Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือไข้เลือดออก (สำหรับประชาชน)

คู่มือไข้เลือดออก (สำหรับประชาชน)

Published by nurse4thai, 2021-01-26 18:53:41

Description: คู่มือไข้เลือดออก (สำหรับประชาชน)
#คู่มือไข้เลือดออก(สำหรับประชาชน)

Keywords: คู่มือไข้เลือดออก (สำหรับประชาชน),คู่มือไข้เลือดออก(สำหรับประชาชน)

Search

Read the Text Version

โรคไขเ้ ลอื ดออก สำ�หรับประชาชน และเครือข่ายภาคประชาสังคม สำ�นักโรคตดิ ตอ่ น�ำ โดยแมลง กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสขุ

โรคไข้เลอื ดออกสำ�หรบั ประชาชน และเครือขา่ ยภาคประชาสงั คม ท่ปี รึกษา นายแพทยโ์ สภณ เมฆธน อธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทยโ์ อภาส การย์กวินพงศ์ รองอธบิ ดกี รมควบคมุ โรค นายแพทย์นิพนธ์ ชินานนทเ์ วช ผู้อำ�นวยการสำ�นกั โรคติดตอ่ นำ�โดยแมลง คณะบรรณาธกิ าร นายแพทย์อนุตรศกั ด์ิ รัชตะทตั ดร.ปติ ิ มงคลางกรู นายอนนั ต์ พระจนั ทรศ์ รี จัดพิมพ์และเผยแพรโ่ ดย ส�ำ นักโรคตดิ ตอ่ นำ�โดยแมลง กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข พิมพ์ครงั้ ท่ี 2 สิงหาคม 2558 จ�ำ นวน 7,500 เล่ม พมิ พท์ ี่ โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณก์ ารเกษตร แหง่ ประเทศไทย จ�ำ กดั 2

คำ�นำ� โรคไข้เลือดออก ยังคงเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง แมว้ า่ การควบคมุ โรคจะไดด้ �ำ เนนิ การมากวา่ 50 ปแี ลว้ กต็ าม จากการศึกษาวิเคราะหส์ ถานการณข์ องโรค ทำ�ใหท้ ราบวา่ สงิ่ จำ�เปน็ และ มคี วามส�ำ คัญท่สี ุดในการปอ้ งกนั และควบคมุ โรค คอื ความตระหนกั และ ร่วมมือกันของประชาชนทุกครัวเรือนในชุมชนโดยมีอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) เปน็ แกนน�ำ ในการท�ำ กจิ กรรมปอ้ งกนั โรคไขเ้ ลอื ดออก โดยการรณรงค์ ให้ประชาชนร่วมกันกำ�จัดและทำ�ลายแหล่งเพาะพันธ์ุลูกนำ้�ยุงลาย ทกุ สปั ดาห์ ยงุ ลายชอบทจ่ี ะวางไขใ่ นภาชนะทม่ี นษุ ยส์ รา้ งขน้ึ เองเปน็ สว่ นใหญ่ และภาชนะเหล่าน้ันก็มักอยใู่ นบริเวณบ้าน เชน่ โอง่ ถงั นำ�้ แจกนั ถ้วย ไห ยางรถยนตเ์ ก่า จงึ ควรเปน็ หน้าทข่ี องประชาชนเองทีจ่ ะเป็นหลักในการ ก�ำ จัดยุงลายในบ้านของตน มี อสม. เป็นพเ่ี ลี้ยงในการให้การแนะน�ำ วิธี กำ�จัดลูกน้ำ�ยุงลาย แต่หากพลาดพลั้งถูกยุงลายที่มีเชื้อไวรัสเดงกี่กัด จนเป็นไข้เลือดออกก็ต้องรู้ถึงวิธีสังเกตอาการของโรค รวมทั้งการดูแล ผปู้ ่วยในเบ้ืองตน้ การจัดทำ�หนังสือโรคไข้เลือดออกสำ�หรับประชาชนทั่วไปและ อาสาสมัครสาธารณสุขเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ใหแ้ กผ่ เู้ ก่ยี วขอ้ งน�ำ ไปศึกษา หาความรู้เรื่องโรคไข้เลือดออก และวิธีป้องกันควบคุมโรคอย่างง่ายๆ ด้วยตนเองและครอบครวั และขยายไปสชู่ ุมชนที่เขม้ แขง็ ในการป้องกนั โรค ทยี่ ง่ั ยืน ส่งเสรมิ ใหป้ ระชาชนชาวไทยปลอดภยั จากโรคไขเ้ ลือดออก สำ�นกั โรคตดิ ต่อน�ำ โดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ 3



โรคไข้เลอื ดออก โรคไข้เลอื ดออกเป็นโรคท่เี กดิ จากการตดิ เชือ้ ไวรัสเดงก่ี โดยมียุงลาย เป็นตัวนำ�โรคในแต่ละปีมีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจากทุกภาค ของประเทศไทยเปน็ จำ�นวนมาก โรคนี้เกิดได้ตลอดทง้ั ปี แตม่ กั พบผูป้ ่วย มากขึ้นในช่วงท่ีมีฝนตกชุกแม้ว่าผู้ป่วยส่วนใหญ่จะเป็นเด็กช่วงอายุ 5 - 24 ปี ตั้งแต่เด็กเล็ก ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุก็สามารถป่วยเป็น โรคไขเ้ ลอื ดออกได้ กลมุ่ ผู้ป่วยทพี่ บมากใน ประเทศไทย ชว่ งอายุ 5 – 24 ปี 5

ยุงลายนำ�โรคไข้เลือดออก ยุงลายท่ีเป็นตัวการนำ�โรคไข้เลือดออกนั้นเป็นยุงที่ออกหากิน ในเวลากลางวัน เรม่ิ ตัง้ แต่ชว่ งสายจนถึงเย็น แต่บางครั้งกอ็ าจพบยุงลาย ออกกดั ดูดเลอื ดคนในเวลาพลบค่ำ�ดว้ ย ยุงลายมสี ดี ำ�สลบั ขาวท้งั ท่ี ส่วนหัว ตวั และขา ชอบวางไขต่ ามภาชนะขังนำ�้ ตา่ งๆ ท่อี ยูใ่ นบา้ นเรือนและบรเิ วณ รอบๆ บ้าน หลังจากวางไขแ่ ลว้ ประมาณ 2 วนั ยุงลายจะฟักตัวออกเป็น ตัวอ่อนทเ่ี รยี กกนั วา่ “ลกู น้ำ�” ลกู นำ้�ยุงลาย เคล่ือนไหวรวดเรว็ ว่ายน้ำ� คล้ายงูเลื้อย กินสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อยู่ในน้ำ� ตะไคร่น้ำ�ตลอดจน เศษอาหารตา่ งๆ ท่ีหลน่ ลงไปในน�ำ้ นนั้ ระยะท่เี ปน็ ลกู น�ำ้ กินเวลาประมาณ 6 – 8 วนั แล้วลกู น้ำ�ยุงลายกจ็ ะลอกคราบกลายเป็นตัวกลางวยั ท่เี รียกวา่ “ตวั โมง่ ” ซ่ึงเปน็ ระยะทไ่ี ม่กินอาหาร และมีการเคลื่อนไหวชา้ ลง ประมาณ 1 – 2 วัน ตัวโมง่ จะลอกคราบกลายเปน็ ตวั ยงุ ลาย ยงุ ลายตวั เมียนนั้ จะ ผสมพันธ์ุเพียงคร้งั เดียวและสามารถวางไขไ่ ด้ตลอดชวี ิต ส่วนอาหารของ ยงุ ลายคอื น้�ำ หวานจากดอกไม้หรือผลไม้ แตเ่ ฉพาะยุงตัวเมียเท่านนั้ ทีก่ ิน เลอื ด เพอ่ื น�ำ โปรตนี ในเลอื ดไปพฒั นาไขใ่ นทอ้ ง หลงั จากกนิ เลอื ด 2 – 3 วนั ยุงลายตวั เมียกจ็ ะหาทว่ี างไข่ 6

ระยะเวลาจากไข่ ไปเป็นยงุ ลาย ใช้เวลา 7 – 10 วัน ยงุ ลาย เพศเมยี อายุขยั 1 – 2 เดอื น เพศผ้ ู อายขุ ัย 7 – 10 วัน ยงุ ลายไข่ครง้ั ละ 50 – 150 ฟอง 4 – 5 คร้ัง ยุงลาย 1 ตวั จะผลิตยุงรุ่นลูกได้ราว 500 ตัว ยุงลายตัวโตเตม็ วยั ดกั แด้ หรือ ตัวโม่ง ลกู นำ้�ยุงลาย ไข่ยุงลาย 7

โรคไข้เลือดออกเกดิ ไดอ้ ย่างไร ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในระยะท่ีมีไข้สูงจะเป็นระยะท่ีมีเช้ือไวรัสเดงกี่ อยใู่ นกระแสเลอื ด เมอ่ื ยงุ ลายมากัดผ้ปู ่วยก็จะได้รับเชอ้ื ไวรสั เข้าไปในตัวยุง หลังจากนั้นประมาณ 8 – 12 วัน เชื้อไวรัสจะเพิ่มจำ�นวนมากขึ้น แล้วไปรวมตัวกันอยู่ที่ต่อมน้ำ�ลายของยุง เมื่อยุงลายตัวนั้นไปกัดคน คร้ังตอ่ ไป กจ็ ะถา่ ยทอดเช้ือไวรสั เดงก่ีเข้าสคู่ นผ้นู น้ั แล้วเชอ้ื ไวรัสจะใช้เวลา ฟักตัวในร่างกายคนประมาณ 5 - 8 วัน จึงจะเริ่มแสดงอาการของ โรคไข้เลอื ดออก คนไข้ขณะมีไขส้ งู 8

การแพรเ่ ชอ้ื เดงกี่ไวรสั ระยะฟักตวั ในยุง 8 – 10 วัน ยงุ มีเช้อื ตลอด 1 – 2 เดอื น ยุงกัดเด็ก ระยะฟักตัวในคน 5 – 8 วัน 9

1 - 2 วัน ยงุ ลายตวั เมยี มอี าย ตัวโมง่ ยุงลายไข่คร้งั ละ 5 ยงุ ลาย 1 ตัว จ 10 ได้ราว 5 ระยะเวลาจาก ใช้เวลา 7 - 4 - 5 วัน

อายุ 45 – 60 วัน 2 - 3 วัน ไข่ยุง ะ 50 – 150 ฟอง 11 ว จะผลติ ยุงร่นุ ลกู 500 ตัว จากไข่เป็นยุง 7 - 10 วัน ลูกน้ำ�ยงุ ลาย 5 วัน

อาการของโรคไข้เลือดออก 1 . ไข้สูงอย่างกระทันหนั ประมาณ 2 – 7 วัน อาการคลา้ ยไขห้ วดั ใหญ่ แตม่ กั ไมม่ ีน้ำ�มูก ไม่ไอ หน้าแดง 2 . มีอาการจุดเลอื ดออก ใตผ้ วิ หนังตามแขนขา ขอ้ พับ ประมาณ วันที่ 2 - 3 12

โรคไขเ้ ลอื ดออกมีอาการสำ�คัญ 4 ประการ เรียงตามลำ�ดบั การเกิดอาการกอ่ น – หลัง ดงั นี้ 3. ตับโต กดเจ็บบริเวณชายโครง ดา้ นขวา 4. ภาวะช็อกเลอื ดออกใน อวยั วะภายใน การไหลเวียน ของเลอื ดล้มเหลว 13

สัญญาณอันตราย หากเด็กท่ปี ่วยเป็นโรคไข้เลือดออก มีอาการดังตอ่ ไปนี้ ใน ช่วงไขล้ ดหลังจากป่วยมาระยะหน่งึ ต้องรีบพาไปพบแพทย์ โดยดว่ น 1. มีอาการซมึ อ่อนเพลียมาก 2. กระสับกระสา่ ย มอื เท้าเย็น 3. ชีพจรเต้นเบา เรว็ 4. ปวดท้องกะทันหัน 5. กระหายน้ำ� ปสั สาวะนอ้ ยลง 6. มเี ลอื ดกำ�เดาไหล อาเจยี นเป็นเลือด อจุ จาระเปน็ สดี ำ� ต้องรีบนำ�ส่งโรงพยาบาลที่ใกล้ที่สุด หากผู้ป่วยไข้เลือดออกอยู่ใน การดแู ลรกั ษาของแพทยไ์ ดเ้ รว็ ทนั ทว่ งที โอกาสเสยี ชวี ติ จากโรคจะมนี อ้ ยมาก 14

การรักษาโรคไขเ้ ลอื ดออก ขณะนี้ยังไม่มียาเฉพาะที่สามารถต้านเชื้อไวรัสเดงกี่ การรักษา ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจึงเป็นการรักษาตามอาการและประคับประคองให้ ผู้ป่วยผ่านระยะไข้ลดซึ่งเป็นระยะวิกฤตของโรคไปได้อย่างปลอดภัย โดยท่ัวไปสามารถให้การรักษาแบบผู้ป่วยนอกโดยเฉพาะในระยะแรก ทยี่ ังมีไข้ และสามารถดแู ลผูป้ ว่ ยทบ่ี า้ นไดด้ งั นี้ 1. ดื่มนำ้�ผลไม้ น�ำ้ เกลือแร่บ่อย ๆ 2. เชด็ ตวั ชว่ ยลดไข้เปน็ ระยะๆ 3. ให้อาหารอ่อน งดอาหารทมี่ สี ีคลา้ ยเลือด 4. กนิ ยาตามแพทยส์ ง่ั เทา่ นน้ั หา้ มกนิ ยาแอสไพรนิ หรอื ไอบรโู ปรเฟน 5. เฝ้าระวังอาการอย่างใกล้ชิดในช่วงไข้ลดประมาณวันที่ 3 - 4 หากผปู้ ว่ ยฟน้ื ไข้สดช่ืนข้นึ แสดงวา่ จะหายเป็นปกติ แตถ่ า้ เขา้ ส่ภู าวะช็อก ให้รบี นำ�กลบั ไปหาแพทยใ์ หเ้ ร็วทส่ี ดุ 15



การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ประชาชนสามารถป้องกันตนเองและบุตรหลานมิให้ป่วยเป็น โรคไข้เลือดออกได้โดยช่วยกันกำ�จัดแหล่งเพาะพันธุ์ของยุงลายที่อยู่ใน บา้ นและบริเวณรอบๆ บ้าน แหล่งเพาะพนั ธุ์ของยงุ ลาย ได้แก่ ภาชนะ ขังน้ำ�ต่างๆ ซึ่งมีอยู่มากมายในบ้าน และบริเวณโดยรอบบ้าน เช่น 17



การควบคมุ และกำ�จดั แหลง่ เพาะพนั ธุ์ของยงุ ลาย ทำ�ไดด้ งั นี้ ปิดฝาภาชนะเกบ็ นำ�้ ให้มิดชดิ เสมอ สำ�หรับโอ่งดนิ เผาหรอื โอง่ ซเี มนต์ การปิดด้วยฝาเพียงชั้นเดียวไม่สามารถป้องกันยุงลายลงไปวางไข่ได้ ควรใช้ผา้ มงุ้ หรอื ตาข่ายไนลอ่ นห้มุ ฝาโอ่งอีกชน้ั หน่ึงกอ่ นปดิ คอื ท�ำ เป็น แบบฝาปดิ 2 ชน้ั ภาชนะทปี่ ิดฝาไม่ได้ เชน่ ถงั ซีเมนต์เก็บนำ้�ในหอ้ งน�้ำ 19

อาจใสป่ ลากินลกู น�ำ้ จ�ำ พวกปลาหางนกยูง หรอื ปลาสอด หรอื ปลาหัวตะก่ัว จำ�นวน 2 – 10 ตวั ขน้ึ อยกู่ บั ขนาดของภาชนะน้นั ๆ หากปลาหาย หรอื ตายไปก็ให้ใสป่ ลาเพิม่ หรอื ใส่ทรายก�ำ จดั ลูกน้�ำ ในอัตรา 1 กรมั ต่อนำ�้ 10 ลติ ร จะชว่ ยควบคมุ ไมใ่ หม้ ลี กู น�ำ้ ไดน้ านประมาณ 1 - 3 เดอื น ขน้ึ อยกู่ บั ความถข่ี องการใชน้ �ำ้ ในภาชนะ เมอ่ื เรม่ิ มลี กู น�ำ้ เกดิ ขน้ึ ใหใ้ สท่ รายก�ำ จดั ลกู น�ำ้ ซำ�้ อกี หรอื ใช้ขนั ดักลกู น้�ำ ลอยไว้ในภาชนะเม่อื พบลกู น้ำ�เขา้ มาในขนั ใหเ้ ท ทงิ้ ลงดินไป 20

ลา้ งและเปลยี่ นน�ำ้ ในแจกันดอกไม้ ขวดหรือภาชนะปลูกพลดู า่ ง และ ไม้ประดบั อื่น ๆ ทีต่ อ้ งแชน่ ้ำ�เปน็ ประจ�ำ ทกุ สปั ดาห์ สำ�หรับจานรองขาตู้กันมดมีหลายวิธีให้เลือกใช้ตามความสะดวก เชน่ ใสเ่ กลอื แกง 2 ชอ้ นชา หรอื น�ำ้ สม้ สายชชู นดิ 5% จ�ำ นวน 1 ชอ้ นชาครง่ึ หรือผงซักฟอกครึ่งช้อนชาต่อจานรองขาตู้ 1 ใบ ควรผสมเกลือหรือ ผงซักฟอกกับนำ้�ให้เข้ากันดีก่อนเทใส่จานรองขาตู้นอกจากน้ีอาจใส่ชัน หรอื ขี้เถ้าในจานรองขาตู้แทนการใส่น�้ำ ก็ได้ หรืออาจใช้วิธเี ทน้�ำ เดือดลงใน จานรองขาตทู้ ุกสปั ดาหก์ ็ได้ 21

ดัดแปลงยางรถยนต์เก่าใหเ้ ป็นทปี่ ลกู พืช เป็นถงั ขยะ ทำ�ฐานเสา หรือ สงิ่ อื่นๆ ทเ่ี กบ็ กักนำ้�ไวไ้ ม่ได้ หากจะเก็บเพือ่ ใช้ประโยชนใ์ นภายหนา้ ตอ้ ง ปกคลุมให้มิดชิดอย่าให้มีน้ำ�ขังในจานรองกระถางต้นไม้เทนำ้�ที่ขังท้ิง ทกุ 7 วนั หรอื ใสท่ รายธรรมดาลงไปให้มีความลกึ 3/4 สว่ นของความลึก ของจานรองน้ัน เพ่ือให้ทรายช่วยดูดซบั น้ำ�ไว้ เศษภาชนะและวสั ดทุ ่ไี มใ่ ช้ แล้วใหเ้ ก็บทำ�ลาย อย่าปลอ่ ยทิ้งไวใ้ ห้รองรับนำ�้ ได้ 22

การปอ้ งกันตนเองไม่ใหถ้ กู ยงุ ลายกัดทำ�ได้โดย - นอนในมงุ้ หรือห้องที่มมี ุ้งลวด - จุดยากันยุงหรอื ใชย้ าทากันยุง ซ่ึงมีหลายชนิดให้เลอื กทัง้ ทเ่ี ป็น สารเคมสี งั เคราะห์ และท่สี กัดจากพชื - ไมอ่ ยู่ในบริเวณท่อี ับลม หรือเป็นมมุ มดื มีแสงสวา่ งนอ้ ย - หมน่ั อาบน�ำ้ ช�ำ ระรา่ งกายใหส้ ะอาด ปราศจากกลน่ิ เหงอ่ื ไคล เพราะ ถา้ มีเหงอื่ ไคลจะช่วยดึงดูดยงุ ให้เขา้ กดั มากข้นึ กวา่ ปกติ การกำ�จดั ยุงลาย ทำ�ได้หลายวธิ ี เชน่ - โดยการฉดี ด้วยน้ำ�ผสมผงซกั ฟอก หรอื น�้ำ ยาลา้ งจาน หรือแชมพู หรือสบู่เหลว ผสมในอัตราส่วน 1 ส่วนต่อน้ำ� 4 ส่วน ใส่ใน ขวดสเปรยท์ ใ่ี ชฉ้ ดี ใหถ้ กู ตวั ยงุ บรเิ วณทย่ี งุ ชอบเกาะพกั เชน่ มมุ บา้ น หรือเสื้อผ้าท่แี ขวนไว้ - โดยกับดักไฟฟ้า แสงไฟจะล่อให้ยุงบินมา สู่กับดักแล้วก็จะถูกกระแสไฟฟ้าซ็อตตายไป - โดยใช้อุปกรณ์กำ�จัดยุงแบบใช้ถ่านไฟฉาย รปู ร่างคลา้ ยไม้เทนนสิ เม่ือเปดิ เครอ่ื ง จะมกี ระแสไฟฟ้าไหลผ่านซ่ีลวด เวลาใชต้ อ้ งโบกใหถ้ ูกตวั ยุง ยุงจะ ถูกไฟชอ็ ตตาย - โดยการฉีดด้วยสารเคมกี ำ�จดั ยุง 23

การรับบริการจากสถานบริการสาธารณสุข ประชาชนสามารถติดต่อสถานบริการสาธารณสุขของรัฐท่ีอยู่ใกล้ บ้านตนเอง เพื่อขอรับบริการ คำ�ปรึกษา และ/หรือการรักษา หรือ ขอคำ�แนะน�ำ เก่ียวกบั การปอ้ งกันและควบคุมโรคไขเ้ ลือดออก ไดด้ ังนี้ โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพประจำ�ตำ�บล โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลประจำ�จงั หวัด เพ่อื รบั บริการรักษาเบ้ืองต้น หรอื การรกั ษาในกรณีผู้ปว่ ยมีอาการรนุ แรง สำ�นกั งานปอ้ งกนั ควบคุมโรคท่ี 1 – 12 ศูนยห์ รอื หน่วยควบคมุ โรคติดต่อนำ�โดยแมลง ท่ีอย่ใู กล้บา้ นทา่ น เพอ่ื ขอคำ�แนะนำ�เก่ยี วกับการดแู ลผู้ปว่ ยเบอ้ื งตน้ และ การควบคมุ แหลง่ เพาะพันธย์ุ ุงลาย สำ�นักงานสาธารณสุขอำ�เภอ และจงั หวัด สำ�นักงานเขตบรกิ ารสุขภาพ สำ�นักงานเทศบาล เพ่อื ขอคำ�แนะนำ�เกี่ยวกบั การดูแลผปู้ ว่ ยเบื้องต้น และการควบคมุ แหลง่ เพาะพันธย์ุ งุ ลาย สำ�นกั โรคติดต่อนำ�โดยแมลง กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ ถนนตวิ านนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี โทร. 0-2590-3132 – 33 โทรสาร. 0-2591-8427 www.thaivbd.org facebook.com/สำ�นกั โรคตดิ ต่อนำ�โดยแมลง/thaivbd 24

บทบาทเจ้าหน้าท่ีสาธารณสขุ และ เครอื ข่ายภาคประชาชนทกุ ระดบั 1. เฝ้าระวงั และควบคุมยุงพาหะ 2. พัฒนาบุคลากรด้านการแพทย์ สาธารณสขุ และพัฒนาศกั ยภาพ อสม. ตลอดจนจดั ท�ำ ทะเบยี นผู้เชยี่ วชาญด้านการดูแลรักษาผปู้ ว่ ย โรคไขเ้ ลอื ดออกของอำ�เภอ จังหวัด 3. ประสานและสนบั สนนุ การด�ำ เนนิ งานของ อสม. ในการด�ำ เนนิ การ ตามแนวทางการดำ�เนินงานการจัดกจิ กรรมรณรงค์ เนอ่ื งในวัน อาสาสมคั รสาธารณสขุ แห่งชาติ 4. สอ่ื สารสาธารณะ ถา่ ยทอดความรใู้ หค้ �ำ ชแ้ี นะ สอ่ื สารและสนบั สนนุ การด�ำ เนินงานของ อสม. ในทกุ รปู แบบเพื่อใหก้ ารดำ�เนนิ งาน บรรลผุ ล 5. เป็นแกนนำ�ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานท้ังในสังกัดและ ต่างสงั กัดกระทรวงสาธารณสุข ในการกำ�จัดลูกน้ำ� เพ่อื ลดผ้ปู ว่ ย รวมถงึ การรกั ษา ตามแนวทางของกระทรวงสาธารณสุขอย่าง เครง่ ครดั เพื่อลดการตาย ตลอดจนสง่ เสรมิ การใช้ตะไคร้หอม กันยงุ และการใชผ้ ลติ ภัณฑพ์ ื้นบา้ นก�ำ จดั ลกู น�ำ้ 6. สง่ เสริม สนับสนุน ท้องถ่นิ ชมุ ชนและเครอื ขา่ ยภาคประชาชน จบั ระบบเฝ้าระวังของชุมชนที่มีประสิทธิภาพ และเชือ่ มโยงขอ้ มูล กับ SRRT ตำ�บล อำ�เภอ จงั หวัด อยา่ งเสริมพลงั กนั 25

7. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหช้ มุ ชน ทอ้ งถน่ิ มแี ละใชม้ าตรการทางสงั คม ในการเฝ้าระวงั ควบคุมป้องกันและแก้ไขปัญหาการระบาดของ ไข้เลือดออก ตลอดจนประสาน ส่งเสริมให้องค์กรปกครอง สว่ นท้องถนิ่ จดั ต้ังศูนย์ปฏบิ ัติการป้องกัน แกไ้ ขและพรอ้ มรบั ปญั หาโรคไขเ้ ลอื ดออก ระดบั ทอ้ งถน่ิ รวมถงึ การจดั ระบบประเมนิ ผล แบบมสี ่วนรว่ มของชุมชน 8. สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใชต้ ะไคร้หอม และผลติ ภณั ฑต์ ะไครห้ อม กนั ยงุ รวมถงึ ใชภ้ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ และผลติ ภณั ฑพ์ น้ื บา้ นในการ กำ�จัดลกู น�ำ้ 9. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล และถอดบทเรียน รวมถึงการใช้ ประโยชน์จากข้อมูลการดำ�เนินงานในการเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคไขเ้ ลอื ดออกตอ่ ไป 10. สนับสนุน อสม. หรือดำ�เนินการร่วมกับ อสม. รายงานผล การรณรงค์ปอ้ งกนั ควบคมุ โรคไขเ้ ลอื ดออก 26

บทบาทองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ 1. จดั ตง้ั ศนู ยป์ ฏบิ ตั กิ าร พรอ้ มรบั ปญั หาโรคไขเ้ ลอื ดออกระดบั ทอ้ งถน่ิ พร้อมทั้งการเตรียมทีมเฝ้าระวังและบริหารจัดการแบบ มีสว่ นร่วม จากทุกภาคส่วนของท้องถิ่น เพื่อเตรยี มความพร้อม ของเครอื ข่ายภาคประชาชน 2. สนับสนนุ งบประมาณและทรัพยากร รณรงค์ “รวมพลังเร่งรัด กำ�จดั ลูกนำ้�” 3. ด�ำ เนนิ การตามแนวทางการด�ำ เนนิ งานควบคมุ ปอ้ งกนั และแกไ้ ข ปญั หาการระบาดของโรคไขเ้ ลอื ดออกในชุมชน ตามบทบาทของ องคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถ่ิน ทงั้ ในสว่ นขององค์กรการบรหิ าร ส่วนตำ�บลและเทศบาล 27

บทบาทเครือขา่ ยต่างจงั หวดั กระทรวงสาธารณสุข 1. ด�ำ เนินการกำ�จัดลกู นำ้�ในพืน้ ท่ีรบั ผิดชอบของตนเอง ทง้ั โรงเรือน โรงเรยี น โรงพยาบาล โรงแรม โรงงาน โรงธรรม แหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว สถานทท่ี �ำ งาน ตลาด ศูนยเ์ ดก็ เล็ก ฯลฯ 2. รว่ มดำ�เนนิ การรณรงค์ รวมพลงั เร่งรัดก�ำ จัดลกู นำ้� ตามปฏิทนิ ของกระทรวงสาธารณสุข 3. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้มกี ารใช้ตะไครห้ อมกนั ยุง และผลิตภณั ฑ์ พ้ืนบา้ นกำ�จดั ลูกน�ำ้ 4. จดั ระบบเฝา้ ระวงั ร่วมกบั ชุมชน ทอ้ งถิน่ ในการเฝ้าระวงั ควบคุม ปอ้ งกันโรคไขเ้ ลอื ดออก รวมถึงการปฏิบัติตามมาตรการทางสังคม ของชมุ ชน 28

บทบาทสถานพยาบาลเอกชน 1. พัฒนาบุคลากรการแพทย์ทางด้านการตรวจวินิจฉัยและรักษา ท้ังอายุรแพทย์ กุมารแพทย์ และแพทย์เวชปฏิบัตทิ ั่วไป ของ โรงพยาบาล 2. จัดทำ�ทะเบียนผ้เู ช่ยี วชาญด้านการดูแลรักษาผ้ปู ่วยโรคไข้เลือดออก ของโรงพยาบาล 3. ดำ�เนินการตามมาตรการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัญหา การระบาดของโรคไข้เลือดออก ที่กระทรวงสาธารณสุขกำ�หนด 4. รายงานผู้ป่วยไปยังสำ�นักงานสาธารณสุขจังหวัด/สำ�นักอนามัย กทม. ตาม พรบ. โรคทีต่ ้องแจง้ ความ 29

บทบาทอาสาสมคั รสาธารณสขุ (อสม.) บทบาท อสม. 1. สอบถามทกุ ครัวเรอื น วา่ 1) ในบา้ นมยี งุ กดั หรือเปลา่ 2) ในบ้าน มลี กู น้ำ�ไหม 2. ประเมนิ ความเสย่ี งและพฤตกิ รรมเสย่ี ง คนื ขอ้ มลู ใหช้ มุ ชน รว่ มกนั วเิ คราะหจ์ ดั ท�ำ แผนงานโครงการ และกจิ กรรมในการสรา้ งบทบาท และการมีส่วนร่วมของประชาชน ตลอดจนการปรับเปลี่ยน พฤตกิ รรมของประชาชนในการก�ำ จดั ลกู น�ำ้ ภายใตแ้ นวคดิ “บา้ นใคร บ้านคนนนั้ เราต้องท�ำ เอง” 3. ใหค้ ำ�แนะนำ� ชกั ชวน กระตนุ้ ให้ประชาชนปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั ในการส�ำ รวจลูกนำ�้ และก�ำ จดั ลกู น้�ำ ในบา้ นเรือนตนเอง รวมทั้ง ศนู ยเ์ ดก็ เลก็ โรงเรยี นและ สถานศกึ ษา วัด และศาสนสถาน โรงพยาบาลโรงงานและสถานประกอบการสถานบริการ ตลาด และสถานทท่ี ม่ี คี นอยรู่ วมกนั มากๆ ดว้ ยมาตรการ 5 ป. 1 ข. คอื ปิด เปล่ยี น ปลอ่ ย ปรบั ปรุง ปฏบิ ตั ิและขัดล้างไขย่ ุง ทุกสปั ดาห์ 4. รว่ มกับภาคเี ครือข่ายภาคประชาชนและท้องถน่ิ ชวนประชาชน ด�ำ เนนิ การพร้อมกนั ทกุ หมบู่ ้าน ทุกชมุ ชน ท่ัวประเทศ รวมพลงั เร่งรัดก�ำ จัดลกู น้ำ� 5. ร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคประชาชน ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ ตะไคร้หอม และผลติ ภณั ฑ์ตะไคร้หอมกันยุง รวมถึงใชภ้ ูมิปญั ญา ท้องถ่ิน และผลิตภัณฑพ์ ื้นบ้าน ในการกำ�จดั ลกู น�้ำ 30

6. จัดระบบเฝา้ ระวงั และสื่อสารข้อมูลชมุ ชน ด้วยการประชาสมั พนั ธ์ เขย่าความคิดคน ในชุมชนให้มีส่วนร่วมลงมือทำ�ด้วยตนเอง ในการเฝา้ ระวงั ควบคุมปอ้ งกนั และแก้ไข ปัญหาการระบาดของ โรคไข้เลือดออก รวมท้งั จัดกิจการถา่ ยทอดความรูแ้ กป่ ระชาชน ในเขตพน้ื ที่ สงั เกตอาการผู้ป่วยท่มี อี าการของโรคไขเ้ ลือดออก ในหมูบ่ า้ น และรายงานแกผ่ ู้เกีย่ วข้องตามกำ�หนด และสอน แกนน�ำ สขุ ภาพประจ�ำ ครอบครวั ในการเชด็ ตวั ลดไข้ และการดแู ล เบอ้ื งตน้ ก่อนสง่ ต่อการรกั ษา 7. ด�ำ เนนิ การรว่ มกบั องคก์ รการปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ และศนู ยป์ ฏบิ ตั ิ การป้องกันแก้ไขและพร้อมรับปัญหาโรคไข้เลือดออกระดับท้องถ่นิ และจัดระบบประเมินผลของชุมชน โดยสำ�รวจลูกน้ำ�ในพื้นที่ รับผิดชอบ เพ่ือประเมินเบอ้ื งตน้ ทุกสปั ดาห์ และขบั เคล่อื นชมุ ชน ประชาชน ในการปฏิบัติตนให้ปลอดภัยจากไข้เลือดออกโดยมี การประเมินผลแบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจังเพ่ือให้ครัวเรือน หมู่บ้าน ชุมชน ท้องถิ่น ตำ�บล ปลอดลูกน้ำ� หรือให้ลูกน้ำ� เปน็ ศนู ย์ และปลอดจากไขเ้ ลอื ดออก 8. รายงานผลการรณรงค์ให้ผบู้ ังคบั บัญชาระดับ 1 ขน้ึ ไป 31






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook