘iA๘ ๒. ถ่ายทอดความรู้ โรคพยาธใิ บไม้ตบั กจิ กรรมตามใบงานที่ Wo&t=๑๔๐s และให้ค�าแนะน�า ๔ https://www.youtube.com/watch?v=B๔pP๘g๘a ประชาชนในการ ๔. น�าเสนอผลการ oa๘&t=๗s ป้องกันโรคพยาธิ แบง่ กลมุ่ https://www.youtube.com/watch?v=TVuauAPY๐GQ- ใบไมต้ ับได้ &t=๕๗s https://www.youtube.com/watch?v=๒u๙A๙gN-๙Uk ๔. ใบงานท่ี ๔ ผจู้ ดั ทำ� : กลุ่มโครงการตามพระราชดา� ริฯ กองโรคตดิ ตอ่ ท่ัวไป กรมควบคมุ โรค ผู้ประสานงาน : นางอรนาถ วัฒนวงษ์ นกั วิชาการสาธารณสุขชา� นาญการพิเศษ โทร. ๐๒-๕๙๐-๓๑๘๐ Email : [email protected] นางทองรู้ กอผจญ นกั วิชาการสาธารณสขุ ช�านาญการ โทร. ๐๒-๕๙๐-๓๑๘๐ Email : Thongroo๑@gmail.com

[ 24 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๒.๕ การเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ควบคมุ โรคเลปโตสไปโรสิส วตั ถุประสงค์ เนอ้ื หำ/แนวคดิ รอบยอด แนวทำงกำรจดั สื่อ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรียนรู้ เมอื่ สนิ้ สดุ กำรอบรม อสม. หมอ. กรอบเนอื้ หาในการอบรม ๑. บรรยายสถานการณโ์ รค กลมุ่ ๑. ใบความรู้โรคเลปโตส ๓๐ นาที ๑. แบบทดสอบ ประจ�ำบ้ำน ๑. ทราบสถานการณ์โรค เสี่ยง สาเหตุของการเกดิ โรค การ ไปโรสสิ ก ่ อ น - ห ลั ง ก า ร ๑. ท ร า บ ส ถ า น ก า ร ณ ์ โ ร ค กลมุ่ เสยี่ ง สาเหตขุ องการเกดิ ตดิ ต่อ อาการและการรักษา และ ๒. ส่ือการสอนเรื่องโรคเลป อบรม กลมุ่ เสยี่ ง สาเหตขุ องการเกดิ โรค โรค การติดต่อ อาการและ การปอ้ งกนั โรคเลปโตสไปโรสสิ โตสไปโรสสิ (อนิ โฟกราฟฟกิ ) ๒. การสังเกต การตดิ ตอ่ อาการและการรกั ษา การรักษา และการป้องกัน ๒. ชมวีดีทศั น์ https://www.riskcomthai. และการป้องกันโรคเลปโต โรคเลปโตสไปโรสิส ๓. แสดงบทบาทสมมติ (Role org/๒๐๑๗/detail.php?id สไปโรสสิ ๒. บทบาทของ อสม. หมอ play) =๓๕๙๖๘&m=media&gid ๒. ถ่ายทอดความรู้ และให้ ประจา� บา้ นในการปอ้ งกนั โรค =๑-๐๐๔-๐๐๔ ค�าแนะน�าในการป้องกันโรค เลปโตสไปโรสสิ ๓. วีดีทัศน์เร่ืองโรคเลปโตส เลปโตสไปโรสสิ ใหแ้ กป่ ระชาชน ไปโรสสิ ได้ https://youtu.be/yjZS๙ M๐-_CQ https://youtu.be/๓BRL_ qhllJs ผู้จัดทำ� : กองโรคตดิ ตอ่ ทวั่ ไป กรมควบคุมโรค ผปู้ ระสำนงำน: นางรัตนา ธรี ะวัฒน์ นกั วชิ าการสาธารณสุขช�านาญการพเิ ศษ โทร ๐ ๒๕๙๐ ๓๑๗๖ email: [email protected]

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๒.๖ การติดตามการกินยา การค้นหาผู้ปว่ ยและการเฝ้าระวงั ควบคมุ โรคไข้มาลาเรยี วตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หำ/แนวคิด แนวทำงกำรจัด สื่อ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน รอบยอด กิจกรรมเรียนรู้ ๑๐ นาที - แบบทดสอบกอ่ น- เมอ่ื สน้ิ สดุ กำรอบรมแลว้ อสม. หมอประจำ� บำ้ น - ความรู้เร่ืองโรคไข้มาลาเรีย การบรรยาย - สไลด์น�าเสนอ หลงั การอบรม สำมำรถ ด้านสาเหตุ การติดต่อ การ - วีดีทัศน์ ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]25 ๑. อธิบายเรื่องโรคไข้มาลาเรียด้านสาเหตุ ปอ้ งกนั การตรวจรกั ษา การกนิ ๑๐ นาที การติดต่อ การป้องกัน การตรวจรักษา ยาและมาตรวจตามนดั ขอ้ ความ ๑๐ นาที การกนิ ยาและมาตรวจตามนัด ส�าคญั ในการสือ่ สารเรื่องโรคไข้ ๑๐ นาที ๒. ถา่ ยทอดความรู้ และใหค้ า� แนะนา� แกป่ ระชาชน มาลาเรีย ในการเฝ้าระวงั และปอ้ งกันโรคไขม้ าลาเรยี - ความสา� คญั ของการกนิ ยาให้ ๓. แนวทางการตดิ ตามการกนิ ยาและการมาตรวจ ครบและมาตรวจ ตามนัด ตามนดั ของผปู้ ว่ ยมาลาเรยี - แนวทางการติดตามการกิน ๔. อธิบายหลักการค้นหา คัดกรองผู้สงสัย ยาและการมาตรวจตามนดั ของ ตดิ เชอื้ โรคไข้มาลาเรีย ผปู้ ว่ ยมาลาเรยี ๕. อธิบายหลักการเฝ้าระวังโรคไขม้ าลาเรยี - หลักการค้นหา คัดกรอง ผู้สงสัยติดเช้ือโรคไข้มาลาเรีย ในกิจกรรม CIS ของหมู่บ้าน แพร่เชอ้ื - หลักการเฝ้าระวังโรคไข้ มาลาเรีย

[ 26 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๓ วชิ าการส่งเสรมิ สุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพที่ส�าคัญ วัตถุประสงค์ เนอ้ื หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจัด สอื่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรยี นรู้ เพอื่ ให้ อสม. หมอประจา� ๑. ความสา� คญั สาเหตขุ องโรค อาการโรค/การรกั ษา วธิ ี ๑. บรรยายความสา� คญั สาเหตุ ๑. ใบความรู้ ๓ ๑. ท� า แ บ บ บา้ นมคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ของการปฏบิ ัติตนในการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ ได้แก่ ของโรค อาการโรค/การรกั ษา ๒. ใบงาน ๓ ๓ ชว่ั โมง ทดสอบก่อน- และทกั ษะการดแู ล ชว่ ย - การเฝา้ ระวัง ปอ้ งกนั ปัญหาสขุ ภาพจติ วิธีของการปฏิบัติตนในการ ๓. คู ่ มื อ ก า ร ส ่ ง หลงั การอบรม เหลือ ป้องกัน ฟื้นฟู - การเฝา้ ระวงั ปอ้ งกนั โรคเบาหวาน และความดนั โลหติ สง่ เสริมสขุ ภาพ เสริมสขุ ภาพ ๒. ความถูก ส่งเสริม และการแก้ไข สูง ๒. แบ่งกลุ่มระดมสมองตาม ๔. สุ ข ภ า พ จิ ต ที่ ต้องการตอบ ปัญหาสุขภาพที่ส�าคัญ - การป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรในชุมชน ใบงาน สา� คญั สา� หรบั อสม. ใบงาน ในพ้นื ที่ และกลมุ่ ผูป้ ่วย การปฐมพยาบาลและการชว่ ยเหลอื เบือ้ งตน้ ๓. น�าเสนอ และสรุปผล หมอประจ�าบ้าน ๓. การสงั เกต/ เร้ือรัง ติดบ้านติดเตียง - การจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมส�าหรับผู้สูงอายุ การประชุมกล่มุ ช่องทางข้อมูลองค์ การซกั ถาม และภาวะพึงพิง และผ้ปู ่วย ตดิ บ้าน ติดเตยี ง ๔. แบง่ กลมุ่ ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารเปน็ ความรู้เพ่ิมเติม: - การดแู ลสขุ ภาพชอ่ งปากของผู้ปว่ ยตดิ บ้าน ติดเตยี ง พเี่ ลยี้ งดแู ลการรบั ประทานยา เว็บไซต์ - การสง่ เสรมิ โภชนาการหญงิ ตัง้ ครรภ์ เด็กอายุ ๐-๕ ปี โดยการสังเกตตรง (DOT) www.sorporsor. และผู้สูงอายุ com - การป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรในชุมชน www.thaimental- การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบื้องต้น และ health.com การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) และการใช้เคร่ืองกระตุก www.dmh.go.th หวั ใจดว้ ยไฟฟา้ (AED) - พิษภัยจากสารเคมียาฆ่าแมลง ชุดทดสอบเบ้ืองต้น (Test Kit) - อสม. นกั วทิ ยาศาสตร์

วตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั สื่อ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมนิ ๒. วธิ กี ารดูแล ชว่ ยเหลือ ปอ้ งกัน ฟืน้ ฟู และการแกไ้ ข กิจกรรมเรียนรู้ ปญั หาสุขภาพที่ส�าคัญในพืน้ ที่ ได้แก่ ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]27 - ปญั หาสขุ ภาพจติ - ปญั หา โรคเบาหวาน และความดันโลหติ สูง - ปัญหาการบาดเจ็บจากการจราจรในชุมชน การ ปฐมพยาบาลและการช่วยเหลอื เบ้ืองตน้ - ปัญหาการจัดสภาพแวดล้อมท่ีเหมาะสมส�าหรับ ผูส้ งู อายุและผูป้ ่วย ตดิ บา้ น ตดิ เตยี ง - ปัญหา การดูแลสุขภาพช่องปากของผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตยี ง - ปัญหาโภชนาการหญิงตั้งครรภ์ เด็กอายุ ๐-๕ ปี และผู้สงู อายุ - การป้องกันการบาดเจ็บจากการจราจรในชุมชน การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบ้ืองต้น และ การช่วยฟื้นคืนชีพ (CPR) และการใช้เครื่องกระตุก หวั ใจด้วยไฟฟ้า (AED) - พิษภยั จากสารเคมียาฆา่ แมลง - อสม. นกั วทิ ยาศาสตร์

[ 28 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๓.๑ การเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน ปญั หาสุขภาพจติ วตั ถุประสงค์ เนือ้ หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั สอื่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรยี นรู้ เม่ือผ่านการอบรมแล้ว ๑. ควำมเขำ้ ใจสขุ ภำพจติ สขุ ภาพจติ ไมใ่ ชแ่ คผ่ ทู้ เี่ จบ็ ปว่ ยทาง - การบรรยาย ๑) สไลดน์ า� เสนอ ๔๕-๖๐ - แบบทดสอบ อสม. หมอประจ�าบ้าน จติ แตร่ วมไปถงึ คนทว่ั ไปในสงั คมลว้ นเกย่ี วขอ้ งกบั สขุ ภาพจติ - การฝึกปฏิบัติ ๒) แบบคัดกรอง นาที ก่อน-หลังการ สามารถ ๒. กำรดูแลสขุ ภำพจิตตำมกลุ่มวัย การคดั กรอง ๒Q ภาวะซมึ เศรา้ ๒Q อบรม วิเคราะห์ จ�าแนก แบ่ง สุขภาพจิตเกี่ยวขอ้ งกับทุกคน ตง้ั แตเ่ กิดจนเสียชวี ติ ดังน้ันจงึ - การฝึกปฏิบัติ * สามารถ Down- กลุ่มผู้ท่ีมีความเสี่ยง ต้องดูแลประชาชนในแต่ละชว่ งวยั เพอ่ื ให้มีสุขภาพจติ ทดี่ ี การให้การช่วย load เอกสาร ที่จะมปี ญั หาสขุ ภาพจติ ๓. เทคนคิ กำรดแู ล ชว่ ยเหลอื ผทู้ มี่ ปี ญั หำสขุ ภำพจติ ในชมุ ชน เหลอื เบอื้ งตน้ ดว้ ย องค์ความรู้เพ่ิม ให้การดูแลและให้การ ด้วย ๓ ส plus ไดแ้ ก่ การรับฟัง และให้ เติมไดท้ ี่ www. ชว่ ยเหลอื ดา้ นสขุ ภาพจติ ๑. สอดส่องมองหำ คือการเย่ียมบ้านและการมองหา ก�าลงั ใจ thaimental- แกผ่ ทู้ ม่ี ปี ญั หาสขุ ภาพจติ ผู้ที่มีความเส่ียงที่จะมีปัญหาสุขภาพจิตและผู้ท่ีมี health.com ในชุมชนได้ ปญั หาสขุ ภาพจติ ในชมุ ชนของตนเอง ๒. ใส่ใจรับฟัง และกำรช่วยเหลือเบ้ืองต้น การให้ การช่วยเหลือตามสภาพปัญหาและความจ�าเป็นของ ผู้ท่มี ปี ัญหาสุขภาพจิต ๓. กำรส่งต่อเชื่อมโยง ส่งต่อข้อมูลผู้ท่ีมีปัญหาสุขภาพ จิตให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพ้ืนที่ เพ่ือให้ผู้ป่วย ไดร้ ับการดูแลที่ต่อเนือ่ ง และไดร้ ับการดแู ลทส่ี ูงขน้ึ ๔. กำรติดตำมต่อเนื่อง เพ่ือให้ผู้ป่วยจิตเวช และผู้ท่ีมี ปัญหาสุขภาพจิตที่อาศัยอยู่ในชุมชนได้รับการดูแล อย่างต่อเนอ่ื งในชุมชน

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๓.๒ การเฝ้าระวงั ปอ้ งกัน โรคเบาหวาน และความดันโลหติ สูง วตั ถปุ ระสงค์ เนอื้ หำ/แนวคดิ รอบยอด แนวทำงกำรจัด สอื่ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน กิจกรรมเรยี นรู้ เมอ่ื ผำ่ นกำรอบรมแลว้ อสม. หมอประจำ� ๑. ควำมรู้เรื่องเบำหวำนและควำมดัน ๑. การบรรยาย ๑) สไลด์น�าเสนอ ๓๐ นาที – - แบบทดสอบ บำ้ นสำมำรถ โลหติ สงู วธิ กี ารวดั ความดนั โลหติ ตามขนั้ ๒. การฝกึ ปฏบิ ตั วิ ดั ๒) วดี ีทศั น์ ๑ ชัว่ โมง ก่อน-หลังการ ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]29 ๑. วเิ คราะห์ จ�าแนก แบง่ กลุม่ ตามระดบั ตอนได้อย่างถูกต้อง รวมถึงการแปล ความดันโลหติ ๓) เคร่ืองวัดความ อบรม ความเส่ียง–ค้นหาปัจจัยเส่ียงในระดับ วเิ คราะห์ จา� แนก แบง่ กลมุ่ ตามระดบั ความ ๓. การคดั กรองโรค ดนั โลหิต บคุ คล เสีย่ ง เบาหวาน ๒. จดั โปรแกรมเพอื่ ลดปจั จยั เสย่ี งใหเ้ หมาะ - ความสา� คญั และเทคนคิ การวดั ความดนั กับแต่ละบุคคล (บุหรี่ เหล้า อาหารเค็ม โลหิตท่บี า้ น และการแปลผล อาหารไขมนั สงู อาหารพลงั งานสงู ความ ๒. เทคนคิ ในกำรจดั โปรแกรมกำรจดั กำร อว้ นและกจิ กรรมทางกาย)–เพ่ิมทักษะใน ปัจจัยเส่ียง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การจัดการตนเอง รวมถงึ การติดตาม ประเมินผล ๓. เปน็ แกนนา� ในการสรา้ งความตระหนกั ๓. เทคนิคกำรสร้ำงควำมตระหนักและ และจัดการสิ่งแวดล้อมให้เอ้ือต่อการลด จดั กำรสงิ่ แวดลอ้ มใหเ้ ออ้ื ตอ่ การลดปจั จยั ปัจจัยเสยี่ ง เส่ยี งในชมุ ชน และองคก์ รตา่ งๆ ๔. ใหค้ า� ปรกึ ษา และแนะนา� กลมุ่ เสย่ี ง และ ๔. เทคนคิ กำรใหค้ ำ� ปรกึ ษำ และแนะนำ� กลมุ่ ปว่ ยในการปฏบิ ตั ติ วั เพอื่ ควบคมุ ระดบั กลมุ่ เสย่ี ง และกลมุ่ ปว่ ย ในการปฏบิ ตั ติ วั ความดนั โลหิต เพ่อื ให้ควบคุมระดบั ความดนั โลหิต ๕. ติดตามและส่งข้อมูลแก่เจ้าหน้าที่ สาธารณสขุ โดยใชเ้ ทคโนโลยี

[ 30 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๓.๓ การจดั สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมส�าหรบั ผู้สูงอายุและผู้ป่วย ติดบา้ น ติดเตียง วัตถุประสงค์ เนอ้ื หำ/แนวคิดรวบยอด แนวทำงกำรจัดกจิ กรรมเรยี นรู้ สือ่ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน ๑๕ นาที แบบทดสอบก่อน- ๑. เพื่อให้ อสม. สามารถ ๑. วิธีการจัดสภาพแวดล้อม ๑. การบรรยาย ๑. คู ่ มื อ ก า ร จั ด ส ภ า พ หลังการอบรม ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง ที่เหมาะสมต่อผู้สูงอายุหรือ ๒. การถามตอบปัญหาที่พบใน แวดลอ้ มทเ่ี หมาะสมกบั ผสู้ งู การจัดสภาพแวดล้อมท่ี ผ้ปู ่วย ติดบ้าน ติดเตียง ชมุ ชน อายุ ติดบา้ น ติดเตียง เหมาะสมต่อผู้สูงอายุหรือ ๒. วิธีจัดการจัดการยาและ ลิง้ คก์ ารดาวนโ์ หลดคู่มือ ผู้ป่วย ตดิ บา้ น ตดิ เตยี ง ของเสียจากการเจ็บป่วยที่ http://env.anamai.moph. ๒. เพื่อให้ อสม. สามารถ เกิดข้ึนจากผู้สูงอายุหรือ go.th/more_news.php? ถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่อง ผ้ปู ว่ ย ติดบา้ น ติดเตยี ง cid=๖๗ การจัดการยาและ ของเสีย จากการเจ็บป่วยที่เกิดจาก ผปู้ ว่ ยตดิ บา้ น ตดิ เตยี ง อยา่ ง ถูกหลกั สขุ าภบิ าลได้

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๓.๔ การดแู ลสุขภาพชอ่ งปากของผู้ปว่ ยติดบา้ น ติดเตียง วัตถปุ ระสงค์ เน้ือหำ/แนวคิดรวบยอด แนวทำงกำรจัด สือ่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรยี นรู้ เพ่ือให้ อสม. หมอประจ�า ๑. วิธีการดูแลช่วยเหลือ ๑. ดูคลิปการท�าความ ๑. ใบความรู้ ๑๕ นาที ๑. แบบทดสอบกอ่ น- บ้าน มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ ป้องกัน ฟื้นฟู และการ สะอาดฟันผู้ป่วยติด ๒. อินโฟกราฟฟิคการตรวจและการท�า หลงั การอบรม ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]31 และทักษะการดูแล ช่วย แก้ปัญหาสุขภาพที่ส�าคัญ เตยี ง ๕.๕๐ นาที ความสะอาดฟนั ๒. สังเกตพฤติกรรม เหลือ ส่งเสริม ป้องกัน ในพ้ืนท่ี ได้แก่ การดูแล ๒. แ ล ก เ ป ลี่ ย น http://dental๒.anamai.moph.go.th/ การเข้าร่วมการฝึก การดูแลสุขภาพช่องปาก สขุ ภาพชอ่ งปากของผปู้ ว่ ย ประสบการณ์การดูแล ewt_dl_link.php?nid=๒๙๕๔&filename อบรม ของผปู้ ว่ ยตดิ บา้ น ตดิ เตยี ง การมีโรคในช่องปาก จะ ชอ่ งปากผปู้ ว่ ยตดิ เตยี ง =dental_health_media ๓. สั ง เ ก ต ก า ร ฝ ึ ก ท�าให้โรคเรื้อรังท่ีเป็นอยู่ ๓. คลิปวิดีโอ เร่ือง การสร้างเสริมสุขภาพ ปฏิบัติหลังการฝึก ควบคมุ ยากขน้ึ ดงั นนั้ การ ช่องปากผู้สูงอายุท่ีช่วยเหลือตนเองไม่ได้ อบรม ๙.๔๕ นาทhี ttps://www.youtube.com/ ท�าความสะอาดช่องปาก watch?v=VP๖uocjz๓yA อย่างมีคุณภาพจะช่วยลด ๔. *คลปิ วดิ โี อการแปรงฟนั ถกู วธิ ี ๒.๔๐ นาที จลุ นิ ทรีย์ในช่องปาก เเละ https://๑th.me/V๑๖k ลดการลุกลามของโรค ๕. **คลปิ วดิ โี อการตรวจชอ่ งปากดว้ ยตนเอง เร้ือรังได้ ๑.๓๗ นาที https://๑th.me/HOhw หมำยเหต:ุ * สามารถดดู ว้ ยตนเองตามลงิ คไ์ ด้ กำรดแู ลสขุ ภำพชอ่ งปำกของผปู้ ว่ ย สำมำรถ หำขอ้ มูลเพิ่มเตมิ จำก ๑. หลักสูตรอบรม อสม. เชี่ยวชาญ สาขา ทนั ตสขุ ภาพ https://drive.google.com/ file/d/๑j๑vVJTmJHk๓AgKm๕๑Hkb๒Z- Cl๓๐Ne๗ioF/view

[ 32 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น วตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หำ/แนวคิดรวบยอด แนวทำงกำรจดั ส่ืออุปกรณ์ เวลำ กำรประเมนิ กจิ กรรมเรียนรู้ ๒. คลปิ วดิ โี อ เรอื่ ง การทา� ความสะอาดฟนั ผู้ ป่วยติดเตียง ๕.๕๐ นาที https://๑th.me/YmmJ ๓. การทา� ความสะอาดฟนั เทียม https://www.youtube.com/watch?v= wAHfnuHe๒vc ๔. คลปิ วิดีโอการแปรงฟันถูกวิธี ๒.๔๐ นาที https://๑th.me/V๑๖k ๕. คลิปวิดีโอการตรวจช่องปากด้วยตนเอง ๑.๓๗ นาที https://๑th.me/HOhw ๖. อินโฟกราฟิค เร่ือง การตรวจและท�า ความสะอาดช่องปากของผู้สูงอายุ http://dental๒.anamai.moph.go.th/ ewt_dl_link.php?nid=๒๙๕๔&filename =dental_health_media ๗. Application ฟันดี ระบบ Android https://play.google.com/store/apps/ details?id=com.palmfuture.fund&hl=th ๘. LINE@ ฟนั สวยพลกิ ไทย ID : @funsuayplikthai หรอื เขา้ ลงิ้ ค์ https:// line.me/R/ti/p/%๔๐lsw๓๒๒๘k ๙. เพจฟันสวยฟ้าผ่า https://www.funsuayfapha.com/

แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๓.๕ การส่งเสรมิ โภชนาการหญิงตั้งครรภ์ เด็กอายุ ๐-๕ ปี และผู้สูงอายุ วตั ถปุ ระสงค์เชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หำ กิจกรรม สอ่ื /อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมินผล ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]33 สามารถบอกถึง - ความสา� คญั ของการบรโิ ภค - บรรยาย (๑๕ นาท)ี - เอกสารบรรยาย ๑ ช่วั โมง - แบบทดสอบกอ่ น- - ความส�าคัญของการบริโภคอาหาร อาหารที่เหมาะสมของหญิงต้ัง - สาธิตและฝึกปฏิบัติโดย - หนุ่ จา� ลองอาหาร ๔๕ นาที หลงั การอบรม ท่ีเหมาะสมของหญิงต้ังครรภ์ เด็กอายุ ครรภ์ เดก็ ปฐมวยั และผสู้ งู อายุ จดั เปน็ ฐาน ๒ ฐาน คือ ฐาน - อาหารสด - การสังเกตจาก ๐-๕ ปแี ละผู้สูงอายุ - หลกั การจัดอาหาร ท่ี ๑ อาหารทารกอายุ ๖- - จาน ชาม ถ้วย การฝกึ ปฏิบัติ - หลกั การจัดอาหาร - ปริมาณอาหารของหญิง ๑๒ เดอื น ฐานที่ ๒ อาหาร ทัพพี ช้อนชา ชอ้ น - ปรมิ าณอาหารท่ีควรได้รบั ต้งั ครรภ์ เดก็ อายุ ๐-๕ ปี และ หญิงต้ังครรภ์ เดก็ อายุ ๑-๕ กินข้าว - มีทักษะในการจัดเตรียมอาหาร ผสู้ ูงอายุ ปี และผ้สู ูงอายุ ฐานละ ๓๐ ใหเ้ หมาะสมตามวยั - ความส�าคัญและความถ่ี นาที (๑ ช่วั โมง ๓๐ นาที) - ความสา� คญั และความถกี่ ารกนิ ยาเมด็ การกินยาเม็ดไอโอดีน เหล็ก ไอโอดีน เหล็ก และโฟลิกส�าหรับหญิง และโฟลกิ สา� หรบั หญงิ ตงั้ ครรภ์ ตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอดท่ีเล้ียงลูก และหญิงหลังคลอดท่ีเล้ียงลูก ดว้ ยนมแม่ ๖ เดอื น ด้วยนมแม่ ๖ เดือน - ความสา� คญั และความถกี่ ารกนิ ยานา�้ - ความส�าคัญและความถ่ี เสริมธาตุเหลก็ ในเดก็ อายุ ๖ เดือน-๕ ปี การกินยาน้�าเสริมธาตุเหล็กใน เด็กอายุ ๖ เดอื น-๕ ปี

[ 34 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๓.๖ การป้องกันการบาดเจบ็ จากการจราจรในชุมชน การปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือเบ้ืองต้น การช่วยฟ้ นื คืนชีพ (CPR) และการใชเ้ คร่อื งกระตกุ หวั ใจด้วยไฟฟา้ (AED) วัตถุประสงค์ เนือ้ หำ/แนวคดิ รวบยอด แนวทำงกำรจัด สอ่ื อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมนิ กิจกรรมเรยี นรู้ ๑. อสม. มีความรู้ ทัศนคติ และ ๑. อสม. เรียนรู้วิธีการประเมิน ๑. บรรยายให้ความรู้ ๑. สไลด์ คลปิ วีดโิ อ ๑๕ นาที ๑. ป ร ะ เ มิ น ทกั ษะในการประเมนิ ความเสยี่ ง ความเสี่ยงการบาดเจ็บจากการ และปรับทัศนคติด้าน ๒. อปุ กรณ์การปฐมพยาบาล การแสดง เพื่อให้ค�าแนะน�าสร้างความ จราจรของคนในชุมชน ความปลอดภัย ๓. แบบประเมนิ ความเสย่ี งการบาดเจบ็ ความคิดเห็น ตระหนักแก่คนในชุมชนในการ ๒. อสม. วเิ คราะหแ์ ละนา� ผลการ ๒. เข้ากลุ่มฝึกปฏิบัติการ จากการจราจรของคนในชมุ ชน และทศั นคติ ป้องกันการบาดเจ็บจากการ ประเมินความเส่ียงมาใช้ในการ เรยี นรวู้ ธิ กี ารประเมนิ และ Download ไดท้ ี่ ๒. ป ร ะ เ มิ น จราจร และการชว่ ยเหลอื ผไู้ ดร้ บั ใหค้ า� แนะนา� สรา้ งความตระหนกั วิเคราะห์ความเส่ียงและ เวบไซตก์ องโรคไมต่ ดิ ตอ่ ก า ร ป ฏิ บั ติ พิษภัยจากสารเคมียาฆ่าแมลง แก่คนในชุมชน และสร้าง นา� มาใชใ้ นการใหค้ า� แนะนา� กลุ่มงานป้องกันการบาดเจ็บจาก รายบุคคล อสม. นักวิทยาศาสตร์ มาตรการความปลอดภยั ในระดบั สร้างความตระหนักแก่ การจราจร www.thaincd.com ๒. อสม. มีความรู้และทักษะ ชุมชนได้ คนในชุมชน และสร้าง http://www.thaincd.com/๒๐๑๖/ ในการปฐมพยาบาล ช่วยเหลือ ๓. อสม. เรยี นรกู้ ารปฐมพยาบาล มาตรการในระดบั ชมุ ชน mission๕ ผู้บาดเจ็บเบื้องต้นได้อย่าง และการชว่ ยเหลอื ผบู้ าดเจบ็ เบอื้ ง ๓. บรรยายการช่วยเหลือ - พษิ จากสารเคมียาฆ่าแมลง เหมาะสม ตน้ จากการจราจรรวมถงึ วธิ กี าร ผู้บาดเจ็บเบ้ืองต้นและ https://www.youtube.com/ สง่ ตอ่ และหมายเลขดว่ น ๑๖๖๙ สาธติ วธิ กี ารปฐมพยาบาล watch?v=pBy๘mCHNVTU และการชว่ ยเหลอื ผไู้ ดร้ บั พษิ จาก ๔. บทบาทของ อสม. นัก - การปฐมพยาบาลเบอ้ื งต้น สารเคมียาฆ่าแมลง อสม. นัก วทิ ยาศาสตร์ การปฐมพยาบาลเบอ้ื งตน้ เมอื่ ไดร้ บั วทิ ยาศาสตร์ สารเคมี (กิน สมั ผัส สูดดม)

วตั ถปุ ระสงค์ เนื้อหำ/แนวคดิ รวบยอด แนวทำงกำรจดั สอื่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กิจกรรมเรียนรู้ ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]35 https://www.youtube.com/ watch?v=ks๐I๕N๐-qnI&list=PLd- VIBNdVm๓_SHD๒Lsh๖leVyhFr- Jf๓๓oMY&index=๖&t=๐s - วิธีปฐมพยาบาลเมื่อมีบาดแผลและ การห้ามเลือด https://www.youtube.com/ watch?v=๓GH๖๗๒gH-sA& list=PLdVIBNdVm๓_SHD๒ Lsh๖leVyhFrJf๓๓oMY& index=๗&t=๐s - วิธีการท�า CPR ปฏิบัติการ ฟื้นคืนชพี https://www.youtube.com /watch?v=omENUtbbEJA&list= PLdVIBNdVm๓_SHD๒Lsh๖leVyh FrJf๓๓oMY&index=๒๖&t=๐s - อสม. นักวิทยาศาสตร์ https://www.youtube.com/watch ?v=fXjk๕๔unfnw

[ 36 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๔ วชิ าภมู ิปัญญาไทย สมุนไพร และการใชก้ ัญชาทางการแพทย์ วตั ถปุ ระสงค์ เนือ้ หำ/แนวคดิ รอบยอด แนวทำงกำรจัด ส่ือ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน กิจกรรมเรียนรู้ ๑. เพ่ือให้ อสม. หมอประจ�า ๑. ความส�าคัญของคุณค่าภูมิปัญญา ๑. จดั ฐานการเรยี นรแู้ บง่ กลมุ่ ๑. ใบความรู้ ๔ ๓ ช่วั โมง ๑. แ บ บ ท ด ส อ บ บ้านมีความรู้ ความเขา้ ใจ การ ทางการแพทย์แผนไทย ผู้เรียนกลุ่ม ๑๐ คน ระดม ๒. ใบงาน ๔ กอ่ น-หลงั การอบรม ใชภ้ มู ปิ ญั ญาไทย สมนุ ไพร เพอื่ ๒. ข้อบ่งใช้ของยาสามัญประจ�าบ้าน สมองโดยใหเ้ รยี นรตู้ ามใบงาน ๓. แอปพลิเคชัน สมุน ๒. ความถูกต้อง การดแู ลสขุ ภาพแบบพง่ึ ตนเอง แผนโบราณ ยาสมนุ ไพร และสมุนไพร ๒. น�าเสนอ และสรุปผลการ ไพรเฟริ ์ส การตอบใบงาน ๒. เพ่ือให้ อสม. หมอประจ�า ในงานสาธารณสขุ มลู ฐานทใี่ ชบ้ อ่ ย หลกั ประชมุ กลุ่ม https://play.google. ๓. การสงั เกต บ้านมีความรู้ ความเข้าใจ ข้อ การใช้ยาสมุนไพรอย่างปลอดภัย com/store/apps/ เท็จจริงเก่ียวกับกัญชาในการ แนวทางการเฝา้ ระวงั ความปลอดภยั จาก details?id=th. รกั ษาทางการแพทย์ การใชย้ า การใชย้ าสมนุ ไพร เพอื่ การดแู ลสขุ ภาพ go.moph.dtam.su- อย่างสมเหตุสมผล (RDU) แบบพง่ึ ตนเอง munpraifirst&hl=th การบริจาคอวยั วะ ๓. ขอ้ บง่ ใช้ หลกั การใชย้ าสมนุ ไพรอยา่ ง ๔.เอกสารสมุนไพรใน ๓. ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก ปลอดภัย แนวทางการเฝ้าระวังความ งานสาธารณสขุ มลู ฐาน ธรรมานามยั ซงึ่ ประกอบไปดว้ ย ปลอดภัย ของต�ารับยาแผนไทยท่ีมี เพม่ิ เติมไดต้ ามลง้ิ คน์ ี้ กายานามัย คือการส่งเสริม กัญชาปรุงผสมอยู่เพื่อรักษาโรคตาม http://www๑.si. สุขภาพทางกาย จิตตานามัย ประกาศกระทรวงสาธารณสุข mahidol.ac.th/km/ คอื การสง่ เสรมิ สขุ ภาพทางจติ ใจ sites/default/files/ ๘๒_๑.pdf ชีวิตานามัย คือการส่งเสริม ๕. ล้ิงค์ความรู้บริการ คุณภาพชวี ติ และครอบครัว ประชาชนจากกรมการ แพทยแ์ ผนไทยและการ แพทย์ทางเลอื ก

วตั ถปุ ระสงค์ เน้อื หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั สอ่ื อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมนิ ๔. ส่งเสริมสุขภาพด้วยหลักธรรมา กจิ กรรมเรยี นรู้ https://www.dtam. นามยั ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย moph.go.th/index. ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]37 - กายานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพ php?option=com_ content&view=arti ทางกาย cle&id=๑๘๘๕&Ite - จิตตานามัย คือการส่งเสริมสุขภาพ mid=๔๒๘&lang=th ๓. Clip Video ทางจิตใจ ๖. Clip Video เร่ือง - ชีวิตานามัย คือการส่งเสริมคุณภาพ การปฏิบัติตนในการ สง่ เสริมสขุ ภาพ ชวี ติ และครอบครวั - เร่อื ง ทา่ ฤาษดี ัดตน ๕. ความรคู้ วามเขา้ ใจขอ้ เทจ็ จรงิ การใช้ บรหิ ารรา่ งกายhttps:// กัญชาทางการแพทย์ การใช้ยาอย่าง www.youtube.com/ สมเหตสุ มผล (RDU) การบรจิ าคอวยั วะ watch?v=nQCwNHn M๐Xk&feature=you- tu.be ๗. ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ กัญชาทางการแพทย์ โดยแพทยสภา ๘. ค�าแนะน�าการใช้ กัญชาทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

[ 38 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น ๓.๕ วชิ าเทคโนโลยีการส่ือสารทางการแพทย์ โทรเวชกรรม (Telemedicine) และแอปพลิเคชนั่ ด้าน สุขภาพ วตั ถปุ ระสงค์ เนือ้ หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจดั สอื่ อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมิน กจิ กรรมเรยี นรู้ เมอ่ื ผา่ นการอบรมแลว้ อสม. หมอ ๑. ความสา� คญั ประโยชน์ และ ๑. จัดฐานการเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ ๕ ๓ ช่วั โมง ๑. อสม. ตอ้ งลงทะเบยี นในโปรแกรม ประจา� บา้ น มคี วามรู้ ความฉลาด วธิ กี ารใชเ้ ทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร แบ่งกลุ่มผู้เรียนกลุ่ม ๒. Clip Video ซปุ เปอร์ อสม. หมอประจา� บา้ น ๔.๐ รอบรู้ และสามารถใชเ้ ทคโนโลยี ทางการแพทย์ โทรเวชกรรม ๑๐ คน ระดมสมองโดย เรื่อง วิธีการใช้ โดยใสข่ อ้ มลู สว่ นตวั ไดค้ รบถว้ น และ การส่ือสารทางการแพทย์ โทร (Telemedicine) ให้เรยี นรู้ตามใบงาน เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ร ขอ้ มลู ทกุ หลงั คาเรอื น/ประชาชนที่ เวชกรรม (Telemedicine) และ - การใชเ้ ครอ่ื งมอื สอ่ื สารตรวจ ๒. การสอน แสดงและ สอ่ื สารทางการแพทย์ รบั ผดิ ชอบและหมอครอบครวั ทด่ี แู ล แอปพลิเคช่ันด้านสุขภาพเพ่ือ ประเมนิ ผลสขุ ภาพ (Teleme- ฝกึ ปฏบิ ตั ิ โทรเวชกรรม (Tele- ๒. อสม. ตอ้ งมที กั ษะในการคดั กรอง/ การคัดกรอง การติดตามการส่ง dicine) และแอปพลิเคช่ัน ๓. นา� เสนอ และสรปุ ผล medicine) และ การสอบสวนโรค และลงทะเบียน ตอ่ ผู้ปว่ ย การคดั กรอง การบนั ทกึ ข้อมลู การเรียนรูร้ ่วมกนั แอปพลิเคช่ันด้าน ในโปรแกรม ซุปเปอร์ อสม. หมอ การรายงาน และส่งต่อผู้ป่วย สุขภาพ ดูท่ี www. ประจ�าบ้าน ๔.๐ แ ล ะ น� า ข ้ อ มู ล สุ ข ภ า พ ม า อสม. com และการสง่ แบบ อสม. ๑ ไดถ้ กู ตอ้ ง วางแผนแก้ไขปัญหาสขุ ภาพ ๓. มีทักษะในการค้นหากลุ่ม - ระบบให้ค�าปรึกษาด้าน เป้าหมายที่ต้องคัดกรอง/สอบสวน สุขภาพทางไกลผ่าน Smart โรคอยา่ งงา่ ย จากโปรแกรม ซปุ เปอร์ phone อสม. หมอประจ�าบ้าน ๔.๐ และ ๒. ก า ร รู ้ เ ท ่ า ทั น สื่ อ แ ล ะ ลงขอ้ มลู ไดถ้ กู ตอ้ งครบถว้ น ทนั เวลา สารสนเทศ และการตัดสินใจ ๔. มที กั ษะการประสานงานในกรณี เลือกปฏิบัติให้ถูกต้อง รวมทั้ง ทั่วไป/กรณีฉุกเฉิน กับเครือข่าย กฎหมายที่เกี่ยวข้อง ได้อย่างรวดเรว็

วตั ถปุ ระสงค์ เนื้อหำ/แนวคดิ รอบยอด แนวทำงกำรจัด ส่อื อปุ กรณ์ เวลำ กำรประเมนิ กจิ กรรมเรยี นรู้ ๕. มที กั ษะในการใชโ้ ปรแกรม tele- health เพ่ือปรึกษากับ ทีมหมอ ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]39 ๓. ความสามารถในการใชแ้ อฟ ๓. A p p l i c a t i o n ครอบครัวท่ีดูแล ค้นหากลุ่มเป้า พลิเคช่ันด้านการป้องกัน SMART อสม. หมายจากโปรแกรม อสม ควบคุม ค้นหาผู้ป่วยไข้เลือด ๔. ระบบการคน้ หาและ ๖. สามารถใหค้ า� ปรกึ ษาผปู้ ว่ ยอยา่ ง ออก/วณั โรค/ไขฉ้ ห่ี น/ู มะเรง็ ทอ่ DOT Online ผ่านเว็บ งา่ ยโดยใชโ้ ปรแกรม ซปุ เปอร์ อสม. นา้� ด/ี มาลาเรยี /อาหารเปน็ พษิ / ไซด์หรอื Application หมอประจา� บา้ น ๔.๐ และวเิ คราะห์ พิษสุนัขบ้า และการก�ากับ บน Smart phone อาการเบือ้ งตน้ ของผู้ป่วยได้ ตดิ ตามการรบั ประทานยารกั ษา ๗. สามารถเรียกรายงานภาพรวม วณั โรค (DOT) ผา่ นระบบ on- ผลงาน ผา่ นทางโปรแกรม ซปุ เปอร์ line เวบ็ ไซด์ หรอื Application อสม. หมอประจา� บ้าน ๔.๐ บน Smart phone ๔ ความสามารถในการใชแ้ อฟ พลเิ คชน่ั ดา้ นการคดั กรองทวั่ ไป ในทกุ กลมุ่ วยั เชน่ วยั เดก็ /หญงิ ตั้งครรภ์/หญิงหลังคลอด/คัด กรองทวั่ ไป ทอ่ี ายมุ ากกวา่ ๑๕ ปขี นึ้ ไป/สงู อายุ

[ 40 ] ค่มู ือสำ� หรบั เจำ้ หนำ้ ที่ เพ่อื กำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น แผนการเรยี นรหู้ ลักสูตร อสม. หมอประจา� บ้าน ๓.๖ วชิ าผู้น�าการสรา้ งสุขภาพแบบมสี ่วนรว่ ม วตั ถปุ ระสงค์ เนือ้ หำ/แนวคิดรอบยอด แนวทำงกำรจัด สื่อ อุปกรณ์ เวลำ กำรประเมิน กิจกรรมเรียนรู้ เม่ือผ่านการฝึกอบรมแล้ว อสม. หมอ ๑. ความสา� คญั แนวคดิ ทฤษฎกี ารเปน็ ๑. บรรยายความส�าคัญ ๑. ใบความรู้ ๖ ๓ ชั่วโมง ๑. แบบทดสอบกอ่ น- ประจา� บา้ น สามารถ เปน็ ผนู้ า� และใชภ้ าวะ ผู้น�า ภาวะผู้น�า การสร้างการมีส่วน แนวคดิ ทฤษฎกี ารเปน็ ผนู้ า� ๒. ฉากอุปกรณ์ หลังการอบรม ผู้น�าในการสร้างทีมเครือข่าย ทีม อสม. รว่ ม ภาวะผนู้ า� การบรหิ ารแบบ ประกอบการน�า ๒. ก า ร สั ง เ ก ต อสค. เพ่ือการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ติด ๒. บทบาทของพ่ีเล้ียงในการจัดการ มีสว่ นร่วม เสนอ เชน่ เสอ้ื ผา้ พฤติกรรม บทบาท เตยี ง ผทู้ มี่ ภี าวะพง่ึ พงิ กลมุ่ ผปู้ ว่ ยโรคเรอ้ื รงั สุขภาพ การส่งต่อ วิธีการถ่ายทอด ๒. แบ่งกลุ่มตามบทบาท เครื่องแต่งกาย ทีไ่ ด้รับมอบหมาย ความรู้ที่มปี ระสิทธิภาพ สมมุติทีไ่ ด้รบั มอบหมาย เวที ๓ น�าเสนอบทบาทสมมุติ ตามท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ๔. สรุปผลการน�าเสนอ

ตารางการฝึกอบรมหลักสูตร อสม. หมอประจา� บา้ น วันที.่ ................................เดือน.................................พ.ศ............................. ณ............................................ตา� บล.............................................อ�าเภอ.................................................... จังหวดั ……………………………………………………… ค่มู อื ส�ำหรบั เจำ้ หนำ้ ท่ี เพื่อกำรยกระดบั อสม. เปน็ อสม. หมอประจำ� บำ้ น [ ]41 วันที่ เวลำ ๐๘.๐๐-๐๙.๐๐ น. เวลำ ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. เวลำ ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. เวลำ ๑๖.๐๐-๑๖.๓๐ น. วิชาการเฝา้ ระวงั ป้องกนั สรปุ บทเรยี นวนั ที่ ๑ ๑ พิธีเปิดการฝึกอบรม วชิ าอาสาสมัครประจ�าครอบครวั เวลำ ๑๒.๐๐-๑๓.๐๐ น. ควบคมุ ไม่ใหเ้ กิดโรคในพนื้ ที่ (อสค.) และบทบาท อสม. ัพก ัรบประทำนอำหำรกลำง ัวน หมอประจา� บา้ น ๒ กจิ กรรมสมั พนั ธ์ วิชาการสง่ เสรมิ สุขภาพ และ วิชาภมู ปิ ญั ญาไทย สมนุ ไพร สรปุ บทเรียนวนั ท่ี ๒ แก้ไขปญั หาสุขภาพที่ส�าคญั และการใช้กัญชาทางการแพทย์ พธิ ีปิด ๓ กิจกรรมสัมพนั ธ์ วิชาเทคโนโลยกี ารส่ือสาร วชิ าผู้นา� การสร้างสขุ ภาพ มอบใบประกาศนยี บตั ร ทางการแพทย์ โทรเวชกรรม แบบมสี ว่ นร่วม (Telemedicine) และ แอปพลเิ คชั่นดา้ นสุขภาพ