Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ

คู่มือการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ

Published by nurse4thai, 2021-01-27 20:06:24

Description: คู่มือการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ

Keywords: คู่มือการดำเนินงานอาชีวอนามัยสำหรับบุคลากรสุขภาพ

Search

Read the Text Version

(๑) การออกแบบด้านสภาพแวดล้อม ได้แก่ การติดต้ังเครื่องตรวจจับโลหะเพื่อป้องกัน การน�ำอาวุธเข้ามา ติดตั้งกล้องวงจรปิดในจุดที่เสี่ยง การจัดให้มีคนเฝ้าระวังตรวจสอบความปลอดภัยในบริเวณ ลานจอดรถ จดุ รอรับบริการ จัดใหม้ ีบรรยากาศทีเ่ หมาะสม ฯลฯ (๒) การบริหารจัดการ ได้แก่ การจัดจ�ำนวนคนท�ำงานท่ีเหมาะสม เพื่อไม่ต้องให้ผู้รับบริการ รอนานเกินควร การจดั เวรพนักงานรกั ษาความปลอดภัยตลอดเวลาการปฏิบัตงิ าน การตรวจสอบการเข้าออกของ บุคคลภายนอก เช่น บตั รเข้าออก ฯลฯ ๖) การจัดการความเส่ียงจากคุณภาพอากาศภายในอาคาร ๖.๑) การจดั การอากาศสะอาดจากภายนอกเขา้ สู่อาคาร (๑) จัดตารางบ�ำรุงรักษา และมีการตรวจสอบประสิทธิภาพของระบบปรับอากาศอย่าง สม�ำ่ เสมอ (๒) ทอ่ ควบคุมการไหลเข้า ออกของอากาศ จะตอ้ งไม่มสี ิ่งกดี ขวาง (๓) อัตราการไหลต�่ำสุดของอากาศจากภายนอก แต่ละห้องอาจพิจารณาตามมาตรฐานที่ เกยี่ วข้อง เชน่ ASHRAE ๖๒-๑๙๘๙ ฯลฯ (๔) ระดบั ของคาร์บอนไดออกไซด์ไม่ควรเกนิ ๑,๐๐๐ ppm มาตรฐาน ASHRAE ๖๒-๑๙๘๙ (๕) หากอาคารมกี ารจดั พนื้ ท่ใี หม่ เชน่ กน้ั ห้อง หรอื ใช้ฉากกั้นพน้ื ท่ี ควรตรวจสอบให้มน่ั ใจวา่ การไหลและการกระจายตวั ของอากาศเพียงพอ (๖) ควรจัดระบบระบายอากาศให้เหมาะสมกับจ�ำนวนคนในห้อง เช่น ตามมาตรฐานของ ASHRAE ๖๒-๑๙๘๙ ๖.๒) กำ� จดั หรือควบคมุ แหลง่ ทอ่ี าจก่อให้เกิดการปนเปอ้ื นต่อสารเคมี และเชื้อชีวภาพ (๑) ควรกำ� จดั สิ่งที่จะกอ่ ให้เกดิ มลพษิ หรือการเลอื กใช้วัสดอุ ุปกรณท์ มี่ ีสารเคมีในระดบั ต�่ำ (๒) หากพน้ื ทใ่ี ดทจ่ี ำ� เปน็ ตอ้ งมกี ารใชส้ ารเคมี ควรมรี ะบบระบายอากาศเฉพาะที่ และตอ้ งมน่ั ใจวา่ ระบบระบายอากาศเฉพาะทนี่ นั้ จะไมน่ ำ� อากาศทมี่ สี งิ่ ปนเปอ้ื น/มลพษิ ทรี่ ะบายออกไป กลบั เขา้ มาในหอ้ ง/อาคารอกี (๓) ไม่ควรอนุญาตให้สูบบุหร่ีในอาคาร หากหลีกเล่ียงไม่ได้ ควรแยกพ้ืนท่ีเฉพาะ และจัดให้มี ระบบระบายอากาศทีเ่ หมาะสม (๔) ต้องม่ันใจว่าช่องที่น�ำอากาศสะอาดจากภายนอกเข้าสู่อาคาร จะต้องไม่อยู่ใกล้บริเวณ แหล่งขยะ หรอื แหลง่ ท่ีเป็นมลพษิ (๕) ชอ่ งน�ำอากาศเข้า (outdoor air inlet) ASHRAE Standard ๑๗๐-๒๐๐๘ Ventilation of health care facilities ก�ำหนดไว้ ดังนี้ ช่องที่น�ำอากาศเข้าจะต้องห่างจากพ้ืนท่ีที่มีการปนเปื้อนในอากาศ อยา่ งนอ้ ย ๒๕ ฟตุ หรือ ๘ เมตร ควรอย่หู า่ งจากชอ่ งน�ำอากาศออก (exhaust discharge) ไม่น้อยกว่า ๘ เมตร และมีความสูงไม่ตำ่� กวา่ ๒ เมตร หรอื ๑ เมตรเหนอื ระดับหลังคา ส่วนชอ่ งน�ำอากาศออก (exhaust discharge) การระบายอากาศออกจากห้อง หรือพื้นท่ีติดเชื้อ เช่น ห้องแยกผู้ป่วยติดเชื้อห้องฉุกเฉินหรือห้องทดลอง ทางการแพทย์ การออกแบบจะต้องท�ำให้ความดันในท่อเป็นลบเพื่อให้อากาศภายในไหลออกมาสู่ภายนอก และมีความสูงอย่างน้อย ๓ เมตรเหนือระดับหลังคา และห่างจากช่องเปิดอาคารไม่น้อยกว่า ๓ เมตร และต้อง ค�ำนงึ ถึงทิศทางลมเพ่อื ป้องกันการไหลย้อนกลบั (๖) ควรจัดตารางการท�ำความสะอาดอยา่ งสมำ�่ เสมอ เพือ่ ก�ำจัดฝนุ่ (๗) ควรท�ำการตรวจสอบแหล่งท่มี นี ้�ำขงั หรอื รอยรวั่ นำ�้ ซมึ แลว้ ปรบั ปรงุ แกไ้ ข (๘) ปรับระดบั อณุ หภมู ิความชนื้ สัมพทั ธใ์ ห้เหมาะสม (๙) หากพบวา่ พรม ฝา้ เพดาน ผนงั ในบรเิ วณใดมรี าเกดิ ขน้ึ ควรรบี ทำ� การเปลย่ี น หรอื แกไ้ ขทนั ที 46 คมู่ อื การด�ำ เนนิ งานอาชวี อนามัยสำ�หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ

๗) การจดั การความเสยี่ งจากอัคคีภัย ๗.๑) จัดให้มรี ะบบป้องกนั และระงบั อคั คีภัย ไดแ้ ก่ (๑) การจัดเจ้าหน้าท่ีรักษาสถานที่ในเวลาท�ำงานและนอกเวลาท�ำงาน โดยต้องจัดอบรมให้ มีความรู้ในเรื่องการประสานงานเมื่อเกิดเพลิงไหม้ การส่ือข้อความขอความช่วยเหลือ การใช้เครื่องดับเพลิง จุดท่ตี ้ังของกระแสไฟฟา้ ส�ำรอง เม่อื ถูกตัดกระแสไฟฟา้ ในขณะเพลิงไหม้ (๒) การจัดใหม้ อี ปุ กรณ์ดบั เพลงิ ตดิ ต้งั ตามจุดตา่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสมและสะดวกในการหยบิ ใช้งาน มีจ�ำนวนที่เพียงพอและพร้อมท่ีจะใช้งานได้ตลอดเวลา มีการก�ำหนดตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ดับเพลิง อย่างน้อยทุก ๆ ๖ เดือน กรณีท่ีเป็นอาคารสูงควรมีหัวประปาดับเพลิง และท่อเมนของการประปาที่ใช้ในการ ดับเพลงิ หวั ทอ่ รับนำ้� การเตรียมน้ำ� ส�ำรองในการดบั เพลงิ และค�ำนงึ ถงึ การสญู เสยี นำ้� ในการใช้ดบั เพลงิ ดว้ ย (๓) การดูแลและเก็บรักษาวัตถุไวไฟ ก๊าซภายใต้ความดันและสารเคมีอ่ืน ๆ อย่างเหมาะสม และปลอดภัย (๔) การกำ� จัดของเสยี ที่ติดไฟง่าย (๕) การติดต้งั ระบบสัญญาณเตอื นภัย และแจง้ เหตเุ พลงิ ไหม้ (๖) การจัดท�ำทางหนีไฟให้พร้อมและเพียงพอกับจ�ำนวนคนที่จะต้องหนีไฟออกไปสู่ภายนอก ได้ทนั ท่วงที มปี ้ายบอกทาง ไมม่ ีสิ่งกดี ขวางทางหนไี ฟ ห้ามใช้ลิฟท์ขณะเกดิ เพลงิ ไหม้ (๗) การดแู ลรกั ษาอุปกรณเ์ ครื่องใช้ไฟฟ้าให้อยใู่ นสภาพใช้งานได้ดี (๘) การจัดอุปกรณ์ในการปฐมพยาบาล เพ่ือสามารถน�ำไปใช้ได้ทันท่วงที และลดความ รนุ แรงของอันตรายทอี่ าจเกดิ ขึ้น ๗.๒) จัดให้มีแผนป้องกันและระงับอัคคีภัย เร่ิมตั้งแต่การจัดท�ำแผน การวางระบบรับเหตุฉุกเฉิน การด�ำเนินการตามข้ันตอนเมื่อเกิดเหตุและหลังเกิดเหตุ นอกจากน้ีควรมีแผนปฏิบัติการ เช่น การตรวจตรา สถานท่ีต่าง ๆ การอบรมผู้เกี่ยวข้องในการป้องกันระงับอัคคีภัย การฝึกซ้อมการหนีไฟ การตรวจสอบระบบ สัญญาณเตือนไฟ เป็นต้น ๓.๔.๓ ตวั อยา่ งความเสยี่ งหรืออันตรายท่พี บในแผนกต่าง และการป้องกนั ควบคมุ การด�ำเนินการควบคุมความเส่ียงจากการท�ำงานโดยอาศัยหลักการควบคุมความเสี่ยงน้ัน ให้พิจารณา การควบคุมความเส่ียงที่มีประสิทธิภาพมากสุด ถ้าไม่สามารถด�ำเนินการได้ ค่อยลดการควบคุมความเสี่ยงลง มาตามล�ำดับ โดยตารางท่ี ๓.๙ แสดงตัวอย่างของความเสี่ยงหรืออันตรายท่ีพบ พร้อมวิธีการป้องกันควบคุม ในแผนกรังสี หอ้ งผ่าตัด และแผนกโภชนาการ ตามลำ� ดบั ตารางท่ี ๓.๙ ความเส่ยี งหรืออันตรายท่ีพบ และการปอ้ งกนั ควบคุมในแผนกรังสี หอ้ งผา่ ตดั และแผนกโภชนาการ แผนก ส่ิงคกุ คามส�ำคัญ การป้องกันควบคุม เอกซเรย์ รงั สเี อกซเรย์ ๑. ใช้เครื่องก�ำบังรังสี เพื่อกันรังสีให้มีระดับที่ลดลงจากเดิม วัสดุท่ีนิยมที่ใช้เป็นเคร่ืองก�ำบังรังสี ได้แก่ตะก่ัวหรือ คอนกรีตหนา ๒. ตดิ อปุ กรณ์ตรวจวัดระดับรังสที ีต่ วั ผู้ปฏิบัตงิ านเพ่อื ใหท้ ราบ ปรมิ าณรังสที ่ีไดร้ ับ ๓. ตรวจเช็คเครอ่ื งถ่ายภาพรงั สตี ามมาตรฐานทีก่ ำ� หนด ๔. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องมีความรู้เร่ืองอันตราย และการป้องกัน อนั ตรายจากรงั สี รวมถงึ วิธีการทำ� งานท่ปี ลอดภยั ค่มู อื การดำ�เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 47

แผนก ส่ิงคุกคามส�ำคญั การป้องกันควบคุม เอกซเรย์ ห้องผา่ ตัด การยศาสตร์ ๑. มีอุปกรณช์ ว่ ยยก เคลือ่ นยา้ ย เชน่ แผ่นเลอื่ นตัวผปู้ ว่ ย ๒. ให้ความรู้แก่ผู้ปฏิบัติงานในเรื่องการยกหรือเคลื่อนย้าย หอ้ งผ่าตัด ผปู้ ่วยท่ถี กู ต้อง และปลอดภยั ๓. ในการยกหรือช่วยเหลือผู้ป่วย ควรมีผู้ช่วยเหลือไม่ควร ยกลำ� พงั คนเดยี ว คณุ ภาพอากาศทไี่ ม่เหมาะสม ๑. ตรวจสอบและบ�ำรุงรักษาระบบระบายอากาศ หรือแก๊ส เช่น มีการร่วั ของก๊าซทใ่ี ช้ อยา่ งสม่ำ� เสมอ ในการดมยา ๒. ตรวจวัดปริมาณแก๊สและคุณภาพอากาศในห้องอย่างน้อย ปีละคร้งั การยศาสตร์ ๑. มีอุปกรณ์ช่วยยก เคล่ือนย้าย เช่น แผ่นเลื่อนตัวผู้ป่วย - ลกั ษณะงานทตี่ อ้ งยนื เปน็ เวลานาน รถเขน็ ตา่ ง ๆ ออกแรงยก/เคล่ือนยา้ ยผ้ปู ว่ ย ๒. ใหค้ วามรแู้ กผ่ ปู้ ฏบิ ตั งิ านในเรอ่ื งการยกหรอื เคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ย - ลักษณะงานทต่ี ้องใชเ้ ครอื่ งมือ ท่ถี กู ตอ้ ง และปลอดภยั อุปกรณก์ ารแพทย์ สายตาใน ๓. ในการยกหรือช่วยเหลือผู้ป่วย ควรมีผู้ช่วยเหลือไม่ควร การเพง่ มองขณะผ่าตัดหรือ ยกลำ� พงั คนเดียว มองจอมอนิเตอร์ ๔. ควรตดิ ต้งั อปุ กรณเ์ สรมิ เช่น เครอ่ื งตรวจจับทม่ี ี สญั ญาณเสยี งเตือน เพือ่ ผ่อนคลายทีต่ ้องจับตาอยู่ท่ี จอภาพ ๕. ยดื เหยยี ดกลา้ มเน้ือ บรหิ ารสายตา ชว่ งพักเบรค เชอ้ื โรค ๑. ตรวจสอบและบำ� รงุ รกั ษาระบบระบายอากาศอยา่ งสมำ่� เสมอ ๒. ตรวจวัดปริมาณเช้ือโรคและคุณภาพอากาศในห้องอย่าง น้อยปีละครง้ั ๓. ปฏิบัตติ ามหลกั Universal precaution อยา่ งเคร่งครดั อบุ ัตเิ หตจุ ากการท�ำงาน ๑. ปฏบิ ัติตามหลกั Universal precaution อย่างเครง่ ครดั - จากการใช้อุปกรณ์/เครอ่ื งมือ ๒. มีการให้ความรู้/แนะน�ำวิธีการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์แก่ ทีม่ คี วามคม ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน และการสอนงานให้กบั เจ้าหนา้ ทีใ่ หม่ - จากการใช้อปุ กรณ์/เคร่อื งมือ ๓. อปุ กรณเ์ คร่ืองใชไ้ ฟฟ้าควรตอ่ สายดินและวธิ กี ารใช้กำ� กบั ไว้ ทม่ี ขี นาดหรอื ลกั ษณะไมเ่ หมาะสม ๔. จดั ใหค้ วามรใู้ นเรอ่ื งการทำ� งานกบั เครอ่ื งใชไ้ ฟฟา้ ทถี่ กู วธิ แี ละ กับผ้ทู �ำงาน ปลอดภัย พรอ้ มทัง้ วิธีการใช้อปุ กรณด์ ับเพลงิ - จากการใช้อุปกรณ์ไฟฟา้ จติ วทิ ยาสงั คม เช่น ความเครยี ด ๑. จัดให้มีทีมงานที่เพียงพอและหมุนเวียนอย่างสมดุล โดยมี จาก วนั หยดุ ทีเ่ พยี งพอ และมรี ะยะเวลาการทำ� งานทเ่ี หมาะสม - ลกั ษณะงานทีม่ ีชวั่ โมงการ ๒. มีการให้ความรู้/แนะน�ำวิธีการใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์แก่ ทำ� งานนาน (prolong ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน และการสอนงานใหก้ ับเจา้ หน้าท่ใี หม่ working) - ลักษณะงานเร่งด่วนทีต่ ้องชว่ ย ชวี ิต/รักษาผู้ป่วย 48 ค่มู อื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บคุ ลากรสุขภาพ

แผนก สิ่งคุกคามสำ� คญั การป้องกันควบคมุ แผนก โภชนาการ - การทำ� งานทไี่ ม่คุน้ เคยกับ อปุ กรณ์ท่ีใช้ หอ้ ง โภชนาการ อบุ ัตเิ หตุ ๑. หากมีอาหารหก หรอื จานแตก ควรรีบท�ำความสะอาดทันที - จากการล่นื ลม้ ๒. ผู้ปฏบิ ัติงานควรสวมใสร่ องเทา้ ทมี่ พี ืน้ ผิวกนั ลนื่ - จากการใชอ้ ปุ กรณ์/เครือ่ งมอื ที่ ๓. หากพืน้ ช�ำรดุ /เสยี หาย ควรมกี ารซ่อมแซมปรบั ปรุงทนั ที มีความคม ๔. พืน้ บริเวณทีล่ า้ งจานหรอื หน้าเตา ควรทำ� ด้วยวสั ดกุ ันล่ืน - จากการใช้แก๊สหุงตม้ ๕. บริเวณทางเดนิ ไมค่ วรมวี สั ดุ สงิ่ ของกีดขวาง ๖. อุปกรณข์ องมีคมควรจดั เกบ็ อย่างมรี ะเบียบ ๗. ให้ความรใู้ นเรื่องการทำ� งานกับถงั แก๊สอยา่ งปลอดภยั ความรอ้ น ๑. ตดิ ต้งั ท่ดี ูดควัน และพัดลมระบายอากาศตามหลักวิชาการ ๒. มีหอ้ งแอรใ์ หส้ ามารถเข้าไปนั่งพกั และน้�ำเยน็ อยา่ ง เพียงพอ เสียงดงั จากเครอื่ งดูดควนั การ ๑. ปรบั ปรงุ และบำ� รุงรักษาเครอ่ื งดดู ควันอย่างสม่�ำเสมอ ล้างจานจ�ำนวนมาก ๒. ตรวจวัดระดับเสียงอย่างสม่�ำเสมอ และหากพบเกิน ๘๕ เดซิเบลเอ ใน ๘ ชั่วโมงการทำ� งาน ควรดำ� เนนิ การโครงการ อนุรักษ์การได้ยิน การยศาสตร์ ๑. จัดหารถขนสง่ อาหารทีม่ มี อเตอรท์ นุ่ แรงในการเขน็ - การออกแรงยกอุปกรณ์ ๒. จัดหารถเข็นส�ำหรับส�ำหรับการเคลื่อนย้ายภาชนะบรรจุ - การปรงุ อาหารทม่ี ีน้�ำหนัก - การออกแรงเข็นหรือลากรถ อาหารท่หี นัก ส่งอาหาร ๓. จัดใหม้ ีทีมงานท่ีเพยี งพอและหมนุ เวยี นอยา่ งสมดุล กล่าวโดยสรุป โรงพยาบาลประกอบไปด้วยกระบวนการท�ำงานต่าง ๆ มากมายท่ีมีโอกาสสัมผัสกับ ส่ิงคุกคามต่อสุขภาพเกือบทุกด้าน ซึ่งแต่ละแผนกอาจมีความแตกต่างกัน ข้ึนกับลักษณะงานท่ีท�ำเป็นหลัก ดังนั้น การประเมินความเสี่ยงจากการท�ำงานจึงเป็นกระบวนการหน่ึง ที่จะท�ำให้ทราบได้ว่าในกระบวนการ ท�ำงานน้นั ๆ มีความเสย่ี งตอ่ สุขภาพผทู้ �ำงานมากน้อยเพยี งใด โดยอาศยั การเดินส�ำรวจในแผนกตา่ ง ๆ เพอ่ื คน้ หา สง่ิ คกุ คามสุขภาพ การวเิ คราะห์งานเพอ่ื ความปลอดภยั การจัดระดบั ความเสี่ยงความเสยี่ ง และก�ำหนดมาตรการ ในการจัดการควบคุมความเสี่ยงนั้น ๆ โดยมีเป้าหมายเพื่อน�ำไปสู่การปฏิบัติ ส่งผลให้เกิดการคุ้มครองสุขภาพ ทง้ั ของบุคลากรผูป้ ฏบิ ัตงิ าน ผู้ปว่ ยและญาตดิ ้วย ********** คูม่ ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรบั บุคลากรสุขภาพ 49

บรรณานุกรม กรมควบคุมโรค กองโรคจากการประกอบอาชพี และสงิ่ แวดล้อม อรพนั ธ์ อนั ตมิ านนท์ (บรรณาธกิ าร). (๒๕๖๓). แนวทางการดำ� เนนิ งานเฝา้ ระวงั ปอ้ งกันควบคุมวัณโรคในบคุ ลากรท่ีปฏิบัตงิ านของสถานพยาบาล. กรมควบคุมโรค ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม. (๒๕๕๔). คู่มือการประเมินความเส่ียงจาก การท�ำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๔). (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ. โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย. กรมควบคุมโรค. ส�ำนกั วัณโรค แนวทางการควบคุมวณั โรคประเทศไทย พ.ศ. (๒๕๖๑) สืบค้นวันท่ี ๒๒ กันยายน ๒๕๖๒ สืบค้นจาก https://www.tbthailand.org/download/ Manual/ NTP๒๐๑๘.pdf กติ ตคิ ณุ ยกทรพั ย.์ (๒๕๕๔). การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการระบายอากาศในหอผปู้ ว่ ยรวมของโรงพยาบาล. วทิ ยานพิ นธ์ สถาปตั ยกรรมศาสตรม์ หาบณั ฑิต, มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร.์ สถาบันบ�ำราศนราดรู สำ� นกั วณั โรค วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค์. (๒๕๕๙). คูม่ ือแนวทาง การประเมินสิ่งแวดล้อมเพ่ือการป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อวัณโรคในสถานพยาบาล. กรงุ เทพฯ. ส�ำนกั พมิ พ์อักษรกราฟฟคิ แอนด์ดีไซน.์ โสภณ พงษ์โสภณ. Hazard Identification & risk analysis. สืบค้นวันที่ ๑๕ ตุลาคม ๒๕๕๖, จาก http://www.civil.mut.ac.th/wp-content/uploads/downloads/๒๐๑๒/๑๒/Ch๖-Hazard identification-Risk-Assessment_V๑๕Dec๑๒.pdf. เอกสารประกอบการบรรยาย. อุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์. (๒๕๕๔). การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย : เทคนิคช้ีบ่งอันตรายเพื่อป้องกัน อุบัติเหตุจากงาน Job Safety Analysis (JSA): Hazard Identification Technique for Work Accident Prevention. วารสาร มฉก.วิชาการ. ๑๔(๒๘), ๒๓๓-๒๔๕. WSH Council. Code of practice on workplace Safety and Health (WSH) Risk Management. Retrieved October ๑, ๒๐๑๗, from https://www.wshc.sg/files/wshc/upload/cms/file/ ๒๐๑๔/RMCP_๒๐๑๒.pdf> ๒๐๑๒. 50 ค่มู ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ

บทที่ ๔ หลกั การประเมินและเฝ้าระวงั สุขภาพบคุ ลากร การตรวจสุขภาพ หมายถึง การตรวจร่างกายและสภาวะทางจิตใจตามวิธีทางการแพทย์ เพื่อให้ทราบถึง ความเหมาะสม และผลกระทบตอ่ สุขภาพของผปู้ ฏบิ ัตงิ านอันเกิดจากการทำ� งาน โดยองค์ประกอบของการตรวจ สุขภาพทางดา้ นอาชวี อนามยั ประกอบด้วย การซกั ประวตั ิ การตรวจรา่ งกาย และ การตรวจพเิ ศษอ่ืน ๆ ๔.๑ ประเภทของการตรวจสุขภาพ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ ๒ ประเภท ใหญ่ๆ ไดแ้ ก่ ๔.๑.๑ การตรวจสขุ ภาพทัว่ ไป หมายถงึ การตรวจสุขภาพตามปกตขิ องผู้ปฏบิ ตั ิงาน ปกตติ รวจปลี ะครัง้ รายการตรวจสุขภาพท่ัวไป ได้แก่ นำ้� หนกั ส่วนสูง ผลตรวจรา่ งกายทั่วไปโดยแพทย์ ความดันโลหติ ชีพจร ตรวจ ระดับไขมันในเลือด ตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด ตรวจการท�ำงานตับ การท�ำงานของไต ตรวจปัสสาวะ ตรวจอจุ จาระ โดยรายการตรวจจะข้นึ กบั อายุ (ปกติจะก�ำหนดท่นี ้อยกวา่ หรอื มากกวา่ ๓๕ ป)ี ๔.๑.๒ การตรวจสุขภาพตามปจั จยั เสย่ี งจากการท�ำงาน หมายถึง การตรวจสุขภาพในกลุ่มผปู้ ฏบิ ตั ิงาน ท่ีเส่ียงต่ออันตราย โดยต้องค�ำนึงถึงสภาพแวดล้อมในการท�ำงานของแต่ละกลุ่มเส่ียงว่ามีอะไรบ้าง และมี ผลกระทบต่อการท�ำงานของร่างกายอย่างไร จ�ำเป็นต้องมีการตรวจพิเศษเฉพาะระบบนั้น ๆ อย่างสม่�ำเสมอ เพื่อค้นหาความผิดปกติท่ีอาจเก่ียวข้องกับการท�ำงาน ซ่ึงการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเส่ียงจากการท�ำงานนั้น ต้องอาศัยการตรวจด้วยเคร่ืองมือพิเศษ เช่น การตรวจสมรรถภาพการท�ำงานของปอด การตรวจสมรรถภาพ การได้ยิน การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น และการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เพ่ือหาระดับสารเคมีหรือ Metabolite ของสารเคมีจากตัวอย่างทางชวี ภาพ เชน่ ปสั สาวะ หรอื เลอื ด ๔.๒ ชนิดของการตรวจทางดา้ นอาชวี อนามัยเพื่อประเมินสภาวะสุขภาพผปู้ ฏิบัติงาน ๔.๒.๑ ตรวจสุขภาพก่อนเข้าทำ� งาน แบ่งเป็น ๒ ชนดิ ๑) ตรวจสุขภาพก่อนจ้างงาน (pre-employment examination) เป็นการตรวจสุขภาพก่อนท่ี หน่วยงานจะจ้างผู้ปฏิบัติงานน้ันเข้ามาท�ำงาน (ผู้รับการตรวจยังไม่มีสถานะเป็นผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงานน้ัน) การตรวจสุขภาพในกรณีนี้ จะเป็นการตรวจสุขภาพท่ัวไป หรือเป็นการตรวจสุขภาพตามท่ีก�ำหนดในใบรับรอง แพทย์เพ่อื น�ำไปสมัครงานหรือพิจารณาดูความพรอ้ มหรอื เหมาะสมในการจะเข้าไปท�ำงานน้นั ๆ ๒) ตรวจสขุ ภาพแรกรบั เข้าทำ� งาน (pre-placement examination) เปน็ การตรวจสขุ ภาพหลงั จาก ตกลงรับเข้าท�ำงานแล้ว โดยปกติก�ำหนดระยะเวลาภายใน ๓๐ วันหลังจากรับผู้ปฏิบัติงานเข้าท�ำงาน เพื่อ รวบรวมข้อมูลสุขภาพเบ้ืองต้นของผู้ปฏิบัติงานและเพ่ือเป็นข้อมูลพื้นฐานในการเฝ้าระวังสุขภาพตามความเส่ียง ของงานท่ีจะท�ำต่อไป การตรวจสุขภาพดังกล่าวจะต้องค�ำนึงถึงลักษณะหน้าท่ีของงานที่จะให้ท�ำ เพื่อเลือกคน ให้เหมาะสมกับงาน โดยหลักการหน่วยงานต่าง ๆ ควรมีการก�ำหนดคุณสมบัติผู้ปฏิบัติงาน เพื่อป้องกันมิให้ผู้ที่ จะเข้าไปปฏิบัติงานมีความเส่ียงจากงานทั้งกรณีของการเกิดอุบัติเหตุจากโรคท่ีตนเองเป็นอยู่หรือกระตุ้นให้โรค มีความรุนแรงมากขึ้น ตัวอย่างการตรวจสุขภาพในกรณีน้ี คือ การตรวจสมรรถภาพปอดในผู้ท่ีมีประวัติเป็น โรคหอบหืด แลว้ จะตอ้ งไปท�ำงานสัมผสั กบั ฝนุ่ เป็นต้น ๔.๒.๒ การตรวจสุขภาพเป็นระยะ (periodic examination) เป็นการตรวจติดตามหรือเฝ้าระวัง สุขภาพผู้ปฏิบัติงาน ซ่ึงอาจได้รับผลกระทบจากการได้รับปัจจัยเส่ียงต่าง ๆ การตรวจสุขภาพเป็นระยะนั้น เพ่อื พิจารณาว่าภายหลงั จากท�ำงานมาระยะหน่ึงแล้ว คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 51

- ผปู้ ฏิบัตงิ านยงั มสี ุขภาพดอี ยู่หรอื ไม่ - ผลการตรวจสุขภาพพบว่าผู้ปฏิบัติงานมีการรับสัมผัสสิ่งคุกคามจากสภาพแวดล้อมการท�ำงาน จนถึง ระดบั ทจ่ี ะก่อใหเ้ กดิ ความผดิ ปกติตอ่ สุขภาพหรือไม่ - ผลจากการทำ� งานท�ำให้สุขภาพของผู้ปฏบิ ัติงานแย่ลง หรือเกดิ โรคขน้ึ หรอื ไม่ - ผลจากการที่ผู้ปฏิบัติงานอายุมากข้ึน และจากสาเหตุปัจจัยส่วนบุคคลอื่น ๆ เช่น การสูบบุหรี่ การดม่ื สุรา ทำ� ใหส้ ุขภาพของผูป้ ฏบิ ัตงิ านแยล่ ง หรอื เกดิ โรคขน้ึ หรือไม่ - กรณีพบว่าผู้ปฏิบัติงานป่วยเป็นโรคหรือตรวจพบความผิดปกติต่างๆในระยะเร่ิมแรก แพทย์จะได้รีบ ด�ำเนินการตรวจวินิจฉัยโรคและให้การรักษาพยาบาล หรือส่งตัวไปพบแพทย์ผู้เช่ียวชาญท่ีโรงพยาบาล ตามล�ำดบั ตอ่ ไป นอกจากน้ีผลการตรวจสุขภาพของผู้ปฏิบัติงานนี้ ยังสามารถใช้ประเมินมาตรการความปลอดภัยและการ ป้องกันโรคท่ีก�ำลังด�ำเนินอยู่ โดยปกติให้ท�ำการตรวจสุขภาพเป็นระยะอย่างน้อยปีละครั้ง หรืออาจจะท�ำการ ตรวจมากกว่า ๑ คร้ัง ตามลักษณะของความเส่ียงจากการท�ำงานท่ีผู้ปฏิบัติงานน้ันๆรับผิดชอบอยู่หรือตามที่ กฎหมายกำ� หนด ๔.๒.๓ การตรวจสขุ ภาพผปู้ ฏบิ ัตงิ านกอ่ นกลบั เขา้ ทำ� งาน (return to work examination) หมายถึง การตรวจสุขภาพเพ่ือประเมินสมรรถภาพโดยรวมของผู้ปฏิบัติงาน ก่อนที่จะจัดหางาน ท่ีเหมาะสมให้ผู้ปฏิบัติงานท�ำ ภายหลังการเจ็บป่วยจากโรคท่ัวไป โรคจากการท�ำงาน รวมทั้งอุบัติเหตุท้ังกรณี นอกงานและในงาน ท่ีจ�ำเป็นต้องหยุดงานหรือเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นระยะเวลานาน โดยมีการ รวบรวมข้อมูลท่ีเก่ียวข้องมาประกอบการตรวจสุขภาพ เช่น ข้อมูลการเจ็บป่วย ข้อมูลการท�ำงาน และมีการ ประเมิน ๓ ด้านหลัก ๆ คือ ๑) ประเมินความเสี่ยง ว่าโอกาสในการท่ีผู้ป่วยกลับเข้าไปท�ำงานแล้วจะเกิด อันตรายต่อตัวผู้ป่วยเอง ต่อผู้ร่วมงาน หรือต่อบุคคลท่ัวไปเป็นอย่างไร ๒) ประเมินระดับของความสามารถที่ สูงสุดที่บุคคลนั้นจะมีได้ หลังจากท่ีได้ท�ำการฝึกฝนร่างกายหรือผ่านการฟื้นฟูอย่างเต็มท่ีแล้ว และ ๓) ประเมิน ความทน (tolerance) ซึ่งเป็นมุมมองทางด้านจิตใจ (psychophysiologic concept) จะช่วยให้ได้ข้อมูล พน้ื ฐานทางสขุ ภาพใหม่และยงั เปน็ ประโยชน์ในการพิจารณาเพอ่ื พนื้ ฟสู มรรถภาพผู้ปฏิบตั ิงาน ๔.๒.๔ การตรวจสุขภาพกอ่ นออกจากงาน (retirement health examination) หมายถึง การตรวจเมื่อผู้ปฏิบัติงานจะเกษียณอายุออกจากงาน หรือเป็นการตรวจเมื่อผู้ปฏิบัติงานจะ ลาออกจากงานท่ีเดิม โดยอายุยังไม่ถึงเกษียณ จะเรียกว่า การตรวจสุขภาพก่อนออกจากงาน (exit examination) การตรวจสุขภาพก่อนเกษียณนั้น เพื่อดูว่าหลังจากท่ีท�ำงานมาเป็นเวลานานแล้ว สุขภาพของ ผู้ปฏิบัติงานยังแข็งแรงดีอยู่หรือไม่ มีโรคเกิดขึ้นหรือไม่ ถ้ามีโรคเกิดขึ้นจะได้รีบแนะน�ำและให้การรักษาต้ังแต่ ระยะท่ีตรวจพบ การตรวจประเภทนี้ช่วยให้คนท่ีท�ำงานมานานจนเกษียณ ได้มีสุขภาพท่ีแข็งแรงสมวัย เก่ียวกับ ด้านกฎหมาย การตรวจนี้ถือว่ามีประโยชน์ต่อฝ่ายนายจ้าง เน่ืองจากเป็นหลักฐานท่ีช่วยยืนยันว่า ผู้ปฏิบัติงานท่ี จะเกษียณหรือจะลาออกจากงานสุขภาพเป็นอย่างไร ผลการตรวจสุขภาพ ณ ขณะน้ันจะเป็นข้อมูลยืนยัน ระยะเวลาการเกิดโรคได้ หากเกิดปัญหาผู้ปฏิบัติงานออกจากงานไปแล้วเจ็บป่วยข้ึนในภายหลัง แล้วมา ร้องเรยี นกบั สถานประกอบการ หรอื หน่วยงาน การซักประวัติผู้ปฏิบัติงาน ควรมีการซักประวัติท้ังในเรื่อง ประวัติส่วนตัว ประวัติครอบครัวและประวัติ การเจ็บปว่ ยทั้งในอดีตและปัจจุบนั ไดแ้ ก่ สว่ นข้อมูลทั่วไป : ประกอบด้วย วนั ที่ซักประวตั ิ ขอ้ มลู ประชากร เช่น วันเดอื นปีเกิด เพศ เช้อื ชาติ ประวัติสุขภาพ : สุขภาพท่ัวไป ประวัติการเจ็บป่วยและการบาดเจ็บ ทั้งนอกงานในงานตั้งแต่อดีตจนถึง ปจั จุบัน การใหภ้ ูมิคมุ้ กัน การรักษาในโรงพยาบาล การรบั การผา่ ตดั การแพย้ า รวมทงั้ พฤตกิ รรมสุขภาพตา่ ง ๆ 52 คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรบั บุคลากรสุขภาพ

เช่น การนอนหลับ การออกกำ� ลังกาย การด่มื กาแฟ ดื่มสุรา การใช้ยา การสบู บุหร่ี เปน็ ตน้ ประวตั คิ รอบครัว : สอบถามปญั หาสขุ ภาพของคนในครอบครวั เชน่ การเปน็ เบาหวาน ความดนั โลหิตสงู ความผดิ ปกติทางจติ มะเร็ง วณั โรค และอน่ื ๆ ประวัตกิ ารทำ� งาน : ลักษณะงานในปจั จุบนั ระยะเวลาการท�ำงาน งานทที่ �ำอยู่เกีย่ วข้องส่งิ คกุ คามอะไรบา้ ง รวมทัง้ ประวัติการท�ำงานในอดตี ๔.๓ การตรวจสุขภาพตามปจั จยั เสี่ยงในแต่ละแผนก การตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงควรตรวจแรกรับเข้าท�ำงาน ขณะท�ำงาน และก่อนเปล่ียนงาน ในแผนกตา่ ง ๆ ทม่ี คี วามเสย่ี ง ทมี งานอาชวี อนามยั ของหนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพจะตอ้ งมบี ทบาทในการประเมนิ เฝา้ คมุ และเฝา้ ระวงั สขุ ภาพ และความปลอดภยั ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน รวมทงั้ วเิ คราะหแ์ ละตดั สนิ ใจในการจดั บรกิ ารใหต้ รงกบั ความตอ้ งการดา้ นสขุ ภาพของผปู้ ฏบิ ตั งิ านอยา่ งแทจ้ รงิ โดยบคุ คลทมี่ คี วามเสยี่ งจากการทำ� งานตอ้ งไดร้ บั การตรวจ สุขภาพตามปัจจัยเส่ียงจากการท�ำงาน หรือต้องมีการซักประวัติผลกระทบต่อสุขภาพ กรณีท่ีไม่สามารถประเมิน ด้วยเครื่องมอื พเิ ศษ หรือตรวจทางห้องปฏิบตั ิการได้ ทง้ั นกี้ ารกำ� หนดรายการตรวจสขุ ภาพ ใหใ้ ชข้ อ้ มลู จากผลการประเมนิ ความเสย่ี งจากการทำ� งาน และผลการ ตรวจสภาพแวดลอ้ มการทำ� งานมาประกอบเพม่ิ เตมิ สำ� หรบั ตวั อยา่ งแนวทางการออกแบบตรวจสขุ ภาพตามปจั จยั เสยี่ งในแผนกเสยี่ งรายละเอยี ดดงั ตารางที่ ๔.๑ โดยในตาราง จะไมไ่ ดร้ ะบรุ ายการตรวจสขุ ภาพทวั่ ไป เชน่ การตรวจ ความสมบรู ณข์ องเมด็ เลอื ด (Complete Blood Count : CBC) เนอ่ื งจากผปู้ ฏบิ ตั งิ านไดร้ บั การตรวจเปน็ ประจำ� ทกุ ปี ตารางที่ ๔.๑ สิง่ คุกคามและข้อเสนอแนะในการตรวจสุขภาพผ้ปู ฏิบตั ิงานในแผนกต่าง ๆ ของโรงพยาบาล หนว่ ยงาน สงิ่ คกุ คามทีพ่ บบอ่ ย ขอ้ เสนอแนะในการตรวจสุขภาพ หนว่ ยจา่ ยกลาง - สารเคมี เชน่ Ethylene oxide - ซกั ประวตั โิ รคระบบทางเดินหายใจ สบู่ Detergent ตา่ ง ๆ โรคผิวหนัง โรคระบบกระดกู และกล้ามเนอ้ื - เชอ้ื โรค - ตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ - อุบัติเหตุ - ตรวจสมรรถภาพปอดกรณีซักประวัตมิ ปี ัญหา - ท่าทางการท�ำงาน เชน่ การยกของหนัก ระบบทางเดินหายใจ - เสียงดัง - เอกซเรยป์ อด - ตรวจพิเศษเพิม่ เติม เช่น ตรวจการทำ� งานของ ตบั /ไต ในผ้ปู ฏบิ ตั งิ านทุกกล่มุ อายทุ ที่ ำ� งาน สมั ผัส Ethylene oxide หอ้ งซกั รดี /ตัด - สารเคมี เชน่ นำ�้ ยาซกั ผา้ ขาว ฝ่นุ ผ้า - ซักประวัติทางเดินหายใจ ระบบกระดูกและ เยบ็ /ซอ่ มเสื้อผา้ - เชอื้ โรค กล้ามเนอื้ - อบุ ตั เิ หตุ - ตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ - ท่าทางการท�ำงาน เช่น การยกของหนัก - ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น (งานเย็บผา้ ) - เสียงดัง - ตรวจสมรรถภาพปอด - ความร้อน ห้องครวั / - ความรอ้ น - ซักประวัติอาการผิดปกติของผิวหนัง และ โภชนาการ - ท่าทางการท�ำงาน เช่น การยกของหนกั ระบบกระดกู และกล้ามเนื้อ - อุบัติเหตุ - ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน - เสียงดัง คู่มอื การดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ 53

หน่วยงาน สิง่ คกุ คามทพ่ี บบ่อย ข้อเสนอแนะในการตรวจสุขภาพ ห้องทนั ตกรรม - เสยี งดงั - ซักประวตั อิ าการผิดปกติของระบบทางเดนิ - เช้ือโรค หายใจ - โลหะหนัก ปรอท - ตรวจสมรรถภาพการได้ยิน - ท่าทางการทำ� งาน เช่น การนงั่ - ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น การก้มนาน ๆ - ตรวจหาสารปรอทในปัสสาวะ - สารเคมที ใ่ี ช้ลา้ งฟลิ ม์ - เอกซเรย์ปอด (กรณยี ังใช้น้ำ� ยาลา้ งฟิลม์ ) หอ้ งรงั สีวินิจฉยั - รงั สี - ซักประวัตอิ าการผิดปกติของระบบกระดูกและ - เชอ้ื โรค กล้ามเนอื้ - ท่าทางการทำ� งาน เช่น การยกของหนัก - Monitor ระดบั รงั สี การสวมเส้ือตะกว่ั ห้องผา่ ตัด - สารเคมี เชน่ Formaldehyde, - การซกั ประวตั อิ าการผิดปกติของระบบประสาท Nitrous oxide หรอื Anesthetic และสมอง gas อน่ื ๆ - ตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ - เชื้อโรค - ตรวจสมรรถภาพปอดกรณีซักประวัติมีปญั หา - ทา่ ทางการท�ำงาน การยก เขน็ ระบบทางเดินหายใจ - อบุ ัติเหตุ ของมีคม ไฟฟา้ - เอกซเรยป์ อด - กายภาพ เชน่ Laser รงั สี ซ่อมบำ� รุง - สารเคมี เชน่ ปรอท ฟมู ฝุน่ ตะก่วั จาก - ซกั ประวัตริ ะบบทางเดินหายใจ ระบบผวิ หนงั การเช่ือม การตดั Asbestos - อาการผิดปกตขิ องระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ (งานรือ้ ซ่อมฝ้าเพดาน หลังคา) - ตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ - ท่าทางการทำ� งาน เช่น การยก เข็น - ตรวจสมรรถภาพปอด ลาก ปีน - ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น - อุบตั ิเหตุ ไฟฟา้ เคร่อื งมือ เครอื่ งจกั ร - ตรวจหาสารปรอทในปัสสาวะในช่างท่ีซอ่ มเครอ่ื ง - กายภาพ เช่น ความร้อน เสยี งดัง วดั ความดนั โลหิตรนุ่ เก่า แรงส่นั สะเทือน - ตรวจหาสารโลหะหนกั เชน่ ตรวจตะก่ัวในเลอื ด ในชา่ งทบ่ี ัดกรีโดยใช้ตะกัว่ - เอกซเรย์ปอด ห้องผู้ปว่ ยนอก - เช้อื โรค - ตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ - คุณภาพอากาศ - ซกั ประวัติโรคระบบทางเดินหายใจ - แสงสว่างไมเ่ พียงพอ - เอกซเรย์ปอด หอ้ งผปู้ ่วยใน - เชื้อโรค - ซักประวตั โิ รคระบบทางเดินหายใจ อาการ - ท่าทางการทำ� งาน ผิดปกตขิ องระบบกระดูกและกลา้ มเนื้อ - แสงสวา่ งไม่เพยี งพอ - ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น - เอกซเรย์ปอด 54 คู่มือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบุคลากรสุขภาพ

หน่วยงาน สง่ิ คุกคามทีพ่ บบอ่ ย ข้อเสนอแนะในการตรวจสขุ ภาพ ห้องผสมยา และ - เช้อื โรค - ตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ หอ้ งบริหารยา - ท่าทางการทำ� งาน - ตรวจสมรรถภาพปอดกรณซี กั ประวตั ิมปี ัญหา เคมีบ�ำบัด - ยาเคมีบ�ำบัด เช่น Vincristine, ระบบทางเดนิ หายใจ Dacarbazine, Mitomycin, Cytosine, - เอกซเรยป์ อด Arabinoside, Fluorouracil เปน็ ต้น - ตรวจพิเศษเพิ่มเตมิ เชน่ ตรวจการทำ� งานของ - แสงสว่างไม่เพยี งพอ ตบั /ไต ในผปู้ ฏิบตั งิ านทกุ กลุ่มอายุทท่ี ำ� งาน สมั ผสั ยาเคมบี �ำบัด พยาธิวิทยา - เชือ้ โรค - ตรวจสมรรถภาพการมองเห็น - สารเคมี กล่มุ สารท�ำละลายอินทรยี ์ เช่น - ตรวจสมรรถภาพปอดกรณซี ักประวตั มิ ีปัญหา Toluene, Styrene และสารเคมอี ่ืน ๆ ระบบทางเดินหายใจ เชน่ ฟอรม์ ลั ดีไฮด์ (formaldehyde) - เอกซเรย์ปอด - ตรวจพิเศษเพมิ่ เติม เชน่ ตรวจการทำ� งานของ ตับ/ไต ในผูป้ ฏิบตั ิงานทุกกลุม่ อายุที่ท�ำงาน สัมผสั สารเคมี ห้องฟอกไต - เชอื้ โรค - ซกั ประวตั โิ รคระบบทางเดนิ หายใจ ระบบผิวหนัง - ทา่ ทางการทำ� งาน ยกของหนกั อาการผิดปกตขิ องระบบกระดูกและกล้ามเน้อื - แสงสวา่ งไม่เพียงพอ - ตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ - สารเคมที ใ่ี ชล้ า้ งตวั กรอง - ตรวจสมรรถภาพปอดกรณีซักประวตั มิ ปี ัญหา ระบบทางเดนิ หายใจ - เอกซเรย์ปอด ยานพาหนะ - เช้อื โรค - ซกั ประวัติ อาการผิดปกติของระบบกระดกู และ - ท่าทางการทำ� งาน กล้ามเนื้อ - แสงสวา่ งไมเ่ พยี งพอ - ตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ - เสียงดัง - ตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ - เอกซเรยป์ อด ทีม่ า : ปรบั มาจาก ๑. Occupational Safety & Health Administration Available at <https://www.osha.gov/ SLTC/etools/ hospital/index.html> ๒. คมู่ ือการประเมนิ ความเสี่ยงจากการทำ� งานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรบั ปรุงแกไ้ ข พ.ศ. ๒๕๕๔) ส�ำนกั โรคจากการ ประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ้ ม กรมควบคมุ โรค กระทรวงสาธารณสุข ๔.๔ การตรวจสขุ ภาพตามปจั จัยเสีย่ งจากการทำ� งานด้วยเครอื่ งมอื อาชวี เวชศาสตร์ ๔.๔.๑ การตรวจสมรรถภาพปอด การท�ำ Spirometry เป็นวิธีการท่ีง่าย สะดวกในการตรวจ ปลอดภัยและมีความไวสูง แปลผลง่าย สามารถประเมินความผิดปกติของปอดในระยะแรกเริ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นการตรวจร่างกายพิเศษ เพิ่มเติมจากการตรวจร่างกายทั่วไป ซึ่งกลุ่มผู้ปฏิบัติงานที่จะท�ำการตรวจนั้น ควรเป็นผู้ปฏิบัติงานท่ีสัมผัสกับ ปัจจัยเส่ียงที่มีผลต่อระบบทางเดินหายใจ เช่น กลุ่มท�ำงานที่เกี่ยวข้องกับ ฝุ่น ไอ ฟูม สารละลาย หรือสารเคมี ต่าง ๆ ซ่ึงการท�ำ Spirometry ในงานอาชีวอนามัยน้ัน มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาโรคปอดจากการประกอบ อาชีพในกลุ่มเส่ียง รวมท้ังประเมินสมรรถภาพปอดแรกรับเข้าท�ำงานกรณีต้องเข้าไปท�ำงานสัมผัสส่ิงคุกคามที่มี ผลกระทบตอ่ ระบบทางเดนิ หายใจ คูม่ อื การด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั สำ�หรบั บุคลากรสขุ ภาพ 55

๑) Parameter ส�ำหรบั การทำ� spirometry ในงานอาชวี อนามยั ๑.๑) FVC : Forced Vital Capacity คือ ปริมาตรสงู สุดของอากาศที่ขับออกโดยการหายใจเรว็ และแรงเต็มท่ีจนสุดจากต�ำแหน่งที่หายใจเข้าเต็มที่ มีหน่วยเป็นลิตร Body Temperature Pressure Saturated : BTPS ๑.๒) FEV1 : Forced Expiratory Volume in 1 second คอื ปรมิ าตรของอากาศทีถ่ กู ขบั ออก ในวนิ าทีแรกของการหายใจออกอย่างรวดเรว็ และแรงเต็มที่จากต�ำแหนง่ หายใจเข้าเตม็ ที่ ๑.๓) FEV๑/FVC เป็นการเปรียบเทียบปริมาตรของ FEV1 กับ FVC เป็นร้อยละ ได้จาก FEV1/FVC × 100 หน่วยเปน็ % หรือเรยี กอีกอยา่ งหนึ่งว่า %FEV1 ๑.๔) FEF 25-75% (Forced Expiratory Flow at 25-75% of FVC) ค่าเฉลี่ยของอัตราการ ไหลของอากาศในช่วงกลางของ FVC มีหน่วยเป็นลิตรต่อวินาที ที่ BTPS การลดลงของ FEF 25-75% เพียง อย่างเดียวสามารถบ่งบอกถึงความผิดปกติของหลอดลมฝอยส่วนปลาย (ส�ำหรับการตรวจคัดกรองไม่ได้น�ำ พารามิเตอร์นี้มาแปลผล) ๑.๕) PEFR : Peak Expiratory Flow Rate เปน็ อตั ราการไหลของอากาศทเี่ รว็ ทสี่ ดุ ในชว่ งวนิ าทแี รก ของ FVC ซงึ่ สามารถหาค่าไดจ้ ากกราฟของ FVC หรือ FEV1 แต่ค่าทไี่ ดจ้ ะมหี นว่ ยเปน็ ลติ รต่อวินาที ๒) การรายงานผลการตรวจคดั กรองสมรรถภาพปอด การรายงานผลการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการปอด ผ่านช่องทางการรายงานผลการคัดกรอง สุขภาพด้านอาชีวอนามัยใน ๔๓ แฟ้มโดยอยู่ในแฟ้ม SPECIALPP แฟ้มที่ ๔๑ การให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รหัส 1B115 : การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการปอด ซ่ึงกองโรคจากการประกอบอาชีพฯ ได้ เชอ่ื มกับระบบ Health Data Center : HDC ของกระทรวงสาธารณสุข เรียบรอ้ ยแล้ว ๔.๔.๒ การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น การตรวจสมรรถภาพการมองเห็น เป็นการวัดความสามารถของสายตาในเร่ืองต่าง ๆ ท้ังในระยะใกล้ (ระยะท่ีวัตถุอยู่ห่างจากสายตา ๑๔ นิ้ว) และระยะไกล (ระยะท่ีวัตถุอยู่ห่างจากสายตา ๒๐ ฟุต) การตรวจ สมรรถภาพการมองเห็นจะทดสอบในเรื่องตา่ ง ๆ เหลา่ น้ี ไดแ้ ก่ ๑) องค์ประกอบของการตรวจสมรรถภาพการมองเห็น ๑.๑) ทดสอบในการมองภาพคมชัด วัดความสามารถในการเห็นรายละเอียดของภาพ ทั้งในการ ใชต้ าทั้ง ๒ ข้าง ตาข้างขวาข้างเดยี ว ตาข้างซ้ายขา้ งเดยี ว ท้งั ในระยะใกลแ้ ละระยะไกล ๑.๒) การมองภาพ ๓ มิติ เป็นการวดั ความสามารถท่จี ะบอกวา่ วัตถใุ ดอยู่หนา้ หรือหลังอยูใ่ กลห้ รอื ไกลโดยท�ำการตรวจในระยะไกล การมองเห็นภาพสามมิตไิ ด้นัน้ จะตอ้ งประกอบด้วยปจั จัยตา่ ง ๆ เหล่านี้ คือ (๑) มีการใชต้ า ๒ ขา้ งรว่ มกันเปน็ อย่างดี (คนที่ตาขา้ งหนงึ่ บอดจะมองไม่เหน็ ภาพสามมติ )ิ (๒) การเห็นภาพคมชดั (visual acuity) ของตา ๒ ขา้ ง ตอ้ งดพี อ ๆ กัน (๓) สมองสามารถรวมภาพจากตา ๒ ข้างเข้าด้วยกันได้ (fusion) และเมื่อสมองรวมภาพ จากตา ๒ ข้างได้แล้ว จะแปลผลออกมาว่าวัตถุใดอยู่หน้าหรือหลัง น่ันคือ ถ้ามีการใช้ตา ๒ ข้างร่วมกันได้ดี (binocular vision) ผู้นั้นจะมีทั้ง Fusion และ Stereopsis ในบางรายถ้าการใช้ตา ๒ ขา้ งรว่ มกันไม่ดพี อ อาจ มีเพยี ง Fusion โดยไมม่ ี Stereopsis ๑.๓) การแยกสี (color vision) เปน็ การตรวจการเหน็ สขี องวตั ถุ จะตรวจเฉพาะการมองระยะไกล ๑.๔) การตรวจลานสายตา (visual field) เป็นการทดสอบว่าผ้ถู ูกทดสอบเหน็ ภาพได้กว้างมากน้อย แค่ไหน คนปกตจิ ะมลี านสายตาทางดา้ นข้างประมาณ ๘๕ องศา ดา้ นล่างประมาณ ๖๐ องศา ด้านบนประมาณ ๖๐ องศาและด้านติดจมกู ๔๕ องศา โรคบางอยา่ งจะทำ� ใหล้ านสายตาแคบลงได้ เช่น ต้อหนิ 56 คู่มอื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยสำ�หรับบุคลากรสุขภาพ

๒) การรายงานผลการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการมองเห็น การรายงานผลการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการมองเห็น ผ่านช่องทางการรายงานผลการคัดกรอง สุขภาพด้านอาชีวอนามัยใน ๔๓ แฟ้มโดยอยู่ในแฟ้ม SPECIALPP แฟ้มที่ ๔๑ การให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รหัส 1B113 : การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการมองเห็น ซ่ึงกองโรคจากการประกอบอาชีพฯ ได้เช่อื มกับระบบ Health Data Center : HDC ของกระทรวงสาธารณสุข เรยี บรอ้ ยแล้ว ๔.๔.๓ การตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ นิ เป็นการตรวจเพื่อเฝ้าระวังภาวะสูญเสียการได้ยินจากเสียงดัง โดยการวัดความสามารถในการได้ยินของ หูทัง้ ๒ ขา้ งด้วยเครือ่ งวัดสมรรถภาพการไดย้ ิน (audiometer) ทป่ี ลอ่ ยเสยี งบรสิ ุทธ์ (pure tone) โดยใหผ้ ู้รบั การตรวจฟังเสียงผ่านหูฟัง เพ่ือหาระดับเสียงต่�ำสุดที่เร่ิมได้ยิน (hearing threshold level) ในแต่ละความถ่ี ตัง้ แต่ ๕๐๐-๘๐๐๐ เฮริ ตซ์ ของหูแต่ละขา้ ง โดยเป็นการวัดเฉพาะการนำ� เสยี งทางอากาศ (air conduction) ๑) ขอ้ แนะนำ� ในเรือ่ งชว่ งเวลาของการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการไดย้ ิน ๑.๑) การตรวจก่อนจ้างงาน (pre-placement) เพื่อใช้เป็นข้อมูลพ้ืนฐาน (baseline audiogram) เป็นการตรวจการได้ยินให้กับผู้ปฏิบัติงานที่รับเข้าท�ำงานใหม่ หรือผู้ปฏิบัติงานที่บรรจุใหม่ของ สถานประกอบการทจี่ ะท�ำงานในแผนก ทีม่ ีเสียงดังตงั้ แต่ ๘๕ เดซิเบลเอ ข้ึนไป ตามกฎหมายก�ำหนดให้นายจ้าง ตอ้ งจัดใหผ้ ู้ปฏิบัติงานไดร้ บั การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยินภายใน ๓๐ วัน ๑.๒) การตรวจระหว่างท�ำงาน (annual audiometric examinations) หรือการตรวจคัดกรอง สมรรถภาพการได้ยินประจ�ำปี เพื่อให้ได้ Annual audiogram หรือการตรวจติดตามเพ่ือเฝ้าระวัง เป็นการ ตรวจใหก้ ับผู้ปฏิบตั งิ านเพ่อื ปอ้ งกันไมใ่ ห้เกิดการสญู เสยี การไดย้ นิ เนอ่ื งจากเสยี งดัง ควรด�ำเนินการ ดังน้ี (๑) แผนกที่มีผลการประเมนิ การสัมผสั เสยี ง TWA ๘ ชวั่ โมง มีระดบั เสียง ๘๐-๘๔ เดซเิ บลเอ ควรตรวจเพ่ือการเฝ้าระวังอย่างน้อยทุก ๓ ปี โดยเทียบกับระดับเสียงล่าสุดท่ีมีการสัมผัส และน�ำผลที่ได้มา เปรียบเทียบผลการได้ยินท่ีเป็นข้อมูล Baseline audiogram ทุกครั้ง และบันทึกผลการตรวจการได้ยินลงใน สมุดบันทึกสขุ ภาพ (๒) แผนกที่มีผลการประเมินการสัมผัสเสียง TWA ๘ ชั่วโมง มีระดับเสียงมากกว่า ๘๕ เดซิเบลเอ ควรตรวจเพื่อการเฝ้าระวังอย่างน้อยทุก ๑ ปี โดยเทียบกับระดับเสียงล่าสุดท่ีมีการสัมผัสและ นำ� ผลท่ไี ดม้ าเปรยี บเทยี บผลการไดย้ ินทีเ่ ปน็ ข้อมลู Baseline audiogram โดยบันทกึ ผลการตรวจการไดย้ ินลงใน สมุดบนั ทึกสุขภาพ พร้อมทง้ั มีการด�ำเนินการควบคมุ เสยี งใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์มาตรฐานท่กี ฎหมายก�ำหนด ๑.๓) การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยินก่อนลาออกหรือเปล่ียนงาน (exit audiogram) เพื่อใช้เป็นขอ้ มูลอ้างองิ ทางด้านสขุ ภาพ หรือใชป้ ระโยชนใ์ นการทำ� งานท่ีใหม่ตอ่ ไป ๒) การรายงานผลการตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ ินในระบบ ๔๓ แฟม้ ของกระทรวงสาธารณสุข การรายงานผลการตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยินผ่านช่องทางการรายงานผลการคัดกรอง สุขภาพด้านอาชีวอนามัยใน ๔๓ แฟ้ม โดยอยู่ในแฟ้ม SPECIALPP แฟ้มท่ี ๔๑ การให้บริการส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค รหัส 1B114 : การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยิน ซ่ึงกองโรคจากการประกอบอาชีพฯ ได้ประสานเช่ือมกับระบบ HDC ของกระทรวงสาธารณสุขเรียบร้อยแล้ว โดยหน่วยบริการสามารถลงผลการ ตรวจตามรายละเอยี ด ต่อไปนี้ ๒.๑) 1B1140 การตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ นิ ของการตรวจทมี่ ผี ลครง้ั เดยี วมผี ลปกติ (ระดบั การได้ยินของหทู งั้ สองขา้ งไมเ่ กนิ ๒๕ dB ทุกความถี)่ ๒.๒) 1B1141 การตรวจคดั กรองสมรรถภาพการไดย้ นิ ของการตรวจทม่ี ผี ลครง้ั เดยี ว มผี ลตรวจระดบั การไดย้ ินมากกวา่ ๒๕ เดซิเบลเอ ทคี่ วามถใี่ ดความถ่หี นึ่งของหขู า้ งใดข้างหน่ึง คมู่ อื การดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบุคลากรสุขภาพ 57

๒.๓) 1B1142 การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยิน มีผลผ่านเกณฑ์ เม่ือเทียบผลการตรวจ กับ Baseline audiogram (ไมพ่ บ ๑๕ dB-shift หรอื ไมพ่ บ ๑๕ dB-shift Twice ทกุ ความถ่)ี ๒.๔) 1B1143 การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยิน มีผลไม่ผ่านเกณฑ์ เมื่อเทียบผลการ ตรวจกับ Baseline audiogram (พบ ๑๕ dB-shift Twice หลงั จากตรวจยืนยนั : Confirmation audiogram ภายใน ๓๐ วัน) ๒.๕) 1B1144 การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการได้ยิน เมื่อเทียบผลการตรวจกับ Baseline audiogram พบ ๑๕ dB-shift แตไ่ มไ่ ดร้ บั การตรวจยืนยนั : Confirmation audiogram ภายใน ๓๐ วนั ๒.๖) 1B1149 การตรวจคัดกรองสมรรถภาพการไดย้ ิน ไม่ระบรุ ายละเอียด *เนื่องจากอยรู่ ะหวา่ งการปรบั เปลี่ยนการแปลผลท่ตี อ้ งเทียบกับ Baseline audiogram กรณีทก่ี ารแปลผลยงั ไมไ่ ดเ้ ทยี บกับ Baseline (1B1140, 1B1141) จงึ ยังคงให้มกี ารรายงานเข้ามาในระบบดว้ ย ส�ำหรับรายละเอียดวิธีการตรวจ และวิธีการแปลผลของเคร่ืองมืออาชีวเวชศาสตร์ท้ัง ๓ เครื่อง สามารถศึกษาไดจ้ ากค่มู ือการตรวจทเ่ี ขียนไว้ในบรรณานกุ รมท้ายบท ๔.๕ การตรวจสารบง่ ชที้ างชีวภาพ (Bio-marker) การเกบ็ และส่งตวั อยา่ ง การตรวจสารบ่งชี้ทางชีวภาพเป็นวิธีการหน่ึงในการเฝ้าระวังทางสุขภาพของบุคลากรที่ปฏิบัติงานใน โรงพยาบาล โดยเฉพาะในกรณีที่บุคลากรมีความเส่ียงในการรับสัมผัสสิ่งคุกคามในกลุ่มสารเคมี การตรวจสาร บ่งช้ีทางชีวภาพจะช่วยบอกระดับการรับสัมผัสต่อสารเคมีที่สนใจในร่างกายของผู้ที่ได้รับการตรวจหรือช่วย บ่งบอกความผิดปกติของระบบต่างๆที่เกี่ยวข้องในร่างกายท่ีเกิดจากการรับสัมผัสต่อสารน้ันๆ ตัวอย่างเช่น แผนกช่างถ้ามีการท�ำงานสัมผัสกับสารตะกั่ว ควรมีการเก็บตัวอย่างเลือดเพื่อหาระดับตะก่ัวในเลือดจากทาง ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น รายละเอียดของตัวอย่างของสารเคมีที่รับสัมผัสท่ีอาจมีการใช้ในโรงพยาบาล สารบ่งชี้ ที่จะท�ำการตรวจหาและค่ามาตรฐานได้แสดงไว้ในตารางที่ ๔.๓ ในล�ำดับถัดไปจะกล่าวถึงการเก็บตัวอย่างเลือด และปัสสาวะเพ่ือการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ อันเนื่องมาจากมีการนิยมใช้ตัวอย่างดังกล่าวในการตรวจวัด ทางดา้ นโรคจากการประกอบอาชีพและสง่ิ แวดล้อม ๔.๕.๑ การเกบ็ ตัวอยา่ งเลอื ดเพ่ือนำ� สง่ ทดสอบโลหะหนัก การเก็บตัวอย่างเลือดน้ัน ผู้เก็บตัวอย่าง จะต้องเป็นบุคลากรท่ีมีความรู้ความเช่ียวชาญในการเก็บเลือด มีใบประกอบวิชาชีพในสาขาท่ีเก่ียวข้อง และต้องพิจารณาด้วยว่าจะเก็บเลือดเพ่ือตรวจวิเคราะห์หาสารชนิดใด และควรเจาะเลือดเวลาใดเป็นเลือดแบบไหน ซ่ึงส่วนใหญ่เลือดที่น�ำมาวิเคราะห์ในงานอาชีวอนามัยและ สิ่งแวดล้อมจะเป็นเลือดจากเส้นเลือดด�ำ ซึ่งนิยมเจาะที่บริเวณข้อพับแขน ในกรณีคนอ้วนมาก อาจเจาะ เส้นเลือดด�ำบริเวณข้อมือแทนได้ ในส่วนของผู้ถูกเก็บตัวอย่าง ก่อนการเจาะเลือดควรเตรียมร่างกายให้อยู่ใน ภาวะปกติให้มากที่สุด รับประทานอาหารและพักผ่อนให้เพียงพอ งดด่ืมสุรา สูบบุหร่ี น�้ำชา กาแฟ สารเสพติด ยาและอาหารบางชนดิ ทมี่ ผี ลรบกวนสารทต่ี อ้ งการตรวจวเิ คราะหป์ ระมาณสองวนั เปน็ อยา่ งนอ้ ยกอ่ นการเจาะเลอื ด เพ่ือให้สารอืน่ ทไ่ี มต่ อ้ งการตรวจหาปริมาณตกคา้ งนั้นเป็นส่วนเกินในเลอื ด ขั้นตอนการเกบ็ ตัวอย่างเลอื ดเพ่อื น�ำส่งทดสอบโลหะหนัก ๑) ผู้เก็บตัวอย่างจะต้องเป็นบุคลากรท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญในการเก็บตัวอย่างเลือด มีใบ ประกอบวชิ าชพี ในสาขาที่เก่ียวขอ้ ง ๒) ผู้ถูกเก็บตัวอย่าง ก่อนการเจาะเลือดควรเตรียมร่างกายให้อยู่ในภาวะปกติให้มากที่สุด รบั ประทานอาหารและพักผอ่ นให้เพยี งพอ งดดื่มสรุ า สูบบหุ รี่ นำ�้ ชา กาแฟ สารเสพติด ก่อนเข้ารับการเจาะเลอื ด ตอ้ งทำ� ความสะอาดบริเวณผิวหนงั ทจ่ี ะมกี ารเจาะใหส้ ะอาด โดยลา้ งมือและแขนด้วยสบูเ่ ช็ดใหแ้ หง้ ๓) อุปกรณ์ที่ต้องเตรียมในการเจาะเลือด ประกอบด้วยกระบอกฉีดยา (ไซริงค์) เข็มเจาะเลือด ส�ำลี 58 คู่มือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ

แอลกอฮอล์ ๗๐% (หรือสารฆ่าเช้ือโรค) หลอดใส่เลือดท่ีมีสารป้องกันเลือดแข็งตัว ตะแกรงวางเลือด สายยาง รัดแขน สติกเกอร์ ป้ายช่ือ กระติกน้�ำแข็ง วัตถุให้ความเย็น (cool pack) พาราฟิล์ม (parafilm) กรรไกร ถงุ มือยาง และแบบส่งตัวอยา่ ง ๔) เก็บตัวอย่างเลือด ใส่ในหลอดเก็บตัวอย่าง หรือ Vacutainer tube ที่มีสารป้องกันเลือดแข็งตัว Heparin หรือ EDTA ปริมาณ ๓–๕ ml กรณีท่ีไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ตามปริมาณท่ีก�ำหนด ให้ปรึกษากับ ห้องปฏิบัติการก่อนเก็บตัวอย่าง หากต้องการวิเคราะห์มากกว่า ๑ พารามิเตอร์ ให้เก็บตัวอย่างเลือดตาม จ�ำนวนพารามิเตอร์ที่ต้องการวิเคราะห์และเก็บตัวอย่างตามรายละเอียดท่ีระบุไว้ในวิธีหรืออุปกรณ์การเก็บ ตัวอย่าง และต้องพิจารณาด้วยว่าจะเก็บตัวอย่างเลือดเพ่ือตรวจวิเคราะห์หาสารชนิดใดและควรเจาะเลือด เวลาใด ตัวอย่างเป็นเลือดแบบไหน ซึ่งส่วนใหญ่เลือดท่ีน�ำมาวิเคราะห์ในงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมจะ เป็นเลือดจากเส้นเลือดด�ำ นิยมเจาะบริเวณข้อพับแขน ในกรณีคนอ้วนมาก อาจเจาะเส้นเลือดด�ำบริเวณ หลงั มอื แทนได ้ ในการเจาะเลือดนนั้ ไมค่ วรรดั แขนด้วยสายยางรัดแขนเกินกวา่ ๓ นาที หากใชเ้ วลานานกวา่ เวลา ดังกลา่ ว ควรคลายยางรัดแขนก่อนแลว้ จึงรดั ใหมเ่ พ่อื เจาะเลอื ด ๕) เม่ือเจาะเลือดเสร็จแล้ว ควรพักแขนไว้อย่างน้อย ๕-๑๐ นาที ไม่คลึงหรือนวดบริเวณที่เจาะ เพราะอาจท�ำให้เส้นเลือดแตกได้ ในกรณีท่ีพบรอยเขียวช้�ำบริเวณที่เจาะ แสดงว่าเส้นเลือดฝอยแตก ซึ่งรอยช�้ำ ดังกลา่ ว จะหายไปไดเ้ องใน ๑-๒ สปั ดาห์ ๖) ติดฉลากลงบนหลอดให้ชัดเจน ระบุหมายเลขตัวอย่าง ชื่อ-สกุล ผู้ถูกเก็บตัวอย่าง และกรอก รายละเอียดต่าง ๆ ลงในใบส่งตวั อยา่ งทางชวี ภาพ ๗) จัดเรียงตัวอย่างลง Rack ให้เป็นระเบียบตามล�ำดับหมายเลขตัวอย่างที่ตรงกับใบส่งตัวอย่างทาง ชวี ภาพ เพ่ือง่ายต่อการตรวจสอบ ใสถ่ ุงปิดใหม้ ิดชดิ ๘) น�ำสง่ ตัวอยา่ ง โดยบรรจลุ งในถังหรอื กระติก หรอื กลอ่ งโฟมทม่ี นี ้�ำแขง็ หรือ Cool pack เพ่อื ควบคมุ อณุ หภมู ิของตวั อย่าง (อณุ หภมู ิ ๒-๘ องศาเซลเซียส) ซ่ึงมีวธิ กี ารบรรจนุ ำ้� แขง็ ดงั น้ี ๘.๑) รองพ้ืนด้วยน�้ำแข็งหรือ Cool pack ดา้ นล่างภายในลังนำ�้ แขง็ วางตวั อย่างทใี่ ส่ถงุ ปดิ มดิ ชิด ลงไป ๘.๒) ใส่น�้ำแข็งหรือ Cool pack รอบ ๆ ท้ังสี่ด้าน และด้านบน ปิดฝาให้เรียบร้อยแล้วน�ำส่ง ห้องปฏบิ ัตกิ ารทันที ๙) กรณีไม่สามารถน�ำส่งห้องปฏิบัติการได้ในทันที ให้เก็บรักษาตัวอย่างไว้ในตู้เย็นท่ีอุณหภูมิ ๒-๘ องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิประมาณ ๔ องศาเซลเซียส ซ่ึงเป็นอุณหภูมิพอเหมาะ ท�ำให้เลือดไม่เส่ือมสภาพ (ไม่เก็บรกั ษาตัวอยา่ งเลอื ดในชอ่ งแช่แขง็ หรืออณุ หภูมสิ ำ� หรับแช่แขง็ ) ภาพที่ ๔.๑ Vacutainer tube 59 ทีม่ า : https://www.capitolscientific.com คมู่ อื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ

๔.๕.๒ การเกบ็ ตัวอย่างปสั สาวะเพอ่ื นำ� ส่งทดสอบสารเคมี การเก็บตัวอย่างปัสสาวะ เพื่อการเฝ้าระวังทางสุขภาพในงานอาชีวอนามัยน้ัน ผู้เก็บตัวอย่างจะต้องเป็น บุคลากรที่ได้รับการอบรมให้เข้าใจถึงวิธีการเก็บตัวอย่างปัสสาวะ การใช้อุปกรณ์ ขั้นตอนต่าง ๆ วิธีการเก็บ ตัวอย่างปัสสาวะ เพื่อส่งตัวอย่างในการใช้ตรวจยืนยันอย่างถูกต้องและถูกวิธี เพ่ือเฝ้าระวังการด�ำเนินการแต่ละ ข้ันตอนอย่างละเอียดและต้องเตรียมสถานที่ที่ใช้ในการเก็บตัวอย่าง ส่วนมากจะใช้ห้องน�้ำ ดังนั้น ไม่ควรมีน้�ำยา ดับกลิ่น ผงซักฟอก หรือสารอื่นใดที่ใช้ปนลงในปัสสาวะ อุปกรณ์ในการเก็บปัสสาวะน้ัน ต้องเป็นขวดฝาเกลียว ที่สะอาด แหง้ มฝี าปดิ มีฉลากตดิ ข้างขวด มีปากกากันนำ�้ และมีถุงมือยาง ในสว่ นของผ้ถู กู เกบ็ ตวั อยา่ ง ไม่ตอ้ ง งดน�้ำและอาหาร วิธีการเก็บปัสสาวะท่ีถูกต้อง คือ ต้องท�ำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศด้วยน�้ำสะอาดแล้ว เช็ดให้แห้ง ในการเก็บปัสสาวะนั้นให้ปล่อยปัสสาวะในช่วงแรกทิ้งก่อนเพ่ือท�ำความสะอาดท่อปัสสาวะ แล้วจึง เกบ็ ปสั สาวะในชว่ งกลางให้ได้ปริมาณทก่ี ำ� หนด สว่ นปสั สาวะช่วงท้ายใหถ้ า่ ยทิ้งไป ข้นั ตอนการเก็บตวั อย่างปัสสาวะ เพอ่ื นำ� ส่งทดสอบสารเคมี ๑) ผู้เก็บตัวอย่าง จะต้องเป็นบุคลากรท่ีได้รับการอบรมให้เข้าใจถึงวิธีการเก็บตัวอย่างปัสสาวะอย่าง ถูกต้องตามหลักวชิ าการ ๒) ผถู้ กู เกบ็ ตัวอย่าง ไมต่ ้องงดน�ำ้ และอาหาร ๓) อุปกรณ์ท่ีตอ้ งเตรียม ไดแ้ ก่ กระป๋องเก็บปัสสาวะหรอื หลอดพลาสตกิ ทสี่ ะอาดและแหง้ พรอ้ มฝา ปิดมิดชิด เพื่อป้องกันการปนเปื้อน สติกเกอร์ติดป้ายช่ือ นามสกุล หมายเลขข้างภาชนะ Rack/กล่อง กระติกน้�ำแข็ง วัตถุให้ความเย็น (cool pack) และแบบสง่ ตัวอยา่ ง ๔) ท�ำความสะอาดบริเวณอวัยวะเพศให้สะอาดแล้วเช็ดให้แห้ง การเก็บปัสสาวะน้ันให้ปล่อย ปัสสาวะในช่วงแรกท้ิงก่อนเพ่ือท�ำความสะอาดท่อปัสสาวะ แล้วจึงเก็บปัสสาวะในช่วงกลาง (Midstream urine) ตามปรมิ าณท่ีกำ� หนด ๕) ช่วงเวลาท่ีเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ช่วงเวลาในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ส�ำหรับการตรวจวิเคราะห์ ทางอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อมนั้นต้องข้ึนกับชนิดของสารท่ีต้องการวิเคราะห์ ซึ่งมีช่วงเวลาในการเก็บ ปัสสาวะแตกต่างกัน เนื่องจากสารเคมแี ต่ละชนดิ มคี า่ ครึ่งชวี ติ (half life) ในร่างกายแตกตา่ งกนั ซ่ึงเปน็ ผลจาก การดูดซึม การกระจายตัวในร่างกายและการขับออกจากร่างกายแตกต่างกัน ส่วนใหญ่การด�ำเนินการ เก็บตัวอย่างปัสสาวะ โดยเฉพาะการเฝ้าระวังสุขภาพผู้ประกอบอาชีพ มักนิยมใช้ช่วงเวลาการเก็บตัวอย่าง ปัสสาวะของสมาคมสุขศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Conference of Governmental Industrial Hygienists : ACGIH) ทีร่ ะบกุ ำ� กับตามชนิดของสารเคมีว่าควรเก็บปัสสาวะชว่ งเวลาใด เช่น การเก็บ Acetone ในปสั สาวะ ใหเ้ ก็บ End of shift ส�ำหรับชว่ งเวลาการเกบ็ ตัวอยา่ งปัสสาวะ ACGIH ก�ำหนดช่วงเวลาเกบ็ ตวั อย่าง ตามตารางที่ ๔.๒ ๖) เก็บตัวอย่างปัสสาวะ ใส่กระป๋องเก็บปัสสาวะหรือหลอดพลาสติกท่ีล้างด้วยกรดไนตริก ๑๕% แล้วล้างด้วยน�้ำกล่ัน ๓-๔ คร้ัง เมื่อเก็บตัวอย่างปัสสาวะแล้วพันด้วย Parafilm ระหว่างฝากับภาชนะบรรจุ กรณีที่ไม่สามารถเก็บตัวอย่างได้ตามปริมาณท่ีก�ำหนด ให้ปรึกษากับทางห้องปฏิบัติการก่อนเก็บตัวอย่าง และ หากตอ้ งการวิเคราะห์หลายพารามิเตอร์ ใหเ้ กบ็ ตวั อย่างปัสสาวะตามจำ� นวนพารามิเตอร์ที่ต้องการวิเคราะห์ ๗) ติดฉลากลงบนหลอดให้ชัดเจน ระบุหมายเลขตัวอย่าง ชื่อ-สกุล ผู้ถูกเก็บตัวอย่างและกรอก รายละเอยี ดตา่ ง ๆ ลงในใบสง่ ตวั อย่างทางชีวภาพ ๘) จัดเรียงตัวอย่างลง Rack/กล่อง/ถุง ตามล�ำดับหมายเลขตัวอย่าง อย่าให้เอนหรือล้ม จัดให้เป็น ระเบียบเพ่อื ง่ายตอ่ การตรวจสอบ 60 ค่มู ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรับบุคลากรสขุ ภาพ

๙) น�ำส่งตัวอย่าง โดยบรรจุลงในถัง หรือกระติก หรือกล่องโฟมที่มีน�้ำแข็งหรือ Cool pack เพ่อื ควบคุมอุณหภูมขิ องตวั อยา่ ง (อุณหภูมิ ๒-๘ องศาเซลเซยี ส) ซงึ่ มีวิธีการบรรจุน�้ำแขง็ ดังนี้ ๙.๑) รองพื้นด้วยนำ�้ แขง็ หรือ Cool pack ดา้ นล่างภายในลังนำ้� แขง็ วางตวั อยา่ งทใี่ สถ่ งุ ปดิ มดิ ชดิ ลงไป ๙.๒) ใส่น�้ำแข็งหรือ Cool pack รอบ ๆ ท้ังส่ีด้านและด้านบน ปิดฝาให้เรียบร้อย แล้วน�ำส่ง หอ้ งปฏบิ ัตกิ ารทนั ที ๑๐) กรณีไม่สามารถน�ำส่งห้องปฏิบัติการได้ในทันที ให้เก็บรักษาตัวอย่างไว้ในตู้เย็นที่อุณหภูมิ -๒๐ องศาเซลเซียส (ชอ่ งแชแ่ ข็ง) ท้ังนี้ การตรวจปริมาณสารเคมีบางประเภทก่อนการตรวจปัสสาวะควรงดอาหารบางชนิด เน่ืองจาก จะรบกวนผลการตรวจวิเคราะห์ ๔.๕.๓ ช่วงเวลาท่ีเก็บตัวอย่างทางชีวภาพ การเก็บตัวอย่างทางชีวภาพทางอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อมน้ันจะต้องพิจารณาช่วงเวลาในการเก็บ เน่ืองจากสารเคมีแต่ละชนิดมีค่าคร่ึงชีวิต (half life) ในร่างกายแตกต่างกัน ซ่ึงเป็นผลจากการดูดซึม การกระจายตัวในร่างกายและการขับออกจากร่างกายแตกต่างกัน เช่น โลหะหนักตะก่ัวในเลือด มี Half life ในเลอื ดประมาณ ๒-๔ สปั ดาห์ ดงั น้นั ควรเก็บตวั อย่างเลอื ดได้ภายใน ๑ เดอื นหลังการสัมผัสหรอื สงสัย ช่วงเวลาในการเก็บตัวอย่างปัสสาวะ ใช้ช่วงเวลาของสมาคมสุขศาสตร์แห่งสหรัฐอเมริกา (American Conference of Governmental Industrial Hygienists : ACGIH) ท่ีระบุก�ำกับตามชนิดสารเคมีว่าควรเก็บ ปัสสาวะชว่ งเวลาใด ดงั นี้ ตารางท่ี ๔.๒ ชว่ งเวลาการเกบ็ ตวั อย่างปัสสาวะ ชว่ งเวลา รายละเอยี ด Prior to Shift (PTS) เก็บก่อนเขา้ กะท�ำงาน และควรมรี ะยะห่างจากการสมั ผสั คร้ังสุดทา้ ย Prior to last shift of อยา่ งน้อย ๑๖ ชั่วโมง ก่อนเขา้ ท�ำงานกะสุดท้ายของสัปดาห์การท�ำงาน workweek End of Shift (EOS) เรว็ ท่สี ุดภายหลังเลิกกะการท�ำงาน (โดยทวั่ ไปไมค่ วรเกนิ ๓๐ นาที ภายหลงั เลกิ กะท�ำงาน) End of Shift at End of หลังเลิกกะสดุ ทา้ ยของสปั ดาห์ เปน็ การเก็บตัวอยา่ งที่วนั สดุ ทา้ ย Workweek (EOS at EWW) ของสัปดาหก์ ารท�ำงาน โดยจะตอ้ งทำ� งานตดิ ต่อกันมาแลว้ อยา่ งน้อย ๔ – ๕ วัน End of workweek (EWW) เกบ็ ภายหลังจากการทำ� งานทส่ี มั ผสั สารเคมนี ั้นมาแล้วอยา่ งน้อย ๔-๕ วนั ติดกัน During shift (DS) ระหว่างกะ ควรทํางานไปแลว้ อย่างนอ้ ย ๒ ชวั่ โมง Not critical เก็บเวลาใดก็ได้ (เน่อื งจากสารน้นั สะสมอยใู่ นร่างกายได้นาน เช่น ตะกว่ั เป็นต้น) ทมี่ า : ปรบั จากคมู่ อื การเกบ็ ตวั อยา่ งทางหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร. ศนู ยพ์ ฒั นาวชิ าการอาชวี อนามยั และสง่ิ แวดลอ้ ม จงั หวดั ระยอง. สำ� นกั โรคจากการประกอบ อาชีพและสง่ิ แวดลอ้ ม.กรมควบคมุ โรค .กระทรวงสาธารณสขุ . ๒๕๕๘ คมู่ อื การด�ำ เนนิ งานอาชีวอนามยั สำ�หรับบคุ ลากรสุขภาพ 61

ตารางที่ ๔.๓ ชว่ งเวลาการเกบ็ ตวั อยา่ งทางชีวภาพและค่ามาตรฐาน Substance Sampling time ACGIH Thai Biological Exposure ( ACGIH ) ๒๐๒๐ BEIs Indices ๒๐๑๕ (Thai BEIs) Acetone ๒๕ mg/L ๕๐ mg/L - Acetone in urine - End of shift ๕๐๐ µg/g Cr ๕๐๐ µg/g Cr Benzene ๕ µg/L ๕ µg/L - t,t-Muconic acid - End of shift ๕ µg/g Cr ๕ µg/g Cr Cadmium Not critical ๘ mg/L - - Cadmium in blood Not critical ๐.๓ mg/L ๐.๓ mg/L - Cadmium in urine ๐.๕ mg/L ๐.๔ mg/L Cyclohexanone - End of shift ๒๐ µg/dL - Cyclohexanol in (๒๐๐ µg/L) ๓๐ µg/dL urine Dichloromethane - Dichloromethane in - End of shift urine n-Hexane - ๒,๕-Hexanedione in - End of shift at urine end of workweek Lead - Not critical - Lead in blood Mercury - ๒๐ µg/g Cr ๒๐ µg/g Cr - Mercury in urine Methyl n-butyl ke- ๐.๔ mg/L - tone - ๒,๕-Hexanedione in - End of shift at urine end of workweek 62 คู่มือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ

Substance Sampling time ACGIH Thai Biological Exposure Methanol ( ACGIH ) ๒๐๒๐ BEIs Indices ๒๐๑๕ - Methanol in urine ๑๕ mg/L (Thai BEIs) - End of shift - Methyl ethyl ketone ๒ mg/L ๒ mg/L - Methyl ethyl ketone - End of shift ๐.๐๒ mg/L in urine ๐.๐๒ mg/L ๐.๐๓ mg/L ๐.๐๓ mg/L ๐.๓ mg/g Cr Toluene - Prior to last ๐.๓ mg/g Cr ๑๐ mg/L - Toluene in blood shift of ๑๕ mg/L - Toluene in urine workweek ๑.๕ g/g Cr - o-cresol in urine - End of shift - End of shift Trichloroethylene - Trichloroacetic acid - End of shift at in urine end of workweek Xylene - End of shift ๑.๕ g/g Cr - Methyl hippuric acid in urine หมายเหตุ เปน็ ข้อมูลสารเคมที ีก่ รมควบคุมโรคให้บรกิ ารตรวจวิเคราะห์ ********** คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ 63

บรรณานุกรม กรมควบคุมโรค. (๒๕๕๘). ประกาศกรมควบคุมโรค เร่ือง ข้อแนะน�ำการเฝ้าระวังสุขภาพจากพิษสารเคมี กรณี ดัชนีชี้วัดการได้รับ/สัมผัสทางชีวภาพส�ำหรับผู้ประกอบอาชีพท่ีสัมผัสสารเคมีส�ำหรับประเทศไทย (Thai Biological Exposure Indices : Thai BEIs). กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดล้อม ศูนย์พัฒนาวิชาการ อาชวี อนามยั และส่ิงแวดล้อม จงั หวดั ระยอง. (๒๕๕๘). คมู่ อื การเกบ็ ตวั อย่างทางหอ้ งปฏิบตั ิการ. วรพรรณ ศิรวิ ฒั นอกั ษร และคณะ. (๒๕๖๒) ชีวเคมีของเลือด. กรุงเทพฯ. มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล, คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล, ภาควชิ าชีวเคม.ี สบื คน้ วันที่ ๒๕ ตุลาคม ๒๕๖๒, สืบคน้ จาก https://www.si.mahidol.ac.th/department/biochemistry/home/MD/Lecture/Biochemistry ศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ. (๒๕๖๑). แนวทางการตรวจคัดกรอง สมรรถภาพการได้ยินและการจดั ทำ� โครงการอนุรักษ์การได้ยิน. ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๔). คู่มือการประเมินความเสี่ยงจากการท�ำงานของ บุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๔). (พิมพ์คร้ังท่ี ๓). กรุงเทพฯ. โรงพิมพ์ชุมชน สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย. ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๖). คู่มือการใช้เครื่องมือทางด้านอาชีวเวชศาสตร์. กรงุ เทพฯ. โรงพมิ พส์ �ำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ. ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๘). คู่มือการตรวจประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการ จัดบริการอาชีวอนามัยส�ำหรับโรงพยาบาลศูนย์/ท่ัวไปและโรงพยาบาลชุมชน ฉบับปรับปรุง ปี ๒๕๕๙. กรุงเทพฯ. โรงพิมพช์ มุ ชมุ สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กดั . สำ� นกั โรคจากการประกอบอาชีพและส่งิ แวดลอ้ ม. (๒๕๕๘). คูม่ อื การเก็บตวั อยา่ งทางห้องปฏิบตั กิ าร. American Conference of Governmental Industrial Hygienists : ACGIH. (๒๐๑๙). TLVs and BEIs. Cincinnati ACGIH. Occupational Safety & Health Administration. from <https://www.osha.gov/ SLTC/etools/ hospital/index.html> 64 ค่มู อื การด�ำ เนนิ งานอาชีวอนามยั สำ�หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ

บทที่ ๕ หลกั การจัดบริการอาชวี อนามัย สำ� หรบั บุคลากรหน่วยบริการสุขภาพ ๕.๑ การจดั บรกิ ารอาชีวอนามัยตามระดบั ของหน่วยบรกิ ารสุขภาพ การจัดบริการอาชีวอนามัย เป็นการจัดบริการทางสุขภาพให้แก่ผู้ประกอบอาชีพต่างๆ เช่น เกษตรกร แรงงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือผู้ประกอบอาชีพในงานภาคบริการต่างๆ รวมท้ังบุคลากรทางการแพทย์ และสาธารณสุข เป็นต้น โดยกิจกรรมท่ีให้บริการจะด�ำเนินงานโดยบุคลากรท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญทางด้าน อาชีวอนามัย โดยมุ่งเน้นด้านการป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการท�ำงาน การส่งเสริมสุขภาพ โดยมีการ รักษาและฟื้นฟู เป็นส่วนเสริม เพ่ือให้ผู้ประกอบอาชีพมีสุขภาพอนามัยที่ดีอยู่ในสภาพแวดล้อมการท�ำงาน ทปี่ ลอดภัยไม่เจบ็ ปว่ ยจากการท�ำงาน การจัดบริการอาชีวอนามัยสามารถแบ่งออกได้เป็นการจัดบริการท้ังเชิงรุกและเชิงรับ การจัดบริการ อาชีวอนามัยเชิงรับเป็นการจัดบริการอาชีวอนามัยในหน่วยที่ต้ังของบุคลากรทางด้านอาชีวอนามัย ซึ่งมักอยู่ ภายในโรงพยาบาล โดยผู้ประกอบอาชีพหรือผู้ป่วยมาขอรับการบริการ กิจกรรมที่ส�ำคัญ ได้แก่ การตรวจ ประเมินสุขภาพ การตรวจวินิจฉัยโรคหรือการบาดเจ็บจากการท�ำงาน การรักษาพยาบาลและฟื้นฟูสุขภาพ เป็นต้น ส่วนการจัดบริการอาชีวอนามัยเชิงรุกเป็นการจัดบริการอาชีวอนามัยท่ีมุ่งเน้นไปที่สถานที่ที่ผู้ประกอบ อาชีพท�ำงานหรือปฏิบัติงานอยู่ เพ่ือให้เห็นลักษณะและสภาพแวดล้อมการท�ำงานจริง สามารถประสานและ สื่อสารกับผู้ท่ีเก่ียวข้องต่างๆ อันจะน�ำไปสู่การป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการท�ำงาน หรือปรับสภาพการ ท�ำงานได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับผู้ประกอบอาชีพ กิจกรรมของการจัดบริการท่ีส�ำคัญ ได้แก่ การส�ำรวจ และประเมินความเสี่ยงต่อสุขภาพจากการท�ำงาน การตรวจประเมินด้านสภาพแวดล้อมการท�ำงาน การตรวจ สุขภาพผู้ประกอบอาชีพ การคัดกรองโรคจากการท�ำงาน การเฝ้าระวังโรคและการบาดเจ็บจากการท�ำงาน ตามบรบิ ทของพน้ื ที่ เป็นตน้ ๕.๒ กิจกรรมการจัดบริการอาชีวอนามัยสำ� หรับบุคลากรและมาตรการตา่ ง ๆ กิจกรรมที่ควรด�ำเนินการในการจัดบริการอาชีวอนามัยส�ำหรับบุคลากรในหน่วยบริการสุขภาพ รวมทั้ง มาตรการตา่ ง ๆ ที่สำ� คญั ได้แก่ ๕.๒.๑ การจัดทำ� นโยบายการจัดบริการอาชีวอนามยั ของหน่วยบริการสขุ ภาพ การด�ำเนินงานกิจกรรมการจัดบริการอาชีวอนามัย ส�ำหรับบุคลากรหน่วยบริการสุขภาพ ควรเร่ิมต้น จากเตรียมความพร้อมในด้านการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการอาชีวอนามัย ผู้บริหารสูงสุดของ หนว่ ยบรกิ ารสขุ ภาพควรประกาศเจตนารมยก์ ารดแู ลสขุ ภาพบคุ ลากรโดยจดั ทำ� นโยบายการจดั บรกิ ารอาชวี อนามยั ใหก้ บั บคุ ลากรในโรงพยาบาล ทค่ี รอบคลมุ การดแู ลสขุ ภาพบคุ ลากรและสภาพแวดลอ้ มการทำ� งานใหท้ ราบโดยทวั่ กนั ๕.๒.๒ การเตรยี มความพร้อมบุคลากร ทีมงาน โครงสรา้ งอตั ราก�ำลงั เพอื่ รองรบั การดำ� เนินงาน บุคลากรและทีมงานนับว่าเป็นส่ิงส�ำคัญท่ีควรเตรียมความพร้อม ควรแยกงานตามกรอบโครงสร้างและ ก�ำหนดผู้รับผิดชอบหลักให้ชัดเจน จัดตั้งคณะกรรมการอาชีวอนามัย ความปลอดภัย และสภาพแวดล้อมในการ ท�ำงานของโรงพยาบาลด�ำเนินงานในรูปแบบคณะท�ำงานเพื่อให้เครือข่ายแผนกต่าง ๆ มีส่วนร่วมในการจัดการ คมู่ อื การดำ�เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ 65

แก้ไขปัญหา ตลอดจนมีการวางแผนพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางด้านอาชีวอนามัยทั้งในระยะส้ันและระยะยาว ควบคกู่ นั เชน่ การอบรมตา่ ง ๆ ทางด้านอาชีวอนามัย ๕.๒.๓ การจดั ท�ำแผนงานโครงการทางดา้ นอาชีวอนามยั และเครอ่ื งมือทจ่ี ำ� เป็น หน่วยบริการสุขภาพควรจัดท�ำแผนงานด้านอาชีวอนามัยที่สอดคล้องกับนโยบาย มีการจัดท�ำแผนปฏิบัติ การและแผนงานอาชีวอนามัยส�ำหรับบุคลากรในระยะ ๓ ปีข้ึนไป แผนการจัดหาเครื่องมืออาชีวสุขศาสตร์ พื้นฐาน เช่น เคร่ืองวัดระดับความเข้มของแสง เครื่องวัดระดับความดังเสียง เพ่ือตรวจประเมินสภาพแวดล้อม ในการท�ำงาน ท้ังน้ีในกรณีโรงพยาบาลขนาดเล็กท่ียังไม่มีเครื่องมืออาจบริหารจัดการขอสนับสนุนการตรวจวัด จากเครอื ข่ายได้ ๕.๒.๔ การตรวจประเมินสภาพแวดล้อมในการทำ� งานและค่ามาตรฐานอา้ งองิ ในการเดินส�ำรวจเพ่ือค้นหาส่ิงคุกคามสุขภาพจากการท�ำงานในแผนกต่าง ๆ นั้น หน่วยบริการสุขภาพ อาจใช้เคร่ืองมือวิทยาศาสตร์หรือเครื่องมืออาชีวสุขศาสตร์ตรวจประเมินสภาพแวดล้อมในการท�ำงานเพ่ือ ประเมินส่ิงคุกคามสุขภาพจากการท�ำงาน เช่น การตรวจวัดระดับความเข้มของแสงโดยใช้ Lux meter เพ่ือ ประเมินว่าแสงสว่างเพียงพอต่อการท�ำงานหรือไม่ การตรวจวัดระดับความดังของเสียงโดยใช้ Sound level meter เพ่ือประเมินว่ามีเสียงดังเกินมาตรฐานท่ีอาจจะเป็นอันตรายต่อสุขภาพหรือไม่ การตรวจวัดปริมาณ สารเคมีในอากาศที่ใช้ในแผนกซ่อมบ�ำรุงเพื่อประเมินว่ามีปริมาณเกินค่ามาตรฐานหรือไม่ เป็นต้น ส�ำหรับ แนวปฏิบัติในการตรวจประเมิน อ้างอิงแนวทางจากกฎหมายของหน่วยงานท่ีดูแลสุขภาพคนท�ำงานโดยตรงน้ัน คอื กฎหมายกระทรวงแรงงาน ซ่งึ ได้กำ� หนดแนวปฏิบตั กิ ารตรวจประเมินรวมถึงคา่ มาตรฐานไว้ ๕.๒.๕ การดูแลสขุ ภาพบคุ ลากรตามปจั จยั เสยี่ ง การคดั กรอง วินจิ ฉัยโรคจากการทำ� งาน การจัดบริการทางด้านสุขภาพให้กับบุคลากรเป็นส่ิงที่ด�ำเนินการควบคู่ไปกับทางด้านส่ิงแวดล้อม กิจกรรมประกอบด้วย การประเมินความเหมาะสมของสภาวะสุขภาพกับลักษณะงานก่อนเข้าท�ำงาน (fit for work) การตรวจสุขภาพบุคลากรตามปัจจัยเสี่ยงจากการท�ำงานในแผนกต่าง ๆ การคัดกรองบุคลากรที่ป่วย หรือสงสัยโรคจากการท�ำงานเบ้ืองต้นซ่ึงหน่วยบริการสุขภาพทุกระดับสามารถด�ำเนินการได้ โดยใช้ค�ำถาม คดั กรองงา่ ย ๆ ดว้ ยคำ� ถาม ๑) การเจบ็ ปว่ ยเกย่ี วขอ้ งกบั การทำ� งานหรอื ไม่ ๒) มคี วามแตกตา่ งของอาการปว่ ยขณะ ท�ำงานและขณะอยู่บ้านหรือไม่ ๓) เพื่อนร่วมงานมีอาการที่คล้าย ๆ กันหรือไม่ ๔) อาการเป็นมากข้ึนเวลามา ทำ� งานหรือไม่ ถา้ ตอบวา่ ใช่ ๑ ขอ้ จาก ๔ ข้อ ให้สงสยั ว่าการเจ็บปว่ ยนน้ั นา่ จะมสี าเหตุจากการท�ำงาน การตรวจวินิจฉัยรักษาโรคจากการท�ำงาน ในกรณีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบลหรือหน่วยบริการ สุขภาพบางแห่งอาจจะไม่ได้ด�ำเนินการวินิจฉัยก็สามารถส่งต่อเครือข่ายหรือโรงพยาบาลพ่ีเล้ียงได้ และเมื่อ บุคลากรเจ็บป่วยด้วยโรคหรืออุบัติเหตุจากการท�ำงานก็ควรติดตามบุคลากรอย่างต่อเน่ืองที่บ้าน หรือที่ท�ำงาน เพ่ือการฟ้ืนฟูสมรรถภาพ ๕.๒.๖ การให้ภูมคิ มุ้ กนั ตามปจั จัยเสีย่ งของงานแก่บคุ ลากร วัคซีนท่ีบุคลากรควรได้รับตามความเส่ียงจากการปฏิบัติงาน ได้แก่ วัคซีนป้องกันโรคตับอักเสบบี วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ วัคซีนรวมป้องกันโรคหัด-คางทูม-หัดเยอรมัน วัคซีนป้องกันโรคอีสุกอีใส และวัคซีนรวม ปอ้ งกนั โรคบาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรนชนิดไรเซลล์ (Tdap) ดังน้ี ตารางที่ ๕.๑ ตารางแสดงวคั ซนี ทีจ่ ำ� เป็นตอ้ งใหแ้ ก่บคุ ลากรทางการแพทยแ์ ละสาธารณสุข วัคซีน/ยา โปรแกรมการให้ ขอ้ บ่งชี้ วคั ซนี ป้องกนั ไขห้ วดั ใหญ่ ฉีดเขา้ กล้ามเนอื้ ปลี ะ ๑ ครง้ั บคุ ลากรทางการแพทยท์ ุกรายที่ตอ้ งสมั ผสั ผปู้ ่วย ทกุ ปี 66 คมู่ อื การด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ

วคั ซีน/ยา โปรแกรมการให้ ข้อบง่ ชี้ วัคซีนป้องกนั โรคหัด- ฉีดเข้าใตผ้ วิ หนัง ๑ คร้งั บุคลากรทางการแพทยท์ ุกรายที่ดูแลสมั ผัสกบั คางทมู -หัดเยอรมนั ผปู้ ่วยตัง้ แตเ่ ริม่ ปฏบิ ตั งิ านหรือโดยเร็วทส่ี ดุ เวน้ แต่ วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคไวรสั มีหลกั ฐานวา่ เคยได้รับวคั ซีนแลว้ ตบั อกั เสบบี ฉีดวคั ซนี ๓ ครัง้ เขา้ กล้ามเนื้อ บุคลากรทเี่ กิดกอ่ นปี พ.ศ. ๒๕๓๕ วคั ซนี ปอ้ งกนั โรคอสี กุ อใี ส (intramuscular injection) - ไม่เคยไดร้ บั วคั ซีน/มปี ระวตั กิ ารรับวคั ซีน วคั ซนี รวมป้องกันโรค บรเิ วณแขน โดยมรี ะยะหา่ ง ๐ ไม่ชัดเจน ใหต้ รวจ Anti-HBc หากเปน็ ลบ บาดทะยัก-คอตีบ-ไอกรน ๑ และ ๖ เดือน ใหฉ้ ดี วัคซนี ชนดิ ไรเ้ ซลล์ (Tdap) - ฉีดวัคซนี โดยไมต่ อ้ งเจาะเลอื ดตรวจ บคุ ลากรท่ีเกิดหลงั ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ - ให้ฉดี วัคซนี หนึ่งเขม็ และตรวจเลอื ดหา Anti-HBs IgG (หลงั ฉดี ๑-๒ เดอื น ถา้ มี ระดบั ภมู คิ มุ้ กนั ตงั้ แต่ ๑๐ mIU/mL ไมต่ อ้ ง ฉดี เขม็ ทสี่ องและสาม) ฉีดเขา้ ใตผ้ วิ หนงั ๒ ครั้ง โดย บุคลากรทางการแพทยท์ ุกคนทีย่ ังไม่มภี มู คิ ้มุ กัน หา่ งกนั อยา่ งนอ้ ย ๑ เดอื น ได้แก่ ไมเ่ คยเปน็ อสี ุกอใี สหรืองูสวดั (ที่ไดก้ าร วินิจฉัยโดยแพทย)์ และไมเ่ คยรบั วัคซีน หากประวัติการปว่ ยและประวตั กิ ารได้รับวัคซีน ไมช่ ดั เจนใหต้ รวจเลอื ดและใหว้ คั ซีนถ้าผลตรวจ ภูมคิ มุ้ กนั เปน็ ลบ หรอื ใหว้ คั ซีนเลยโดยไมต่ ้อง ตรวจเลอื ดกไ็ ด้ ฉีดเขา้ กล้ามเนื้อ ๑ ครง้ั บคุ ลากรทางการแพทยท์ ด่ี แู ลผปู้ ว่ ยเดก็ เลก็ ทไ่ี มเ่ คยไดร้ บั วคั ซนี Tdap โดยไม่ค�ำนงึ ถึง ระยะห่างจากการไดร้ บั วคั ซีนปอ้ งกนั โรค บาดทะยัก (dT หรอื TT) ทม่ี า : ตำ� ราวคั ซนี และการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั โรค ปี ๒๕๖๒ หนา้ ๓๖๕ – ๓๖๙ ๕.๒.๗ การสอบสวนโรคหรอื อุบัตเิ หตุจากการทำ� งานในบุคลากร เมื่อเกิดเหตุหรือสงสัยว่าบุคลากรเจ็บป่วยด้วยโรคและภัยจากการท�ำงาน ควรด�ำเนินการสอบสวนเพื่อให้ ทราบถึงสาเหตุของปัญหา และน�ำมาส่ือสารก�ำหนดมาตรการท่ีเหมาะสมในการป้องกันมิให้เกิดเหตุซ�้ำ การสอบสวนโรค (disease Investigation) จึงเป็นกระบวนการส�ำคัญในการแสวงหาข้อมูลความจริง ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในบุคลากร ด้วยการรวบรวมข้อมูลด้านระบาดวิทยาของผู้ป่วย ผลการชันสูตร ทางห้องปฏิบัติการ การเชอื่ มโยงกับข้อมลู ดา้ นสิ่งแวดล้อม และปจั จยั ที่เกย่ี วขอ้ งอ่ืน ๆ เพ่อื ค้นหาสาเหตุของการ เกิดโรค หรือการระบาดของโรคนน้ั ๆ ๕.๒.๘ การจัดเกบ็ ข้อมูลสุขภาพและการจัดทำ� รายงาน ควรจัดเก็บข้อมูลสุขภาพของบุคลากร โดยการบันทึกข้อมูลในสมุดสุขภาพประจ�ำตัว ตามประกาศกรม สวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน ข้อมูลประกอบด้วย ประวัติส่วนตัว ประวัติการท�ำงาน ประวัติการเจ็บป่วย การตรวจสขุ ภาพทว่ั ไป การตรวจสขุ ภาพตามปจั จยั เสย่ี งของงาน บนั ทกึ เกยี่ วกบั การบาดเจบ็ หรอื เจบ็ ปว่ ยเนอื่ งจาก การท�ำงานและสาเหตุ ในส่วนของข้อมูลการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเส่ียง ประกอบด้วย การซักประวัติด้วย คูม่ อื การดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ 67

แบบสอบถาม การตรวจรา่ งกายและการตรวจพิเศษอืน่ ๆ เพ่ิมเตมิ ตามปัจจยั เส่ยี ง เชน่ ทำ� งานสัมผัสฝุ่นแร่ ฝนุ่ หนิ ฝ่นุ ทราย ตอ้ งเอกซเรย์ปอดดว้ ยฟิลม์ มาตรฐานและตรวจสมรรถภาพปอด เปน็ ต้น เพ่ือให้มีข้อมูลในการด�ำเนินงานทางด้านอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม กรมควบคุมโรค โดยกองโรคจาก การประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม และศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ ได้พฒั นาระบบการรายงานการเฝ้าระวงั โรคและภยั สขุ ภาพจากการประกอบอาชพี และส่งิ แวดล้อม แบบ Online เพ่ือให้หน่วยบริการสุขภาพมีการรายงานข้อมูลเข้ามาในระบบได้ท่ี http://occhealth.ddc.moph.go.th/en- vocc_new_bak/ ๕.๒.๙ ผลการด�ำเนนิ งานจัดบรกิ ารอาชีวอนามัยส�ำหรบั บุคลากร หน่วยบริการสุขภาพควรมีการประเมินผลการด�ำเนินงานเป็นระยะ เพ่ือติดตามตรวจสอบผลการ ด�ำเนินงานและพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงขึ้น ตามแนวคิด Plan Do Check Act การประเมินผลได้ในทุกกิจกรรมท่ีด�ำเนินการ และอาจจะพิจารณาประเด็นการประเมินความพึงพอใจของ บุคลากร ความครอบคลุมของการจัดการความเส่ียงที่พบ อัตราความถ่ีของการบาดเจ็บจากการท�ำงานของ บคุ ลากร และอตั ราความรนุ แรงของการบาดเจ็บจากการท�ำงานของบคุ ลากร ที่ค�ำนวณจาก ๑) อตั ราความถี่ของการบาดเจบ็ จากการท�ำงานของบคุ ลากร (Injury Frequency Rate : IFR) IFR = (จำ� นวนคร้งั ที่บุคลากรที่ได้รับบาดเจบ็ จากการทำ� งาน ในชว่ งเวลาท่กี ำ� หนดตามปปี ฎิทนิ ) (จำ� นวนชั่วโมงการท�ำงานทั้งสนิ้ ของบคุ ลากรในหนว่ ยงานนนั้ ในชว่ งเวลาเดียวกนั )x ๑,๐๐๐) หนว่ ยวัด เป็นครัง้ ตอ่ ล้านชั่วโมงการทำ� งาน โดยนับจำ� นวนคร้งั ของเหตกุ ารณ์ท้งั หยุดงานและไมห่ ยุดงาน (หมายเหตุ:สำ� หรบั การคำ� นวณIFRตอ้ งนำ� ขอ้ มลู จากจำ� นวนชวั่ โมงการทำ� งานจรงิ มาคดิ คำ� นวณแตห่ ากสถานพยาบาล ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ สามารถประมาณชั่วโมงการท�ำงานจากการคิดชั่วโมงการท�ำงานของบุคลากรท่ีท�ำงาน ๗ ชั่วโมงต่อวัน ใน ๑ ปีท�ำงาน ๒๔๐ วัน = ๑,๖๘๐ ช่ัวโมงต่อปีต่อคน (อ้างอิงจากการค�ำนวณ Full Time Equivalent : FTE) กระทรวงสาธารณสขุ ) ๒) อัตราความรนุ แรงของการบาดเจ็บจากการทำ� งาน (Injury Severity Rate : ISR) ของบคุ ลากร ISR (จ�ำนวนวนั ท่ีบุคลากรทงั้ หมดขององคก์ รหยุดงานหรอื สญู เสยี เน่อื งจากการบาดเจบ็ ในชว่ งเวลาทก่ี �ำหนด) = (จำ� นวนช่วั โมงการทำ� งานท้ังหมดของบคุ ลากรในองค์กร ในช่วงเวลาเดียวกัน) x ๑,๐๐๐) หน่วยวดั เป็นจำ� นวนวนั ต่อลา้ นชั่วโมงการท�ำงาน โดยนบั จำ� นวนวันของเหตุการณท์ หี่ ยดุ งาน (หมายเหตุ:สำ� หรบั การคำ� นวณISRตอ้ งนำ� ขอ้ มลู จากจำ� นวนชวั่ โมงการทำ� งานจรงิ มาคดิ คำ� นวณแตห่ ากสถานพยาบาล ไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ สามารถประมาณช่ัวโมงการท�ำงานจากการคิดช่ัวโมงการท�ำงานของบุคลากรที่ท�ำงาน ๗ ช่ัวโมงต่อวัน ใน ๑ ปีท�ำงาน ๒๔๐ วัน = ๑,๖๘๐ ช่ัวโมงต่อปีต่อคน (อ้างอิงจากการค�ำนวณ Full Time Equivalent : FTE) กระทรวงสาธารณสขุ ) กล่าวโดยสรุปกิจกรรมการจัดบริการอาชีวอนามัยส�ำหรับบุคลากรนั้น หน่วยบริการสุขภาพสามารถ พิจารณาด�ำเนินการ โดยเริ่มจากผู้บริหารควรให้ความส�ำคัญประกาศนโยบายเป็นลายลักษณ์อักษร มีการเตรียม ความพรอ้ มบคุ ลากรทมี งาน จดั ทำ� แผนงานโครงการทสี่ อดคลอ้ งกบั นโยบาย รวมถงึ จดั หาเครอ่ื งมอื ทจี่ ำ� เปน็ ในการ ดำ� เนนิ งาน มกี ารดำ� เนนิ งานครอบคลมุ ทางดา้ นสภาพแวดลอ้ มการทำ� งานและสขุ ภาพของบคุ ลากรไปพรอ้ มกนั และ ท้ายท่ีสดุ ควรมีการประเมนิ ผลการด�ำเนนิ งานเพื่อนำ� มาพัฒนาปรับปรุงการด�ำเนนิ งานอย่างต่อเนือ่ ง ********** 68 คมู่ อื การดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ

บรรณานกุ รม กระทรวงสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน. (๒๕๖๒). ต�ำราวัคซีนและการสร้างเสริม ภมู คิ มุ้ กนั โรค ปี ๒๕๖๒ .หนา้ ๓๖๕–๓๖๙. สบื ค้นวนั ท่ี ๒ พฤศจิกายน ๒๕๖๒, สืบคน้ จาก http://data. nvi.go.th/๒๕๖๑/epimodule๖๑.pdf. ศูนย์พัฒนาวิชาการอาชีวอนามัยและส่ิงแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ. (๒๕๖๒). มาตรฐานการจัดบริการ อาชวี อนามัยส�ำหรับสถานพยาบาลนอกสังกัดส�ำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและเอกชน. ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๘). คู่มือการตรวจประเมินคุณภาพตามาตรฐานการ จัดบริการอาชีวอนามัยส�ำหรับโรงพยาบาลศูนย์/ท่ัวไปและโรงพยาบาลชุมชน ฉบับปรับปรุง ปี ๒๕๕๙. กรงุ เทพฯ. โรงพมิ พช์ ุมชุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำ� กัด. American Conference of Governmental Industrial Hygienists. (๒๐๑๙). ๒๐๑๙ TLVs and BEIs ACGIH. Occupational Safety & Health Administration. From <https://www.osha.gov/ SLTC/etools/ hospital/index.html> คู่มือการดำ�เนนิ งานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสุขภาพ 69

บทท่ี ๖ การเลอื กใชอ้ ุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล ในการท�ำงานในโรงพยาบาล อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล หรืออุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protective Equipment : PPE) หมายถึง อุปกรณ์ที่ออกแบบมาให้เหมาะสมกับส่วนใดส่วนหน่ึงของร่างกาย เพ่ือป้องกันอันตราย หรือลดความรุนแรงของอันตรายที่จะเกิดข้ึนกับร่างกายส่วนนั้นในขณะปฏิบัติงาน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล มีบทบาทส�ำคัญมากในการป้องกันและควบคุมอันตรายในสถานที่ท�ำงาน มักพิจารณาให้ใช้หลังจากการปรับปรุงสภาพอันตรายท�ำไม่ได้ หรือท�ำแล้วแต่ไม่ได้ผลตามต้องการ หรือใช้ควบคู่ กนั ไปขณะปรับปรุงสภาพอนั ตราย อปุ กรณป์ ้องกันอันตรายสว่ นบุคคลแบ่งตามลกั ษณะการป้องกันได้เป็นประเภทตา่ ง ๆ ดังนี้ ๖.๑ อุปกรณป์ กปอ้ งศรี ษะ ๖.๒ อุปกรณป์ กป้องใบหนา้ และดวงตา ๖.๓ อุปกรณป์ กปอ้ งระบบทางเดนิ หายใจ ๖.๔ อปุ กรณ์ปกปอ้ งการไดย้ นิ ๖.๕ อปุ กรณป์ กปอ้ งมือและแขน ๖.๖ อปุ กรณป์ กป้องล�ำตัว ๖.๗ อุปกรณ์ปกป้องเทา้ เกณฑ์ทวั่ ไปในการเลือกใชอ้ ุปกรณป์ อ้ งกันอันตรายส่วนบุคคล การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้เหมาะสมกับลักษณะงาน และเกิดประโยชน์สูงสุดควร พจิ ารณาปัจจัยเหล่านี้ ๑. ประเภทของอุปกรณ์ตอ้ งเหมาะสมกบั ลักษณะงานหรืออันตรายท่เี กิดจากงานนนั้ ๒. ประสิทธิภาพของอุปกรณต์ อ้ งสูงพอท่ีจะปอ้ งกนั อันตรายท่เี กดิ ขน้ึ ๓. อปุ กรณ์ต้องได้รบั การรบั รองประสทิ ธิภาพจากหนว่ ยงานดา้ นอาชีวอนามยั ที่นา่ เชอ่ื ถอื ๔. ขนาดพอเหมาะกบั ผใู้ ช้ หรอื มหี ลายขนาดใหเ้ ลอื ก ๕. สวมใส่สบาย นำ้� หนกั เบา ผใู้ ชง้ านไม่รูส้ กึ วา่ เปน็ อุปสรรคตอ่ การท�ำงานมากนกั เมื่อตอ้ งใชเ้ ป็นเวลานาน ๖. การใช้งานและการดแู ลรักษาไมย่ ุ่งยาก ๗. ผู้จำ� หนา่ ยอุปกรณ์ควรให้ข้อมลู ข้อแนะนำ� และใหบ้ รกิ าร เชน่ การฝึกอบรมวธิ กี ารใช้ท่ถี ูกต้องได้ การดูแลรักษา การดูแลรักษาอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้มีอายุการใช้งานอย่างที่ควรจะเป็น ควรปฏิบัติตาม ข้อแนะน�ำของผู้ผลิตหรือผู้จ�ำหน่ายอย่างเคร่งครัด อย่างไรก็ตาม หากยังไม่ทราบข้อมูลดังกล่าว มีหลักปฏิบัติ ทว่ั ๆ ไป ดงั น้ี ๑. ทำ� ความสะอาดเปน็ ประจำ� โดยเฉพาะหลงั การใชง้ านทกุ ครง้ั ดว้ ยนำ้� เปลา่ หรอื สารชะลา้ งทมี่ ฤี ทธอ์ิ อ่ น ๒. ลา้ งดว้ ยน้�ำสะอาด และผึง่ ลมใหแ้ หง้ ไม่ควรตากแดด ๓. ตรวจสภาพของอปุ กรณเ์ พอื่ หารอยแตก รา้ ว ฉกี ขาด หรอื อน่ื ๆ ทแี่ สดงถงึ ความชำ� รดุ หากพบใหเ้ ปลย่ี นอะไหล่ หรอื เปล่ยี นอปุ กรณใ์ หม่ท้งั ช้ิน การตรวจสภาพน้คี วรทำ� ทัง้ ก่อนและหลังการใช้งาน 70 คมู่ ือการด�ำ เนนิ งานอาชวี อนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ

๖.๑ อปุ กรณ์ปกปอ้ งศีรษะ เปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั ปอ้ งกนั อนั ตรายจากการกระแทก การเจาะทะลขุ องวตั ถทุ ม่ี ากระทบศรี ษะหรอื อนั ตราย จากไฟฟา้ ทำ� จากวสั ดุทีแ่ ข็ง เหนียว และทนทาน ภาพท่ี ๖.๑ อุปกรณ์ปกปอ้ งศีรษะ ทมี่ า : http://www.safetymanservice.com/index.php?lite=article&qid=๔๒๑๙๙๔๘๗ ๖.๑.๑ ชนิดหมวกนิรภัย แบ่งออกเปน็ ชน้ั คณุ ภาพต่าง ๆ ตามลักษณะอันตรายและการปอ้ งกัน ดงั นี้ ๑) ชั้นคุณภาพ A สามารถป้องกันการกระทบกระแทกและการเจาะทะลุของของแข็ง รวมท้ัง แรงดนั ไฟฟา้ ไมเ่ กนิ ๒,๒๐๐ โวลท์ ๒) ชน้ั คณุ ภาพ B ปอ้ งกนั อันตรายจากการกระทบกระแทก และการเจาะทะลุของของแขง็ และปอ้ งกนั อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ ไดถ้ งึ ๒๐,๐๐๐ โวลท์ จงึ เหมาะสำ� หรบั งานทตี่ อ้ งเสยี่ งตอ่ กระแสไฟฟา้ แรงดนั สงู ๓) ชั้นคุณภาพ C สามารถป้องกันการกระทบกระแทกและการเจาะทะลุของของแข็ง แต่ไม่ป้องกัน อนั ตรายจากกระแสไฟฟา้ เหมาะสำ� หรบั การทำ� งานในท่ีไมม่ ีอันตรายจากไฟฟา้ หมวกนิรภัย แบ่งเปน็ ๔ ประเภท ตามคณุ สมบตั กิ ารใช้งาน ดังน้ี ๑) ประเภท A เหมาะสำ� หรบั การใชง้ านทั่วไป เชน่ งานก่อสร้าง งานอนื่ เพ่ือปอ้ งกันวัตถุ หรือของแขง็ หลน่ กระแทกศรี ษะ วสั ดุทใี่ ชท้ ำ� หมวกประเภทนี้เป็นพลาสติก หรือไฟเบอรก์ ลาส ๒) ประเภท B เหมาะสำ� หรบั การใชง้ านทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั สายไฟแรงสงู วสั ดทุ ใ่ี ชท้ ำ� หมวกคอื วสั ดสุ งั เคราะห์ ประเภทพลาสตกิ และไฟเบอรก์ ลาส ๓) ประเภท C เหมาะส�ำหรบั งานทต่ี ้องท�ำในบริเวณทีม่ ีอากาศร้อน วสั ดทุ ำ� จากโลหะ ไมเ่ หมาะใชก้ ับ งานเกี่ยวข้องกบั ประแสไฟฟา้ ๔) ประเภท D เหมาะสำ� หรบั งานดบั เพลงิ วสั ดทุ ใ่ี ชท้ ำ� หมวก เปน็ อปุ กรณว์ สั ดสุ งั เคราะหป์ ระเภทพลาสตกิ และไฟเบอร์กลาส ๖.๑.๒ การเลอื กใช้ การเลือกใชห้ มวกนิรภัยควรพจิ ารณาตามเกณฑต์ อ่ ไปนี้ ๑) ชนิดของอันตรายและความรุนแรงท่ีเกิดข้ึนจากงาน และประสิทธิภาพการป้องกันของหมวก หมวกนิรภัยที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ควรมีประสิทธิภาพเพียงพอในการป้องกันอันตรายและความรุนแรงท่ี อาจเกิดขึ้นกับพนักงานเม่ือปฏิบัติงานนั้นได้ เช่น งานที่มีความเส่ียงต่อกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง หมวกนิรภัยที่ เหมาะสมควรเป็นช้ันคุณภาพ B ในขณะที่งานซ่อมบ�ำรุงท่ัวไปท่ีไม่มีความเส่ียงต่อกระแสไฟฟ้า หมวกนิรภัยช้ัน คณุ ภาพ A หรอื C ก็เพยี งพอต่อการใช้งานแลว้ ค่มู อื การด�ำ เนนิ งานอาชวี อนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ 71

๒) มาตรฐานรับรอง หมวกนิรภัยต้องผ่านการทดสอบประสิทธิภาพการป้องกันตามข้อก�ำหนดของ สถาบันที่น่าเชื่อถอื ได้ เช่น ส�ำนักงานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรม (สมอ.) American National Standard Institute : ANSI หรอื European Standard : EN หรือ Australian/New Zealand Standard : AS/NZS ๓) ขนาดเหมาะสมกับศรี ษะ ๔) สวมใส่สบาย น�้ำหนักเบา ๖.๑.๓ การดูแลรักษา วธิ ีการท�ำความสะอาดและดแู ลรกั ษาโดยทั่วไป มดี งั นี้ ๑) หลังการใช้งานในแต่ละวัน ควรเช็ดหรือล้างหมวกนิรภัยด้วยน�้ำเปล่า หรือน�้ำยาท�ำความสะอาด อยา่ งออ่ น จากนนั้ เชด็ ด้วยผา้ หรือผึ่งลมใหแ้ ห้ง และเก็บในทส่ี ะอาด ๒) ควรตรวจสภาพของหมวกนิรภัยด้วยสายตาทุกคร้ังก่อนการใช้งาน เพ่ือม่ันใจว่าไม่มีความช�ำรุด หรือความผิดปกติใด ๆ เช่น ร้าว แตก ทะลุ รองในและสายรัดเปื่อยหรือฉีกขาด ไม่มีความยืดหยุ่น หากพบ ความผดิ ปกติควรเปล่ยี นอะไหล่หรือเปลี่ยนหมวกใบใหม่ ๓) ควรศกึ ษาคมู่ อื การใช้งานถึงการดูแลรกั ษาพเิ ศษและขอ้ ควรระวังต่าง ๆ เพอื่ ปอ้ งกนั ความเสียหายที่ อาจเกดิ ขึน้ และเปน็ การยดื อายุการใชง้ าน แผนกที่ใชใ้ นโรงพยาบาล ได้แก่ แผนกซอ่ มบ�ำรุง/ชา่ ง ๖.๒ อุปกรณป์ กปอ้ งใบหน้าและดวงตา เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับปกป้องใบหน้าและดวงตาจากการกระทบกระแทกจากของแข็ง การกระเด็นของ ของเหลว สารคัดหลั่งจากคนไข้ ความระคายเคืองจากอนุภาค ก๊าซ และไอระเหยของสารเคมีท่ีปนเปื้อนใน บรรยากาศ และอนั ตรายจากแสงจา้ และรังสี ภาพที่ ๖.๒ อปุ กรณ์ปกป้องใบหนา้ และดวงตา ท่ีมา : http://dmsc๒.dmsc.moph.go.th/webroot/drug/km/lab_other/Personal%๒๐Protective%๒๐Equipment.pdf ๖.๒.๑ ชนิด ๑) แวน่ ตานริ ภัย (safety spectacles) มีรูปร่างเหมือนแว่นสายตาท่วั ไป มคี วามแขง็ แรง ทนแรง กระแทก แรงเจาะของวัตถุที่พุ่งเข้าสู่ใบหน้าได้ ใช้ส�ำหรับป้องกันอันตรายท่ีมีทิศทางมาจากทั้งด้านหน้าและ ดา้ นข้าง ๒) ครอบตานริ ภยั (safety goggles) เปน็ อปุ กรณค์ รอบปดิ ดวงตาทง้ั สองขา้ ง สามารถปอ้ งกนั อนั ตราย ทั้งจากของแข็งและของของเหลวที่พุ่งหรือกระเด็นเข้าใส่ดวงตาได้รอบด้าน เนื่องจากกรอบของครอบตานิรภัย มลี กั ษณะออ่ นนมุ่ แนบสนทิ กบั รอบดวงตาไดด้ ี 72 คมู่ ือการดำ�เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบุคลากรสขุ ภาพ

เลนส์ของครอบตานิรภัยอาจมีคุณสมบัติพิเศษเพิ่มเติมเพ่ือให้เหมาะสมกับอันตรายที่พบได้ในลักษณะ งานที่แตกต่างกันได้ เช่น เลนส์ป้องกันสารเคมี เลนส์กรองแสงส�ำหรับงานตัด เช่ือม หรือหลอมโลหะสามารถ ป้องกันอันตรายจากแสงจ้าและรงั สไี ด้ ๓) กระบังหน้า (face shields) เปน็ แผ่นวัสดโุ คง้ ครอบใบหนา้ ใชส้ �ำหรบั ป้องกันอันตรายตอ่ ใบหน้า ดวงตา และล�ำคอจากการกระทบของของแข็งของเหลว และการกระเด็นของของเหลวรวมทั้งโลหะหลอมเหลว ด้วย แต่ประสิทธิภาพในการป้องกันแรงกระแทกของกระบังหน้าน้อยกว่าแว่นตาและครอบตานิรภัย จึงควรใช้ กระบงั หนา้ รว่ มกบั แวน่ ตา หรอื ครอบตานริ ภยั เพอ่ื ความปลอดภยั มากยงิ่ ขน้ึ กระบงั หนา้ อกี ชนดิ หนง่ึ คอื กระบงั หนา้ ส�ำหรับงานเชื่อมโลหะ (welding shields) มักท�ำจากวัสดุที่แสงผ่านไม่ได้ และเจาะช่องมองไว้เพ่ือประกอบ เข้ากับเลนสก์ รองแสง กระบังหน้าชนิดนี้มีท้งั แบบครอบศรี ษะและแบบถือด้วยมือ ๖.๒.๒ การเลอื กใช้ การเลือกอุปกรณ์ปกป้องใบหนา้ และดวงตาควรพจิ ารณาตามเกณฑ์ตอ่ ไปน้ี ๑) ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตาควรมีคุณสมบัติในการป้องกันอันตรายและคุณสมบัติอื่น ๆ ตามท่ี ก�ำหนดไว้ในมาตรฐานของสถาบันท่ีน่าเช่ือถือต่าง ๆ ได้แก่ ANSI หรือ EN หรือ International Standard Organization : ISO เพอื่ ใหม้ นั่ ใจวา่ อปุ กรณน์ น้ั มปี ระสทิ ธภิ าพเพยี งพอในการปอ้ งกนั อนั ตรายทจี่ ะเกดิ กบั ผสู้ วมใสไ่ ด้ ๒) ความพอดกี ับใบหน้า ไมบ่ ดบังสายตา และมองเหน็ ภาพไดเ้ หมอื นจรงิ ๓) ความสบายขณะสวมใส่ น�้ำหนักเบา ๔) ทนทานตอ่ ความร้อน การกดั กรอ่ นของสารเคมี และไมเ่ กดิ ความระคายเคืองต่อผวิ หนัง ๕) ไมเ่ ป็นอปุ สรรคตอ่ การสวมใสอ่ ุปกรณ์ปอ้ งกนั อันตรายสว่ นบุคคลชนดิ อนื่ บนใบหนา้ ๖) ทนทาน ทำ� ความสะอาด และฆา่ เชือ้ โรคได้ ๖.๒.๓ การดูแลรักษา ๑) ท�ำความสะอาดด้วยน�้ำหรือน�้ำยาทำ� ความสะอาดที่มีฤทธ์ิอ่อนหรือน้�ำยาฆ่าเช้ือโรค ผึ่งลมให้แห้ง และเก็บในทที่ ่สี ะอาด ๒) ตรวจสภาพทวั่ ไปของอุปกรณ์เพอื่ หารอยชำ� รดุ รา้ ว แตก พร่ามัว หรอื ความผิดปกตใิ ด ๆ หากพบ ควรเปลี่ยนอะไหลห่ รอื เปลีย่ นอุปกรณช์ นิ้ ใหม่ ๖.๓ อุปกรณป์ กปอ้ งระบบทางเดินหายใจ เปน็ อปุ กรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายทป่ี ะปนอยใู่ นอากาศ ไดแ้ ก่ ฝนุ่ ละออง ฟมู โลหะ กา๊ ซ ไอระเหย เชอื้ โรคตา่ ง ๆ ไม่ให้เข้าสู่ร่างกายผ่านระบบทางเดินหายใจ ซ่ึงการไอ จามแต่ละคร้ังจะท�ำให้เชื้อโรคแพร่กระจายออกไปได้ไกล ถงึ ๓ ฟตุ และแขวนลอยปะปนอยูใ่ นอากาศได้นาน ท�ำให้ผทู้ สี่ ัมผสั มีโอกาสได้รบั เช้อื โรคตา่ ง ๆ ได้ ๖.๓.๑ อปุ กรณป์ กปอ้ งระบบทางเดินหายใจ แบ่งออกเปน็ ๒ ชนิด ตามกลไกการป้องกัน คือ ๑) ชนิดส่งผ่านอากาศ เป็นอุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจท่ีอาศัยอากาศสะอาดจากแหล่งอ่ืน ไม่ใช่อากาศในบริเวณท�ำงาน แล้วส่งผ่านไปยังบริเวณหายใจ (breathing zone) ของผู้สวมใส่ มักใช้ในบริเวณ ทม่ี ีอนั ตรายสงู ๆ เชน่ ที่อบั อากาศ บรเิ วณท่มี ีก๊าซออกซเิ จนนอ้ ย การทำ� งานกบั สารท่ีมีอนั ตรายมาก ๆ ๒) ชนดิ กรองอากาศหรอื หนา้ กากกรองอากาศ มีส่วนสำ� คญั คอื ตวั กรอง ทำ� หน้าทีด่ กั จบั สารอนั ตราย ในอากาศ อากาศท่ีผ่านจากตัวกรองจึงไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย หน้ากากกรองอากาศยังแบ่งได้อีกเป็นชนิด หน้ากากกรองอนุภาค ชนิดหน้ากากกรองก๊าซ (ฝุ่น ละออง ฟูมโลหะ) และไอระเหย และชนิดหน้ากากกรอง อนุภาค กรองก๊าซและไอระเหยรวมกนั ตวั อยา่ ง อุปกรณป์ กปอ้ งระบบทางเดินหายใจชนิดน้ี เชน่ หนา้ กากอนามยั หนา้ กาก N๙๕ เป็นต้น คู่มือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั สำ�หรับบุคลากรสุขภาพ 73

หนา้ กากกรองอนภุ าคตามมาตรฐานของประเทศสหรฐั อเมรกิ า จะยดึ เกณฑต์ ามมาตรฐาน ๔๒CFR Part ๘๔ ซึง่ ตามมาตรฐานนี้ หนา้ กากกรองอนภุ าคทผี่ า่ นมาตรฐานจะได้รบั การรบั รองจาก NIOSH และ Department of Health and Human Services : DHHS ซ่งึ สามารถแบง่ ได้เป็น ๙ ประเภทด้วยกัน โดยจะแบ่งตามประสิทธภิ าพ การกรอง (๙๕% ๙๙% และ ๙๙.๙๗%) และชนดิ ของไสก้ รอง (N, R and P) ซึง่ ทง้ั หมดใชอ้ นภุ าคขนาดเดียวกัน คอื ๐.๓ micrometers ภาพท่ี ๖.๓ หน้ากากชนิดมีไสก้ รองก๊าซและไอระเหย ภาพที่ ๖.๔ หนา้ กาก N๙๕ ที่มา : https://www.sgb.co.th ตารางท่ี ๖.๑ ข้อมูลแสดงประสิทธิภาพการกรองของหนา้ กาก ประสทิ ธภิ าพ อนภุ าคทไ่ี มใ่ ช่น้ำ� มนั อนุภาคทใ่ี ช้ทดสอบ อนภุ าคที่เปน็ น�้ำมนั และ การกรองต่ำ� สุด (ทดสอบด้วย NaCl*) อนุภาคทเ่ี ป็นนำ้� มันและ ไมใ่ ชน่ �้ำมนั (%) ไม่ใช่น�้ำมนั (ทดสอบดว้ ย DOP**) (ทดสอบดว้ ย DOP**) อายุการใช้งานนาน ๙๕ N๙๕ R๙๕ P๙๕ ๙๙ N๙๙ R๙๙ P๙๙ ๙๙.๙๗ N๑๐๐ R๑๐๐ P๑๐๐ หมายเหตุ : *NaCI = sodium chloride, **DOP oil = dioctyl phthalate ทมี่ า : http://www.thai-safetywiki.com/respirator/๕๖-dust-mask-standard ๖.๓.๒ ข้อก�ำหนดของไส้กรองประเภทตา่ ง ๆ N, R และ P บ่งบอกถงึ การใช้งานของไส้กรองแต่ละชนดิ ๑) ไส้กรอง N-series เป็นไส้กรองที่ไม่ทนต่อน�้ำมัน ไส้กรองประเภทนี้จะเปลี่ยนต่อเม่ือไส้กรอง สกปรกหรือหายใจได้ล�ำบาก อย่างไรก็ตามโดยท่ัวไปแล้ว หากใช้ในสถานที่ที่มีฝุ่นหรือสกปรกมาก ข้อก�ำหนด ของหน้ากากประเภทน้ีก�ำหนดให้ควรจะสามารถใช้ได้อย่างน้อย ๘ ชั่วโมง โดยไม่ท�ำให้ประสิทธิภาพการหายใจ ลดลงตามระดับทกี่ �ำหนด ๒) ไส้กรอง R-series เป็นไส้กรองที่ทนต่อน้�ำมัน ไส้กรองประเภทนี้เหมาะส�ำหรับใช้ในการท�ำงาน แบบต่อเนื่องคร้ังเดียว (ท�ำงานต่อเน่ือง ๘ ชั่วโมง) ในสถานท่ีท่ีมีอนุภาคน�้ำมัน ระยะเวลาการเปล่ียนไส้กรอง สามารถขยายได้ ตราบใดท่ีไส้กรองยังสามารถกรองได้ตามระดับประสิทธิภาพ แต่ก็ควรจะมีการเปล่ียนหรือ ปรบั หากสภาพแวดลอ้ มท่ีทำ� งานทเี่ ปลี่ยนไป ๓) ไส้กรอง P-series เป็นไส้กรองท่ีใช้เมื่อมีน้�ำมันหรือไม่มีน�้ำมันก็ได้ เนื่องจากสามารถใช้ได้ใน 74 คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั สำ�หรับบุคลากรสขุ ภาพ

หลายสภาพแวดล้อม การใช้หรือไม่ใช้ไส้กรองประเภทนี้ จะพิจารณาจากเพียงแค่ความสกปรกของไส้กรอง และประสทิ ธภิ าพการหายใจเท่าน้นั ส�ำหรับมาตรฐานของสหภาพยุโรปแบ่งออกเป็น ๓ ชั้นคุณภาพพิจารณาโดยใช้ชนิดของอนุภาค ประสิทธิภาพการกรอง และปริมาณการร่ัวเข้าของอากาศภายนอก (total inward leakage) เป็นเกณฑ์หลัก มาตรฐานของสหภาพยุโรปได้รับการเผยแพร่ไปใช้ยังประเทศต่าง ๆ เช่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ เกาหลี อาร์เจนตนิ า เป็นต้น ตารางท่ี ๖.๒ ประสทิ ธิภาพการกรองของหน้ากากมาตรฐานยโุ รป ช้นั คณุ ภาพ ประสิทธิภาพการกรอง (%) ความหมาย P๑ ๘๐ ใช้กับอนุภาคที่เกิดขึ้นกับกระบวนการทางกล ได้แก่ ฝุ่น ละออง P๒ ๙๔ ใช้กับอนุภาคท่ีเกิดขึ้นกับกระบวนการทางกลและความร้อน ไดแ้ ก่ ฝ่นุ ละออง ฟูมโลหะ P๓ ๙๙.๙๕ ใช้กบั อนภุ าคทุกชนิดทีม่ ีพษิ มาก ทมี่ า : http://www.thai-safetywiki.com/respirator/๕๖-dust-mask-standard บุคลากรทางสุขภาพท่ีปฏิบัติงานในแผนกเส่ียงต่อการแพร่กระจายเช้ือวัณโรค ต้องใส่หน้ากากชนิด N๙๕ เมื่อต้องทำ� งานสมั ผสั ผ้ปู ว่ ย โดยมขี ้อพิจารณาในการเลือกใช้ ดังน้ี ๑. หน้ากากที่ใช้จะต้องสวมใส่ได้กระชับพอดีกับใบหน้า โดยขอบด้านในของอุปกรณ์สัมผัสกับผิวหน้า อยา่ งแนบสนิท ไมม่ รี รู ั่วใหอ้ ากาศผา่ นได้ ๒. ควรมนี ้�ำหนักเบา ๓. ส่วนตา่ ง ๆ ของหนา้ กากต้องไม่บดบังสายตาขณะสวมใส่ ๔. ควรท้งิ หน้ากากชนดิ N๙๕ เม่ือมกี ารสมั ผัสกบั สารคดั หลงั่ ของผู้ป่วย ๖.๓.๓ ขน้ั ตอนการใสห่ น้ากากชนดิ N๙๕ การทำ� Fit test และการท�ำ Seal check ๑) ขน้ั ตอนการ ใส่หน้ากากชนิด N๙๕ ควรปฏิบัติ ดงั นี้ ๑.๑) ซักประวัติการเป็นโรคท่ีเกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจของผู้ที่จะสวมใส่หน้ากากชนิด N๙๕ เพราะการใช้หน้ากากชนิดน้ี อาจจะท�ำให้เกิดอันตรายต่อบุคลากรท่ีป่วย ที่เป็นโรคหอบหืด โรคปอด โรคระบบ ทางเดนิ หายใจ และหญงิ ตงั้ ครรภ์ เนอ่ื งจากลมหายใจจะผ่านเขา้ -ออก ได้ยากขึ้น ๑.๒) การทดสอบความแนบสนิท (seal check) หลังใสห่ น้ากาก ก่อนปฏิบัติงานทุกครัง้ ๒) การทำ� Fit test และการท�ำ Seal check การท�ำ Fit test เป็นการทดสอบความกระชบั ของอุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดนิ หายใจ วัตถุประสงค์ เพ่ือเลือกขนาดและรุ่นของอุปกรณ์ที่เหมาะสมและกระชับกับใบหน้าของผู้สวมใส่แต่ละราย การทดสอบมี หลายวิธี โดยทั่วไปมี ๒ ประเภท คือ การทดสอบเชิงคุณภาพ และการทดสอบเชิงปริมาณ ซ่ึงจะมีข้ันตอนตาม มาตรฐาน OSHA การทำ� Fit test ควรทำ� ปีละ ๑ ครั้ง หรือเมื่อรปู หน้าของผใู้ ช้งานมีการเปลีย่ นแปลงซึ่งอาจมี ผลต่อความกระชบั ของหน้ากาก ส่วนการท�ำ Seal check เป็นการทดสอบความแนบสนิทของหน้ากากกับใบหน้า เพื่อตรวจสอบ ความแนบสนทิ ของหน้ากากกบั ใบหนา้ ซึง่ ควรท�ำทกุ คร้งั ก่อนใช้หน้ากาก ตวั อยา่ งข้นั ตอนการทำ� Seal check ก่อนการใชง้ านหนา้ กากชนดิ N๙๕ แต่ละครั้ง ค่มู ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบุคลากรสุขภาพ 75

การทดสอบผู้สวมใส่หน้ากากชนิด N๙๕ สามารถท�ำได้ด้วยตัวเอง และควรจะท�ำทุกครั้งท่ีสวมใส่ หน้ากากชนิด N๙๕ เพื่อประสิทธิภาพในการปอ้ งกันการรัว่ ไหลของอากาศบรเิ วณขอบหน้ากาก โดยมขี ้ันตอนดังนี้ ๒.๑) วางหน้ากากใสไ่ วใ้ นอ้งุ มอื ให้สายคลอ้ ง ทัง้ สองเส้นอยู่หลงั มือ ๒.๒) ประกบหนา้ กากเขา้ กับใบหน้า จับแถบอลูมิเนยี มใหอ้ ยบู่ นสันจมูก และส่วนลา่ งคลุมคาง ๒.๓) ดึงสายรัดเสน้ บนไปด้านหลงั ศีรษะ โดยพาดเฉยี งเหนอื ใบหู ๒.๔) ดงึ สายรัดเสน้ ลา่ งไปรดั บริเวณต้นคอ จดั สายรัดให้เรียบร้อย ๒.๕) ใชน้ ้วิ ของมือทงั้ สองขา้ งรดี แถบอลูมิเนยี มให้แนบกับสันจมกู เพ่ือความแนบสนทิ ๒.๖) ตรวจสอบความแนบสนทิ แบบหายใจออกโดยใชม้ อื ทง้ั สองขา้ งวางบนหนา้ กากหายใจออกแรง มากกวา่ ปกติเล็กน้อย (๑) หากสวมใสห่ น้ากากแนบสนทิ ดี จะไม่มีอากาศรวั่ ไหลออกทางขอบหน้ากาก (๒) ถ้ามีอากาศร่ัวไหลออกทางขอบหน้ากากมให้รีดแถบอลูมิเนียม ปรับต�ำแหน่งของหน้ากาก ใหม่ หรอื ดงึ สายรดั ไปด้านหลงั มากข้นึ จากนั้นตรวจสอบความแนบสนทิ ใหม่อกี ครั้ง ภาพที่ ๖.๕ ตวั อยา่ งขั้นตอนการทำ� Seal check กอ่ นการใช้งานหนา้ กากชนดิ N๙๕ แตล่ ะครงั้ แผนกที่มีการใช้อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจในโรงพยาบาล ได้แก่ ห้องครัวโภชนาการ ห้องทนั ตกรรม หอ้ งผ่าตดั หอ้ งผ้ปู ว่ ยนอก/ใน หอ้ งเคมบี ำ� บดั ห้องตัดเยบ็ ผ้า ห้องชา่ งซอ่ มบำ� รุง ๖.๔ อุปกรณ์ปกปอ้ งการได้ยิน เปน็ อปุ กรณ์ส�ำหรบั ลดความดงั ของเสียงลงใหอ้ ยู่ในระดับทีป่ ลอดภัยก่อนเข้าสรู่ ่างกาย ๖.๔.๑ ชนดิ อุปกรณ์ปกป้องการไดย้ นิ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภทหลัก ไดแ้ ก่ ๑) ที่อุดหู (ear plugs) เป็นอุปกรณ์ที่สอดไว้ในช่องหูเพ่ือกั้นทางเดินเสียงและดูดซับเสียง ลดเสียง ได้ตั้งแต่ ๑๕-๒๕ dB ลดเสียงท่ีมีความถี่ต�่ำกว่า๔๐๐ Hz ได้ดี มักท�ำจากยางสังเคราะห์ท่ีอ่อนนุ่มหรือโฟม จึง สวมใสไ่ ดโ้ ดยไมร่ สู้ กึ เจบ็ ในชอ่ งหู สง่ิ ทค่ี วรระวงั คอื ไมค่ วรใชท้ อี่ ดุ หู หากภายในชอ่ งหมู บี าดแผล ผใู้ ชค้ วรฝกึ การ สวมใสใ่ ห้ถกู ต้องเพ่อื ให้ไดป้ ระสทิ ธผิ ลในการลดเสยี งอยา่ งเต็มที่ ภาพที่ ๖.๖ Ear plugs และ Ear muff ทม่ี า : http://www.thai-safetywiki.com/safety-knowledge-๕๓/๕๐-hearing-protection/๗๖-hear-protector 76 คู่มือการด�ำ เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรับบุคลากรสุขภาพ

๒) ท่ีครอบหู (ear muff) เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับครอบรอบใบหูเพ่ือใช้ก้ันทางเดินของเสียง ลดเสียง ได้ต้งั แต่ ๓๐-๔๐ dB ลดเสียงที่ความถสี่ ูงกวา่ ๔๐๐ Hz ไดด้ ี ภายในฝาครอบมีวัสดดุ ดู ซบั เสียงบุอยู่ ข้อดขี องที่ ครอบหู คอื สวมใสง่ า่ ย อยา่ งไรกต็ าม ทค่ี รอบหมู กั มขี นาดใหญ่ มนี ำ้� หนกั มาก และอาจไมเ่ หมาะกบั การทำ� งานใน ทอี่ ณุ หภมู สิ งู เน่ืองจากมีเหง่ือออกภายในฝาครอบ ท�ำให้ผู้สวมใส่รู้สึกไม่สะดวกสบายขณะปฏิบัติงาน มีชนิดท่ี เปน็ โลหะและทเี่ ปน็ พลาสติก ๖.๔.๒ การเลือกใช้ ๑) ประสิทธภิ าพและมาตรฐานรับรอง อุปกรณ์ปกป้องการได้ยิน ควรมีประสิทธิภาพในการลดเสียงที่เหมาะสม หมายถึง ควรลดเสียง ของสิ่งแวดล้อมลงในระดับท่ีปลอดภัยต่อการได้ยิน และไม่ควรลดลงมากเกินไป เพราะหากไม่ได้ยินเสียง ความผดิ ปกติของเครอ่ื งจกั ร เสยี งของรถยก เสียงร้องเตือนของเพือ่ นร่วมงาน เป็นต้น อาจเกดิ อันตรายได้ ประสิทธิภาพการลดเสียงแสดงด้วยค่าการลดเสียงซึ่งมีหลายแบบเช่น Noise Reduction Rating : NRR หรือ Single Number Rating : SNR ตามวิธีการทดสอบและมาตรฐานของแตล่ ะประเทศ ท้ังนี้ การค�ำนวณระดับเสียงที่สัมผัสในหูเมื่อสวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลให้ เป็นไปตามหลักเกณฑ์ซ่ึงสอดคล้องกับข้อมูลการลดเสียงของผู้ผลิตโดยใช้ค่า NRR หรือ SNR รายละเอียด ตามประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เร่ือง การค�ำนวณระดับเสียงที่สัมผัสในหูเมื่อสวมใส่อุปกรณ์ ค้มุ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คล ประกาศ ณ วนั ท่ี ๑๘ มกราคม ๒๕๖๑ ๒) ความสบายขณะสวมใส่ และความกระชบั พอดีกับชอ่ งหูหรอื ศีรษะ ๓) อุปสรรคเมอ่ื ใช้งานรว่ มกับอุปกรณ์อนื่ บนศรี ษะ ๖.๔.๓ การดแู ลรกั ษา ๑) ลา้ งอปุ กรณป์ กปอ้ งการไดย้ นิ ดว้ ยนำ้� หรอื นำ�้ ยาทำ� ความสะอาดทม่ี ฤี ทธอ์ิ อ่ นเปน็ ประจำ� ทกุ วนั หรอื เมอ่ื สกปรก จากน้ันทิง้ ไวใ้ หแ้ ห้งสนิท และเก็บไว้ในท่สี ะอาด ๒) ตรวจสภาพหารอยชำ� รดุ ฉกี ขาด แข็งเปอ่ื ยทกุ ครงั้ ทง้ั ก่อนและหลงั การใชง้ าน ๓) สายคาดศีรษะของที่ครอบหลู ดเสยี งตอ้ งมคี วามกระชับและยืดหยุ่นดี ๖.๕ อปุ กรณป์ ้องกนั มอื และแขน เป็นอุปกรณ์ส�ำหรับป้องกันอันตรายท่ีจะเกิดข้ึนกับมือและแขน ได้แก่ การบาดเจ็บจากการสัมผัสสารเคมี อุณหภมู ิร้อนจดั เย็นจดั ของมีคมบาด ไฟฟา้ ดูด และอน่ื ๆ ๖.๕.๑ ชนิด ถงุ มือแบ่งออกเปน็ หลายชนดิ ตามลักษณะของอนั ตราย ดงั นี้ ๑) ถุงมือป้องกันสารเคมี ใช้ส�ำหรับป้องกันสารเคมีทั้งในสภาพท่ีเป็นของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ท�ำจากวัสดุหลากหลายชนิดซึ่งมีคุณสมบัติในการป้องกันสารเคมีแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดและความเข้มข้น ของสารเคมี ระยะเวลาการรับสมั ผัส และความหนาของวสั ดเุ ปน็ สำ� คญั คู่มอื การดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยสำ�หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 77

ภาพท่ี ๖.๗ อุปกรณ์ปอ้ งกันมอื และแขน ท่ีมา : http://www.intechpremier.com/products/safety/hand-protection.html วัสดุที่น�ำมาท�ำถุงมือป้องกันสารเคมีควรผ่านการทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพตามวิธีการของ ASTM F ๗๓๙ ได้แก่ การเส่ือมสภาพ (degradation) เป็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของวัสดุ เน่ืองจาก สารเคมี และการแทรกผ่าน (permeation) เป็นการแทรกผ่านในระดับโมเลกุลของสารเคมีในเนื้อวัสดุเพ่ือดู อตั ราการแทรกผ่าน (permeation rate) และระยะเวลาการแทรกผา่ นพน้ เนือ้ วสั ดุ (breakthrough time) ตวั อย่างวสั ดุท่ใี ช้ทำ� ถุงมือปอ้ งกันสารเคมี ไดแ้ ก่ ๑.๑) ถุงมือบิวทิล ใช้ป้องกันสารเคมีได้หลากหลายชนิด เช่น สารเปอร์ออกไซด์ ตัวท�ำละลาย จากปิโตรเลียม กรดและด่างท่ีมีฤทธ์ิกัดกร่อนรุนแรง แอลกอฮอล์ สารอัลดีไฮด์ สารคีโทน ไม่ควรใช้กับสาร ไฮโดรคาร์บอน ทง้ั แบบอาลิฟาตกิ และอาโรเมติก ๑.๒) ถุงมือยางธรรมชาติ ใช้ป้องกันสารเคมีที่ละลายน�้ำได้หลายชนิด เช่น กรด ด่าง เกลือ และคโี ทน มคี วามยืดหยุ่นสูง สวมใสส่ บาย แต่บางคนอาจเกดิ อาการแพเ้ ม่อื ใช้ถุงมือชนิดนี้ ๑.๓) ถงุ มอื นีโอปรีน ใชป้ ้องกันสารจ�ำพวกนำ�้ มัน น�้ำมนั ไฮโดรลกิ ส์ แอลกอฮอล์ กรดและดา่ งที่พบ ได้ในสิง่ มีชีวิต ๑.๔) ถุงมอื ไนไตร เหมาะส�ำหรบั ป้องกนั นำ�้ มนั ไขมัน กรด แอลกอฮอล์ และตัวทำ� ละลายจ�ำพวก คลอรนี แตไ่ มเ่ หมาะกับสารทเ่ี กิดปฏิกิรยิ าออกซเิ ดชนั รนุ แรง ตวั ทำ� ละลายอาโรเมติก คโี ทน และอาซเี ทต ๒) ถงุ มือปอ้ งกนั การขดี ขว่ น ใช้สำ� หรบั ปอ้ งกนั การขดี ข่วน การบาด การเฉือนของของมคี ม ตัวอย่าง ของวสั ดทุ ใ่ี ช้ทำ� ถงุ มอื ชนิดน้ี ไดแ้ ก่ ๒.๑) หนังสัตว์ เป็นวัสดุท่ีน�ำมาท�ำถุงมือป้องกันการขีดข่วนที่ใช้กันท่ัวไปในโรงงานอุตสาหกรรม สวมใสส่ บาย ระบายอากาศได้ ทนทาน และมีความยดื หยุ่น ๒.๒) เสน้ ใยสงั เคราะห์ เชน่ เคฟลาร์ (kevlar) มคี ณุ สมบตั สิ วมใสส่ บาย ระบายอากาศและยดื หยนุ่ ไดด้ ี ๒.๓) ตาขา่ ยลวด (metal mesh) ท�ำจากโลหะถกั เป็นรปู มอื ใชส้ ำ� หรับงานท่ีเก่ยี วขอ้ งกับของมคี ม เฉพาะ ปอ้ งกนั การตดั และเฉอื น เช่น การชำ� แหละเนือ้ สัตว์ ๓) ถุงมือป้องกันอุณหภูมิ ใช้ป้องกันการบาดเจ็บจากการสัมผัสวัตถุท่ีมีอุณหภูมิร้อนจัด หรือเย็นจัด ตวั อยา่ งวสั ดุทใ่ี ชท้ ำ� ถงุ มอื ชนิดน้ี ไดแ้ ก่ ๓.๑) หนงั สัตวแ์ ละเส้นใยสังเคราะห์ ๓.๒) ผ้า มกั ใชป้ ้องกนั การสมั ผสั วตั ถทุ ี่มอี ุณหภูมไิ ม่สงู หรอื ต�ำ่ มากนกั ๓.๓) อลูมิเนียม (aluminized gloves) เป็นถุงมือท่ีบุด้วยวัสดุท่ีเป็นฉนวน เหมาะส�ำหรับใช้กับ งานทีม่ ีอุณหภูมสิ งู หรอื ตำ�่ มาก ๆ ได้ 78 คมู่ อื การด�ำ เนินงานอาชวี อนามัยสำ�หรบั บุคลากรสขุ ภาพ

๔) ถุงมือป้องกันไฟฟ้า เป็นถุงมือที่ท�ำจากวัสดุซ่ึงต้านทานแรงดันไฟฟ้าท่ีระดับต่าง ๆ ได้ มักใช้ ร่วมกับถุงมือหนังหรือถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุที่ทนทานการขีดข่วน การบาด การเจาะทะลุ เพื่อป้องกันไม่ให้วัสดุที่ เป็นฉนวนรัว่ หรอื ฉีกขาด ถงุ มือแบ่งออกตามลักษณะของงานทใี่ ชใ้ นโรงพยาบาล ดงั น้ี ๔.๑) ถงุ มือปราศจากเช้อื (sterile glove) ได้แก่ (๑) Surgical glove ขนาดสัน้ ส�ำหรบั หตั ถการต่าง ๆ (๒) Surgical glove ขนาดยาว ส�ำหรับการล้วงรก และการผ่าตัดที่มีเลือดออกมากหรือการ ล้างลงไปในอวัยวะท่อี ยลู่ ึก เช่น ในช่องท้อง (๓) Special examination glove ส�ำหรบั การตรวจทตี่ ้องการความปราศจากเชือ้ ๔.๒) ถุงมอื สะอาด (cleaned glove) ได้แก่ (๑) General examination glove ส�ำหรับการตรวจทัว่ ไปทต่ี อ้ งการความสะอาดเทา่ น้นั เชน่ เจาะเลือด การทำ� แผล (๒) Heavy duty glove ถงุ มอื ยางหนาหรือถุงมอื แม่บา้ น มคี วามเหนียว และคงทน สำ� หรบั งานซกั ล้าง ล้างเคร่อื งมือ การท�ำความสะอาด ๔.๓) ถุงมอื แพทย์ (medical gloves) หรอื ถงุ มือยางแพทย์ เป็นถงุ มือชนดิ ใชแ้ ลว้ ทงิ้ ทีน่ �ำไปใช้ใน การตรวจโรคหรอื งานทดสอบทางการแพทย์ วัตถปุ ระสงค์หลัก คือ ปอ้ งกนั การสมั ผัสโดยตรงของหมอ พยาบาล กบั คนไข้ ถุงมอื แพทยแ์ บ่งออกไดเ้ ป็นสองชนดิ ใหญ่ ๆ คือ (๑) ถงุ มอื ตรวจโรค (หรือถุงมือแพทย์ชนิดไมฆ่ ่าเชื้อ) (๒) ถงุ มอื ผ่าตดั ถุงมือยางแพทย์ชนิดตรวจโรค เป็นท่ีนิยมใช้กันมาก ผลิตมาจากยางพารา ซึ่งเป็นวัสดุธรรมชาติ มีความยืดหยุ่น เหนียว ผิวด้านนอกของถุงมือมีความฝืด เพื่อการจับวัตถุต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังมีราคาถูก ข้อจ�ำกัด คือ ผู้ใช้บางคนอาจมีอาการแพ้โปรตีนในยางธรรมชาติ (คือ ในยางพาราจะมีโปรตีน ผสมอย)ู่ ซง่ึ อาจกอ่ ปญั หาสำ� หรบั ผทู้ ม่ี อี าการแพโ้ ปรตนี ถงุ มอื แพทยช์ นดิ ตรวจโรคแบง่ ออกเปน็ ชนดิ มแี ปง้ กบั ถงุ มอื ตรวจโรคชนดิ ไม่มีแป้ง ถุงมือแพทย์ชนิดมีแป้ง เป็นถุงมือแพทย์ที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยถุงมือจะมีแป้งเพื่อให้มีความ ลื่น สวมใส่ได้ง่าย และป้องกันการอับชื้นมือของผู้สวมใส่ ข้อเสีย คือ อาจก่อให้เกิดการแพ้แป้งในถุงมือส�ำหรับ ผ้ใู ช้บางคน ถุงมือแพทย์ชนิดไม่มีแป้ง เป็นถุงมือแพทย์ท่ีใช้กันในบางกลุ่มผู้ใช้ เป็นถุงมือท่ีต้องผ่าน กระบวนการขจดั แปง้ ออก จงึ ไม่มีแปง้ เป็นองค์ประกอบ จึงไมม่ ปี ญั หากบั ผูท้ ่แี พแ้ ป้ง สามารถสวมใสไ่ ดท้ กุ คน ถุงมือไนไตรหรือถุงมือยางไนไตร เป็นถุงมือชนิด Non-latex คือ ไม่ได้ผลิตจากยางธรรมชาติ จงึ ไมก่ อ่ ใหเ้ กดิ การแพย้ าง และถา้ เปน็ ถงุ มอื ไนไตรชนดิ ไมม่ แี ปง้ จะสามารถใสไ่ ดท้ กุ คน ถงุ มอื ไนไตรมขี อ้ ดอี นื่ ๆ อกี เช่น ทนต่อสารเคมีได้ดีเป็นพิเศษ เหนียวกว่าถุงมือยางธรรมชาติ จึงแตก ขาด ร่ัวได้ยากกว่า ข้อเสียคือ มคี วามลื่นมากกวา่ ถุงมือยางธรรมชาติ จึงอาจหลุดมือได้ง่ายกว่า และเนอ่ื งจากถงุ มอื ไนไตรแข็งแรงกว่าถุงมือยาง ธรรมชาติ จึงยืดหยุน่ นอ้ ยกวา่ ที่ความหนาเท่า ๆ กนั ถุงมือไวนิล เป็นถุงมือท่ีนิยมใช้ตามบ้านหรือโรงงาน มากกว่าในโรงพยาบาล เหมาะกับงานบ้าน หรืองานหนัก ๆ บางคนสวมใส่เพื่อหยิบจับสิ่งสกปรก เพื่อป้องกันเชื้อโรค ถุงมือไวนิลก็จัดเป็น Non-latex คอื ไม่ได้ผลติ จากยางธรรมชาติ จงึ ไม่มีปัญหาเรอื่ งโปรตีนจากยางธรรมชาติ คู่มือการดำ�เนินงานอาชีวอนามัยสำ�หรบั บุคลากรสขุ ภาพ 79

๖.๕.๒ การเลือกใช้ การเลอื กอปุ กรณ์ปกป้องมอื และแขนควรพิจารณาตามเกณฑ์ ตอ่ ไปนี้ ๑) ประสิทธิภาพในการปอ้ งกันและมาตรฐานรับรอง อุปกรณ์ปกป้องมือและแขนควรผ่านการทดสอบประสิทธิภาพ การป้องกัน และคุณสมบัติอ่ืน ในการป้องกันอันตรายและคุณสมบัติอ่ืน ๆ ตามข้อก�ำหนดของสถาบันท่ีเชื่อถือได้ เช่น ANSI หรือ EN หรอื International Standard Organization : ISO ๒) ลกั ษณะอันตราย ลักษณะงาน ชนดิ ของสารเคมี ในงานหนึ่งอาจมีอันตรายมากกว่า ๑ ชนิดท่ีก่อให้เกิดการบาดเจ็บท่ีมือได้ ดังนั้น จึงควรจ�ำแนก ลกั ษณะของงานใหช้ ัดเจนเพ่ือเลือกถุงมอื ที่สามารถป้องกนั อันตรายเหล่านน้ั ได้ ๓) การใชง้ าน ระยะเวลาสมั ผัสอันตราย ส่วนของร่างกายทส่ี ัมผัส มอื แขน นิ้ว การทราบรายละเอียดของงานท่ีท�ำเป็นประโยชน์มากต่อการเลือกอุปกรณ์ปกป้องมือและแขน ท่ีเหมาะสม เช่น ทำ� งานอย่างตอ่ เนอื่ งหรอื ไม่ เปน็ เวลาเท่าไร เฉพาะมอื ทีเ่ สี่ยงต่อการบาดเจ็บหรือรวมถงึ แขนดว้ ย ๔) ผวิ สัมผัสของวัตถุ (แหง้ เปยี ก มนี ้�ำมนั ) และการจบั ยึด ควรเลอื กอุปกรณป์ กปอ้ งมอื และแขนที่หยิบจบั วัตถไุ ดด้ ี ไมล่ ่นื หลดุ งา่ ย ๕) ขนาด ความหนาของวัสดุ อุปกรณ์ปกป้องมือและแขนควรมีขนาดพอดีกับผู้สวมใส่ และมีความหนาพอเหมาะ ไม่เป็นอุปสรรค ตอ่ การหยิบจบั สิง่ ของ ๖) ความสบาย ๖.๕.๓ การดูแลรกั ษา ๑) ท�ำความสะอาดหลังการใช้งานทุกวัน ด้วยน้�ำหรือตามวิธีการท่ีผู้ผลิตแนะน�ำ ผึ่งลมให้แห้ง และเกบ็ ในทีส่ ะอาด ๒) ตรวจสภาพทว่ั ไปของอปุ กรณก์ อ่ นการใชง้ านทกุ ครง้ั เพอื่ หารอยรวั่ ฉกี ขาด หรอื รอยชำ� รดุ อนื่ รวมถงึ การเส่อื มสภาพของวสั ดุ เช่น สีซีด จาง เปอ่ื ย มนี ำ้� มันเย้มิ เป็นขุย หากพบควรเปล่ยี นอปุ กรณช์ น้ิ ใหม่ ๖.๖ อุปกรณป์ กปอ้ งลำ� ตัว เปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั ปอ้ งกนั อนั ตรายทจี่ ะเกดิ ขน้ึ บรเิ วณลำ� ตวั ไดแ้ ก่ การกระเดน็ หกรดของสารเคมอี นั ตราย และสารคัดหล่งั การสมั ผสั อณุ หภูมิร้อนจัด เยน็ จดั การกระเดน็ ของโลหะหลอมเหลว ในทน่ี ี้จะกล่าวถงึ เฉพาะชดุ ป้องกนั สารเคมี และชดุ ปอ้ งกันอณุ หภูมิเท่านัน้ ๖.๖.๑ ชดุ ป้องกนั สารเคมี ใช้ส�ำหรับป้องกันไม่ให้ผิวหนังของร่างกายได้รับอันตรายจากสารเคมี ทั้งจากการดูดซึมผ่านและการเกิด ปฏิกิริยาเฉพาะท่ี เชน่ ไหม้ บวม คนั เป็นแผล เป็นต้น ภาพท่ี ๖.๘ อปุ กรณป์ กป้องล�ำตวั ทม่ี า : https://www.safety-thai.com/product 80 คมู่ อื การด�ำ เนนิ งานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ

๑) ชนิด ชุดปอ้ งกันสารเคมแี บง่ ออกเป็น ๓ ชนิด ตามประสทิ ธภิ าพการป้องกนั ดังน้ี ๑.๑) ชุดป้องกันก๊าซพิษ (gas-tight encapsulating suit) ใช้ส�ำหรับป้องกันสารอันตรายท่ี อยู่ท้ังในสถานะก๊าซ และของเหลวไม่ให้สัมผัสกับส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย ลักษณะเป็นชุดคลุมทั้งตัว อากาศภายนอกไมส่ ามารถเขา้ ได้ และตอ้ งใช้รว่ มกบั อปุ กรณป์ กปอ้ งระบบทางเดนิ หายใจชนิด Self Contained Breathing Apparatus : SCBA ชุดป้องกันก๊าซพิษควรใช้ในกรณีที่ต้องท�ำงานในบริเวณท่ีมีอันตรายมาก จนอาจเสยี ชีวติ ได้ทนั ที หรอื ไมท่ ราบชนิดหรอื ความเขม้ ขน้ ของสารอนั ตรายทปี่ นเปอื้ นในบรเิ วณนนั้ ได้ ๑.๒) ชุดป้องกันการกระเด็นของของเหลวอันตราย (liquid splash-protective suits) ใช้ส�ำหรับป้องกันการกระเด็นของของเหลวอันตราย แต่สารเคมีในสภาพก๊าซและไอระเหยยังผ่านเข้าได้ ลักษณะเป็นชุดติดกัน เป็นช้ินเดียว หรือเป็นแบบแยกช้ินระหว่างเสื้อและกางเกงก็ได้ ชุดป้องกันการกระเด็นนี้ มักใช้ในกรณีท่ีรู้ชนิดและความเข้มข้นของสารเคมี และต้องการการปกป้องระบบทางเดินหายใจในระดับสูง แต่ไมจ่ ำ� เป็นตอ้ งปกปอ้ งผวิ หนังในระดบั สงู มากนัก หรอื ใชเ้ ม่ือแนใ่ จว่าสารเคมนี ้นั ไม่เปน็ อนั ตรายมากตอ่ ผวิ หนงั หรอื อาจดดู ซึมผ่านผิวหนังได้ ๑.๓) ชุดป้องกันการปนเปื้อนท่ัวไป (non-hazardous chemical protective clothing) ใช้ส�ำหรับป้องกันผู้สวมใส่จากการสัมผัสโดยตรงกับสารอันตรายต่าง ๆ มักท�ำจากวัสดุทั่วไปท่ีให้ก๊าซและ ไอระเหยของสารเคมีผ่านได้ ๒) การเลือกใช้ การเลอื กใช้ชดุ ป้องกันสารเคมีควรพิจารณาตามเกณฑ์ ต่อไปน้ี ๒.๑) ประสิทธิภาพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง วัสดุท่ีท�ำชุดป้องกันสารเคมีต้องผ่านการ ทดสอบการเส่ือมสภาพ และการแทรกผ่านเช่นเดียวกับของถุงมือป้องกันสารเคมี และชุดป้องกันสารเคมีควร ผลิตขึน้ ตามข้อก�ำหนดของมาตรฐาน อันเป็นท่ียอมรับกันโดยทัว่ ไป เช่น NFPA และ NIOSH ๒.๒) น�้ำหนักและความสะดวกสบายเมื่อใชง้ าน ๒.๓) ขนาด การเลอื กใช้ชุดปอ้ งกนั ความรอ้ นควรพจิ ารณาตามเกณฑ์ ต่อไปนี้ ๒.๑) ประสิทธภิ าพในการปอ้ งกนั และมาตรฐานรับรอง ๒.๒) รูปแบบ ขนาด และความพอดี ๒.๓) ความรู้สึกสบายเมอ่ื สวมใส่ ๒.๔) คุณสมบัติอื่น ๆ ท่ีอาจส่งผลกระทบถึงผู้สวมใส่ เช่น การระบายอากาศ น้�ำหนัก ความ ระคายเคอื ง เพอื่ ปอ้ งกนั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ กบั ผสู้ วมใส่ การเพม่ิ ขนึ้ ของอณุ หภมู ขิ องรา่ งกายมากเกนิ การเปน็ ลม ๓) การดูแลรกั ษา ๓.๑) ควรท�ำความสะอาดทุกคร้ังหลังการใช้งานตามวิธีการท่ีผู้ผลิตแนะน�ำ แต่ส�ำหรับชุดท่ีใช้ได้ ครั้งเดยี ว ควรทิ้งไป เมอ่ื ใช้งานเสรจ็ ๓.๒) ควรตรวจสภาพเพ่ือหาความชำ� รุดหรือความผิดปกตทิ ง้ั ก่อนและหลังการใชง้ าน ๓.๓) ควรเก็บชุดป้องกันสารเคมีในท่ีสะอาดและระบายอากาศดี หลีกเล่ียงการเก็บในบริเวณที่มี ฝุ่น ความช้ืน แสงอาทิตย์ สารเคมี อุณหภูมิสูงหรือต�่ำมาก ๆ และควรพับหรือแขวนชุดป้องกันสารเคมีตามท่ี ผผู้ ลิตแนะนำ� ๖.๖.๒ ชดุ ป้องกันความร้อน ใช้ส�ำหรับป้องกันอันตรายจากความร้อนที่แผ่ออกมาจากแหล่งก�ำเนิด การกระเด็นของโลหะหลอมเหลว หรือป้องกันอันตรายจากการสัมผัสแหล่งความร้อนโดยตรง ได้แก่ งานผจญเพลิง งานซ่อมบ�ำรุง บางชนิด คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ 81

เป็นต้น วัสดทุ นี่ �ำมาทำ� ชดุ กันความรอ้ นมีหลายชนิดและมคี วามแตกตา่ งกันไปตามระดบั อณุ หภมู ิทป่ี อ้ งกันได้ เช่น หนังสัตว์ ขนสัตว์หรือเส้นใยฝ้ายเคลือบสารเคมี เส้นใยแก้วเคลือบอลูมิเนียมซ่ึงสะท้อนการแผ่รังสีความร้อนและ ทนอณุ หภูมิไดส้ ูงมาก และเสน้ ใยสงั เคราะห์ ๑) การเลือกใช้ ๑.๑) ประสิทธภิ าพในการป้องกันและมาตรฐานรับรอง ๑.๒) รูปแบบ ขนาด และความพอดี ๑.๓) ความรสู้ ึกสบายเมือ่ สวมใส่ ๑.๔) คณุ สมบตั อิ น่ื ๆ ทอี่ าจสง่ ผลกระทบถงึ ผสู้ วมใส่ เชน่ การระบายอากาศ นำ�้ หนกั ความระคายเคอื ง เพ่ือป้องกนั ผลกระทบที่อาจเกดิ ข้นึ กบั ผู้สวมใส่ การเพิม่ ข้นึ ของอณุ หภมู ิของรา่ งกายมากเกนิ การเป็นลม ๒) การดแู ลรกั ษา ทำ� ความสะอาดทกุ ครงั้ หลงั เลกิ ใชง้ าน ตรวจสภาพหารอ่ งรอยชำ� รดุ และจดั การซอ่ มแซมหากทำ� ได้ หรอื เปล่ยี นช้ินใหม่ เก็บชุดในทีส่ ะอาด ระบายอากาศดี หรอื ปฏิบตั ติ ามขอ้ แนะนำ� ของผ้ผู ลติ แผนกทีใ่ ชใ้ นโรงพยาบาล ไดแ้ ก่ ห้องเคมบี ำ� บดั หรอื งานท่ีตอ้ งสมั ผสั สารเคมี หอ้ งผปู้ ว่ ยใน กรณีสว่ น ของผู้ปว่ ยเปน็ โรคติดเชอ้ื รุนแรง ๖.๗ อุปกรณ์ปกปอ้ งเทา้ เปน็ อปุ กรณส์ ำ� หรบั ปอ้ งกนั อนั ตรายทอี่ าจขน้ึ กบั เทา้ ไดแ้ ก่ การกระแทก ทบั หนบี หรอื ทม่ิ แทงจากวตั ถตุ า่ ง ๆ ป้องกันสารเคมี ป้องกันความรอ้ น และป้องกันการล่นื ลม้ ภาพท่ี ๖.๙ อปุ กรณ์ปกป้องเทา้ ทีม่ า : http://gsithailand.com/allcontent.asp?txtmCategory_ID=๒&txtmMenu_ID=๔๑ https://www.stou.ac.th/Schools/Shs/booklet/book๕๖_๑/sanitation.htm ๖.๗.๑ ชนิด อุปกรณป์ กป้องเทา้ แบง่ ออกเปน็ ชนิดต่าง ๆ ดังนี้ ๑) รองเท้านิรภัยทั่วไป เป็นรองเท้าหุ้มส้น ใช้ส�ำหรับป้องกันอันตรายจากวัตถุหนักทับ กระแทกอัด หนีบที่ปลายเท้า ส่วนหัวรองเท้าด้านในจึงต้องมีครอบปลายเท้า (toe box) ท�ำจากวัสดุท่ีแข็งแรง เช่น เหล็ก อลูมิเนียมติดอยู่ อาจเสริมคุณลักษณะอ่ืนเพื่อลดความเสี่ยงจากการประสบอันตรายในที่ท�ำงานได้ เช่น เสริม พ้ืนรองเท้ากันการลื่นล้มเสริมแผ่นระหว่างพื้นรองเท้าด้านใน และด้านนอกป้องกันการเจาะทะลุของของแหลม รองเท้านิรภัยท่ัวไป อาจท�ำจากหนังสัตว์ ยาง พลาสติก หรือวัสดุอื่นท่ีสามารถป้องกันอันตรายดังกล่าวได้และ ใหค้ วามรูส้ กึ สบายขณะสวมใส่ ๒) รองเท้าตัวน�ำไฟฟ้า (electrically conductive shoes) เป็นรองเท้าป้องกันการสะสมไฟฟ้า สถิตย์ เหมาะสำ� หรับสวมใสท่ ำ� งานในบรเิ วณท่เี สี่ยงต่อการระเบดิ หรือไฟไหม้ 82 ค่มู ือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ

๓) รองเท้าป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า (electrical hazard, safety-toe shoes) ใช้ส�ำหรับ ป้องกันไม่ให้เท้ากลายเป็นทางผ่านของไฟฟ้าจากจุดสัมผัสไปยังพื้นดิน สามารถป้องกันแรงดันไฟฟ้าได้สูงสุด ไมเ่ กนิ ๖๐๐ โวลท์ บนพ้ืนแห้ง ๖.๗.๒ การเลือกใช้ การเลอื กใช้อปุ กรณป์ กป้องเท้าควรพจิ ารณาตามเกณฑ์ ต่อไปน้ี ๑) ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง อุปกรณ์ปกป้องเท้าควรผ่านการทดสอบประสิทธิภาพการ ปอ้ งกันและคณุ สมบตั ิอื่นตามข้อกำ� หนดของสถาบันทน่ี า่ เชือ่ ถอื เชน่ สมอ. หรอื ANSI หรือ EN ๒) เหมาะสมกับลักษณะงาน อุปกรณ์ปกป้องเท้าควรป้องกันอันตรายที่จะเกิดข้ึนกับเท้าในท่ีท�ำงาน ไดอ้ ย่างครอบคลุม และไมเ่ ป็นอุปสรรคต่อการท�ำงาน ๓) ขนาดพอดี ๔) น�้ำหนกั เบา ๕) สวยงาม ๖.๗.๓ การดแู ลรกั ษา ๑) ท�ำความสะอาดเป็นประจ�ำด้วยการปัด เช็ดฝุ่นออกหรือล้างด้วยน้�ำสะอาด ผ่ึงแดด หรือตาม ค�ำแนะนำ� ของผูผ้ ลติ ๒) กอ่ นการใชง้ านทุกคร้ัง ตรวจหารอยขาด รู ความช�ำรดุ ของอุปกรณ์ตา่ ง ๆ หากมีควรซอ่ มให้อยใู่ น สภาพดี แต่หากไม่ม่นั ใจว่าจะยงั คงคณุ สมบัตกิ ารปอ้ งกนั ตามมาตรฐาน ควรเปลี่ยนรองเท้าคใู่ หม่ ๓) ส�ำหรับรองเท้าตัวน�ำไฟฟ้า รองเท้าป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า และรองเท้านิรภัยกันสารเคมี ควรปฏบิ ตั ิตามค่มู อื การดแู ลรกั ษาและการตรวจสภาพของผผู้ ลติ แผนกทใี่ ชใ้ นโรงพยาบาล ได้แก่ แผนกซอ่ มบำ� รุง หนว่ ยจา่ ยกลาง หน่วยซกั ฟอก สรุปข้อเสนอแนะในการเลือกใช้อปุ กรณค์ ้มุ ครองความปลอดภัยสว่ นบคุ คลในแผนกเสีย่ งของโรงพยาบาล ตารางท่ี ๖.๓ สรปุ ขอ้ เสนอแนะการเลอื กใชอ้ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คลในแผนกเสย่ี งของโรงพยาบาล แผนกในโรงพยาบาล ขอ้ เสนอแนะในการเลอื กใชอ้ ปุ กรณ์ค้มุ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล ๑. ห้องหน่วยจ่ายกลาง - หมวกคลมุ ศรี ษะ (cap) - ถุงมือยางหนา (heavy duty glove) - ถงุ มอื สะอาด (non-sterile glove) - ผ้ายางกันเปอื้ น (apron) - รองเท้าบตู้ (boots) กรณีห้อง Ethyleneedixo - หนา้ กากทมี่ ีตลบั กรอง - ถงุ มือสะอาด (non-sterile glove) - เสือ้ คลมุ (gown) ๒. ห้องครวั โภชนาการ - หมวกคลมุ ศรี ษะ (cap) - หนา้ กากอนามัย (ผา้ ปดิ ปาก-จมูกชนิดธรรมดา (surgical mask)) - ท่ีอุดหู (ear plugs) กรณีใชเ้ คร่อื งล้าง ซ่ึงจะมเี สียงดัง - ถงุ มอื สะอาด (non-sterile glove) คมู่ ือการด�ำ เนินงานอาชวี อนามยั ส�ำ หรบั บุคลากรสขุ ภาพ 83

แผนกในโรงพยาบาล ขอ้ เสนอแนะในการเลอื กใช้อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล ๓. ห้องทันตกรรม - แวน่ ปอ้ งกนั ตา (goggles) แผ่นกันใบหนา้ (face shield) - หน้ากากอนามัย/หนา้ กากชนดิ N๙๕ - ทอ่ี ุดหู (ear plugs) ในกรณีกรอฟัน อดุ ฟัน อาจมีเสียงดัง บคุ ลากรอาจสวมใส่ เพื่อปอ้ งกันเสยี งดังตามความเหมาะสม - ถงุ มือสะอาด (non-sterile glove) ถุงมอื ปราศจากเชื้อ (sterile glove) - หมวกคลมุ ศีรษะ (cap) - เส้อื กาวน์หรอื เสื้อคลุม ๔. ห้องผา่ ตดั - แวน่ ป้องกนั ตา (goggles) - หมวกคลุมศรี ษะ (cap) - หนา้ กากทใี่ ช้สวมในขณะผา่ ตดั (surgical mask) - ถงุ มอื ปราศจากเชือ้ (sterile glove) - เสอ้ื คลมุ แขนยาว (gown) หรอื เสอ้ื แขนยาวและกางเกงขายาวตดิ กนั เปน็ ชนิ้ เดยี ว - ผา้ ยางกันเปื้อน (apron) กรณีตอ้ งสัมผัสกบั คนไข้ทเ่ี ป็นโรคตดิ เชื้อรุนแรง ควรพจิ ารณาข้อแนะนำ� ของ หน่วยงานท่ีเกย่ี วขอ้ งกับสุขภาพเชน่ องค์การอนามยั โลก หรอื CDC เปน็ แนวทาง ๕. ห้องผูป้ ว่ ยนอก - ถุงมอื สะอาด (clean glove) - หนา้ กากอนามัย - หนา้ กากอนามัยชนดิ N๙๕ กรณีสงสยั ว่าตดิ เชอื้ ไวรสั ๖. ห้องผู้ป่วยใน ซึ่งติดเช้ือ - หนา้ กากชนดิ N๙๕ โรคท่ีส�ำคัญหอ้ งผูป้ ่วยวกิ ฤต - แวน่ ป้องกันตา (goggles) - หมวกคลุมศีรษะ (cap) - ถงุ มอื ปราศจากเช้ือ (sterile glove) - เส้อื กาวนย์ าวหรอื เสือ้ คลุมปลอดเช้อื ในกรณที ่ีท�ำกจิ กรรมทมี่ คี วามเส่ียงเพิม่ ขึ้น เชน่ การใสท่ ่อชว่ ยหายใจ, Bronchoscope, Autopsy, การพน่ ยา, การดูดเสมหะให้เพม่ิ เครือ่ งป้องกนั ร่างกาย คอื กาวน์กันน้�ำแขนยาว (ใช้แทนกาวน์ผา้ แขนยาว) ๗. หอ้ งเคมีบำ� บดั หอ้ งผสมยาเคมีบ�ำบัด - แวน่ ป้องกันตา (goggles) แผน่ กนั ใบหน้า (face shield) - หนา้ กากชนิดคารบ์ อน ๔ ชนั้ หรอื N๙๕ หรือ P๑ ในกรณที ่ีมีการหกหรอื รว่ั ไหล ของยาเคมีบ�ำบดั ทีม่ ีความเส่ียงตอ่ การเกดิ ไอระเหยของยาเคมีบ�ำบัดปรมิ าณมาก ควรใชห้ น้ากากแบบเต็มหน้าพร้อมไส้กรองท่สี ามารถดดู ซับยาเคมีบำ� บัดได้ - ถงุ มอื ชนดิ ไมม่ แี ป้ง สวมถุงมอื ๒ ชั้น - เสื้อกาวนย์ าวหรือเส้ือคลมุ ปลอดเชื้อ (ชดุ คลมุ ท่ผี ลิตจากวสั ดุชนิดท่ีไมเ่ ป็นขยุ (lint free) สามารถป้องกันการซึมผ่านของของเหลว หรอื ใช้ชนิดที่เปน็ ไยสังเคราะห์ Polypropylene ท่เี คลอื บดว้ ย Polyethylene - หมวกคลมุ ศีรษะ - รองเท้าบู๊ต 84 คูม่ ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสขุ ภาพ

แผนกในโรงพยาบาล ขอ้ เสนอแนะในการเลือกใช้อปุ กรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยสว่ นบุคคล หอ้ งใหย้ าเคมี - แว่นป้องกันตา - หนา้ กากชนิด P๑-๙๙๑๓V - ถงุ มือชนิดไมม่ แี ปง้ สวมถุงมอ้ื ป้องกัน ๒ ชนั้ - เสอ้ื คลมุ ๘. หอ้ งซกั รดี ตดั เยบ็ /ซอ่ มผา้ - หน้ากากอนามยั /หนา้ กากชนิด N๙๕ - หมวกคลุมศีรษะ - รองเทา้ บตู๊ - ผา้ กันเปื้อน หรอื เสื้อคลุมทป่ี อ้ งกันน้�ำได้ - ถุงมอื ยาง - แว่นป้องกันตา (goggles) - ทีอ่ ุดหู (ear plugs) ท่ีครอบหู (ear muff) กรณอี ยูใ่ กลเ้ คร่อื งซกั ผ้า ซึ่งจะมีเสยี งดงั เป็นต้น ๙. ห้องรังสีวนิ ิจฉัยรักษา - แวน่ ปอ้ งกนั รังสเี อกซเรย์ แว่นตะกว่ั (lead glass) - ถงุ มอื ป้องกนั รงั สเี อกซเรย์ - อปุ กรณ์ป้องกันตอ่ มไทรอยด์ (thyroide shield) - เสอื้ ตะกว่ั (lead apron) ๑๐. หอ้ งช่างบ�ำรุงรักษา - หมวกนิรภัย - หนา้ กากอนามัย - แว่นปอ้ งกันตา (goggles) - ที่อุดหู (ear plugs) กรณีอยใู่ กล้เสยี งดัง - ถงุ มอื ยางกันไฟฟา้ ถงุ มอื กันความร้อน ถงุ มอื ป้องกนั สารเคมี - รองเท้านิรภยั ********** คู่มือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามัยสำ�หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ 85

บรรณานุกรม กรมการแพทย์ ส�ำนักพัฒนาวิชาการแพทย์. (๒๕๔๗). แนวทางเวชปฏิบัติการควบคุมและก�ำกับเพื่อป้องกันการ ตดิ เชือ้ ทางทนั ตกรรม. กรมควบคมุ โรค กองโรคจากการประกอบอาชีพและส่ิงแวดลอ้ ม อรพันธ์ อนั ติมานนท์ (บรรณาธิการ). (๒๕๖๓) แนวทางการดำ� เนนิ งานเฝา้ ระวังป้องกันควบคมุ วณั โรคในบคุ ลากรท่ีปฏบิ ัติงานของสถานพยาบาล. กรมควบคุมโรค ส�ำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (๒๕๕๔). คู่มือการประเมินความเสี่ยงจาก การท�ำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. ๒๕๕๔). (พิมพ์ครั้งที่ ๓). กรุงเทพฯ. โรงพมิ พ์ชุมชนสหกรณก์ ารเกษตรแหง่ ประเทศไทย. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะแพทย์ศาสตร์ โรงพยาบาลสงขลานครินทร์. (๒๕๕๓). แนวทางปฏิบัติการ บริหารยาเคมีบำ� บดั อยา่ งปลอดภัย. โรงพยาบาลต�ำรวจ. (๒๕๔๗). คู่มือปฏิบัติโรงพยาบาลต�ำรวจ เร่ืองการแยกผู้ป่วยและการระมัดระวังไม่ให้เช้ือ แพร่กระจายในโรงพยาบาล. โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. แนวทางปฏิบัติในการป้องกันอุบัติเหตุและการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย ส่วนบุคคล. สืบค้นวันที่ ๑๖ ตลุ าคม ๒๕๖๐. สถาบันบ�ำราศนราดูร. บทบาทของ ICN ในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกัน และควบคุมการแพร่กระจายโรคติดเชื้อ EID. สืบค้นวันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๒ . สืบค้นจาก http://bamras.ddc.moph.go.th/th/ic- download/2015/ICNEID.pdf สมาคมเภสัชกรรมโรงพยาบาล (ประเทศไทย) กลุ่มเภสัชกรสาขาโรคมะเร็ง. (๒๕๕๐). มาตรฐานการปฏิบัติงาน ดา้ นการบรกิ ารผสมและจ่ายยาเคมบี �ำบัด. คู่มอื เภสชั กร : การผสมยาเคมีบ�ำบัด. อภิเดช ชีวะประเสริฐ. (๒๕๖๐). ความรู้และการปฏิบัติตนด้านความปลอดภัยจากรังสีในบุคลากร ห้องปฏิบัติการสวนหัวใจของโรงพยาบาลรัฐบาลในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะแพทยศ์ าสตร.์ CDC. Guidance for the Selection and Use of Personal Protective Equipment (PPE) in Healthcare Settings. U.S. Department of Health and Human Services, Public Health Service, Centers for Disease Con- trol and Prevention and National Institutes of Health. (๒๐๐๐). Primary containment for biohazard: Selection, installation and use of biological safety cabinets, 2nd ed. 86 ค่มู ือการดำ�เนินงานอาชวี อนามัยส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ

ภาคผนวกที่ ๑ แบบประเมินความเสีย่ งจากการทำ� งานของบคุ ลากร ในโรงพยาบาล ค่มู อื การด�ำ เนนิ งานอาชีวอนามยั สำ�หรบั บุคลากรสขุ ภาพ 87

88 ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชวี อนามยั สำ�หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ แบบประเมินความเส่ยี งจากการทาํ งานของบุคลากรในโรงพยาบาล (แบบ RAH 01) การปฏบิ ตั ิ ไมม ี มี ชือ่ โรงพยาบาล ท่อี ยู วันทท่ี าํ การประเมนิ ผูประเมนิ งาน/แผนกทท่ี าํ การประเมิน จาํ นวนผูปฏิบตั ิงานทั้งหมด การดําเนนิ งานอาชวี อนามัยในแผนก การดําเนินงาน 1. มีระบบปอ งกัน/ระงบั อคั คภี ยั 2. มกี ารใหความรูเรือ่ งอาชีวอนามยั 3. มีระบบการจดั การของเสยี ทเ่ี ปนอันตราย 4. มีมาตรการในการใชอ ปุ กรณปอ งกนั อนั ตรายสว นบคุ คล 5. มกี ารตรวจสุขภาพรางกายประจาํ ป 6. มีการตรวจสุขภาพตามความเสยี่ ง ไดแ ก 6.1 การตรวจสมรรถภาพปอด 6.2 ตรวจการไดย นิ 6.3 ตรวจการมองเห็น 7. การตรวจทางชวี ภาพ ไดแ ก. .......................................................................................... 8. การตรวจทางสิ่งแวดลอ ม ไดแก. ....................................................................................

คมู อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ข้ันตอนการทํางาน สง่ิ คกุ คามหลัก ระยะเวลาทํางาน (ช่ัวโมง) จาํ นวนผูปฏิบัติงาน (คน) ข้ันตอนการทํางาน/ ลักษณะงาน ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 89 1. 2. 3. 4. 5. 6.

90 คูม่ ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บุคลากรสุขภาพ ตารางแสดงการประเมนิ ความเสี่ยงทางสุขภาพจากสิ่งคกุ คามทางกายภาพและชีวภาพ คูม อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามัยสาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ จาํ นวนผทู ม่ี ีความเสย่ี ง (เฉล่ียตอ วนั ) โอกาสของการเกดิ อนั ตราย/ ระดับความเปนอนั ตราย (B) ระดับความเสี่ยง *(C) = (A)x(B) สงู (6 หรอื 9) สง่ิ คกุ คามสขุ ภาพ ไมม ี มี โอกาส การรับสมั ผัส (A) ปานกลาง รายแรง ปานกลาง (3 หรอื 4) ผูปฏบิ ัตงิ าน ผูรับบริการ (1) (2) (3) ต่ํา (1 หรือ 2) (คน) (คน) เกิดได เกิดได นอย (1) มาก (3) สง่ิ คุกคามทางกายภาพ ความรอน เสยี งดงั แสงสวา ง ความส่ันสะเทอื น รงั สี ส่ิงคุกคามทางชวี ภาพ แบคทีเรยี รา ไวรัส อื่น ๆ ..................................

คมู อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ตารางแสดงการประเมนิ ความเส่ียงทางสุขภาพจากสงิ่ คกุ คามทางเคมี จํานวนผทู ่ีมคี วามเสยี่ ง (เฉล่ยี ตอ วนั ) โอกาสของการเกิดอนั ตราย/โอกาส ระดับความเปนอันตราย (B) ระดับความเสี่ยง*(C) = (A)x(B) สูง (6 หรอื 9) สงิ่ คกุ คามสขุ ภาพ ไมม ี มี การรบั สมั ผสั (A) ปานกลาง รายแรง ปานกลาง (3 หรอื 4) (1) (2) (3) ต่าํ (1 หรือ 2) ส่ิงคุกคามทางเคมี ผปู ฏิบตั งิ าน ผรู ับบรกิ าร เกดิ ได เกดิ ไดม าก 1. (คน) (คน) นอย (1) (3) 2. ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 91 3. 4. 5. *ระดับความเสยี่ ง ความเสยี่ งเลก็ นอยหรือความเสย่ี งทีย่ อมรับได (คะแนน 1 หรอื 2) ความเส่ยี งปานกลาง (คะแนน 3 หรอื 4) ความเสยี่ งสูง หรอื ความเส่ียงท่ียอมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรือ 9)

92 คมู่ อื การด�ำ เนินงานอาชีวอนามัยส�ำ หรบั บคุ ลากรสุขภาพ ตารางแสดงการประเมินความเสีย่ งทางสุขภาพจากสง่ิ คกุ คามทางการยศาสตร คูมือ การดําเนินงานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ส่ิงคกุ คามสขุ ภาพ จาํ นวนผูท่มี ีความเสยี่ ง (เฉลย่ี ตอ วัน) โอกาสของการเกดิ อนั ตราย/โอกาส ระดับความเปนอนั ตราย (B) ระดบั ความเสี่ยง*(C)=(A)x(B) การรบั สมั ผัส (A) สูง (6 หรือ 9) ไมมี มี ปานกลาง รายแรง ปานกลาง (3 หรอื 4) ผปู ฏิบัตงิ าน ผรู บั บรกิ าร เกิดได เกิดไดมาก (1) (2) (3) ตํ่า (1 หรอื 2) (คน) (คน) นอ ย (1) (3) การยศาสตร ออกแรงยกวสั ด/ุ สิ่งของท่ีมี นํา้ หนักมาก ออกแรงยกของดวยทา ทางบดิ เอีย้ วตัว ทา ทางหรอื การเคลื่อนไหวทฝี่ น ยืน/นงั่ ทาํ งานอยูก ับทต่ี ดิ ตอกนั จนมผี ล ตอการบาดเจ็บ กลา มเน้ือ นง่ั ทาํ งานอยกู ับทีต่ ลอดเวลา โดยมโี ตะ/เกาอท้ี ไ่ี มเ หมาะสม มีรปู แบบการทํางานซา้ํ ๆ การใชแ รงดึงหรอื ดันทตี่ อ งออก แรงมาก เพ่ือเคล่อื นยา ยสิ่งของ การใชวสั ดุ/อุปกรณท ไี่ มเหมาะ กบั การหยิบหรอื จบั *ระดบั ความเสยี่ ง ความเสย่ี งเล็กนอ ยหรอื ความเสย่ี งทย่ี อมรบั ได (คะแนน 1 หรอื 2) ความเสี่ยงปานกลาง (คะแนน 3 หรือ 4) ความเสย่ี งสงู หรือความเสย่ี งทย่ี อมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรือ 9)

ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 93 ตารางแสดงการประเมนิ ความเสี่ยงทางสุขภาพจากการเกดิ อุบตั เิ หตหุ รือสภาพการทํางานท่ไี มป ลอดภยั คมู อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ จาํ นวนผทู ่มี คี วามเสีย่ ง (เฉลีย่ ตอ วนั ) โอกาสของการเกิดอนั ตราย/โอกาส ระดบั ความเปนอันตราย (B) ระดบั ความเสีย่ ง*(C)=(A)x(B) สงู (6 หรือ 9) สงิ่ คุกคามสขุ ภาพ ไมมี มี การรบั สมั ผัส (A) ปานกลาง (3 หรือ 4) ตํ่า (1 หรือ 2) ผปู ฏิบตั ิงาน ผรู ับบรกิ าร เกดิ ได เกดิ ไดมาก ปานกลาง รา ยแรง (คน) (คน) นอย (1) (3) (1) (2) (3) สาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุ/ สภาพการทํางานท่ีไมปลอดภยั การใชอปุ กรณที่มคี วามคม การใชเ ครอ่ื งจักรกล การใชย านพาหนะ การทํางานในท่ีสงู การทํางานในทค่ี ับแคบ สภาพพืน้ ท่มี ลี ักษณะลื่น การทํางานกบั สง่ิ ของรอ น มีส่งิ กีดขวางทางเดิน อนื่ ๆ ......................................... *ระดบั ความเสยี่ ง ความเสย่ี งเล็กนอ ยหรือความเสี่ยงทย่ี อมรบั ได (คะแนน 1 หรอื 2) ความเสีย่ งปานกลาง (คะแนน 3 หรือ 4) ความเสย่ี งสูง หรอื ความเสี่ยงที่ยอมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรอื 9)

94 ค่มู ือการดำ�เนินงานอาชีวอนามยั ส�ำ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ตารางแสดงการประเมนิ ความเส่ียงทางสุขภาพจากอคั คภี ัยและภัยพิบัติ คมู อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามัยสาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ จํานวนผทู ่ีมีความเสยี่ ง (เฉลีย่ ตอวัน) โอกาสของการเกดิ อันตราย/โอกาส ระดบั ควาเปน อนั ตราย (B) ระดบั ความเสีย่ ง* (C) = (A)x(B) สงู (6 หรอื 9) สงิ่ คกุ คามสขุ ภาพ ไมม ี มี การรบั สมั ผัส (A) ปานกลาง รา ยแรง ปานกลาง (3 หรอื 4) ผปู ฏบิ ัตงิ าน ผูรบั บริการ (1) (2) (3) ต่าํ (1 หรือ 2) (คน) (คน) นอย (1) เกดิ ได เกดิ ไดมาก (3) อัคคภี ยั และภัยพบิ ตั ิ การทาํ งานกับเครอื่ งกาํ เนิดไฟฟา การทํางานเกยี่ วกบั ไฟฟา การใชอ ุปกรณ/ เครอื่ งมอื ไฟฟา การทาํ งานกับหมอ ไอน้าํ การเกบ็ วตั ถุไวไฟ เชน ถงั กาซ การใชส ารเคม/ี กา ซที่ตดิ ไฟงา ย อน่ื ๆ ............................................. *ระดับความเสยี่ ง ความเสยี่ งเลก็ นอยหรอื ความเส่ียงท่ยี อมรับได (คะแนน 1 หรอื 2) ความเส่ียงปานกลาง (คะแนน 3 หรอื 4) ความเสย่ี งสงู หรอื ความเสย่ี งทยี่ อมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรือ 9)

ค่มู ือการดำ�เนนิ งานอาชีวอนามยั ส�ำ หรับบคุ ลากรสขุ ภาพ 95 ตารางแสดงการประเมนิ ความเสีย่ งทางสุขภาพจากสง่ิ คุกคามทางจติ วิทยาสังคม คมู อื การดาํ เนนิ งานอาชวี อนามยั สาํ หรบั บคุ ลากรสขุ ภาพ ส่ิงคกุ คามสขุ ภาพ จํานวนผูทม่ี ีความเส่ยี ง (เฉลีย่ ตอ วัน) โอกาสของการเกิดอันตราย/ ระดับความเปนอนั ตราย (B) ระดับความเส่ียง* (C) = (A)x(B) โอกาสการรบั สมั ผัส (A) สูง (6 หรอื 9) ไมม ี มี ปานกลาง รายแรง ปานกลาง (3 หรือ 4) ผูปฏบิ ัตงิ าน ผูร บั บริการ นอย (1) เกิดได เกดิ ไดมาก (1) (2) (3) ตาํ่ (1 หรอื 2) (คน) (คน) (3) สงิ่ คกุ คามทางจิตวิทยาสงั คม ความเครยี ด ความรุนแรงจากคนไขหรอื ญาติ อน่ื ๆ .......................................... 1. 2. 3. * ระดบั ความเสยี่ ง ความเสย่ี งเล็กนอยหรือความเส่ียงทย่ี อมรับได (คะแนน 1 หรอื 2) ความเสี่ยงปานกลาง (คะแนน 3 หรอื 4) ความเสย่ี งสงู หรอื ความเสี่ยงทย่ี อมรบั ไมไ ด (คะแนน 6 หรอื 9)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook