95ตารางแสดงการประเมนิ ความเสี่ยงทางสุขภาพจากคณุ ภาพอากาศ 96คูมอื กคามู่ รอื ดกําาเรนดินำ�เงนาินนงอาานชอวีาอชนวี อานมาัยมสัยาํ สหำ�รหบั รบับคุบคุลลากากรรสสขุ ุขภภาาพพจาํ นวนผูท่ีมคี วามเสีย่ ง (เฉลี่ยตอ วัน)โอกาสของการเกดิ อันตราย/โอกาสระดับความเปน อันตราย (B)ระดับความเสี่ยง*(C)=(A)x(B) สงู (6 หรือ 9) สิ่งคุกคามสขุ ภาพ ไมมี มี การรับสมั ผสั (A) ผูปฏบิ ตั งิ าน ผรู บั บริการ เกดิ ได เกดิ ได ปานกลาง รายแรง ปานกลาง (3 หรอื 4) (คน) (คน) (1) (2) (3) ต่าํ (1 หรอื 2) นอ ย (1) มาก (3) คณุ ภาพอากาศ มคี วามรูสกึ แออดั อดึ อดั อากาศรอนหรอื เยน็ เกินไป มกี ลนิ่ ฉุนของสารเคมี ระบบระบายอากาศไมด ี มฝี นุ อับทึบ ชื้น พบเชอื้ ราตามพน้ื ผิว อนื่ ๆ ระบุ ....................................... *ระดับความเสย่ี ง ความเสยี่ งเล็กนอยหรอื ความเส่ยี งที่ยอมรับได (คะแนน 1 หรือ 2) ความเสีย่ งปานกลาง (คะแนน 3 หรอื 4) ความเสยี่ งสูง หรือความเสี่ยงท่ียอมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรอื 9)
ขอ สรปุ จากการประเมินความเส่ยี งทางสขุ ภาพ ผลการจัดระดับความเส่ียง วธิ กี ารปองกัน ควบคุม หรือแกไ ข การจดั ระดับความเส่ียง (A)x(B) สิ่งคกุ คามสุขภาพที่พบ ลาํ ดับความเปน โอกาสของการเกด สูง (6 หรือ 9) ทีม่ ีอยแู ลว ที่ควรเพ่ิมเตมิ ปานกลาง (3 หรอื 4) อนั ตราย (A) อันตราย (B) ตาํ่ (1 หรอื 2) ค่มู ือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บคุ ลากรสุขภาพ 97
แผนการด�ำเนนิ การบรหิ ารจัดการความเสีย่ ง โครงการ................................................................................................... วตั ถุประสงค์ แผนการด�ำเนินงาน พืน้ ทด่ี �ำเนินการ/ผรู้ บั ผดิ ชอบ ระยะเวลาดำ� เนนิ งาน งบประมาณ การประมาณระดบั ความเสยี่ ง ความเสย่ี ง = คะแนน ระดับของความเป็นอันตราย ความเปน็ อันตราย x คะแนนของโอกาสเกดิ อันตราย อันตรายเลก็ นอ้ ย อันตรายปานกลาง อันตรายร้ายแรง (๑) (๒) (๓) โอกาสเกดิ ไดน้ อ้ ย โอกาสของการเ ิกดอันตราย หรอื ไมน่ า่ จะเกิด (๑) ๑๒๒ ความเส่ยี งเล็กนอ้ ย ความเสย่ี งทยี่ อมรบั ได้ ความเส่ียงปานกลาง โอกาสเกิดขึ้น ๒๔ ๖ ได้ปานกลาง (๒) ความเสยี่ งทย่ี อมรบั ได้ ความเส่ียงปานกลาง ความเสย่ี งสูง โอกาสเกิดขน้ึ ๓ ๖ ๙ ไดม้ าก (๓) ความเสี่ยงปานกลาง ความเสย่ี งสงู ความเสย่ี งทย่ี อมรบั ไมไ่ ด้ ตารางขอ้ เสนอแนะในการควบคมุ ความเสยี่ ง โอกาสของการ ขอ้ เสนอแนะในการจดั การความเสย่ี ง เกดิ อันตราย เกดิ ไดน้ อ้ ยหรอื ความเสี่ยงเล็กน้อย ความเสย่ี งอาจยอมรบั ได้หาก ควรมีการจดั การ ไมน่ ่าเกดิ มกี ารเฝา้ คมุ ความเส่ียง ความเสย่ี ง เกดิ ไดบ้ างครงั้ ความเสย่ี งยอมรบั ไดแ้ ต่ควร ควรมีการจดั การ จ�ำเปน็ ตอ้ งมกี ารจดั การความ เกดิ ไดบ้ อ่ ยครง้ั มีการเฝ้าคมุ ความเส่ยี ง ความเสย่ี ง เสย่ี งและทำ� การเฝ้าคุมความ ควรมีการควบคุมความเสยี่ ง จำ� เปน็ ตอ้ งมีการควบคุม เสีย่ ง และเฝา้ คมุ ความเสย่ี ง ความเส่ยี ง จำ� เป็นตอ้ งมีการจดั การความ เลก็ นอ้ ย ปานกลาง ความเปน็ อันตราย เสี่ยงทม่ี ีประสิทธิภาพ ร้ายแรง 98 ค่มู อื การดำ�เนนิ งานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสขุ ภาพ
ภาคผนวกที่ ๒ สรุปกฎหมายและค่ามาตรฐานทเ่ี กี่ยวขอ้ ง คู่มอื การด�ำ เนนิ งานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 99
๒.๑ สรุปกฎหมายที่เกีย่ วข้อง ๒.๑.๑ พระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ (ฉบบั ปรบั ปรงุ เพมิ่ เติมปี ๒๕๖๒) มาตรา ๒๓ ให้นายจ้างประกาศเวลาท�ำงานปกติให้ลูกจ้างทราบ ก�ำหนดเวลาท�ำงานปกติในทุกประเภท งานไม่เกิน ๘ ชั่วโมง/วัน และไม่เกิน ๔๘ ช่ัวโมง/สัปดาห์ (เดิมก�ำหนดตามประเภทงาน) เว้นแต่งานท่ีอาจเป็น อันตรายไม่เกนิ ๗ ชว่ั โมง/วัน และไมเ่ กิน ๔๒ ชั่วโมง/สัปดาห์ มาตรา ๒๘ ให้นายจา้ งจัดให้ลกู จา้ งมวี นั หยดุ ประจำ� สัปดาห์ สัปดาหห์ นง่ึ ไมน่ อ้ ยกว่า ๑ วัน มาตรา ๒๙ ให้นายจ้างประกาศก�ำหนดวันหยุดตามประเพณีให้ลูกจ้างทราบเป็นการล่วงหน้าปีหน่ึง ไมน่ ้อยกว่าสิบสามวนั โดยรวมวนั แรงงานแหง่ ชาติตามท่ีรัฐมนตรปี ระกาศกำ� หนด มาตรา ๓๐ ลูกจ้างซ่ึงท�ำงานติดต่อกันมาแล้วครบหนึ่งปีมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจ�ำปี ได้ปีหน่ึงไม่น้อยกว่า ๖ วันท�ำงานโดยให้นายจ้างเป็นผู้ก�ำหนดวันหยุดดังกล่าวให้แก่ลูกจ้างล่วงหน้า หรือก�ำหนดให้ตามที่นายจ้าง และลกู จ้างตกลงกัน มาตรา ๓๒ ใหล้ กู จ้างมีสทิ ธล์ิ าปว่ ยได้เท่าที่ป่วยจรงิ การลาป่วยตง้ั แต่ ๓ วนั ทำ� งานขนึ้ ไป นายจา้ งอาจให้ ลูกจ้างแสดงใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทางราชการ ในกรณี ท่ีลูกจ้าง ไมอ่ าจแสดง ให้ลูกจา้ งชแ้ี จงใหน้ ายจา้ งทราบ วันที่ลูกจ้างไม่สามารถท�ำงานได้เนื่องจากประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยที่เกิดข้ึนเน่ืองจากการท�ำงาน และวันลาเพ่อื คลอดบุตรตามมาตร ๔๑ มิใหถ้ อื เป็นวันลาป่วยตามมาตราน้ี มาตรา ๓๓ ให้ลกู จา้ งมสี ทิ ธิลาเพอ่ื ทำ� หมนั ได้และมีสทิ ธิลาเน่ืองจากการทำ� หมนั มาตรา ๓๔ ใหล้ กู จ้างมสี ิทธลิ าเพอ่ื กจิ ธรุ ะอันจำ� เป็นได้ปีละไม่นอ้ ยกว่า ๓ วนั ท�ำงาน มาตรา ๓๕ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพ่ือรับราชการทหารในการเรียกพลเพื่อตรวจสอบเพ่ือฝึกวิชาทหารหรือ เพ่อื ทดลองความพรง่ั พร้อมตามกฎหมายว่าดว้ ยการรับราชการทหาร มาตรา ๓๖ ให้ลูกจ้างมีสิทธิลาเพื่อการฝึกอบรมหรือพัฒนาความรู้ ความสามารถตามหลักเกณฑ์ และวธิ ีการท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๗ ห้ามมิให้นายจ้างให้ลูกจ้างท�ำงานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรือเข็นของหนักเกินอัตรา นำ�้ หนักตามทก่ี �ำหนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๘ หา้ มมิให้นายจา้ งใหล้ กู จา้ งซงึ่ เป็นหญงิ ทำ� งานอย่างหนง่ึ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) งานเหมืองแร่หรืองานก่อสร้างท่ีต้องท�ำใต้ดิน ใต้น�้ำ ในถ้�ำ ในอุโมงค์หรือปล่องในภูเขา เว้นแต่ สภาพของการท�ำงานไม่เปน็ อนั ตรายต่อสุขภาพหรอื รา่ งกายของลูกจา้ ง (๒) งานทีต่ อ้ งท�ำบนนงั่ ร้านท่ีสูงกว่าพื้นดนิ ตง้ั แต่สิบเมตรข้นึ ไป (๓) งานผลิตหรือขนส่งวัตถุระเบิดหรือวัตถุไวไฟ เว้นแต่สภาพของการท�ำงานไม่เป็นอันตรายต่อ สุขภาพหรอื รา่ งกายของลกู จ้าง (๔) งานอน่ื ตามทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๓๙ หา้ มมใิ หน้ ายจ้างใหล้ ูกจ้างซึ่งเปน็ หญิงมีครรภ์ ท�ำงานอย่างหนึ่งอยา่ งใด ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) งานเก่ยี วกับเครอ่ื งจกั รหรือเครือ่ งยนตท์ ีม่ คี วามสั่นสะเทอื น (๒) งานขบั เคล่อื นหรอื ติดไปกับยานพาหนะ (๓) งานยก แบก หาม หาบ ทูน ลาก หรอื เขน็ ของหนักเกินสิบหา้ กิโลกรัม (๔) งานทที่ �ำในเรือ (๕) งานอ่นื ตามทีก่ ำ� หนดในกฎกระทรวง มาตรา ๔๑ ให้ลกู จ้างซ่ึงเปน็ หญงิ มคี รรภ์มสี ิทธลิ าเพือ่ คลอดบตุ รครรภห์ นงึ่ ไม่เกนิ ๙๘ วัน วนั ลาเพือ่ คลอด บุตรตามมาตรานี้ให้หมายความรวมถึงวนั ลาเพอื่ ตรวจครรภ์กอ่ นคลอดบตุ รดว้ ย 100 คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ
มาตรา ๕๓ ให้นายจ้างก�ำหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าท�ำงานในวันหยุดและค่าล่วงเวลาในวันหยุดให้แก่ ลูกจ้างท่ีท�ำงานอันมีลักษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มีค่าเท่าเทียมกัน ในอัตราเท่ากันไม่ว่า ลกู จ้างนั้นจะเปน็ ชายหรือหญงิ ๒.๑.๒ พระราชบัญญตั ิ ความปลอดภยั อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ มาตรา ๓ พระราชบญั ญตั นิ ีม้ ใิ หใ้ ช้บงั คบั แก่ (๑) ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมภิ าค และราชการสว่ นทอ้ งถนิ่ (๒) กิจการอื่นทง้ั หมดหรือแตบ่ างสว่ นตามท่กี ำ� หนดในกฎกระทรวง ให้ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น และกิจการอื่นตามที่ก�ำหนดใน กฎกระทรวงตามวรรคหน่ึง จัดให้มีมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานในหน่วยงานของตนไม่ต�่ำกว่ามาตรฐานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงานตามพระราชบัญญัตนิ ี้ มาตรา ๔ ในพระราชบญั ญตั ินี้ “ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน” หมายความว่า การกระท�ำหรือสภาพ การท�ำงานซ่ึงปลอดจากเหตุอันจะท�ำให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพอนามัย อนั เนื่องจากการทำ� งานหรือเก่ียวกบั การทำ� งาน “นายจ้าง” หมายความว่า นายจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความรวมถึง ผู้ประกอบกิจการซึ่งยอมให้บุคคลหน่ึงบุคคลใดมาท�ำงานหรือท�ำผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบ กิจการ ไม่ว่าการท�ำงานหรือการท�ำผลประโยชน์น้ันจะเป็นส่วนหนึ่งส่วนใดหรือทั้งหมดในกระบวนการผลิตหรือ ธุรกจิ ในความรับผิดชอบของผ้ปู ระกอบกจิ การน้นั หรือไม่กต็ าม “ลูกจ้าง” หมายความว่า ลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานและให้หมายความรวมถึงผู้ซึ่ง ได้รับความยินยอมให้ท�ำงานหรือท�ำผลประโยชน์ให้แก่หรือในสถานประกอบกิจการของนายจ้างไม่ว่าจะ เรยี กชอ่ื อยา่ งไรก็ตาม “ผ้บู ริหาร” หมายความว่า ลกู จ้างตั้งแตร่ ะดบั ผ้จู ดั การในหนว่ ยงานขน้ึ ไป “หัวหน้างาน” หมายความว่า ลูกจ้างซ่ึงท�ำหน้าที่ควบคุม ดูแล บังคับบัญชาหรือส่ังให้ลูกจ้างท�ำงานตาม หน้าทขี่ องหน่วยงาน “เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน” หมายความว่า ลูกจ้างซ่ึงนายจ้างแต่งต้ังให้ปฏิบัติหน้าท่ีด้าน ความปลอดภัย อาชวี อนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานตามพระราชบญั ญตั ินี้ หมวด ๑ บททวั่ ไป มาตรา ๖ ให้นายจ้างมีหน้าที่จัดและดูแลสถานประกอบกิจการและลูกจ้างให้มีสภาพการท�ำงานและ สภาพแวดล้อมในการท�ำงานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ รวมท้ังส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของลูกจ้าง มิให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัยให้ลูกจ้างมีหน้าท่ีให้ความร่วมมือกับ นายจ้างในการด�ำเนินการและส่งเสริมด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพื่อให้เกิดความปลอดภยั แกล่ ูกจ้างและสถานประกอบกจิ การ มาตรา ๗ ในกรณีท่ีพระราชบัญญัติน้ีก�ำหนดให้นายจ้างต้องด�ำเนินการอย่างหน่ึงอย่างใดที่ต้องเสีย ค่าใช้จ่าย ใหน้ ายจ้างเป็นผ้อู อกค่าใช้จ่ายเพอ่ื การนัน้ หมวด ๒ การบรหิ าร การจัดการ และการดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ ม ในการท�ำงาน มาตรา ๘ ให้นายจ้างบริหาร จัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ สภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานทก่ี ำ� หนดในกฎกระทรวงการกำ� หนดมาตรฐานตามวรรคหนงึ่ ค่มู ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบุคลากรสขุ ภาพ 101
ให้นายจ้างจัดท�ำเอกสารหรือรายงานใด โดยมีการตรวจสอบหรือรับรองโดยบุคคล หรือนิติบุคคลตามท่ีก�ำหนด ในกฎกระทรวงให้ลูกจ้างมีหน้าที่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม ในการทำ� งานตามมาตรฐานท่ีก�ำหนดในวรรคหนึ่ง มาตรา ๑๓ ให้นายจ้างจดั ให้มเี จา้ หนา้ ท่คี วามปลอดภยั ในการท�ำงาน บคุ ลากร หน่วยงานหรือคณะบคุ คล เพ่ือด�ำเนินการด้านความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเง่ือนไขท่ีก�ำหนด ในกฎกระทรวงเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงานและบุคลากรตามวรรคหนึ่งจะต้องขึ้นทะเบียนต่อ กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานให้น�ำบทบัญญัติมาตรา ๙ วรรคสอง และมาตรา ๑๐ มาใช้บังคับกับการ ขน้ึ ทะเบียนเจ้าหนา้ ทีค่ วามปลอดภัยในการทำ� งาน โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้ผู้บริหาร หัวหน้างาน และลูกจ้างทุกคนได้รับการฝึกอบรมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน เพื่อให้บริหารจัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ในกรณที น่ี ายจา้ งรบั ลกู จา้ งเขา้ ทำ� งาน เปลยี่ นงาน เปลี่ยนสถานท่ีท�ำงาน หรือเปล่ียนแปลงเคร่ืองจักรหรืออุปกรณ์ ซึ่งอาจท�ำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัยให้นายจ้างจัดให้มีการฝึกอบรมลูกจ้างทุกคนก่อนการเร่ิมท�ำงานการฝึกอบรม ตามวรรคหนึง่ และวรรคสอง ใหเ้ ป็นไปตามหลกั เกณฑ์ วธิ กี าร และเงื่อนไขท่ีอธบิ ดีประกาศก�ำหนด มาตรา ๑๗ ให้นายจ้างติดประกาศสัญลักษณ์เตือนอันตรายและเครื่องหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน รวมท้ังข้อความแสดงสิทธิและหน้าที่ของนายจ้างและลูกจ้าง ตามที่อธบิ ดีประกาศกำ� หนดในทท่ี เ่ี หน็ ได้ง่าย ณ สถานประกอบกจิ การ มาตรา ๒๐ ให้ผู้บริหารหรือหัวหน้างานมีหน้าที่สนับสนุนและร่วมมือกับนายจ้างและบุคลากรอ่ืนเพื่อ ปฏิบัติการให้เป็นไปตามมาตรา ๘ มาตรา ๑๖ มาตรา ๑๘ และมาตรา ๒๒ มาตรา ๒๑ ลูกจ้างมีหน้าที่ดูแล สภาพแวดล้อมในการท�ำ งานตามมาตรฐานท่ีก�ำหนดในกฎกระทรวงท่ีออกตามมาตรา ๘ เพ่ือให้เกิดความ ปลอดภัยต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ และสุขภาพอนามัยโดยค�ำนึงถึงสภาพของงานและพ้ืนที่ท่ีรับผิดชอบในกรณีท่ี ลูกจ้างทราบถึงข้อบกพร่องหรือการช�ำรุดเสียหาย และไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยตนเองให้แจ้งต่อเจ้าหน้าที่ความ ปลอดภัยในการท�ำงาน หัวหน้างาน หรือผู้บริหาร และให้เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�ำงาน หัวหน้างาน หรือผู้บริหาร แจ้งเป็นหนังสือต่อนายจ้างโดยไม่ชักช้าในกรณีท่ีหัวหน้างานทราบถึงข้อบกพร่องหรือการช�ำรุด เสียหายซ่ึงอาจท�ำให้ลูกจ้างได้รับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจ หรือสุขภาพอนามัย ต้องด�ำเนินการป้องกัน อันตรายนั้นภายในขอบเขตที่รับผิดชอบหรือท่ีได้รับมอบหมายทันทีที่ทราบ กรณีไม่อาจด�ำเนินการได้ ให้แจ้ง ผบู้ รหิ ารหรอื นายจา้ งดำ� เนนิ การแกไ้ ขโดยไมช่ กั ชา้ มาตรา ๒๒ ให้นายจ้างจัดและดูแลให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลท่ีได้ มาตรฐานตามที่อธิบดีประกาศก�ำหนดลูกจ้างมีหน้าที่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลและดูแล รักษาอุปกรณ์ตามวรรคหนึ่งให้สามารถใช้งานได้ตามสภาพและลักษณะของงานตลอดระยะเวลาท�ำงานในกรณี ท่ีลูกจ้างไม่สวมใส่อุปกรณ์ดังกล่าว ให้นายจ้างส่ังให้ลูกจ้างหยุดการท�ำงานน้ันจนกว่าลูกจ้างจะสวมใส่อุปกรณ์ ดงั กลา่ ว มาตรา ๒๓ ให้ผู้รับเหมาชั้นต้นและผู้รับเหมาช่วงตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานมีหน้าท่ี ด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของลูกจ้างเช่นเดียวกับนายจ้าง ในกรณีท่ีนายจ้างเป็นผู้รับเหมาช่วง และมีผู้รับเหมาช่วงถัดขึ้นไป ให้ผู้รับเหมาช่วงถัดข้ึนไปตลอดสายจนถึง ผู้รับเหมาชั้นต้นท่ีมีลูกจ้างท�ำงานในสถานประกอบกิจการเดียวกัน มีหน้าที่ร่วมกันในการจัดสถานท่ีท�ำงานให้มี สภาพการท�ำงานที่ปลอดภัย และมีสภาพแวดล้อมในการท�ำงานท่ีถูกสุขลักษณะเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยแก่ ลกู จา้ งทุกคน 102 คู่มอื การด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ
๒.๑.๓ กฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานเก่ียวกบั สารเคมีอนั ตราย พ.ศ. ๒๕๕๖ หมวด ๑ ขอ้ มูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย ข้อ ๒ ให้นายจ้างท่ีมีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครองจัดท�ำบัญชีรายช่ือสารเคมีอันตรายและ รายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตรายตามแบบที่อธิบดีประกาศก�ำหนด พร้อมทั้งแจ้งต่ออธิบดี หรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีสารเคมีอันตรายอยู่ในครอบครองภายในเดือนมกราคมของ ทุกปี ให้นายจ้างแจ้งบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย และรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย ตนมีอยู่ในครอบครองตอ่ อธบิ ดี หรือผซู้ ึ่งอธิบดมี อบหมายดว้ ย ข้อ ๓ ให้นายจ้างแจ้งให้ลูกจ้างทราบและอธิบายให้ลูกจ้างเข้าใจข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมี อันตรายที่อยู่ในครอบครองของนายจ้าง ข้อความและเคร่ืองหมายต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสารคู่มือ ฉลาก ป้าย หรือข่าวสารที่เก่ยี วข้อง รวมทงั้ ขอ้ มูลตา่ ง ๆ ตามทไ่ี ด้ก�ำหนดไวใ้ นกฎกระทรวงน้ี ข้อ ๔ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างท่ีท�ำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายทราบและเข้าใจวิธีการในการท�ำงานที่ ถูกต้องและปลอดภัย รวมท้ังต้องจัดให้มีมาตรการควบคุมลูกจ้างให้ปฏิบัติตามวิธีการดังกล่าวในการนี้ให้นายจ้าง จัดท�ำคู่มือเกี่ยวกับแนวปฏิบัติและขั้นตอนในการท�ำงานเก่ียวกับสารเคมีอันตรายค�ำแนะน�ำลูกจ้างเก่ียวกับ การป้องกันอันตราย ความหมายของขอ้ มลู ทีม่ ีบนฉลากและเอกสารข้อมลู ความปลอดภยั ของสารเคมอี ันตราย ขอ้ ๕ ลกู จา้ งตอ้ งปฏบิ ตั ติ ามวธิ กี ารทำ� งานทถี่ กู ตอ้ งและปลอดภยั ตามคมู่ อื การปฏบิ ตั งิ านทนี่ ายจา้ งจดั ทำ� ขนึ้ ตามขอ้ ๔ และเมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เกยี่ วกบั สารเคมอี นั ตราย ลกู จา้ งตอ้ งบรรเทาเหตแุ ละแจง้ ใหห้ วั หนา้ งานทราบทนั ที หมวด ๒ ฉลากและป้าย ข้อ ๖ ให้นายจ้างจัดให้มีการปิดฉลากที่เป็นภาษาไทยมีขนาดใหญ่พอสมควร อ่านง่าย คงทน ไว้ที่หีบห่อ บรรจภุ ัณฑ์ ภาชนะบรรจุ หรอื วสั ดหุ อ่ หุ้มสารเคมีอนั ตราย ในกรณีท่ีไม่สามารถปิดฉลากตามวรรคหน่ึงได้เนื่องจากขนาดหรือลักษณะของหีบห่อบรรจุภัณฑ์ภาชนะ บรรจุ หรือวัสดุห่อหุ้มสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างก�ำหนดวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพเพื่อแสดงให้ลูกจ้างได้รู้ถึง รายละเอียดของสารเคมีอนั ตรายตามวรรคหน่งึ ณ บรเิ วณทีม่ ีการท�ำงานเก่ียวกบั สารเคมีอนั ตรายนั้น หมวด ๓ การคุ้มครองความปลอดภยั ข้อ ๑๐ ในบริเวณที่ลูกจ้างท�ำงานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างจัดให้มีสภาพและคุณลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี (๑) ถูกสุขลักษณะ สะอาด และเป็นระเบียบเรียบร้อย พื้นที่ปฏิบัติงานต้องเรียบ สม�่ำเสมอไม่ล่ืน และไมม่ ีวสั ดเุ กะกะกีดขวางทางเดิน (๒) มีระบบระบายอากาศแบบทั่วไป หรือแบบท่ีท�ำให้สารเคมีอันตรายเจือจาง หรือแบบท่ีมีเครื่อง ดดู อากาศเฉพาะที่ ทเ่ี หมาะสมกบั ประเภทของสารเคมอี นั ตราย โดยให้มีออกซิเจนในบรรยากาศไม่ต�่ำกว่ารอ้ ยละ สบิ เก้าจดุ หา้ โดยปริมาตร (๓) มีระบบป้องกันและก�ำจัดอากาศเสียโดยใช้ระบบระบายอากาศเฉพาะที่ ระบบเปียกการปิดคลุม หรือระบบอ่ืน เพื่อมิให้มีสารเคมีอันตรายในบรรยากาศเกินปริมาณท่ีก�ำหนด และป้องกันมิให้อากาศท่ีระบาย ออกไปเปน็ อนั ตรายต่อผู้อน่ื ข้อ ๑๑ ในบริเวณที่ลูกจ้างท�ำงานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย ให้นายจ้างจัดให้มีสถานที่และอุปกรณ์เพื่อ คุ้มครองความปลอดภัยตามรายการ ดังต่อไปน้ี (๑) ที่ช�ำระล้างสารเคมีอันตรายที่ลูกจ้างสามารถใช้ได้ทันทีในกรณีฉุกเฉิน อย่างน้อยต้องมีท่ีล้างตา และฝกั บวั ช�ำระลา้ งร่างกายจากสารเคมอี นั ตราย คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 103
(๒) ที่ล้างมือและล้างหน้า ไม่น้อยกว่าหนึ่งท่ีต่อลูกจ้างสิบห้าคนและให้เพิ่มจ�ำนวนข้ึนตามสัดส่วนของ ลูกจ้าง สว่ นที่เกนิ เจด็ คนใหถ้ ือเปน็ สบิ ห้าคน (๓) ห้องอาบน้�ำเพ่ือใช้ช�ำระล้างร่างกายไม่น้อยกว่าหน่ึงห้องต่อลูกจ้างสิบห้าคนและให้เพ่ิมจ�ำนวน ขึ้นตามสัดส่วนของลูกจ้าง ส่วนที่เกินเจ็ดคนให้ถือเป็นสิบห้าคน ทั้งน้ี จะต้องจัดของใช้ท่ีจ�ำเป็นส�ำหรับการช�ำระ ลา้ งสารเคมีอนั ตรายออกจากรา่ งกายให้เพยี งพอและใช้ได้ตลอดเวลา (๔) อปุ กรณแ์ ละเวชภณั ฑท์ จี่ ำ� เปน็ สำ� หรบั การปฐมพยาบาลลกู จา้ งทไ่ี ดร้ บั อนั ตรายจากสารเคมอี นั ตราย (๕) อุปกรณ์ดับเพลิงที่เหมาะสมกับสารเคมีอันตรายแต่ละชนิด และเพียงพอส�ำหรับการผจญเพลิง เบอ้ื งต้น (๖) ชุดท�ำงานเฉพาะส�ำหรับลูกจ้างซึ่งท�ำงานเก่ียวกับสารเคมีอันตราย และท่ีเก็บชุดท�ำงานท่ีใช้แล้ว ดังกลา่ วใหเ้ หมาะสมกบั สารเคมอี นั ตรายประเภทนน้ั ข้อ ๑๒ ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามลักษณะอันตรายและความรุนแรง ของสารเคมีอันตราย หรือลักษณะของงาน ให้ลูกจ้างใช้หรือสวมใส่เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจจะเกิดแก่ชีวิต รา่ งกาย หรือสขุ ภาพอนามัยของลกู จ้าง ข้อ ๑๓ ให้ลูกจ้างซึ่งท�ำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายใช้หรือสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน บุคคลตามข้อ ๑๒ ในกรณีที่ลูกจ้างไม่ใช้หรือไม่สวมใส่อุปกรณ์นั้น ให้นายจ้างส่ังลูกจ้างหยุดการท�ำงานทันที จนกวา่ ลูกจา้ งจะไดใ้ ช้หรือสวมใสอ่ ปุ กรณด์ ังกล่าว ข้อ ๑๔ นายจ้างต้องดูแลสถานที่ท�ำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตรายและตรวจสอบอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยท่จี ัดไว้ ให้สามารถใช้งานไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพและปลอดภยั ตลอดเวลา ข้อ ๑๕ ห้ามนายจ้างยินยอมหรือปล่อยปละละเลยให้ลูกจ้างหรือบุคคลใดเข้าพักอาศัย หรือพักผ่อนใน สถานท่ีท�ำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย สถานที่เก็บรักษาสารเคมีอันตราย หรือในยานพาหนะขนส่งสารเคมี อันตราย ๒.๑.๔ กฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารจัดการ และด�ำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงานเก่ียวกับความร้อน แสงสว่าง และเสียง พ.ศ. ๒๕๕๙ (ออกตามพระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มการทำ� งาน พ.ศ. ๒๕๕๔) หมวด ๑ ความร้อน ข้อ ๒ ให้นายจ้างควบคุมและรักษาระดับความร้อนภายในสถานประกอบกิจการท่ีมีลูกจ้างท�ำงานอยู่มิให้ เกนิ มาตรฐาน ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) งานท่ีลูกจ้างท�ำในลักษณะงานเบาต้องมีมาตรฐานระดับความร้อนไม่เกินค่าเฉล่ียอุณหภูมิ เวตบลั บ์โกลบ ๓๔ องศาเซลเซยี ส (๒) งานท่ีลูกจ้างท�ำในลักษณะงานปานกลางต้องมีมาตรฐานระดับความร้อนไม่เกินค่าเฉล่ียอุณหภูมิ เวตบัลบ์โกลบ ๓๒ องศาเซลเซยี ส (๓) งานที่ลูกจ้างท�ำในลักษณะงานหนักต้องมีมาตรฐานระดับความร้อนไม่เกินค่าเฉลี่ยอุณหภูมิ เวตบัลบโ์ กลบ ๓๐ องศาเซลเซียส ข้อ ๓ ในกรณีที่ภายในสถานประกอบกิจการมีแหล่งความร้อนที่อาจเป็นอันตรายให้นายจ้างติดป้าย หรือประกาศเตือนอันตรายในบริเวณดังกล่าว โดยให้ลูกจ้างสามารถมองเห็นได้ชัดเจน ในกรณีที่บริเวณการ ท�ำงานตามวรรคหน่ึงมีระดับความร้อนเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดในข้อ ๒ ให้นายจ้างด�ำเนินการปรับปรุงหรือแก้ไข สภาวะการท�ำงานทางด้านวิศวกรรม เพื่อควบคุมระดับความร้อนให้เป็นไปตามมาตรฐาน และจัดให้มีการปิด 104 คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ
ประกาศและเอกสารหรือหลักฐานในการด�ำเนินการปรับปรุงหรือแก้ไขดังกล่าวไว้ เพื่อให้พนักงานตรวจความ ปลอดภยั สามารถตรวจสอบได้ ในกรณีท่ีไม่สามารถด�ำเนินการให้เป็นไปตามวรรคสองได้ ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการควบคุมหรือลด ภาระงาน และตอ้ งจดั ให้ลูกจา้ งสวมใสอ่ ุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคลตามที่กำ� หนดไว้ หมวด ๒ แสงสวา่ ง ข้อ ๔ นายจ้างต้องจัดให้สถานประกอบกิจการมีความเข้มของแสงสว่างไม่ต่�ำกว่ามาตรฐานที่อธิบดี ประกาศกำ� หนด ข้อ ๕ นายจ้างต้องใช้หรือจัดให้มีฉาก แผ่นฟิล์มกรองแสง หรือมาตรการอื่นท่ีเหมาะสมและเพียงพอ เพื่อป้องกันมิให้แสงตรงหรือแสงสะท้อนจากแหล่งก�ำเนิดแสงหรือดวงอาทิตย์ท่ีมีแสงจ้าส่องเข้านัยน์ตาลูกจ้าง โดยตรงในขณะท�ำงาน ในกรณีท่ีไม่อาจป้องกันได้ ต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน บุคคลตามทก่ี �ำหนดไวใ้ นหมวด ๔ ตลอดเวลาท่ีท�ำงาน ข้อ ๖ ในกรณที ่ลี ูกจา้ งตอ้ งทำ� งานในสถานท่ีมดื ทบึ และคบั แคบ เชน่ ในถ้�ำ อโุ มงคห์ รือในทที่ ่ีมีลกั ษณะ เช่นว่านั้น นายจ้างต้องจัดให้มีอุปกรณ์ส่องแสงสว่างที่เหมาะสมแก่สภาพและลักษณะงาน โดยอาจเป็นชนิดท่ี ติดอยู่ในพื้นที่ท�ำงานหรือติดท่ีตัวบุคคลได้ หากไม่สามารถจัดหาหรือด�ำเนินการได้ ต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่ อปุ กรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยสว่ นบุคคลตามทก่ี ำ� หนดไวใ้ น หมวด ๓ เสยี ง ข้อ ๗ นายจ้างต้องควบคุมระดับเสียงมิให้ลูกจ้างได้รับสัมผัสเสียงในบริเวณสถานประกอบกิจการที่มี ระดับเสียงสูงสุด (peak sound pressure level) ของเสียงกระทบหรือเสียงกระแทก (impact or impulse noise) เกิน ๑๔๐ เดซเิ บล หรอื ไดร้ บั สมั ผัสเสยี งที่มีระดับเสียงดงั ต่อเน่อื งแบบคงที่ (continuous steady noise) เกินกวา่ ๑๑๕ เดซเิ บลเอ ข้อ ๘ นายจ้างต้องควบคุมระดับเสียงที่ลูกจ้างได้รับเฉล่ียตลอดเวลาการท�ำงานในแต่ละวัน (Time Weighted Average-TWA) มใิ หเ้ กนิ มาตรฐานตามทีอ่ ธบิ ดปี ระกาศกำ� หนด ข้อ ๙ ภายในสถานประกอบกิจการทสี่ ภาวะการทำ� งานมีระดับเสยี งเกนิ มาตรฐานที่ก�ำหนดในขอ้ ๗ หรอื มีระดับเสียงท่ีลูกจ้างได้รับเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดในข้อ ๘ นายจ้างต้องให้ลูกจ้างหยุดท�ำงานจนกว่าจะได้ ปรับปรุงหรือแก้ไขให้ระดับเสียงเป็นไปตามมาตรฐานที่ก�ำหนด และให้นายจ้างด�ำเนินการปรับปรุงหรือแก้ไข ทางด้านวิศวกรรม โดยการควบคุมที่ต้นก�ำเนิดของเสียงหรือทางผ่านของเสียงหรือบริหารจัดการเพ่ือควบคุม ระดับเสียงที่ลูกจ้างจะได้รับให้ไม่เกินมาตรฐานท่ีก�ำหนด และจัดให้มีการปิดประกาศและเอกสารหรือหลักฐาน ในการด�ำเนินการปรบั ปรงุ หรอื แกไ้ ขดงั กล่าวไว้ เพื่อใหพ้ นกั งานตรวจความปลอดภยั สามารถตรวจสอบได้ ในกรณีที่ไม่สามารถด�ำเนินการตามวรรคหนึ่งได้ นายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้างสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคลตามท่ีก�ำหนดไว้ในหมวด ๔ ตลอดเวลาท่ีท�ำงาน เพื่อลดระดับเสียงท่ีสัมผัสในหูเมื่อสวมใส่ อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลแล้ว โดยให้อยู่ในระดับที่ไม่เกินมาตรฐานตามท่ีก�ำหนดไว้ในข้อ ๗ และขอ้ ๘ การค�ำนวณระดับเสียงท่ีสมั ผสั ในหูเมื่อสวมใสอ่ ุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคลตามวรรคสอง ใหเ้ ปน็ ไปตามท่อี ธิบดปี ระกาศกำ� หนด ข้อ ๑๐ ในบริเวณที่มีระดับเสียงเกินมาตรฐานที่ก�ำหนดในข้อ ๗ หรือข้อ ๘ นายจ้างต้องจัดให้มี เครื่องหมายเตือนใหใ้ ช้อปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลติดไว้ให้ลกู จ้างเหน็ ได้โดยชดั เจน ข้อ ๑๑ ในกรณีท่ีสภาวะการท�ำงานในสถานประกอบกิจการมีระดับเสียงท่ีลูกจ้างได้รับเฉล่ียตลอด ระยะเวลาการท�ำงานแปดช่ัวโมงต้ังแต่ ๘๕ เดซิเบลเอ ข้ึนไป ให้นายจ้างจัดให้มีมาตรการอนุรักษ์การได้ยินใน สถานประกอบกิจการตามหลกั เกณฑแ์ ละวิธีการท่อี ธบิ ดีประกาศก�ำหนด คู่มอื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยสำ�หรับบคุ ลากรสุขภาพ 105
หมวด ๔ อปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล ข้อ ๑๒ นายจ้างต้องจัดให้มีและดูแลให้ลูกจ้างใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลตามความ เหมาะสมกบั ลักษณะงานตลอดเวลาท่ที �ำงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ (๑) งานที่มีระดับความร้อนเกินมาตรฐานที่ก�ำหนด ให้สวมใส่ชุดแต่งกาย รองเท้า และถุงมือส�ำหรับ ป้องกนั ความร้อน (๒) งานที่มีแสงตรงหรือแสงสะท้อนจากแหล่งก�ำเนิดแสงหรือดวงอาทิตย์ท่ีมีแสงจ้าส่องเข้านัยน์ตา โดยตรง ให้สวมใสแ่ วน่ ตาลดแสงหรือกระบงั หนา้ ลดแสง (๓) งานท่ีทำ� ในสถานที่มืด ทบึ และคบั แคบ ใหส้ วมใสห่ มวกนิรภยั ทม่ี อี ปุ กรณส์ อ่ งแสงสว่าง (๔) งานท่ีมรี ะดบั เสยี งเกนิ มาตรฐานทีก่ �ำหนด ให้สวมใส่ปลก๊ั ลดเสียงหรอื ทคี่ รอบหลู ดเสยี ง ข้อ ๑๓ ให้นายจ้างบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้อยู่ในสภาพที่ใช้งานได้ อย่างปลอดภัย รวมทั้งจัดให้ลูกจ้างได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการใช้และบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภัยส่วนบุคคล และเก็บหลักฐานการฝึกอบรมไว้ ณ สถานประกอบกิจการเพื่อให้พนักงานตรวจความ ปลอดภยั สามารถตรวจสอบได้ หมวด ๕ การตรวจวัดและวิเคราะหส์ ภาวะการท�ำงาน และการรายงานผล ข้อ ๑๔ นายจ้างต้องจัดให้มีการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานเก่ียวกับระดับความร้อน แสงสวา่ ง หรอื เสียงภายในสถานประกอบกิจการ หลกั เกณฑ์ วธิ กี ารตรวจวดั และการวเิ คราะหส์ ภาวะการทำ� งาน เกี่ยวกับระดับความร้อนแสงสว่าง หรือเสียง รวมท้ังระยะเวลาและประเภทกิจการท่ีต้องด�ำเนินการให้เป็นไป ตามท่อี ธิบดปี ระกาศก�ำหนด ในกรณีที่นายจ้างไม่สามารถตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานตามวรรคหนึ่งได้ ต้องให้ผู้ท่ีข้ึน ทะเบียนตามมาตรา ๙ หรือนิติบุคคลท่ีได้รับใบอนุญาตตามมาตรา ๑๑ แห่งพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ เพื่อเป็นผู้ให้บริการในการตรวจวัดและวิเคราะห์ สภาวะการท�ำงานเกี่ยวกับระดับความร้อน แสงสว่าง หรือเสียงภายในสถานประกอบกิจการ แล้วแต่กรณี เป็น ผดู้ ำ� เนนิ การแทนใหน้ ายจา้ งเกบ็ ผลการตรวจวดั และวเิ คราะหส์ ภาวะการทำ� งานดงั กลา่ วไว้ ณ สถานประกอบกจิ การ เพือ่ ให้พนกั งานตรวจความปลอดภยั สามารถตรวจสอบได้ ข้อ ๑๕ ให้นายจ้างจัดท�ำรายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานตามแบบที่อธิบดี ประกาศก�ำหนด พร้อมท้ังส่งรายงานผลดังกล่าวต่ออธิบดีหรือผู้ซ่ึงอธิบดีมอบหมายภายในสามสิบวันนับแต่ วันที่เสร็จสิ้นการตรวจวัด และเก็บรายงานผลการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการท�ำงานดังกล่าวไว้ ณ สถานประกอบกิจการ เพอ่ื ใหพ้ นักงานตรวจความปลอดภัยสามารถตรวจสอบได้ หมวด ๖ การตรวจสขุ ภาพและการรายงานผล ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างท่ีท�ำงานในสภาวะการท�ำงานท่ีอาจได้รับอันตรายจาก ความร้อน แสงสว่าง หรือเสียง และรายงานผล รวมท้ังด�ำเนินการที่เกี่ยวข้องกับการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง ตามพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน พ.ศ. ๒๕๕๔ ๒.๑.๕ กฎกระทรวง ก�ำหนดก�ำหนดมาตรฐานบริหารและการจัดการความปลอดภัยอาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำ� งานเกยี่ วกบั เคร่ืองจักร ปัน้ จน่ั และหมอ้ น้�ำ พ.ศ. ๒๕๕๒ หมวด ๓ หม้อน้ำ� ขอ ๘๓ นายจ้างต้องใช้หม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบต่าง ๆ ที่มีคุณสมบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อตุ สาหกรรมมาตรฐาน ISO มาตรฐาน ASME มาตรฐาน JIS มาตรฐาน DIN มาตรฐาน TRD มาตรฐาน BS มาตรฐาน EN หรือมาตรฐานอ่ืนทีอ่ ธบิ ดีประกาศก�ำหนด 106 คูม่ อื การดำ�เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรบั บคุ ลากรสุขภาพ
ขอ ๘๖ นายจา้ งต้องจดั ทำ� ป้ายประกาศกำ� หนดวิธกี ารท�ำงานของลูกจา้ งเกยี่ วกบั การใชห้ ม้อน้�ำ ข้อ ๘๗ นายจา้ งต้องจัดใหม้ ผี ้คู วบคุมหม้อน�ำ้ ทีม่ คี ณุ สมบัติอยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดังตอ่ ไปนี้ (๑) ผ่านการอบรมตามหลักสูตรผู้ควบคุมหม้อน�้ำจากสถาบันของทางราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือ สถาบันอ่ืน ทงั้ น้ี ตามทีอ่ ธิบดีประกาศก�ำหนด (๒) มคี ณุ วฒุ ไิ ดร้ ับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง สาขาช่างกลโรงงาน สาขาช่างยนต์ สาขาช่างเทคนคิ อุตสาหกรรม สาขาช่างเทคนิคการผลิต หรือสาขาอื่นท่ีมีวิชาการเรียนภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติเก่ียวกับไอน้�ำ การเผาไหม้ ความรอ้ น การประหยัดพลงั งาน หรือความแขง็ แรงของวสั ดุ รวมกัน ไมน่ ้อยกวา่ เก้าหนว่ ยกติ ขอ ๘๙ ในกรณีท่ีนายจ้างให้ลูกจ้างท�ำการตรวจสอบหรือซ่อมแซมหม้อน�้ำ นายจ้างต้องจัดให้มีการ ระบายอากาศเพ่อื ไล่กา๊ ซพิษหรือก๊าซไวไฟตลอดเวลา สวนที่ ๒ การตดิ ต้งั การซอ่ มบ�ำรงุ การซอ่ มแซมและการใช้ ข้อ ๙๐ ในการติดต้ังหม้อน้�ำและอุปกรณ์ประกอบ นายจ้างต้องปฏิบัติตามมาตรฐานผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม มาตรฐาน ISO มาตรฐาน ASME มาตรฐาน JIS มาตรฐาน DIN มาตรฐาน TRD มาตรฐาน BS มาตรฐาน EN และตามหลักวิชาการด้านวิศวกรรม ท้ังนี้ ต้องจัดให้มีวิศวกรเป็นผู้รับรองตามหลักเกณฑ์ และวิธกี ารทีอ่ ธบิ ดีประกาศก�ำหนด ข้อ ๙๑ นายจ้างต้องจัดให้มีการซ่อมบ�ำรุงหรือการซ่อมแซมหม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบให้อยู่ในสภาพ ปลอดภัยตลอดระยะเวลาท่ใี ช้งาน ทง้ั นี้ ตามมาตรฐานและหลกั วิชาการดา้ นวิศวกรรมตามข้อ ๙๐ ขอ้ ๙๒ นายจา้ งต้องจดั สถานท่ีท่ี ตดิ ต้ังหม้อนำ�้ ให้มีลักษณะ ดงั ต่อไปน้ี (๑) พ้ืนที่การท�ำงานและห้องหม้อน้�ำต้องมีทางเข้าออกอย่างน้อยสองทาง มีความกว้างอย่างน้อยหก สิบเซนตเิ มตร ความสูงอยา่ งน้อยสองเมตร และปราศจากส่งิ กดี ขวางทางเขา้ -ออก (๒) ช่องเปิดที่พ้ืนท่ีการท�ำงานต้องมีขอบกันตก และวัสดุกันลื่นที่พ้ืนที่การท�ำงาน ข้ันบันได และพน้ื ต่าง ๆ (๓) พ้ืนที่การท�ำงานต้องมีแสงสว่างอย่างเพียงพอ เครื่องวัดต่าง ๆ และอุปกรณ์ ประกอบต้องมี แสงสวา่ งใหเ้ พยี งพอท่ีจะอา่ นค่าและควบคมุ ไดส้ ะดวก (๔) ระบบไฟแสงสว่างฉุกเฉินส่องไปยังทางออก และเคร่ืองวัดต่าง ๆ รวมท้ังแผงควบคุมให้เห็นอย่าง ชัดเจนในกรณไี ฟฟา้ ดับ (๕) ทางเดินต้องไม่มีสิ่งกีดขวาง ในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ ต้องท�ำเครื่องหมาย ทาสี หรือใช้ เทปสะท้อนแสง ตดิ ไว้ใหเ้ ห็นไดอ้ ย่างชัดเจน (๖) ฐานรากที่ตั้งของหม้อน�้ำและอุปกรณ์ประกอบที่ม่ันคงแข็งแรงและทนต่อแรงดันและแรงกด การออกแบบและคำ� นวณใหเ้ ป็นไปตามหลักวิชาการดา้ นวศิ วกรรม (๗) ปล่องควันและฐานทม่ี ่ันคงแขง็ แรง เป็นไปตามหลักวชิ าการด้านวศิ วกรรม (๘) จัดให้มีฉนวนกันความร้อนหุ้มหม้อน้�ำ ล้ินจ่ายไอน�้ำ ท่อจ่ายไอน�้ำ ถังพักไอน้�ำ ถังเก็บน้�ำร้อน ปล่องไอเสีย ท่อท่ตี ่อจาก หม้อนำ�้ และอุปกรณป์ ระกอบทมี่ ีความร้อน ซึง่ ตดิ ตง้ั อยู่ในระดับ หรือบริเวณท่ีลกู จ้าง ผูป้ ฏบิ ัติงานอาจได้รับอันตรายได้ ข้อ ๙๓ ในกรณีหม้อน�้ำที่สูงเกินสามเมตรจากพ้ืนถึงเปลือกหม้อน้�ำด้านบน นายจ้างต้องจัดท�ำบันไดและ ทางเดินเพื่อให้ผู้ควบคุมหม้อน�้ำซ่อมแซมหรือเดินได้สะดวกปลอดภัย พร้อมจัดให้มีราวจับและขอบกันตก และพน้ื ทกี่ ารทำ� งานทุกช้นั จะตอ้ งจดั ใหม้ ีทางเข้า-ออกอยา่ งน้อยสองทาง ส่วนท่ี ๓ การควบคมุ ข้อ ๙๔ นายจา้ งต้องจัดให้มีการทดสอบและรับรองความปลอดภัยในการใชห้ มอ้ นำ้� อยา่ งนอ้ ยปีละหนงึ่ ครั้ง โดยวศิ วกรหรอื ผไู้ ดร้ บั อนญุ าตพเิ ศษใหท้ ดสอบหมอ้ นำ�้ ได้ แลว้ แตก่ รณตี ามกฎหมายวา่ ดว้ ยวศิ วกร แลว้ เกบ็ เอกสาร คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ 107
รบั รองความปลอดภัยในการใชห้ ม้อนำ้� ไว้ ใหพ้ นกั งานตรวจแรงงานตรวจสอบได้ เวน้ แตห่ ม้อน้ำ� ทีม่ ีอัตราการผลิต ไอน�ำ้ เครอ่ื งละต้ังแต่ ๒๐ ตันตอ่ ชัว่ โมงขึ้นไป อาจขยายระยะเวลาการทดสอบและรับรองความปลอดภัยในการใช้ หมอ้ น้�ำเกินกว่า ๑ ปี แตไ่ มเ่ กิน ๕ ปี หากปฏิบตั ิตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ ีการทีอ่ ธิบดีประกาศก�ำหนด เอกสารรับรอง ความปลอดภยั ในการใชห้ ม้อน้ำ� ให้ไปตามแบบทีอ่ ธบิ ดปี ระกาศก�ำหนด หมวด ๔ การคุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล (๑๐) งานหม้อน้�ำ ให้สวมแว่นตาชนิดใสหรือหน้ากากชนิดใส ปลั๊กลดเสียง หรือครอบหูลดเสียง ชดุ ปอ้ งกนั ความร้อน หรืออปุ กรณ์ป้องกนั ความร้อน และรองเทา้ พื้นยางหมุ้ สน้ ๒.๑.๖ กฎกระทรวง ก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานเกยี่ วกบั รงั สีชนิดก่อไอออน พ.ศ. ๒๕๔๗ หมวด ๒ การควบคุมและปอ้ งกันอนั ตราย ข้อ ๔ ห้ามลูกจ้างซ่ึงไม่มีหน้าท่ีปฏิบัติงานเก่ียวกับรังสีหรือบุคคลภายนอกเข้าไปในพื้นท่ีควบคุม เว้นแต่ จะไดร้ ับมอบหมายหรือไดร้ ับอนุญาต ข้อ ๖ ให้นายจ้างจัดให้ลูกจ้างซึ่งปฏิบัติงานเกี่ยวกับรังสี ใช้อุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจ�ำตัวบุคคล ตลอดเวลาท่มี กี ารปฏิบัติงาน หมวด ๓ เคร่ืองหมาย ฉลาก และสัญญาณเตือนภัย ข้อ ๑๖ ให้นายจ้างจัดให้มีเคร่ืองหมายเตือนภัยติดไว้ให้เห็นโดยชัดเจนในบริเวณรังสี บริเวณรังสีสูง บริเวณที่มีการฟุ้งกระจายของสารกัมมันตรังสี หรือบริเวณหรือห้องใด ๆ ที่มีการเก็บรักษาสารกัมมันตรังสี ทั้งน้ี ให้เป็นไปตามแบบท่อี ธบิ ดกี �ำหนด หมวด ๕ การคมุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ข้อ ๒๕ ให้นายจ้างจัดอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น หมวกพลาสติก ถุงมือผ้าหรือยาง รองเท้า เสื้อคลุมที่ท�ำด้วยผ้าฝ้ายหรือยาง แว่นตา ท่ีกรองอากาศ เคร่ืองช่วยหายใจ หรืออุปกรณ์อื่นท่ีจ�ำเป็น ซึ่งมีคุณสมบัติที่สามารถป้องกันหรือลดอันตรายจากรังสีท่ีจะเข้าสู่ร่างกาย ในกรณีที่ลูกจ้างไม่ใช้ให้นายจ้างสั่ง ลูกจา้ งหยุดการทำ� งานทันทีจนกวา่ ลกู จ้างจะได้ใช้หรอื สวมใส่อุปกรณ์ดงั กล่าว ข้อ ๒๖ ให้นายจา้ งจัดทำ� คู่มือหรือเอกสารเก่ียวกบั ประโยชน์ วิธกี ารใช้ วิธกี ารบ�ำรงุ รักษาอุปกรณค์ มุ้ ครอง ความปลอดภยั สว่ นบุคคลใหผ้ ู้เก่ยี วข้องทราบ ก�ำหนดมาตรการหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการใช้และบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เป็นลายลักษณอ์ ักษร แจ้งใหล้ กู จา้ งทราบ ๒.๑.๗ กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานการตรวจสขุ ภาพลกู จา้ งซงึ่ ทำ� งานเกย่ี วกบั ปจั จยั เสยี่ ง พ.ศ. ๒๕๖๓ ขอ้ ๓ ให้นายจา้ งจดั ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพลกู จา้ งซ่ึงทำ� งานเก่ยี วกับปัจจัยเสยี่ ง ตามระยะเวลา ดงั ตอ่ ไปน้ี (๑) การตรวจสุขภาพลูกจ้างคร้ังแรกให้เสร็จส้ินภายใน ๓๐ วันนับแต่วันท่ีรับลูกจ้างเข้าท�ำงาน และจัด ใหม้ กี ารตรวจสุขภาพคร้ังต่อไปอย่างนอ้ ยปลี ะ ๑ ครัง้ (๒) ในกรณีที่ลักษณะหรือสภาพของงานเก่ียวกับปัจจัยเส่ียงมีความจ�ำเป็นต้องตรวจสุขภาพตามระยะ เวลาอืน่ ใหน้ ายจ้างจัดให้มกี ารตรวจสุขภาพตามระยะเวลาน้นั (๓) ในกรณีที่นายจ้างเปล่ียนงานที่มีปัจจัยเสี่ยงของลูกจ้างแตกต่างไปจากเดิม ให้นายจ้างจัดให้มีการ ตรวจสุขภาพลกู จา้ งทกุ ครั้งใหเ้ สร็จสน้ิ ภายใน ๓๐ วนั นบั แตว่ นั ทเ่ี ปลีย่ นงาน 108 คู่มือการดำ�เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรบั บุคลากรสุขภาพ
การตรวจสุขภาพ ให้กระท�ำโดยแพทย์ผู้ได้รับวุฒิบัติหรือหนังสืออนุมัติสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนง อาชวี อเวชศาสตร์ หรอื ผ่านการอบรมดา้ นอาชีวเวชศาสตร์ ตามหลกั สูตรท่กี ระทรวงสาธารณสขุ รบั รอง ข้อ ๔ ในกรณีที่ลูกจ้างท�ำงานเก่ียวกับปัจจัยเส่ียงหยุดงานตั้งแต่สามวันท�ำงานติดต่อกันข้ึนไปเนื่องจาก ประสบอันตรายหรือเจ็บป่วยไม่ว่ากรณีใดๆ ก่อนให้ลูกจ้างกลับเข้าท�ำงาน ให้นายจ้างขอความเห็นจากแพทย์ ผู้ท�ำการรักษาหรือแพทย์ประจ�ำสถานประกอบกิจการ หรือจัดให้มีการตรวจสุขภาพลูกจ้างโดยแพทย์ผู้ได้รับ วุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติสาขาเวชศาสตร์ป้องกัน แขนงอาชีวอเวชศาสตร์ หรือผ่านการอบรมด้านอาชีว- เวชศาสตร์ ตามหลกั สูตรทกี่ ระทรวงสาธารณสขุ รับรอง ข้อ ๕ การตรวจสุขภาพตามขอ้ ๓ และ ๔ ใหแ้ พทย์ผู้ตรวจบนั ทึกรายละเอยี ดผลการตรวจสุขภาพ โดยให้ ระบคุ วามเหน็ ทบี่ ง่ บอกถงึ สภาวะสขุ ภาพของลกู จา้ งทมี่ ผี ลกระทบหรอื เปน็ อปุ สรรคตอ่ การทำ� งานหรอื ลกั ษณะงาน ท่ไี ด้รับมอบหมาย พรอ้ มลงลายมือชอ่ื และวนั ทต่ี รวจใหค้ วามเหน็ นั้นด้วย บันทกึ ผลการตรวจสขุ ภาพ แพทย์ผู้ตรวจจะทำ� ในรูปขอ้ มูลอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ก็ได้ ข้อ ๖ ให้นายจา้ งจัดให้มสี มุดสุขภาพลกู จ้างซึง่ ท�ำงานเกี่ยวกบั ปัจจยั เสยี่ งตามประกาศที่อธิบดกี ำ� หนด และบันทึกผลการตรวจสุขภาพลูกจ้างในสมุดสุขภาพประจ�ำตัวของลูกจ้างตามผลการตรวจของแพทย์ ทุกครั้งท่มี กี ารตรวจสุขภาพ สมุดสขุ ภาพนายจ้างจะท�ำในรูปข้อมูลอเิ ล็กทรอนกิ สก์ ไ็ ด้ ข้อ ๗ ให้นายจ้างเก็บบันทึกผลการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง รวมทั้งข้อมูลสุขภาพอื่นท่ีเก่ียวข้อง ให้พนักงานตรวจความปลอดภัยตรวจสอบได้ตลอดเวลา โดยให้เก็บไว้ ณ สถานประกอบกิจการของนายจ้าง ไม่น้อยกว่า ๒ ปีนับแต่วันสิ้นสุดการจ้างแต่ละราย เว้นแต่ผลการตรวจสุขภาพงานท่ีอาจก่อให้เกิดโรคมะเร็งจาก การทำ� งานตามประกาศกระทรวงแรงงาน ให้เกบ็ ไว้ไมน่ ้อยกวา่ ๑๐ ปี ขอ้ ๘ ให้นายจ้างแจง้ ผลการตรวจสุขภาพแกล่ กู จ้างภายในระยะเวลาตอ่ ไปน้ี (๑) กรณีผลการตรวจผดิ ปกติ ให้แจ้งผลแก่ลูกจ้างภายใน ๓ วนั นบั แตว่ ันท่ีทราบผล (๒) กรณผี ลการตรวจปกติ ให้แจ้งผลแกล่ ูกจ้างภายใน ๗ วนั นบั แตว่ ันทีท่ ราบผล ข้อ ๑๑ ให้นายจ้างมอบสมุดสุขภาพประจ�ำตัวให้แก่ลูกจ้างซ่ึงท�ำงานเกี่ยวกับปัจจัยเส่ียง เม่ือสิ้นสุด การจา้ ง ๒.๑.๘ ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคมุ้ ครองแรงงาน เรอ่ื ง กำ� หนดแบบสมดุ สขุ ภาพประจำ� ตวั ของลกู จา้ ง ทที่ ำ� งานเกยี่ วกบั ปจั จยั เสยี่ งและแบบแจง้ ผลการตรวจสขุ ภาพของลกู จา้ งทพ่ี บความผดิ ปกตหิ รอื การเจบ็ ปว่ ย การใหก้ ารรักษาพยาบาล และการปอ้ งกนั แก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๑ ขอ้ ๓ สมดุ สขุ ภาพประจำ� ตวั ของลูกจ้างท่ที �ำงานเกยี่ วกับปัจจยั เส่ยี งให้เปน็ ไปตามแบบทา้ ยประกาศน้ี ขอ้ ๔ แบบแจง้ ผลการตรวจสขุ ภาพของลกู จา้ งทพี่ บความผดิ ปกติ หรอื การเจบ็ ปว่ ย การใหก้ ารรกั ษาพยาบาล และการป้องกันแกไ้ ข ใหเ้ ป็นไปตามแบบ จผส. ๑ ท้ายประกาศนี้ งานเก่ียวกบั ปจั จยั เสย่ี ง หมายความวา่ งานทล่ี ูกจา้ งทำ� เก่ยี วกับ ๑. สารเคมอี ันตรายตามทร่ี ัฐมนตรีประกาศกำ� หนด ๒. จุลชีวันเป็นพิษ ซ่ึงอาจเป็นเช้ือไวรัส แบคทีเรีย รา หรือสารชีวภาพอ่ืนตามท่ีรัฐมนตรีประกาศ ก�ำหนด ๓. กมั มันตภาพรงั สี ๔. ความรอ้ น ความเย็น ความสัน่ สะเทือน ความกดดันบรรยากาศ แสง เสียง หรอื สภาพแวดลอ้ มอ่นื ที่อาจเปน็ อันตราย ท้ังน้ี ตามทรี่ ฐั มนตรีประกาศก�ำหนด คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรับบุคลากรสขุ ภาพ 109
การบันทึกข้อมูลในสมุดสุขภาพ ประกอบด้วย ประวัติส่วนตัว ประวัติการท�ำงาน ประวัติการเจ็บป่วย การตรวจสุขภาพท่ัวไป การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเส่ียงของงาน บันทึกเกี่ยวกับการบาดเจ็บหรือเจ็บป่วย เน่ืองจากการท�ำงานและสาเหตุ การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเส่ียงต้องประกอบด้วยการซักประวัติด้วยแบบสอบถาม การตรวจร่างกาย และการตรวจพิเศษอ่ืน ๆ เพ่มิ เติมตามปัจจัยเส่ียง เชน่ ท�ำงานสมั ผสั ฝุ่นแร่ ฝุ่นหนิ ฝุ่นทราย ตอ้ งเอกซเรยป์ อด ดว้ ยฟลิ ์มมาตรฐานและตรวจสมรรถภาพปอด เปน็ ต้น ๒.๑.๙ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ก�ำหนดมาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความ ปลอดภยั ส่วนบุคคล พ.ศ. ๒๕๕๔ ข้อ ๓ มาตรฐานอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ได้แก่ มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม มาตรฐานขององคก์ ารมาตรฐานสากล (International Standardization and Organization : ISO) มาตรฐาน สหภาพยุโรป (European Staards : EN) มาตรฐานประเทศออสเตรเลียและประเทศนิวซีแลนด์ (Australia Standards/New Zealand Standards : AS/NZS) มาตรฐานสถาบันมาตรฐานแห่งชาติประเทศสหรัฐอเมริกา (American National Standards Institute : ANSI) มาตรฐานอุตสาหกรรมประเทศญี่ปุ่น (Japanese Industrial Standards : JIS) มาตรฐานสถาบันความปลอดภัยและอนามัยในการท�ำงานแห่งชาติประเทศ สหรัฐอเมริกา (The national Institute for Occupational Safety and Health : NIOSH) มาตรฐาน ส�ำนักงานบริหารความปลอดภัย และอาชีวอนามัยแห่งชาติ กรมแรงงาน ประเทศสหรัฐอเมริกา (Occupational Safety and Health Administration : OSHA) และมาตรฐานสมาคมป้องกันอคั คภี ยั แหง่ ชาติ สหรัฐอเมรกิ า (National Fire Protection Association : NFPA) ๒.๑.๑๐ ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง การค�ำนวณระดับเสียงท่ีสัมผัสในหูเมื่อ สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบคุ คล พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ การค�ำนวณระดับเสียงท่ีสัมผัสในหูเม่ือสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ ซง่ึ สอดคล้องกับข้อมลู การลดเสยี งของผูผ้ ลิตอยา่ งใดอยา่ งหนึ่ง ดงั น้ี (๑) การค�ำนวณโดยใช้ค่า Noise Reduction Rating : NRR ท่ีระบุไว้บนผลิตภัณฑ์ กับค่าตรวจวัด ระดบั เสียงเฉลย่ี ตลอดระยะเวลาการท�ำงาน โดยใชส้ ตู รคำ� นวณ ดังนี้ Protected dBA = Sound Level dBC – NRR adj หรอื Protected dBA = Sound Level dBA - (NRR adj – ๗) Protected dBA หมายถึง ระดับเสียงที่สัมผัสในหูเม่ือสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยใน สเกลเอ (scale A) หรอื เดซเิ บลเอ Sound Level dBC หมายถึง ระดับเสียงที่ได้จากการตรวจวัดระดับเสียงเฉลี่ยตลอดระยะเวลา การทำ� งาน ๘ ชั่วโมง ในสเกลซี (scale C) หรือเดซเิ บลซี Sound Level dBA หมายถึง ระดับเสียงที่ได้จากการตรวจวัดระดับเสียงเฉล่ียตลอดระยะเวลา การทำ� งาน ๘ ชว่ั โมง ในสเกลเอ (scale A) หรอื เดซเิ บลเอ NRR adj หมายถงึ ค่าการลดเสยี งทีร่ ะบุไวบ้ นฉลากหรอื อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล โดยก�ำหนดใหม้ ีการปรบั คา่ ตามลักษณะและชนิดของอุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั ส่วนบุคคล ดงั นี้ (ก) กรณีเป็นทีค่ รอบหลู ดเสียง ให้ปรบั ลดเสียงลงร้อยละ ๒๕ ของค่าการลดเสยี งท่ีระบไุ ว้บนฉลาก หรอื ผลิตภณั ฑ์ (ข) กรณีเป็นปล๊ักลดเสียงชนิดโฟม ให้ปรับลดเสียงลงร้อยละ ๕๐ ของค่าการลดเสียงที่ระบุไว้บน ฉลากหรอื ผลติ ภณั ฑ์ 110 ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ
(ค) กรณีเป็นปลั๊กลดเสียงชนิดอ่ืน ให้ปรับลดเสียงลงร้อยละ ๗๐ ของค่าการลดเสียงที่ระบุไว้บน ฉลากหรอื ผลิตภณั ฑ์ (๒) การค�ำนวณโดยใช้ค่า Single Number Rating : SNR ท่ีระบุไว้บนผลิตภัณฑ์ กับค่าตรวจวัด ระดบั เสียงเฉลย่ี ตลอดระยะเวลาการทำ� งาน โดยใช้สูตรคำ� นวณ ดงั น้ี L ‘ AX = (Lc – SNR x) + ๔ L ‘ AX หมายถงึ ระดบั เสยี งทส่ี มั ผสั ในหเู มอื่ สวมใสอ่ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั ในสเกลเอ (scale A) หรือ เดซิเบลเอ Lc หมายถึง ระดับเสียงท่ีได้จากการตรวจวัดระดับเสียงเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการท�ำงาน ๘ ชว่ั โมง ในสเกลซี (scale C) หรือเดซิเบลซี SNR x หมายถึง ค่าการลดเสียงที่ระบุไว้บนฉลากหรืออุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน บคุ คล (๓) การค�ำนวณระดับเสียงท่ีสัมผัสในหูเม่ือสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล นอกเหนอื จาก (๑) และ (๒) ใหเ้ ปน็ ไปตามประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบับท่ี ๔๔๕๖ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออก ตามพระราชบัญญัติผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ เร่ือง ก�ำหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ข้อแนะน�ำในการเลือก การใช้ การดูแล และการบ�ำรุงรักษาอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เล่ม ๑ อุปกรณป์ กป้องการได้ยิน ข้อ ๔ หลักเกณฑก์ ารเลอื กอปุ กรณป์ กป้องการได้ยิน ลงวนั ที่ ๒๘ สงิ หาคม ๒๕๕๕ (๔) การด�ำเนินการตามข้อ ๓ กรณีท่ีฉลากหรืออุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลมีการระบุ คา่ ลดเสยี งมากกวา่ ๑ คา่ ใหน้ ายจา้ งใชค้ า่ ลดเสยี งทสี่ มั ผสั ในหเู มอ่ื สวมใสอ่ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ท่ีได้จากการคำ� นวณน้อยท่ีสดุ เป็นหลกั ในการพิจารณาลดระดับความดังเสยี งจากสภาพแวดล้อมการทำ� งาน ๒.๒ ค่ามาตรฐานที่เกย่ี วข้อง เช่น ความรอ้ น แสงสวา่ ง เสยี ง และคุณภาพอากาศในโรงพยาบาล ๒.๒.๑ คา่ มาตรฐานระดับความร้อนจากการท�ำงาน คา่ มาตรฐานระดบั ความรอ้ นจากการทำ� งานนนั้ จะใชเ้ มอื่ ในกระบวนการทำ� งานมแี หลง่ กำ� เนดิ ความรอ้ น เชน่ การหลอม การอบ การนง่ึ ฯลฯ ทงั้ นจี้ ะตอ้ งทราบวา่ งานแตล่ ะงานเปน็ งานหนกั งานปานกลางหรอื งานเบา เพอื่ นำ� มา เปรียบเทียบกบั ระดบั อุณหภมู ทิ ่ีตรวจวัดโดยใช้ดัชนี Wet Bulb Globe Temperature : WBGT ลกั ษณะงาน คา่ มาตรฐาน ตวั อยา่ งแผนกของ โรงพยาบาลทเ่ี กย่ี วข้อง งานเบา ไม่เกนิ ค่าเฉล่ียอุณหภูมิเวตบัลบโ์ กลบ ๓๔ องศาเซลเซียส ตยู้ าม งานปานกลาง ไม่เกนิ คา่ เฉลีย่ อุณหภูมเิ วตบลั บ์โกลบ ๓๒ องศาเซลเซียส โภชนาการ ซกั ฟอก หนว่ ยจา่ ยกลาง งานหนัก ไมเ่ กนิ คา่ เฉลยี่ อณุ หภูมเิ วตบลั บโ์ กลบ ๓๐ องศาเซลเซยี ส หอ้ งควบคมุ หมอ้ ไอนำ�้ งานรดี ผา้ ปเู ตยี ง ทม่ี า : กฎกระทรวงกำ� หนดมาตรฐานในการบรหิ าร จดั การ และดำ� เนนิ การดา้ นความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งานเกย่ี วกบั ความรอ้ น แสงสวา่ ง และเสยี ง พ.ศ. ๒๕๕๙ หมายเหตุ งานเบา หมายความว่า ลักษณะงานท่ีใช้แรงน้อยหรือใช้ก�ำลังงานท่ีท�ำให้เกิดการเผาผลาญอาหารใน ร่างกายไม่เกิน ๒๐๐ กิโลแคลอรีต่อชั่วโมง เช่น งานเขียนหนังสือ งานพิมพ์ดีด งานบันทึกข้อมูล งานเย็บจักร คมู่ ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบุคลากรสขุ ภาพ 111
งานนัง่ ตรวจสอบผลติ ภณั ฑ์ งานประกอบชน้ิ งานขนาดเลก็ งานบังคบั เครอ่ื งจกั รด้วยเท้าการยืนคมุ งาน งานปานกลาง หมายความว่า ลักษณะงานท่ีใช้แรงปานกลางหรือใช้ก�ำลังงานที่ท�ำให้เกิดการเผาผลาญ อาหารในร่างกายเกิน ๒๐๐ กิโลแคลอรีต่อช่ัวโมง ถึง ๓๕๐ กิโลแคลอรีต่อช่ัวโมง เช่น งานยก ลาก ดัน หรือเคล่อื นยา้ ยสงิ่ ของด้วยแรงปานกลาง งานตอกตะปู งานตะไบ งานขบั รถบรรทกุ งานขับรถแทรกเตอร์ งานหนัก หมายความว่า ลักษณะงานที่ใช้แรงมากหรือใช้ก�ำลังงานที่ท�ำให้เกิดการเผาผลาญอาหารใน รา่ งกายเกนิ ๓๕๐ กโิ ลแคลอรีตอ่ ชัว่ โมง เช่น งานที่ใช้พลว่ั ตักหรือเคร่ืองมอื ลักษณะคลา้ ยกนั งานขุด งานเลอื่ ยไม้ งานเจาะไม้เนอื้ แข็ง งานทบุ โดยใชค้ อ้ นขนาดใหญ่ งานยก หรอื เคลือ่ นย้ายของหนัก ข้นึ ที่สูงหรอื ทล่ี าดชนั อุณหภูมเิ วตบลั บโ์ กลบ (Wet Bulb Globe Temperature : WBGT) หมายความวา่ ๑) อุณหภูมิที่วัดเป็นองศาเซลเซียสซึ่งในอาคารหรือวัดนอกอาคารที่ไม่มีแสงแดด ระดับความร้อน เท่ากับ ๐.๗ เท่าของอุณหภูมิท่ีอ่านค่าจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียกตามธรรมชาติ (natural wet bulb thermometer) บวก ๐.๓ เท่าของอุณหภูมิที่อ่านค่าจากโกลบเทอร์โมมิเตอร์ (globe thermometer) ดงั สมการ WBGT = ๐.๗NWB + ๐.๓GT ๒) อุณหภูมิที่วัดเป็นองศาเซลเซียสซึ่งวัดนอกอาคารที่มีแสงแดด มีระดับความร้อนเท่ากับ ๐.๗ เท่า ของอุณหภูมิที่อ่านค่าจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะเปียกตามธรรมชาติ บวก ๐.๒ เท่าของอุณหภูมิท่ีอ่านค่า จากโกลบเทอร์โมมิเตอร์ และบวก ๐.๑ เท่าของอุณหภูมิที่อ่านค่าจากเทอร์โมมิเตอร์กระเปาะแห้ง (dry bulb thermometer) ดังสมการ WBGT = ๐.๗NWB + ๐.๒GT + ๐.๑DB ระดับความร้อน หมายความว่า อุณหภูมิเวตบัลบ์โกลบในบริเวณที่ลูกจ้างท�ำงานตรวจวัดโดยค่าเฉลี่ยใน ช่วงเวลาสองชว่ั โมงท่มี ีอุณหภูมิเวตบลั บ์โกลบสูงสุดของการทำ� งานปกติ สภาวะการท�ำงาน หมายความว่า สภาวะแวดล้อมซึ่งปรากฏอยู่ในบริเวณท่ีท�ำงานของลูกจ้างซ่ึงรวม ถึงสภาพต่าง ๆ ในบริเวณท่ีท�ำงาน เครื่องจักร อาคาร สถานที่ การระบายอากาศ ความร้อนแสงสว่าง เสียง ตลอดจนสภาพและลักษณะการท�ำงานของลกู จ้างด้วย ๒.๒.๒ มาตรฐานระดับเสยี งดังทย่ี อมใหล้ กู จา้ งไดร้ บั เฉลยี่ ตลอดระยะเวลาการทำ� งานในแตล่ ะวนั ค่ามาตรฐานของเสียงน้ัน จะแตกต่างกันออกไปข้ึนอยู่กับระยะเวลาของการสัมผัสเสียง แหล่งก�ำเนิด ของเสียงในโรงพยาบาล เช่น แผนกซักรีด แผนกซ่อมบ�ำรุง ห้องครัว (บริเวณที่ล้างจาน โดยใช้เคร่ืองล้างจาน อัตโนมัติ การตดั เฝอื ก ฯลฯ) ระดบั เสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทำ� งาน ระยะเวลาการท�ำงานท่ไี ดร้ บั เสียงตอ่ วัน* (TWA) ไมเ่ กนิ (เดซิเบลเอ) ชั่วโมง นาที ๘๒ ๑๖ - ๘๓ ๑๒ ๔๒ ๘๔ ๑๐ ๕ ๘๕ ๘ - ๘๖ ๖ ๒๑ ๘๗ ๕ ๒ ๘๘ ๔ - 112 คู่มอื การด�ำ เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรบั บุคลากรสุขภาพ
ระดบั เสียงเฉล่ยี ตลอดเวลาการทำ� งาน ระยะเวลาการท�ำงานทไ่ี ด้รับเสยี งต่อวัน* (TWA) ไมเ่ กนิ (เดซิเบลเอ) ชวั่ โมง นาที ๘๙ ๓ ๑๑ ๙๐ ๒ ๓๑ ๙๑ ๒- ๙๒ ๑ ๓๕ ๙๓ ๑ ๑๖ ๙๔ ๑- ๙๕ - ๔๘ ๙๖ - ๓๘ ๙๗ - ๓๐ ๙๘ - ๒๔ ๙๙ - ๑๙ ๑๐๐ - ๑๕ ๑๐๑ - ๑๒ ๑๐๒ -๙ ๑๐๓ - ๗.๕ ๑๐๔ -๖ ๑๐๕ -๕ ๑๐๖ -๔ ๑๐๗ -๓ ๑๐๘ - ๒.๕ ๑๐๙ -๒ ๑๑๐ - ๑.๕ ๑๑๑ -๑ ท่ีมา : ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานระดับเสียงท่ียอมให้ลูกจ้างได้รับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาในการท�ำงานแต่ละวัน ลงวันที่ ๑๓ ธนั วาคม ๒๕๖๐ ข้อ ๓ (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา วันท่ี ๒๖ มกราคม ๒๕๖๑) หมายเหตุ ระยะเวลาการท�ำงานที่ได้รับเสียงและระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการท�ำงาน (TWA) ให้ใช้ค่ามาตรฐาน ทก่ี ำ� หนดในตารางขา้ งต้นเป็นลำ� ดับแรก หากไม่มคี ่ามาตรฐานทีก่ �ำหนดตรงตามตารางใหค้ ำ� นวณจากสตู ร ดงั นี้ T = ๘ ๒(L-๘๕)/๓ เมอ่ื T หมายถึง เวลาการท�ำงานทย่ี อมให้ไดร้ บั เสียง (ชั่วโมง) L หมายถึง ระดับเสียง (เดซิเบลเอ) ในกรณคี า่ ระดบั เสยี งเฉลย่ี ตลอดเวลาการทำ� งาน (TWA) ทไี่ ดจ้ ากการคำ� นวณมเี ศษทศนยิ มใหต้ ดั เศษทศนยิ มออก ค่มู อื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยสำ�หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ 113
๒.๒.๓ ค่ามาตรฐานแสงสว่างจากการท�ำงาน แสงสว่าง เป็นส่ิงท่ีส�ำคัญมากต่อการด�ำรงชีวิตของมนุษย์เพราะ ถ้าปราศจากแสงสว่าง การมองเห็นก็จะ เกิดขึ้นไม่ได้ แสงสว่างจึงเป็นปัจจัยส�ำคัญในการมอง การรับรู้การปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง นอกจาก แสงสวา่ งซง่ึ เปน็ ปจั จัยสำ� คญั ในการมองเห็นของมนษุ ยแ์ ล้ว ยงั มปี ัจจยั ส�ำคญั อนื่ ๆ ทช่ี ่วยในการมองเห็น ๑) ความสามารถในการมองเห็นของดวงตา ๒) ความสว่างของวัตถุ (brightness) ปรมิ าณแสงสว่างที่ตกกระทบลงบนวตั ถุ ๓) ขนาดและรูปร่างของวัตถุ (size & shape) วัตถุที่มีขนาดใหญ่ย่อมจะมองเห็นได้ง่ายกว่าวัตถุท่ีมี ขนาดเลก็ ในระยะทเ่ี ท่ากัน ๔) ความแตกต่างระหว่างวัตถุกับฉาก (contrast) ฉากท่ีมืดจะให้ความรู้สึกในการมองเห็นน้อยกว่า ฉากทส่ี ว่าง ๕) การเคลื่อนท่ขี องวตั ถุ ๖) สีของวัตถุ สีแต่ละสีจะสะท้อนแสงได้ไม่เท่ากัน กลุ่มสีอ่อนจะสะท้อนแสงได้มากกว่า ท�ำให้วัตถุ สอี อ่ นมคี วามสวา่ งมากกวา่ พวกทม่ี ีสเี ข้ม 114 ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบุคลากรสขุ ภาพ
คูม ือ การดําเนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขมของแสงสวาง ณ บรเิ วณพ้ืนที่ทั่วไป และบริเวณการทํางานภายในโรงพยาบาล บรเิ วณพนื้ ทีแ่ ละ/หรือลักษณะงาน ลักษณะ ตัวอยา งบรเิ วณพ้นื ที่ คา เฉลีย่ ความเขม จุดท่ีความเขมของ บริเวณพืน้ ทที่ ัว่ ไปท่มี ีการสญั จรของ พน้ื ท่เี ฉพาะ และ/หรอื ลักษณะงาน ของแสงสวาง (ลักซ) แสงสวา งต่าํ สดุ (ลกั ซ) บุคคลและ/หรือ ยานพาหนะในภาวะ ทางสัญจรใน - ทางออกฉุกเฉนิ เสน ทางหนีไฟ บันไดทางฉุกเฉิน ปกติ และบรเิ วณทมี่ กี ารสัญจรใน ภาวะฉกุ เฉิน (กรณีเกิดเหตุฉุกเฉนิ ไฟดบั โดยวดั ตามเสนทางของ 10 - ภาวะฉกุ เฉนิ ทางออกทร่ี ะดับพ้ืน) ภายนอก 50 25 บรเิ วณพ้นื ท่ีใชป ระโยชนทวั่ ไป อาคาร - ลานจอดรถ ทางเดนิ บนั ได 50 - ภายในอาคาร 100 50 บริเวณพน้ื ทใี่ ชป ระโยชนใ นสานักงาน - ประตูทางเขาใหญข องสถานประกอบกิจการ 100 - ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 115 50 25 - ทางเดิน บันได ทางเขา หองโถง 100 - - ลฟิ ท 100 50 - หองพักฟนสําหรับการปฐมพยาบาล หอ งพักผอน 300 150 300 150 - ปอ มยาม - หอ งสขุ า หองอาบนา หอ งเปล่ยี นเส้ือผา - หอ งลอบบห้ี รอื บริเวณตอนรับ - หองเกบ็ ของ - โรงอาหาร หองปรุงอาหาร หองตรวจรกั ษา - หอ งสํานกั งาน หองฝก อบรม หอ งบรรยาย - หองสบื คนหนังสอื /หอ งถา ยเอกสาร - หองคอมพวิ เตอร หองประชุม บรเิ วณโตะ - ประชาสมั พนั ธ หรอื ตดิ ตอลูกคา - พนื้ ท่ีหองออกแบบ เขียนแบบ
116 คู่มือการดำ�เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรับบคุ ลากรสุขภาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขมของแสงสวาง ณ บริเวณพืน้ ท่ที ่ัวไป และบรเิ วณการทํางานภายในโรงพยาบาล (ตอ) คูมือ การดําเนนิ งานอาชวี อนามัยสาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ บรเิ วณพ้ืนท่ีและ/หรือลักษณะ ลกั ษณะ ตวั อยา งบรเิ วณพ้ืนท่ี คา เฉลีย่ ความเขม จุดท่ีความเขมของ งาน พ้นื ท่เี ฉพาะ และ/หรือลักษณะงาน แสงสวา งต่ําสดุ (ลกั ซ) ของแสงสวาง (ลักซ) บริเวณพืน้ ท่ีใชป ระโยชนใน - หอ งเก็บวัตถุดบิ บรเิ วณหอ งอบหรือหองทําใหแ หง ของ 100 50 กระบวนการผลติ หรือการ โรงซกั รีด ปฏบิ ัตงิ าน - จุด/ลานขนถายสนิ คา 200 1000 - คลงั สินคา - โกดงั เก็บของไวเ พอื่ การเคลื่อนยา ย - อาคารหมอ้ นาำ�้ - หองควบคมุ - หองสวิตซ - บรเิ วณเตรยี มการผลติ การเตรยี มวตั ถุดบิ 300 150 - บรเิ วณพนื้ ที่บรรจุภัณฑ - บริเวณกระบวนการผลติ /บริเวณท่ีทาํ งานกบั เครอ่ื งจักร - บรเิ วณการกอ สรา ง การขุดเจาะ การขุดดิน - งานทาสี ท่มี า : ประกาศกรมสวสั ดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน เรื่อง มาตรฐานความเขม ของแสงสวา ง ลงวันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2560 ขอ 4 (ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา วันท่ี 21 กุมภาพันธ 2561)
คูม ือ การดําเนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขม ของแสงสวา ง ณ บริเวณทล่ี กู จางตอ งทํางาน โดยใชส ายตามองเฉพาะจดุ หรือตอ งใชส ายตาอยูกับทใ่ี นการทาํ งาน การใชส ายตา ลักษณะงาน ตัวอยางลักษณะงาน คาความเขม ของ แสงสวาง (ลักซ) ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 117 งานหยาบ งานท่ีชน้ิ งานมขี นาดใหญสามารถมองเหน็ - งานหยาบทที่ าํ ทีโ่ ตะหรอื เครื่องจกั ร ชน้ิ งานทีม่ ขี นาดใหญกวา 750 ไดอยา งชดั เจน มีความแตกตางของสี ไมโครเมตร (0.75 มิลลิเมตร) 200–300 งานละเอยี ด ชัดเจนมาก - การตรวจงานหยาบดว ยสายตา การประกอบการนับการตรวจเช็คสิ่งของที่ เลก็ นอย มีขนาดใหญ 300–400 งานที่ชน้ิ งานมขี นาดปานกกลาง สามารถ - การรีดเสนดา ย มองเหน็ ไดแ ละมคี วามแตกตางของสี - การอัดเบล การผสมเสนใย หรือการสางเสนใย ชดั เจน - การซกั รีด ซักแหง การอบ - การปม ข้ึนรปู แกว เปาแกว และขดั เงาแกว - งานตี และเชือ่ มเหล็ก - งานรับจา ยเสอ้ื ผา - การทาํ งานไมท่ีชนิ้ งานมีขนาดปานกลาง - งานบรรจนุ า้ํ ลงขวดหรือกระปอง - งานเจาะรู ทากาว หรอื เย็บเลมหนงั สอื งานบนั ทึกและคัดลอกขอมูล - งานเตรยี มอาหาร ปรุงอาหาร และลางจาน - งานผสมและตกแตงขนมปง - การทอผา ดบิ
ค1ูม1ือ8การดคําู่มเือนกนิ ารงดาำ�นเนอินาชงาวี นออนาาชมีวยัอสนาําหมยัรสบั �ำ บหคุ รลบั าบกคุ รลสากขุ รภสาุขพภาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขมของแสงสวา ง ณ บริเวณทลี่ กู จา งตองทํางาน โดยใชส ายตามองเฉพาะจดุ หรือตอ งใชส ายตาอยูกบั ทีใ่ นการทาํ งาน (ตอ ) การใชส ายตา ลักษณะงาน ตัวอยางลกั ษณะงาน คา ความเขมของ งานท่ีชิ้นงานมขี นาดปานกลางหรือเลก็ แสงสวา ง (ลกั ซ) งานละเอยี ดปาน สามารถมองเห็นไดแตไมชดั เจน และมคี วาม - งานประจําในสํานกั งาน เชน งานเขยี น งานพิมพ งานบนั ทึกขอมูล กลาง แตกตา งของสีปานกลาง การอานและประมวลผลขอมูล การจัดเก็บแฟม 400-500 - การปฏบิ ตั งิ านทชี่ ้ินงานมีขนาดตั้งแต 225 ไมโครเมตร (0.125 งานทีช่ ิ้นงานมีขนาดปานกลางหรอื เล็ก มิลลิเมตร) 500-600 สามารถมองเห็นไดแตไมช ัดเจน และมีความ 600–700 แตกตางของสีบางและตอ งใชส ายตาในการ - งานออกแบบและเขยี นแบบ โดยใชโปรแกรมคอมพวิ เตอร ทาํ งานคอนขางมาก - งานประกอบรถยนตแ ละตัวถงั - งานตรวจสอบแผนเหลก็ - การทํางานไมอยางละเอยี ดบนโตะ หรือท่เี ครือ่ งจักร - การทอผา สอี อน ทอละเอยี ด - การคัดเกรดแปง - การเตรยี มอาหาร เชน การทาความสะอาด การตม ฯ - การสืบดา ย การแตง การบรรจุในงานทอผา - งานระบายสี พนสี ตกแตง สี หรือขดั ตกแตง ละเอียด - งานพสิ จู นอักษร - งานตรวจสอบขั้นสดุ ทา ยในโรงผลติ รถยนต - งานออกแบบและเขียนแบบ โดยไมใ ชโ ปรแกรมคอมพิวเตอร - งานตรวจสอบอาหาร เชน การตรวจอาหารกระปอง - การคดั เกรดนํา้ ตาล
คูม ือ การดําเนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขมของแสงสวาง ณ บรเิ วณทลี่ กู จางตอ งทํางาน โดยใชส ายตามองเฉพาะจดุ หรือตองใชสายตาอยูกับทใี่ นการทาํ งาน (ตอ) การใชสายตา ลักษณะงาน ตัวอยางลักษณะงาน คาความเขมของ แสงสวาง (ลกั ซ) งานละเอียด งานทีช่ ้นิ งานมีขนาดเล็ก สามารถมองเหน็ ไดแตไม - การปฏบิ ัติงานทีช่ ิ้นงานมีขนาดตง้ั แต 25 ไมโครเมตร (0.025 มิลลเิ มตร) 700-800 สงู ชัดเจน และมคี วามแตกตางของสนี อ ย ตองใช - งานปรบั เทยี บมาตรฐานความถกู ตองและความแมน ยาของอปุ กรณ สายตาในการทํางานมาก - การระบายสี พน สี และตกแตง ชิ้นงานทีต่ อ งการความละเอยี ดมากหรือ ตอ งการความแมนยําสูง - งานยอ มสี งานท่ีชิ้นงานมขี นาดเลก็ สามารถมองเหน็ ไดแตไ ม - การตรวจสอบการตดั เยบ็ เส้ือผา ดวยมอื 800–1,200 ชดั เจน และมคี วามแตกตางของสนี อ ย ตองใช - การตรวจสอบและตกแตงส่งิ ทอ สง่ิ ถกั หรอื เสื้อผาท่มี สี ีออ นข้ันสุดทา ยดว ยมอื ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 119 สายตาในการทํางานมากและใชเวลาในการทาํ งาน - การคัดแยกและเทยี บสีหนังท่ีมีสเี ขม - การเทยี บสีในงานยอมผา - การทอผา สีเขม ทอละเอยี ด - การรอ ยตะกรอ งานละเอยี ด งานท่ชี ้นิ งานมีขนาดเล็กมาก ไมส ามารถมองเหน็ ได - งานละเอียดที่ทาํ ทีโ่ ตะหรือเครอ่ื งจักร ช้ินงานทีม่ ขี นาดเล็กกวา 25 1,200–1,600 สูงมาก อยา งชดั เจน และมคี วามแตกตา งของสีนอยมาก ไมโครเมตร (0.025 มลิ ลิเมตร) หรือมสี ไี มแตกตางกนั ตองใชสายตาเพงในการ - งานตรวจสอบชิ้นสว นที่มขี นาดเลก็ ทาํ งานมากและใชเวลาในการทํางานระยะ - งานซอมแซม สง่ิ ทอ สิ่งถกั ที่มสี อี อ น เวลานาน - งานตรวจสอบและตกแตง ชิ้นสว นของสิง่ ทอ สิ่งถกั ทีม่ สี เี ขมดว ยมอื - การตรวจสอบและตกแตง ผลิตภัณฑสีเขมและสีออนดวยมอื
1ค2ูม0ือ การคดู่มําือเนกานิ รดงำ�าเนนอินางชานวี ออนาชาวีมอัยนสาาํมหัยรสบัำ�หบรคุ ับลบาคุ กลราสกขุรสภุขาภพาพ ตารางแสดงมาตรฐานความเขม ของแสงสวา ง ณ บริเวณท่ีลกู จางตอ งทาํ งาน โดยใชส ายตามองเฉพาะจุดหรือตองใชสายตาอยูกบั ที่ในการทํางาน (ตอ ) การใชสายตา ลกั ษณะงาน ตวั อยางลักษณะงาน คา ความเขม ของ แสงสวา ง (ลักซ) งานละเอยี ดสงู มาก งานท่ีชิ้นงานมขี นาดเลก็ มากเปน พเิ ศษไม - การปฏบิ ตั ิงานตรวจสอบช้นิ งานท่ีมีขนาดเลก็ มากเปน พิเศษ 2,400 เปน พิเศษ สามารถมองเหน็ ไดอยางชดั เจน และมคี วาม - การเจยี ระไนเพชร พลอย การทาํ นาฬิกาขอมือสําหรับกระบวนการ หรอื มากกวา แตกตางของสนี อ ยมากหรือมีสีไมแ ตกตางกัน ผลิตทีม่ ขี นาดเล็กมากเปนพิเศษ ตอ งใชส ายตาเพงในการทํางานมากหรอื ใช - งานทางการแพทย เชน งานทนั ตกรรม หองผาตัด ทักษะและความชํานาญสงู และใชเวลาในการ ทาํ งานระยะเวลานาน ท่มี า : ประกาศกรมสวัสดกิ ารและคุม ครองแรงงาน เรอ่ื ง มาตรฐานความเขมของแสงสวาง ลงวันที่ 27 พฤศจกิ ายน 2560 ขอ 4 (ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วนั ที่ 21 กมุ ภาพนั ธ 2561)
ตารางแสดงมาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง (ลักซ์) บริเวณโดยรอบท่ีให้ลูกจ้างคนใดคนหนึ่งท�ำงาน โดยสายตามองเฉพาะจดุ ในการปฏิบัติงาน พน้ื ท่ี ๑ พื้นที่ ๒ พนื้ ท่ี ๓ ๑,๐๐๐–๒,๐๐๐ ๓๐๐ ๒๐๐ มากกว่า ๒,๐๐๐–๕,๐๐๐ ๖๐๐ ๓๐๐ มากกว่า ๕,๐๐๐–๑๐,๐๐๐ ๑๐๐๐ ๔๐๐ ๒๐๐๐ ๖๐๐ มากกวา่ ๑๐,๐๐๐ หมายเหตุ : พน้ื ท่ี ๑ หมายถึง จดุ ท่ีให้ลกู จ้างท�ำงานโดยใช้สายตามองเฉพาะจุดในการปฏิบัตงิ าน พืน้ ที่ ๒ หมายถึง บรเิ วณถัดจากที่ที่ให้ลกู จา้ งคนใดคนหน่ึงท�ำงานในรัศมที ี่ลกู จ้างเอื้อมมอื ถงึ พน้ื ท่ี ๓ หมายถงึ บริเวณโดยรอบท่ตี ดิ พื้นที่ ๒ ท่มี ีการปฏิบตั ิงานของลูกจ้างคนใดคนหนงึ่ ท่ีมา : ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง มาตรฐานความเข้มของแสงสว่าง ลงวันที่ ๒๗ พฤศจิกายน ๒๕๖๐ ข้อ ๔ (ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา วันที่ ๒๑ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๑) ๓.๒.๔ คา่ มาตรฐานรงั สี เพื่อให้เกิดความปลอดภัยแก่ผู้ปฏิบัติงาน ตามกฎกระทรวงกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีความ ปลอดภัยทางรังสี พ.ศ. ๒๕๖๑ ก�ำหนดให้ต้องจัดให้มีการประเมินการได้รับรังสี การเก็บบันทึกผลการได้รับรังสี ประจ�ำบุคคล และการเฝ้าระวังสขุ ภาพทเ่ี หมาะสมแกผ่ ู้ปฏบิ ตั ิงานทางรงั สี โดยผู้ปฏิบัติงานทางรังสีจะต้องได้รับปริมาณรังสียังผล (effective dose) ไม่เกิน ๒๐ มิลลิซีเวิร์ตต่อปี โดยเฉล่ยี ตลอด ๕ ปี และตลอดชว่ ง ๕ ปี ตดิ ต่อกัน จะตอ้ งได้รับรงั สีไม่เกนิ ๑๐๐ มลิ ลิซีเวริ ์ต ๓.๒.๕ คา่ มาตรฐานท่เี กี่ยวขอ้ งกบั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร มาตรฐานที่เกี่ยวขอ้ งกบั คุณภาพอากาศภายในอาคารน้ัน ประกอบด้วย ค่ามาตรฐานระดับคุณภาพอากาศ ภายใน อาคาร (กายภาพ เคมี ชีวภาพ) และคา่ มาตรฐานทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั การระบายอากาศภายในโรงพยาบาล คา่ มาตรฐานระดบั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร คา่ มาตรฐานระดบั คณุ ภาพอากาศภายในอาคารนน้ั ประกอบดว้ ย ปจั จยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ดชั นคี วามสบาย เชน่ อณุ หภมู ิ ความชืน้ สมั พัทธ์ ระดับสารเคมภี ายในอาคาร และปจั จยั ทางชีวภาพภายในอาคาร ซึง่ ระดับค่ามาตรฐาน ท่กี ำ� หนด น้ันจะมีค่าอยู่ในระดบั ต่�ำ ๆ แตกตา่ งกบั ค่ามาตรฐานของสิง่ แวดลอ้ มจากการท�ำงาน คู่มือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ 121
ตารางแสดงคา่ มาตรฐานของระดบั คณุ ภาพอากาศภายในอาคาร ปจั จัยคณุ ภาพอากาศ ค่ามาตรฐานที่ ระยะเวลา มาตรฐานอา้ งองิ ก�ำหนด อุณหภูมิ ๒๐-๒๖ ํ C ตลอดเวลา - ASHRAE Standard ๕๕ ความชน้ื สมั พทั ธ์ ๓๐-๖๐% ตลอดเวลา - ASHRAE Standard ๖๒ ก๊าซคารบ์ อนไดออกไซด์ ๑,๐๐๐ ppm ตลอดเวลา - ASHRAE Standard ๖๒ ๘๐๐ ppm ตลอดเวลา - OSHA ก๊าซคารบ์ อนมอนอกไซด์ ๒๕ ppm ๘ ชว่ั โมง - ACGIH (๒๐๐๓) อนภุ าครวม ๐.๒๖ mg/m๓ ๒๔ ชว่ั โมง - EPA อนภุ าคขนาดเลก็ (PM๑๐) ๐.๑๕ mg/m๓ ๒๔ ชวั่ โมง - ASHRAE Standard ๖๒ เรดอน ๔ พิโคคิวร่/ี ลติ ร ๑ ปี - EPA โอโซน ๐.๐๔-๐.๔ ppm ตลอดเวลา - WHO (๑๙๘๔) ๐.๐๕ ppm ๘ ชวั่ โมง - ACGIH (๒๐๐๒) ๐.๐๘ ppm ๘ ชวั่ โมง - EPA แอสเบสตอส ๐.๑ fiber/cc ๘ ชว่ั โมง - ACGIH (๒๐๐๖) ๐.๐๕ fiber/cc - OSHA ๐.๑ fiber/cc - NIOSH เชื้อรา < ๕๐๐ CFU/m๓ ตลอดเวลา - WHO เช้อื แบคทีเรีย < ๕๐๐ CFU/m๓ ตลอดเวลา - WHO ไนโตรเจนไดออกไซด์ < ๐.๑ ppm ตลอดเวลา - ASHRAE Standard ๖๒ ฟอร์มลั ดีไฮด์ < ๐.๔ ppm ตลอดเวลา - ASHRAE Standard ๖๒ มาตรฐานการระบายอากาศในโรงพยาบาล American Society of Heating Refrigeration and Air Conditioning Engineers: ASHRAE ได้เสนอแนะ คา่ อตั ราการไหลของอากาศเข้าสูอ่ าคารสำ� หรบั หอ้ งลักษณะต่าง ๆ ของโรงพยาบาล ตามมาตรฐาน ASHRAE Standard ๖๒-๑๙๘๙ และวศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทย ในบรมราชปู ถมั ภ์ ไดอ้ อกขอ้ แนะนำ� เฉพาะ กาลส�ำหรับการออกแบบและติดตั้งระบบปรับอากาศและระบายอากาศของสถานพยาบาล โดยก�ำหนดให้อัตรา การนำ� เขา้ อากาศภายนอก อตั ราการหมุนเวียนอากาศภายในห้องและภาวะสัมพัทธ์ ดังแสดงในตาราง 122 คู่มอื การด�ำ เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ
ตารางแสดงอตั ราการนำ� เขา้ อากาศภายในห้อง อตั ราการหมนุ เวียนอากาศภายใน และความดันสัมพัทธ์ อัตราการนำ� อากาศ อตั ราการหมนุ เวยี น ภายนอกไมน่ อ้ ย อากาศภายในหอ้ งไม่ ความดนั ล�ำดบั สถานท่ี กวา่ จ�ำนวนเทา่ ของ นอ้ ยกวา่ จ�ำนวนเทา่ สมั พัทธ์กับ ปริมาตร ของปรมิ าตร ห้องตอ่ ๑ พน้ื ท่ีข้างเคียง ๑ ห้องผา่ ตัด ห้องต่อ ๑ ชว่ั โมง ชว่ั โมง ๒ ห้องคลอด ๕ ๒๕ สงู กวา่ ๓ ห้อง Nursery ๔ หออภบิ าล ผู้ปว่ ยหนัก (ICU) ๕ ๒๕ สูงกวา่ ๕ ๑๒ สงู กว่า ๒๖ สงู กวา่ ๕ หอ้ งตรวจรักษาผู้ปว่ ย ๒ ๖ สงู กวา่ สงู กวา่ ๖ ห้องฉกุ เฉิน ๕ ๑๒ ต่ำ� กวา่ ๗ บริเวณพักคอยส�ำหรับแผนกผู้ ๒ ๑๒ สงู กวา่ ต�่ำกว่า ปว่ ยนอกและหอ้ งฉกุ เฉิน สูงกว่า ๘ หอ้ งพกั ผปู้ ว่ ย ๒ ๖ ตำ่� กว่า ๙ ห้องแยกผู้ป่วยแพร่เชื้อทาง ๒ ๑๒ ๑๒ ตำ�่ กว่า อากาศ ๑๐ หอ้ งแยกผปู้ ว่ ยปลอดเชอ้ื (pro- ๒ tective environment) ๑๑ หอ้ งปฏบิ ัติการ (Laboratory) ๒ ๖ ๑๒ ห้องชันสูตรศพ ๒ ๑๒ ที่มา : มาตรฐานระบบปรบั อากาศและระบายอากาศ วศิ วกรรมสถานแหง่ ประเทศไทยในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ********** คูม่ อื การดำ�เนนิ งานอาชวี อนามัยสำ�หรบั บุคลากรสขุ ภาพ 123
ภาคผนวกท่ี ๓ รายช่ือหน่วยงานที่เกยี่ วขอ้ งกบั คา่ มาตรฐาน 124 คู่มอื การดำ�เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ
หน่วยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั ค่ามาตรฐานสารเคมีและเว็บไซต์ทเ่ี ก่ียวข้อง ได้แก่ ศูนย์อ้างอิงทางห้องปฏิบัติการและพิษวิทยา กองโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เวบ็ ไซต์ http://www.referencetoxiclab.com กรมวิทยาศาสตรก์ ารแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข เว็บไซต์ http://www.dmsc.moph.go.th ศูนย์ขอ้ มลู วัตถอุ นั ตรายและเคมภี ัณฑ์ กรมควบคมุ มลพษิ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม เว็บไซต์ http://msds.pcd.go.th ข้อมูลเคมีภัณฑ์และเคร่ืองหมายความปลอดภัย สถาบันความปลอดภัยในการท�ำงาน กรมสวัสดิการ และคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน เว็บไซต์ http://www.nice.dipw.go.th ฐานความรู้ด้านเร่ืองความปลอดภัยด้านสารเคมี (chemical knowledge platform) เว็บไซต์ http://www.chemtrack.org กรมวชิ าการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เวบ็ ไซต ์ http://www.doa.go.th ส�ำนักงานปรมาณเู พ่ือสนั ติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เว็บไซต์ http://www.oap.go.th OSHA : Occupational Safety and Health Administration เปน็ หนว่ ยงานภาครฐั ในสงั กดั กระทรวง แรงงานประเทศสหรัฐอเมริกา จัดตั้งขึ้นเพ่ือด�ำเนินการรับผิดชอบตามกฎหมายความปลอดภัยและสุขภาพใน การทำ� งาน เว็บไซต์ http://www.osha.gov ACGIH : American Conference of Government Industrial Hygienist American Conference of Governmental Industrial Hygienists เป็นองค์กรวิชาชีพที่จัดต้ังโดยกลุ่มนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรมท่ี ท�ำงานในภาครัฐ มีบทบาทในการน�ำเสนอค�ำแนะน�ำต่าง ๆ ต่อหน่วยงานของรัฐ ท่ีส�ำคัญคือ การก�ำหนดค่าที่ ยอมรับให้มีได้ (Threshold limit value : TLV) และ Biological Exposure Indices : BEIs รวมถึงท�ำการ ปรับค่าเหล่าน้ีเพ่ือความเหมาะสมอย่างต่อเน่ือง โดยอาศัยการศึกษาวิจัยท่ีเช่ือถือได้จากหลายภูมิภาค เว็บไซต์ http://www.acgih.org NIOSH : National Institute for Occupational Safety and Health เปน็ หนว่ ยงานของรฐั ทม่ี บี ทบาท อยา่ งสงู ในงานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ของประเทศสหรฐั อเมรกิ า มหี นา้ ทห่ี ลกั ในการศกึ ษาวจิ ยั เพอื่ กำ� หนด เกณฑม์ าตรฐานดา้ นความปลอดภยั และมาตรฐานสง่ิ แวดลอ้ ม เวบ็ ไซต์ http://www.cdc.gov/niosh ********** คู่มอื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรับบุคลากรสุขภาพ 125
รายนามคณะผู้จัดท�ำเน้อื หา ที่ปรกึ ษา นายแพทยท์ รงคณุ วุฒิ กรมควบคุมโรค ดร.นพ.สมเกยี รต ิ ศริ ิรตั นพฤกษ์ นพ.จมุ พล ตันตวิ งษากิจ ผอู้ ำ� นวยการศนู ยพ์ ฒั นาวชิ าการอาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม จังหวดั สมุทรปราการ คณะผจู้ ดั ท�ำเนอ้ื หา นักวิชาการสาธารณสขุ ช�ำนาญการ นักวชิ าการสาธารณสุขชำ� นาญการพิเศษ บทท่ี ๑ นางสาวอารพี ิศ พรหมรตั น์ นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ บทที่ ๒ นายโกวิทย ์ บญุ มพี งศ์ นักวชิ าการสาธารณสขุ ช�ำนาญการพิเศษ บทท่ี ๓ ดร.อรพันธ์ อนั ติมานนท์ นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำ� นาญการพเิ ศษ นกั วิชาการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ นายโกวทิ ย ์ บญุ มีพงศ์ นักวิชาการสาธารณสขุ ปฏิบัตกิ าร บทท่ี ๔ ดร.อรพันธ์ อันตมิ านนท์ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร บทที่ ๕ นางสาวอารพี ศิ พรหมรตั น์ นกั วิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการ นักวชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั ิการ นางสาวธติ ริ ตั น ์ สายแปง นกั วชิ าการสาธารณสุขปฏบิ ตั กิ าร บทที่ ๖ นางสาวอมราภรณ์ ลาภเหลอื ภาคผนวก นางสาวอารพี ศิ พรหมรตั น์ นางสาวธติ ริ ตั น์ สายแปง นางสาวกมลชนก สขุ อนันต์ ตรวจทานเนอ้ื หา นักวิชาการสาธารณสุขช�ำนาญการพิเศษ นายแพทยช์ ำ� นาญการพเิ ศษ ดร.อรพันธ ์ อันติมานนท์ แพทยห์ ญงิ รชนกี ร วีระเจริญ รวบรวมและเรียบเรยี งเนอ้ื หา นักวิชาการสาธารณสขุ ชำ� นาญการ นกั วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ปฏบิ ัติการ นางสาวอารีพศิ พรหมรตั น์ นางสาวมกุ ดาวัลล ์ สุขงั ศูนยพ์ ฒั นาวิชาการอาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวดั สมุทรปราการ กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข โทรศัพท์ : ๐ ๓๙๔ ๐๑๖๖ ๐ ๒๓๙๔ ๗๙๓๖ โทรสาร : ๐ ๒๓๙๔ ๐๒๑๔ E- mail address : [email protected] Website : https://ddc.moph.go.th/oehdc/ พิมพท์ ่ี บรษิ ัท ภาคภูมิใจเสมอ จ�ำกัด โทร. ๐๘๗-๐๐๕-๐๐๑๑ 126 คู่มอื การดำ�เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบุคลากรสุขภาพ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132