Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore chapter2

chapter2

Published by Coach PUN, 2022-05-20 13:43:51

Description: chapter2

Search

Read the Text Version

บทที่ 2 แนวคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่เี กีย่ วข้อง การศึกษาวิจัยเร่ือง พฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยของประชาชนในเขตเทศบาลตาบล เกาะชา้ ง อาเภอเกาะชา้ ง จงั หวดั ตราด มแี นวความคดิ ทฤษฎี และงานวจิ ัยท่เี กย่ี วข้อง ดังนี้ 1. แนวคิดทฤษฎีเกีย่ วกับพฤตกิ รรม 2. แนวคดิ เก่ยี วกับการจดั การขยะมูลฝอย 3. ขอ้ มูลท่วั ไปของเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง อาเภอเกาะช้าง จงั หวัดตราด 4. งานวิจัยที่เกี่ยวขอ้ ง 5. กรอบแนวคดิ ในการวิจัย โดยมรี ายละเอียด ดังนี้ แนวคดิ ทฤษฎเี กย่ี วกับพฤตกิ รรม ความหมายของพฤตกิ รรม วมิ ลสทิ ธิ์ หรยางกูร (2541) พฤติกรรมของมนษุ ย์ทีแ่ สดงออกมาจากการความคิดความร้สู กึ ท่ีได้รบั ในสภาพแวดล้อมที่เปน็ พฤตกิ รรมภายนอก พฤติกรรมทางจิต หรอื พฤตกิ รรมภายใน ปณิตา นิสสัยสุข (2552) พฤตกิ รรม หมายถึง การพัฒนาตนเปน็ กระบวนการของการ ปรบั เปลี่ยนพฤตกิ รรมของตัวเองใหไ้ ปสสู่ ภาวะทดี่ ีกว่า และเป็นท่ีต้องการมากกวา่ แต่กระบวนการ ดังกล่าว ไม่ใช่เรอ่ื งงา่ ย ทัง้ นี้เพราะพฤตกิ รรมมนษุ ย์นนั้ ซบั ซอ้ น อนนั ต์ ศิริพงศ์วัฒนา (2552) พฤตกิ รรม หมายถงึ กิรยิ าอาการหรือปฏิกริ ิยาที่แสดงออก หรอื เกิดขึน้ เม่ือเผชิญสิ่งเรา้ ซ่ึงมาจากภายในรา่ งกายหรือภายนอกร่างกายก็ได้ และปฏิกริ ิยาท่ี แสดงออกน้ันมไิ ดเ้ ป็นพฤติกรรมทางกายนน้ั แต่รวมถงึ พฤติกรรมที่เกี่ยวขอ้ งกบั จิตใจด้วย บุษกร ชวี ะธรรมานนท์ (2552) พฤติกรรมเปน็ ความพรอ้ มทบ่ี คุ คลกระทา อันเป็นผลสบื เนือ่ งมาจากความคดิ ความรสู้ ึกจะแสดงออกมาในรูปการประพฤติกรรมปฏบิ ัติโดยการยอมรบั หรือ ปฏิเสธ ลกั ษณะพฤติกรรมมนษุ ย์ที่เก่ียวข้องกบั สังคม ไดแ้ ก่ การรับรู้ การเรยี นรู้ การคิด อารมณแ์ ละ เจตคตบิ คุ คลเมือ่ ได้รบั การเรียนร้ทู ่ีเปน็ การเรยี นรู้ที่เป็นการเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมนนั้ จะต้อง ประกอบด้วยการกระทากิจกรรมใด ๆ ผลทเ่ี กดิ ขึ้นและปฏบิ ัตกิ ิรยิ าต่อผลท่ีเกดิ ขนึ้ ไม่สมความคาดหวงั

6 จากความหมายของพฤตกิ รรมในการวิจัยคร้ังน้ี สรุปไดว้ ่า พฤตกิ รรม หมายถงึ การแสดงออกหรือการปฏบิ ัตขิ องประชาชนในการจดั การขยะในครัวเรือนซึ่งมีระดับในการแสดงออก แตกต่างกัน องคป์ ระกอบของพฤตกิ รรม ครอนบาค (Cronbach, 1951 อา้ งถึงใน บษุ กร ชวี ะธรรมานนท์, 2552, หนา้ 30) ไดอ้ ธิบาย วา่ พฤติกรรมมนษุ ย์มอี งคป์ ระกอบ 7 ประการ ไดแ้ ก่ 1. ความมุ่งหมาย (Goal) เป็นความต้องการหรอื วัตถุประสงคท์ ที่ าใหเ้ กิดกิจกรรมคนตอ้ ง ทากิจกรรมเพือ่ สนองความตองการท่ีเกดิ ข้นึ กจิ กรรมบางอยา่ งกใ็ หค้ วามพอใจหรอื สนองความ ต้องการไดท้ ันที แต่ความต้องการหรือวัตถุประสงคบ์ างอยา่ งกต็ ้องใช้เวลานานจงึ จะสามารถบรรลุผล สมความตอ้ งการที่หา่ งออกไปภายหลัง 2. ความพร้อม (Readiness) เป็นระดบั วุฒภิ าวะหรือความสมารถท่จี าเป็นในการทากจิ กรรม เพ่ือตอบสนองความต้องการ คนเราไมส่ ามารถสนองความตอ้ งการได้หมดทกุ อย่าง ความตอ้ งการ บางอย่างอยนู่ อกเหนือความสามารถขงเขา 3. สถานการณ์ (Situation) เปน็ เหตกุ ารณ์ที่เปิดโอกาสให้เลือกทากจิ กรรมเพ่อื สนอง ความตอ้ งการ 4. การแปลความหมาย (Interpretation) ก่อนทีค่ นเราจะทากิจกรรมใดกจิ กรรมหนึง่ ลงไป เขาจะต้องพจิ ารณาสถานการณ์เสยี ก่อนแล้วตัดสนิ ใจเลือกวธิ ที ่คี าดว่าจะได้รบั ความพอใจมากท่สี ุด 5. การตอบสนอง (Response) เปน็ การทากิจกรรมเพอ่ื สนองความต้องการโดยวธิ กี ารที่ ได้เลือกแลว้ ในข้ันการแปลความหมาย 6. ผลท่ไี ด้รบั หรอื ผลท่ีตามมา (Consequence) เมอื่ ทากิจกรรมแลว้ ย่อมไดร้ ับผลการกระทา นัน้ ผลทีไ่ ดร้ ับอาจจะตามทีค่ าดคิดไว้ (Confirm) หรอื อาจตรงกันข้ามกับความคาดหมาย (Contradict) กไ็ ด้ 7. ปฏกิ ิริยาตอ่ ความคาดหวัง หากคนเราไมส่ ามารถสนองความต้องการได้ กก็ ลา่ วไดว้ ่า เขาประสบกับความผิดหวัง ในกรณีเช่นน้ีเขาอาจจะยอ้ นกลับไปแปลความหมายของสถานะเสียใหม่ และเลือกวิธกี ารตอบสนองใหม่ก็ได้ จากคานยิ ามขา้ งต้น สรุปได้ว่า พฤติกรรมหมายถึง การกระทาของคนและสตั วท์ ้ังท่สี ามารถ สงั เกตได้ และไมส่ ามารถสังเกตได้ เกดิ จากทัง้ ท่ีตัง้ ใจและไม่ตั้งใจ อาจสืบเนอ่ื งมาจาก ความคิด ความรู้สกึ จะแสดงออกมาในรปู การประพฤตปิ ฏิบตั ิโดยการยอมรับหรือปฏเิ สธ ลกั ษณะพฤตกิ รรม มนุษยท์ เ่ี กี่ยวขอ้ งกบั สงั คม ได้แก่ การรับรู้ การเรียนรู้ การคิด อารมณ์และเจตคติ บคุ คลเมอ่ื ได้รบั การเรยี นรทู้ ่เี ป็นการเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรม ซงึ่ การเปลย่ี นแปลงพฤตกิ รรมนั้น จะต้องประกอบดว้ ย

7 การกระทาของมนษุ ยห์ ลายอย่างและอาจกล่าวไดว้ า่ พฤตกิ รรมในการจัดการขยะในครัวเรือนของ ประชาชน หมายถึง การที่ประชาชนมีวธิ ีในการปฏิบัตใิ นการจดั การขยะในครวั เรือนทั้งในดา้ น พฤตกิ รรมในการเลือกใช้สินคา้ ทีเ่ ป็นมติ รต่อสิง่ แวดล้อม พฤตกิ รรมการจัดการขยะในบา้ นและ พฤติกรรมการกาจดั ขยะ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งความรู้และพฤติกรรม บลูม (Bloom, 1975 อา้ งถึงใน ธีระ กุลสวัสด์ิ, 2544, หน้า 18) ไดก้ ล่าวถงึ พฤติกรรมและ ความสมั พนั ธ์ระหว่าง พฤติกรรม เจตคติ และการปฏบิ ัตวิ า่ เปน็ กิจกรรมทกุ ประเภททีม่ นุษยก์ ระทา อาจเป็นส่งิ ทมี่ นษุ ย์สังเกตได้หรือไมไ่ ด้ และพฤติกรรมดงั กลา่ วน้ี ไดแ้ บง่ ออกเป็น 3 สว่ นคือ 1. พฤตกิ รรมดา้ นความรู้ (Cognitive Domain) พฤตกิ รรมด้านนมี้ ขี ้นั ตอนของ ความสามารถทางด้านความรู้ การให้ความคิด และการพัฒนาทางด้านสตปิ ัญญา จาแนกตามลาดับชั้น จากง่ายไปหายากได้ ดงั น้ี 1.1 ความรู้ (Knowledge) หมายถงึ พฤติกรรมทเี่ กย่ี วกับความรู้ ความจาระลกึ ได้ โดยรวมจากประสบการณ์ต่าง ๆ ท่เี คยได้รับรมู้ า 1.2 ความเขา้ ใจ (Comprehension) หมายถงึ ความสามารถในการแปลความหมาย ตีความหมาย คาดคะเน และขยายความในเรือ่ งราวและเหตกุ ารณ์ตา่ ง ๆ 1.3 การนาไปใช้ (Application) หมายถึง การนาวธิ ีการ ทฤษฎหี ลกั การกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ไปใช้เพ่ือแกป้ ญั หา โดยการประยกุ ต์ใชใ้ ห้เหมาะสมกับสถานการณ์ใหม่ หรือสถานการณ์จรงิ 1.4 การวิเคราะห์ (Analysis) หมายถงึ ความสามารถในการพิจารณา จาแนกข้อมูล หรอื เรื่องราวท่ีสมบรู ณ์ออกเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ ได้ และมองเห็นความสมั พนั ธข์ องส่วนประกอบต่าง ๆ เหล่านน้ั รวมทง้ั มองหลกั การทีส่ ว่ นประกอบย่อยนัน้ จะมารวมกนั และเกิดปัญหาหรอื สถานการณ์ อย่างใดอย่างหนึง่ 1.5 การสงั เคราะห์ (Synthesis) หมายถึง ความสามารถในการรวบรวมข้อมูลที่เป็น สว่ นยอ่ ย ๆ เข้ามารวมกันเป็นส่วนหนง่ึ รวมทมี่ ีโครงสร้างใหม่ ๆ ซ่งึ มคี วามชดั เจนและมีคุณภาพ 1.6 การประเมินผล (Evaluation) หมายถงึ การตัดสนิ ใจเกี่ยวกบั คุณค่าของความคดิ วธิ กี าร แนวทาง และมาตรฐานต่าง ๆ ทถ่ี ูกนามาใช้เพื่อการตัดสินใจ ประเมนิ ค่า เป็นการสามารถใน การวินจิ ฉยั 2. พฤติกรรมด้านทศั นคติ (Affertive Domain) พฤติกรรมด้านนี้ หมายถงึ ความสนใจ ความรสู้ กึ ทา่ ที ความชอบในการให้คณุ คา่ หรือปรบั ปรงุ ค่านยิ มท่ียดึ ถือเปน็ พฤติกรรมท่ียากแก่ การอธิบายเพราะเป็นส่ิงทเ่ี กิดขนึ้ ภายในจิตใจของคน การเกิดพฤตกิ รรมดา้ นเจตคติ แบ่งข้ันตอน ดังน้ี

8 2.1 การรับหรือการให้ความสนใจ (Receiving of Attending) เปน็ ขนั้ ท่ีบุคคลถกู กระตุน้ ให้ทราบวา่ เหตุการณห์ รือสงิ่ เรา้ บางอย่างเกิดข้ึน และบุคคลนัน้ มีความยนิ ดหี รอื มีภาวะจิตใจพร้อมที่ จะรบั หรือใหค้ วามพอใจต่อสิ่งเร้าน้ัน ในการยอมรับนป้ี ระกอบดว้ ยความตระหนักความยนิ ดที ีค่ วรจะ รับและเลือกรบั 2.2 การตอบสนอง (Responding) เป็นข้ันตอนทบี่ ุคคลถูกจงู ใจใหเ้ กดิ ความร้สู ึกผูกมัด ต่อส่งิ เรา้ เป็นเหตุใหบ้ คุ คลพยายามทาให้เกิดปฏิกิรยิ าตอบสนอง พฤติกรรมขน้ั นี้ประกอบดว้ ย การยนิ ยอม ความเต็มใจ และพอใจท่จี ะตอบสนอง 2.3 การใหค้ า่ นยิ ม (Valuing) เปน็ ขนั้ ทีบ่ คุ คลมีปฏิกิรยิ า ซึ่งแสดงให้เห็นวา่ บุคคลนั้น ยอมรับว่าเป็นสง่ิ ที่มีคุณคา่ สาหรบั ตนเอง และได้นาไปพฒั นาเปน็ ตนอย่างแท้จริง พฤติกรรมขั้นน้ี สว่ นมากใชค้ าว่า “คา่ นิยม” ซงึ่ การเกิดคา่ นิยมนีป้ ระกอบด้วยการยอมรับ ความชอบ และผูกมัด คา่ นิยมเข้ากับตนเอง 2.4 การจัดกลุ่มคา่ (Organization) เปน็ ขั้นที่บุคคลจัดระบบของคา่ นิยมตา่ ง ๆ ใหเ้ ขา้ กัน โดยพจิ ารณาถงึ ความสัมพันธ์ระหวา่ งคา่ นยิ มเหลา่ น้ี การจัดกลมุ่ นีป้ ระกอบด้วย การสร้างแนวคิด เก่ียวกบั คา่ นิยม และจดั ระบบของคา่ นยิ ม 2.5 การแสดงลกั ษณะตามค่านิยมท่ยี ดึ ถือ (Characterization by Value Complex) พฤตกิ รรมข้นั นี้ถือว่า บุคคลมคี า่ นยิ มหลายชนดิ และจัดอันดบั ของคา่ นิยมเหลา่ นน้ั จากดที ่สี ุดไปถึง นอ้ ยทสี่ ดุ และพฤตกิ รรมเหล่าน้ีจะเป็นตัวคอยควบคมุ พฤติกรรมของบคุ คล พฤติกรรมในขน้ั น้ี ประกอบด้วย การวางแนวทางของการปฏบิ ัติ และการแสดงลกั ษณะทจ่ี ะปฏิบัตติ ามทางท่ีเขากาหนด (Krathwohl, Bloom, & Masia, 1964) 3. พฤตกิ รรมดา้ นการปฏิบตั ิ (Psychomotor Domain) เปน็ พฤตกิ รรมทีใ่ ช้ความสามารถใน การแสดงออกของรา่ งกาย ซ่ึงรวมถึงการปฏบิ ัตทิ ่ีอาจแสดงออกในสถานการณ์หน่ึง ๆ หรอื อาจเป็น พฤติกรรมทีค่ าดคะเนว่าอาจจะปฏิบตั ิในโอกาสต่อไป พฤตกิ รรมดา้ นนี้เป็นพฤตกิ รรมขน้ั ตอนสดุ ทา้ ย ซึง่ ตอ้ งอาศยั ดา้ นพทุ ธปิ ัญญา หรอื เป็นพฤติกรรมที่สามารถประเมินผลได้งา่ ย แตก่ ระบวนการท่ี กอ่ ใหเ้ กดิ พฤติกรรมนี้ตอ้ งอาศัยเวลา และการตัดสินใจในหลายข้ันตอน (Bloom, 1975 อา้ งถึงใน ธรี ะ กลุ สวัสดิ์, 2544, หน้า 18) สรปุ แล้วพฤติกรรมและความสมั พันธ์ระหว่าง พฤตกิ รรม เจตคติ และการปฏบิ ัติเป็น กิจกรรมทมี่ นุษย์กระทาข้ึน อาจเปน็ ส่ิงท่ีมนษุ ย์สังเกตได้หรือไม่ได้ และพฤติกรรมดังกลา่ วนี้ ได้แบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน คือ พฤติกรรมด้านความรู้ พฤตกิ รรมดา้ นทัศนคติและพฤตกิ รรมด้านการปฏิบตั ิ

9 แนวคิดเกีย่ วกับการจดั การขยะมลู ฝอย ความหมายของคาว่าขยะ ตามพจนานุกรมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้คาจากดั ความของคาว่า “ขยะ” หมายถึง หยากเย่ือ มูลฝอย และคาว่า “มูลฝอย” หมายถงึ เศษของทท่ี ้งิ แล้วจะเห็นว่า พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคาสองคาน้ีเหมือนกันและใชแ้ ทนกนั ได้ (พจนานุกรม ฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน, ออนไลน์, 2555) พระราชบัญญัตกิ ารสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ไดใ้ หค้ วามหมายไวด้ ังนี้ “มลู ฝอย” หมายความ วา่ เศษกระดาษ เศษผ้า เศษอาหาร เศษสนิ ค้า ถงุ พลาสติก ภาชนะทีใ่ สอ่ าหาร มลู สตั วห์ รือซากสตั ว์ รวมถึงสิ่งอ่นื ใดที่เก็บกวาดจากถนนตลาดทเี่ ลยี้ งสัตว์หรอื ทอ่ี ืน่ (พระราชบัญญัติการสาธารณสุข, 2535, หน้า 28) ในทางวิชาการจะใชค้ าว่า “ขยะมูลฝอย” ซง่ึ หมายถงึ บรรดาส่ิงของทีไ่ ม่ต้องใช้แลว้ ซง่ึ สว่ นใหญ่เป็นของแขง็ จะเน่าเปอ่ื ยไดห้ รือไมก่ ต็ าม รวมตลอดถึง เถา้ ซากสัตว์ มูลสัตว์ ฝนุ่ ละออง และเศษวตั ถทุ ที่ ง้ิ แลว้ จากบา้ นเรือน ท่ีพักอาศัย สถานท่ตี า่ ง ๆ รวมถึงสถานทส่ี าธารณะตลาดและ โรงงานอุตสาหกรรม ยกเวน้ อุจจาระและปัสสาวะของมนุษย์ ซงึ่ เป็นสง่ิ ปฏิกูลทต่ี อ้ งการเก็บและ การกาจัดทแี่ ตกตา่ งไป

10 ภาพท่ี 1 ขยะมูลฝอย

11 ประเภทของขยะมูลฝอย ขยะมลู ฝอยอาจมีขนาดตา่ ง ๆ กนั ตั้งแต่ใหญ่ขนาดตวั ถงั รถยนตไ์ ปจนถงึ ขนาดท่ีเล็กจาพวก ฝุน่ ละออง ซง่ึ กเ็ ปน็ ขยะมลู ฝอยทง้ั สน้ิ การแบ่งประเภทของขยะมลู ฝอยน้นั เดมิ แบง่ เพียง 3 ประเภท คือ ขยะมูลฝอยเปียก ขยะมลู ฝอยแหง้ และเถ้า (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบุรี, 2549, หน้า 9 - 11) 1. ขยะมูลฝอยเปียก (Garbage) หมายถึง เศษวัสดตุ ่าง ๆ ทีเ่ หลือจากการประกอบอาหาร จากห้องครัว ร้านอาหาร ที่มีความชื้นสงู สามารถเนา่ เปื่อยสง่ กลน่ิ เหมน็ ได้ 2. ขยะมลู ฝอยแห้ง (Rubbish) หมายถึง เศษวสั ดุต่าง ๆ ท่ีเหลือใช้ทว่ั ๆ ไปซ่งึ มีความชนื้ ต่า จาพวกเศษกระดาษ เศษผา้ ฯลฯ 3. เถ้า (Ash) หมายถงึ สิ่งท่ีเหลือจากการเผาไหม้ ต่อมานกั วิชาการทางดา้ นนีก้ า้ วหน้าข้ึนมากจงึ ได้แยกประเภทของขยะมลู ฝอยตามลกั ษณะ ออกไปเป็นประเภทตา่ ง ๆ มากมายท่ีสาคญั ๆ มี 10 ประเภท คือ 1. เศษอาหาร (Garbage) หมายถึงขยะจาพวกทีไ่ ด้จากหอ้ งครวั การประกอบอาหาร รวมถึงพวกเศษใบตอง เศษผลไม้ อาหารที่เหลือท้งิ ฯลฯ ขยะประเภทนมี้ สี ารอนิ ทรีย์ซ่งึ เป็นอาหาร ของแบคทเี รีย ทาให้เกิดการยอ่ ยสลาย บูดเนา่ ส่งกล่ินเหมน็ มีความชนื้ สูงเป็นปัญหาในการเกบ็ รวบรวม รอการขนถ่ายและกอ่ เหตรุ าคาญในเรื่องกลนิ่ การคยุ้ เขยี่ ของสตั ว์ เชน่ หนู สนุ ัข 2. ขยะที่ไมเ่ นา่ เหมน็ (Rubbish) หมายถงึ ขยะจาพวกทีไ่ มเ่ น่าบดู เนา่ สง่ กลน่ิ เหม็นเหมือน ประเภทแรกและมีความช้ืนต่าอาจจะเผาได้ เชน่ เศษกระดาษ หรือเผาไมไ่ ด้ เช่น เศษแก้วขยะประเภท นอี้ าจจะเรยี กว่าขยะแห้งกไ็ ด้ พวกเศษโลหะ กระป๋อง ลังกระดาษ ลังไมก้ จ็ ดั อยู่ในขยะประเภทน้ี 3. เถ้าถา่ น (Ash) หมายถึง เศษทเ่ี หลอื จากการเผาไหมข้ องเชอื้ เพลิง จาพวกไม้ ถ่านหิน ซ่งึ ในแถบประเทศที่มีอากาศรอ้ นจะมีปรมิ าณน้อยมากไม่ก่อปัญหามากเท่ากับประเทศในแถบที่มี อากาศหนาวที่ต้องใช้ความร้อนช่วยให้ความอบอุ่น ซ่ึงใชเ้ ช้อื เพลิงมาก ทาให้เกดิ ขยะประเภทนี้เปน็ ปัญหาต่อการเกบ็ ขน นอกจากนถี้ า้ การเกบ็ รวบรวมไมด่ ีแล้วทาให้ฟุง้ กระจายเกิดปัญหาตามมาอกี มาก 4. มลู ฝอยจากถนน (Street Sweeping) หมายถงึ เศษสิ่งของตา่ ง ๆ ท่ีได้จากการกวาดถนน ขยะมูลฝอยประเภทน้สี ว่ นมากเปน็ พวกเศษกระดาษ เศษสินค้า ฝ่นุ ละออง เศษหิน อาจจะรวมถึง พวกซากสัตวด์ ้วยเป็นบางครั้ง 5. ซากสตั ว์ (Dead Animals) หมายถึง สัตวท์ ีต่ ายตามธรรมชาติ ตายด้วยอุบัตเิ หตุหรอื ตาย ด้วยโรคตา่ ง ๆ แตไ่ ม่รวมถึงสตั ว์หรือส่วนใดส่วนหนงึ่ ของสัตว์ทีท่ ง้ิ จากโรงฆา่ สตั ว์เน่ืองจากเป็น โรคหนอนพยาธิ ซากสัตวเ์ หลา่ น้อี าจนาไปสกดั เอาไขมันออกและเอาหนงั ไปฟอกใชป้ ระโยชน์

12 6. ซากรถยนต์ (Abandoned Vehicles) หมายถงึ รถยนต์ หรอื สว่ นหน่ึงสว่ นใดของรถยนต์ ทีไ่ มใ่ ชแ่ ล้ว ถ้าปล่อยทงิ้ ไวท้ าใหเ้ กิดความไมน่ ่าดูจึงควรต้องนาไปดาเนินการอย่างใดอย่างหนง่ึ แตใ่ น ประเทศไทยมปี รมิ าณซากรถยนต์ไมม่ ากนักจงึ ไม่ค่อยเกดิ ปัญหาจากมลู ฝอยประเภทนี้ 7. มูลฝอยจากโรงงาน (Industrial Refuse) หมายถึง มลู ฝอยจากโรงงานอุตสาหกรรม ตา่ ง ๆ รวมท้ังโรงฆา่ สัตวด์ ้วยเพราะไดจ้ ดั อยู่ในประเภทโรงงานอุตสาหกรรม มูลฝอยประเภทน้ี ข้ึนอย่กู ับประเภทของโรงงาน ถ้าโรงงานผลติ สินค้าอาหาร มลู ฝอยกเ็ ปน็ พวกเศษอาหารซึง่ อาจจะ กอ่ ใหเ้ กิดเหตุราคาญตา่ ง ๆ เช่น มีกลิน่ เนา่ เหมน็ ได้ 8. เศษวัสดกุ ่อสร้าง (Construction Refuse) หมายถงึ เศษวัสดุต่าง ๆ ทไ่ี ด้จากการกอ่ สร้าง หรอื รื้อถอนอาคารบา้ นเรือน รวมถงึ ส่ิงทเ่ี หลอื จากการตกแตง่ บ้านเรือนอีกดว้ ย เช่น เศษอฐิ เศษปูน เศษกระเบอื้ ง เศษไม้ หรือเศษวสั ดุจากสว่ นบ้านเรือน 9. ตะกอนจากน้าโครก (Sewage Solids) หมายถงึ ของแข็งที่ได้จากการแยกตะกอนออก จากกระบวนการปรบั ปรุงสภาพนา้ ทง้ิ รวมตลอดจนตะกอนที่ได้จากการลอกท่อระบายน้าสาธารณะ ตา่ ง ๆ ซึ่งสว่ นมากจะเป็นพวก เศษหนิ ดิน ทราย ไม้ สามารถนาไปถมท่ีลุ่มได้ยกเว้นตะกอนทีไ่ ด้จาก ถังเกรอะเพราะตะกอนพวกนี้ยงั มีแบคทีเรียปะปนอยูม่ าก 10. ขยะมูลฝอยทเี่ ปน็ อันตราย (Hazard or Special Refuse) อาจจะก่อให้เกิดปัญหาใน การเก็บขน การกาจัด ตลอดจนการจบั ต้องเช่น กระปอ๋ งท่ีมกี ารอัดลม ใบมีดโกน ขยะมูลฝอยท่ีได้ จากโรงพยาบาลต่าง ๆ สารกัมมันตรงั สี เป็นต้น ขยะมลู ฝอยประเภทน้ี ต้องไดร้ บั ความดแู ล ระมัดระวงั เป็นพเิ ศษ ในการเก็บขนและการกาจัด แหลง่ กาเนดิ ขยะ อจั ฉรา อัศวรุจิกลุ ชัย, พมิ ลพรรณ หาญศึก และเพยี งใจ พรี ะเกียรตขิ จร (2554, หน้า 21) ไดก้ ลา่ ว ถงึ แหลง่ กาเนดิ ขยะ ดังน้ี 1. มลู ฝอยจากครวั เรือน (Domestic Wastes) หมายถึง มลู ฝอยท่ีเกดิ และได้จากการดารง ชวี ติ ประจาวนั ของประชาชน แยกได้เปน็ 2 ชนดิ คือ 1.1 มูลฝอยธรรมดาท่ัวไป (General Wastes) ไดแ้ ก่ เศษอาหาร พลาสตกิ ยาง เศษแก้ว ซากสัตว์อน่ื เป็นตน้ 1.2 มลู ฝอยอนั ตราย (Hazardous Wastes) พวกน้ีจะมสี ารพษิ อันตรายปะปนอยู่ เช่น หลอดไฟฟ้า ถา่ นไฟฉาย นา้ ยาฆ่าเช้ือทาความสะอาด เป็นตน้ 2. มูลฝอยจากโรงงานอสุ าหกรรม (Industrial Wastes) หมายถึง มูลฝอยทเี่ กิดจาก กระบวนการ ผลติ ของโรงงานอุตสาหกรรม ซึง่ ต้องใช้วตั ถุดิบมาทาการผลิต แยกได้เป็น 2 ชนดิ คือ

13 3. มูลฝอยธรรมดาทีไ่ มม่ สี ารพิษ (Non Hazardous Wastes) ได้แก่ พวกกระดาษ เศษหนัง เศษไม้ เศษเหลก็ เป็นต้น 4. มลู ฝอยอนั ตราย (Hazardous Wastes) หมายถึง มูลฝอยในรปู ของแขง็ หรอื กง่ิ ขยะแข็ง (Semisolids) ซ่งึ เกดิ จากกจิ กรรมดา้ นการเกษตร ได้แก่ เศษหญา้ ฟาง แกลบ มูลสัตว์ เปน็ ต้น ปริมาณและลักษณะของขยะมูลฝอย ขยะมลู ฝอยมีหลายชนดิ แต่ละชนดิ มแี หลง่ เกดิ แตกตา่ งกนั ไป ทาให้ลกั ษณะของขยะ มูลฝอยแตล่ ะชุมชนแตกต่างกนั ดว้ ยทง้ั ส่วนประกอบ ขนาดและความหนาแน่น ปริมาณของขยะ มูลฝอยทเ่ี กดิ ข้นึ แตล่ ะชมุ ชนก็มไี ม่แน่นนอนเช่นกัน ทง้ั นี้ ปรมิ าณและลกั ษณะของขยะมลู ฝอย แตกตา่ งเน่ืองจาก องค์ประกอบทเ่ี กยี่ วข้อง 6 ประการ (กรมควบคุมมลพษิ , 2551, หน้า 13) คือ 1. ความหนาแน่นของประชากร (Population Density) ชมุ ชนท่มี ีประชากรมากและอาศยั อยกู่ นั หนาแน่น ขยะมลู ฝอยท่ีเกดิ ข้นึ ในชมุ ชนนนั้ จะมีมากกวา่ ชุมชนท่มี ีประชากรน้อยและอยูก่ นั กระกดั กระจาย ท้งั นเ้ี พราะขยะมูลฝอยทีเ่ กิดข้นึ ในชุมชนนัน้ จะมีมากกว่าชมุ ชนทมี่ ีประชากรน้อย และอยู่กนั กระจัดกระจาย ทงั้ นีเ้ พราะขยะมลู ฝอยสว่ นใหญ่เกดิ จากการกระทาของมนุษย์จงึ มผี ลให้ ปริมาณขยะในชมุ ชนผันแปรไปตามจานวนประชากรที่อยู่อาศยั ในชุมชนดว้ ย 2. อุปนิสัยของประชาชนในชุมชน(Habit or People in Community) ชุมชนทีป่ ระชาชน ชอบบริโภคผักและผลไม้มากจะทาใหช้ ุมชนนัน้ มีปริมาณขยะสดสูง ชุมชนที่ประชาชนชอบ ท้งิ ส่ิงของเคร่ืองใช้ทเ่ี สียแลว้ จะทาใหป้ ริมาณขยะมูลฝอยในชุมชนมมี าก ประชาชนที่มีนสิ ัยไม่รัก ความเปน็ ระเบียบเรียบร้อย ซ่ึงจะทงิ้ ขยะมลู ฝอยกระจัดกระจายไมร่ วบรวมเป็นทเี่ ป็นทางปริมาณขยะ มูลฝอยทจ่ี ะเกบ็ ขนจะน้อยลง แต่ไปมีมากอยูต่ ามลาคลอง ถนน ท่ีสาธารณะ เปน็ ต้น 3. ฤดกู าล (Season) ในแตล่ ะฤดูกาลจะมีปรมิ าณขยะมลู ฝอยแตกต่างกนั เช่น ฤดูร้อน และ ฤดฝู นในประเทศไทยเป็นฤดูทีม่ ผี ลไมม้ ากมายหลายชนดิ ทาใหป้ รมิ าณขยะมูลฝอยมมี ากกว่าใน ฤดูหนาว ซ่งึ มผี ลไมไ้ มม่ ากนกั 4. สภาวะทางเศรษฐกิจของชุมชน (Economic Status) ในชุมชนท่มี สี ภาวะทางเศรษฐกจิ ดปี ระชาชนจะมกี ารซื้อสง่ิ ของเคร่ืองใช้ ทง้ั นี้เพื่อการอุปโภคได้มาก ทาใหป้ ริมาณขยะมลู ฝอย มีมากดว้ ย ซึ่งตรงกันข้ามกับชมุ ชนทม่ี ีสภาวะทาวงเศรษฐกจิ ไมด่ ี 5. การจดั การเก่ียวกับการเก็บรวบรวมและกาจดั ขยะมลู ฝอยในชุมชน (Collection Management and Disposal Method) ในชมุ ชนที่มกี ารจัดการเก่ียวกบั การเก็บรวบรวมและกาจัดขยะ มูลฝอยได้ดีจะทาให้ไดป้ รมิ าณขยะมลู ฝอยมากกวา่ ชมุ ชนทม่ี กี ารจดั การไม่ดี ดังน้ันปริมาณขยะ มลู ฝอยท่ตี กคา้ งจงึ มนี ้อยในชมุ ชนท่มี ีการเกบ็ รวบรวมขยะมูลฝอยไดด้ ี แต่แตจ้ ะมีมูลฝอยทีต่ กค้าง มากในชมุ ชนทม่ี กี ารจดั การไม่ดี

14 6. ลกั ษณะท่ีตง้ั ของชุมชน (Geographical Location) ชุมชนท่ียา่ นการค้าจะมขี ยะมลู ฝอย มากกว่าชมุ ชนในย่านท่ีพัก โรงงานอุตสาหกรรมบางชนิดปล่อยขยะมูลฝอยออกมามากทาใหช้ ุมชน ทม่ี ีโรงงานอุตสาหกรรมมากมขี ยะมูลฝอยมากกว่าชมุ ชนท่ีมีโรงงานอุตสาหกรรมนอ้ ย ปัญหาทเ่ี กิดจากมลู ฝอย มลู ฝอยทเ่ี กิดขึน้ จากชมุ ชน หากไมม่ กี ารเก็บและกาจัดอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสมแลว้ จะ ทาให้เกิดปญั หาต่าง ๆ ต่อชุมชนทสี่ าคญั 1. มลพิษ (Pollution) มูลฝอยเปน็ สาเหตทุ ่สี าคัญอย่างหน่ึงทท่ี าใหส้ ่ิงแวดลอ้ มต่าง ๆ ของ ชุมชนเกิดมลพิษ เช่น นา้ เสีย อากาศเสียและการปนเปอื้ นของดนิ เป็นต้น 2. แหลง่ เพาะพันธุข์ องเช่ือโรคและแมลงนาโรค (Breeding Places) ในมูลฝอยอาจจะมี เช้ือโรคทีท่ าให้เกดิ โรคปะปนมา เชน่ มูลฝอยท่ีเก็บขนจากโรงพยาบาลและการสะสมของมลู ฝอยท่ี เก็บขน ถ้ากาจัดไม่ถกู ต้องจะเปน็ แหลง่ เพาะพันธุ์ของแมลงและหนู ซึ่งเป็นพาหะนาโรคมาสคู่ นด้วย 3. การเส่ียงตอ่ สขุ ภาพ (Health Risk) ชุมชนทขี่ าดการกาจัดมลู ฝอยที่ดแี ละถกู ต้องตาม หลักการสุขาภบิ าลจะทาใหป้ ระชาชนเสยี่ งตอ่ การเป็นโรคต่าง ๆ ไดโ้ ดยงา่ ย เช่น โรคทางเดินอาหาร ทเ่ี กดิ จากเช้ือแบคทเี รยี และพยาธติ ่าง ๆ เนอื่ งจากมูลฝอยเป็นแหลง่ เพาะพันธ์ขุ องแมลง ฉะนั้น การแพร่ของโรคย่อมเป็นไปได้ง่าย 4. การสญู เสียทางเศรษฐกจิ (Economic Loss) นอกจากชมุ ชนจะตอ้ งเสียค่าใชจ้ ่ายใน การกาจดั มูลฝอยเป็นประจาอยู่แล้วและถ้าการากาจดั ไม่ถกู ตอ้ งหรือขาดความรบั ผิดชอบยอ่ ม กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบต่อเศรษฐกจิ ด้านอืน่ ๆ ทง้ั ทางตรง และทางอ้อม เชน่ การทง้ิ ขยะมูลฝอยลงสู่ แมน่ ้าจะทาให้เกดิ มลพิษทางนา้ และสง่ ผลกระทบต่อสัตว์น้าดว้ ยเป็นผลทาให้เกดิ การสูญเสยี ทาง เศรษฐกิจอกี ดว้ ย 5. ทาใหช้ ุมชนขาดความสงา่ งาม (Esthetics) การเกบ็ รวบรวมและกาจดั มูลฝอยทด่ี ีจะชว่ ย ให้ชุมชนเกิดความสวยงาม ความเป็นระเบียบเรยี บรอ้ ย อันแสดงถงึ ความเจริญ และวัฒนธรรมของ ชุมชน ฉะนัน้ ถา้ เกบ็ รวบรวมมูลฝอยไม่ดยี ่อมทาให้เกดิ ความไมน่ ่าดูขาดความเปน็ ระเบยี บเรียบร้อย 6. ก่อให้เกิดเหตุราคาญ (Public Nuisances) มูลฝอยกอ่ ให้เกิดเหตุราคาญต่อประชาชนได้ เชน่ กลิ่นเหม็นจากการเนา่ เป่ือย หรือการสลายตัวจองมูลฝอย ระบบการจดั การขยะ ในอดตี ซ่ึงประชากรอยู่กันอย่างไมห่ นาแนน่ ปัญหาเรื่องขยะมลู ฝอยไม่ใช่ปญั หาใหญ่ของ ชมุ ชน การจัดการขยะมลู ฝอยสามารถใช้วิธกี ารที่ง่าย ๆ ไม่สลับซบั ซ้อนแต่อย่างใด ต่อมาเมือ่ ขนาด ของชมุ ชนใหญ่ขน้ึ ปริมาณประชากรเพ่มิ ขน้ึ ทาใหม้ ขี ยะมลู ฝอยเกดิ ขนึ้ จานวนมากการจัดการขยะ มูลฝอยจาต้องมีวิธกี ารจัดการทยี่ งุ่ ยากซับซอ้ น อาศัยเทคโนโลยใี หม่ ๆ เขา้ มาชว่ ยอกี มาก

15 การจัดการขยะมลู ฝอย หมายถงึ หลักการในการดาเนินงานท่ีเกี่ยวกับการควบคมุ การทิง้ การเก็บชว่ั คราว การรวบรวม การขนถา่ ยและการขนส่ง การแปลงรูปและการกาจัดขยะมูลฝอย โดยจะคานึงถึงผลประโยชน์สูงสดุ ในทางสุขอนามยั เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม ความสวยงาม การอนุรักษส์ งิ่ แวดลอ้ ม และทีส่ าคญั ที่สุด คือ การยอมรบั ของสังคมในการจัดการขยะมลู ฝอย อย่างมีประสิทธิภาพจะตอ้ งอาศัยวชิ าการในหลาย ๆ ดา้ น ประกอบกนั ไดแ้ ก่ การบรหิ าร การเงิน กฎหมาย การวางแผน และวิศวกรรม โดยวธิ กี ารจัดการที่ได้จะต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมใน ทกุ แง่ทุกมมุ เชน่ การเมือง การจดั ผังเมือง เศรษฐกจิ ศาสตร์ สาธารณสขุ สังคม วิศวกรรม ฯลฯ กจิ กรรมท้งั หลายในการจดั การขยะมูลฝอย อันเร่ิมต้ังแต่งการท้งิ ขยะมูลฝอยจนกระทั่งถงึ การกาจดั ขยะมูลฝอยขนั้ สุดท้าย อาจแบ่งไดเ้ ป็น 6 สว่ น (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา้ ธนบรุ ี, 2549, หนา้ 10) ได้แก่ 1. การท้งิ ขยะมลู ฝอยเปน็ กิจกรรมทีเ่ กิดขนึ้ จากการท่ีผทู้ งิ้ เหน็ วา่ วัสดุชิ้นใด ๆ นั้นไม่ สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ไดอ้ ีกต่อไปแลว้ จงึ ทง้ิ ไว้ หรือเกบ็ รวบรวมไว้เพ่อื กาจัดต่อไปตวั อย่าง เช่น เปลอื กไข่ในขนขณะท่ียังเปน็ ฟองไข่ เปลือกไข่นน้ั ยงั คงเป็นประโยชน์อยู่ แต่เม่ือต่อยไข่เพือ่ กินแลว้ เปลอื กไข่ท่ีเหลอื น้นั หากผกู้ ินไขเ่ กบ็ ไวเ้ พอ่ื ประโยชน์ต่อไป เช่น ไว้ทาสิ่งประดษิ ฐก์ ็ยังไมเ่ กดิ กิจกรรมนี้ขนึ้ แต่หากท้ิงเปลือกไข่ไปโดยไม่คิดจะใช้เปลือกไข่นี้เพ่ือการใด ๆ ต่อไป จะเกดิ กจิ กรรม นีข้ ึ้น ดงั น้ัน การท้งิ ขยะมลู ฝอยเป็นกจิ กรรมทจี่ ะเกิดข้ึนหรือไม่น้ันขน้ึ อยกู่ บั การตดั สนิ ใจของ ประชากรในชมุ ชนนั้น 2. การจัดการขยะมลู ฝอย ณ แหลง่ กาเนดิ จะมุ่งความสนใจไปที่ขยะมูลฝอยทมี่ าจากชุมชน มากกว่าขยะมลู ฝอยจากแหล่งอ่นื ท้งั น้ีเพราะขยะมูลฝอยส่วนน้ีประกอบดว้ ยขยะมากมายหลายชนดิ ปะปนกนั อยแู่ ละเกิดข้นึ ในแหล่งทีผ่ ู้อาศยั อยู่ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเขตทีผ่ คู้ นอยกู่ นั อยา่ งแออัดไม่มี พื้นทเ่ี พียงพอที่จะเก็บขยะมลู ฝอยทีเ่ กิดข้นึ ไดแ้ ละถึงจะมพี น้ื ที่เพยี งพอจะเก็บก็จะต้องมีการขนย้าย หรอื กาจดั ไปในเวลาอันควร (ไมเ่ กิน 7 วนั ) มิฉะน้ัน จะเกิดการเนา่ เหม็นเปน็ ภาพทไี่ ม่นา่ ดแู ละอาจมี ผลต่อสุขภาพอนามัยของประชากรในชุมชนนนั้ ได้ 3. การรวบรวมขนขยะมูลฝอย หมายถงึ กจิ กรรมตง้ั แต่การขนถ่ายขยะมลู ฝอยจากถงั ขยะ ซึ่งอาจเปน็ ถงั ขยะจากแต่ละบ้าน หรือถงั ขยะรวมเขา้ สู่รถขยะไปจนถงึ การขนขยะมลู ฝอยนั้นไปถา่ ย ไวท้ ีจ่ ุดปลายทาง ซึ่งอาจจะเป็นสถานขี นถ่าย หรือโรงแปลงรปู ขยะมลู ฝอย หรือสถานีกาจัดขยะ มูลฝอยในข้นั สุดท้าย สาหรบั ในเมอื งเล็ก ๆ มักจะมที ่ีเทขยะกองรวมไว้แถวชานเมอื ง ปัญหาการขน รากขยะไปยงั จดุ หมายปลายทางจึงไม่ใช่ปญั หาทยี่ งุ่ ยากเหมือนในกรณขี องเมอื งใหญ่ ซงึ่ มปี ระชากร อยู่มากและสถานกี าจดั ขยะมลู ฝอยตอ้ งต้ังอยหู่ ่างไกลชุมชนมาก ๆ การจัดระบบท่ีเหมาะสมสาหรับ กรณีเมืองใหญ่จงึ ยงุ่ ยากซบั ซอ้ นมาก เชน่ การเลอื กชนดิ ของรถขยะ การจดั เสน้ ทางเดินรถ

16 การพิจารณาความเมาะสมในการจัดตั้งสถานีขนถา่ ยขยะมลู ฝอย ในระบบการจัดการขยะมูลฝอย องคป์ ระกอบส่วนนีเ้ ป็นส่วนท่ีตอ้ งเสยี คา่ ใช้จ่ายมากท่ีสุดอาจถงึ ร้อยละ 80.00 ของท้งั หมด สาหรบั วธิ กี ารอาจทาไดใ้ นหลายรปู แบบ คือ เทศบาลเป็นผูร้ ับผดิ ชอบดาเนินการเองทง้ั หมด หรอื ให้ บรษิ ทั เอกชน ประมูลแขง่ ขนั เพ่อื ดาเนนิ การรวบรวมขนขยะมลู ฝอย หรืออาจดาเนินการใน ลกั ษณะร่วม คือ เทศบาลดาเนนิ งานเองบางสว่ นและจ้างเหมาเอกชนในบางสว่ น สาหรับประเทศไทย สว่ นใหญ่ใช้วิธีการในรูปแบบแรก ยกเวน้ กรุงเทพมหานคร ซ่งึ ได้เรม่ิ พิจารณาจ้างเหมาเอกชนใน บางสว่ นตง้ั แต่ปี 2528 4. การขนถา่ ยและการขนส่ง สาหรบั ในสว่ นนี้ ประกอบด้วย การดาเนินงาน 2 ขน้ั ตอน ได้แก่ 1) การขนถา่ ยขยะมลู ฝอยออกจากรถขยะขนาดเลก็ เขา้ สูพ่ าหนะขนสง่ ขนาดใหญ่ และ 2) การขนสง่ ขยะมลู ฝอยโดยพาหนะขนส่งไปยงั สถานีกาจดั ขยะมลู ฝอย โดยปกตพิ าหนะขนสง่ ขนาดใหญ่ มักจะใช้รถใช้รถบรรทุกขนาดใหญ่ ระบบการจัดการขยะมลู ฝอย โดยปกติพาหนะขนส่ง ไมจ่ าเปน็ ต้องประกอบด้วยการขนถา่ ยและการขนส่ง แตส่ าหรบั ชมุ ชนขนาดใหญ่ ๆ ท่ีมปี ระชากร อยกู่ ันแออัดและสถานีกาจัดขยะมูลฝอยจาเป็นต้องอยู่ไกลจากชมุ ชนมากแล้ว การขนถ่ายและ การขนสง่ เป็นสว่ นประกอบทค่ี วรใชพ้ จิ ารณาเปน็ อย่างยง่ิ เพราะรถขยะขนาดเล็กเหมาะที่จะวิ่ง รวบรวมขนขยะตามถนน ซอกซอยในเมอื ง แตถ่ ้าต้องวงิ่ ขนไปในระยะทางไกลด้วยจะคมุ้ คา่ เพราะ คา่ ใชจ้ ่ายสูงในทางตรงกันข้ามถา้ ใช้รถบรรทกุ ขนาดใหญ่ ซงึ่ เหมาะที่จะวงิ่ ทางไกลทาหนา้ ทีร่ วบรวม ขยะมลู ฝอยตามถนนในเมอื งดว้ ยแลว้ จะไม่สะดวกเป็นอย่างย่ิง ดังน้นั เพ่ือใหเ้ กดิ ประโยชนส์ งู สดุ การจดั ต้ังสถานขี นถา่ ยขยะมลู ฝอยจึงเปน็ การแก้ปัญหาท่คี วรใช้การพจิ ารณา โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในแง่ ของเศรษฐกจิ 5. การแปลงรูปและนากลับมาใชใ้ หม่ องค์ประกอบของระบบการจัดการขยะมูลฝอย ส่วนนร้ี วมตงั้ แตเ่ ทคนิคการใชเ้ ครื่องมอื และสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ เพ่อื ใชใ้ นการเพิ่ม ประสทิ ธภิ าพของส่วนประกอบอนื่ ๆ และเพื่อแยกวัสดทุ ี่ยังใชป้ ระโยชน์ไดก้ ลับมาใชใ้ หม่ หรอื แปลงรปู ขยะให้ไดส้ งิ่ ทเี่ ป็นประโยชน์ เช่น ปยุ๋ หรือพลงั งานความร้อน การแยกขยะวสั ดทุ ยี่ งั มี ประโยชน์ออกจากกองขยะมูลฝอยมกั กระทาทสี่ ถานีขนถ่ายหรอื โรงแปรรูปขยะ วธิ กี ารทน่ี ิยมใช้ ไดแ้ ก่ การยอ่ ยขนาดของขยะมลู ฝอยให้เลก็ ก่อนแลว้ แยกสว่ นหนักและส่วนเบาออกจากกนั ด้วยการ พน่ อากาศจากนน้ั นาส่วนหลังของขยะมูลฝอยทีไ่ ดม้ าแยกเหลก็ อลูมิเนียมและแก้ว ออกจากส่วนอื่น เพือ่ ใช้เป็นวตั ถดุ ิบของกระบวนการผลติ ใหม่ตอ่ ไป นอกจากวิธกี ารดงั กล่าวขา้ งต้นแล้ว ยงั มวี ธิ ีการอนื่ ๆ อีกและในขณะนย้ี งั คงมกี ารวจิ ัย ขบวนการใหม่ ๆ ข้นึ เร่ือย ๆ อยา่ งไรกต็ ามในการเลอื กใช้วธิ ีการใดวธิ กี ารใดนน้ั นอกจากจากจะต้อง

17 พิจารณาถงึ ความเหมาะสมในแง่เทคนิคแลว้ สิ่งทีค่ วรตอ้ งคานงึ ถงึ ความคมุ้ ค่าในแง่เศรษฐกิจ หากพิจารณาแล้ว พบวา่ ไม่คุ้ม ควรจะข้ามสว่ นประกอบท่ีนี้ไปส่กู ารกาจัดข้นั สดุ ทา้ ยเลย 6. การกาจัดขั้นสดุ ทา้ ย องค์ประกอบส่วนสุดทา้ ยของระบบการกาจัดขยะมลู ฝอย คือ การกาจัดในข้ันสุดทา้ ย วิธกี ารในสว่ นนีใ้ ช้กาจัดไดท้ ัง้ ขยะมูลฝอยทร่ี วบรวมขนโดยตรงจากตามบ้าน ตามถนน กากตะกอนจากโรงงานกาจดั น้าเสีย กากข้เี ถ้า จากการเผาขยะมูลฝอย และเศษเหลอื จาก ขบวนการท้ังหลายในการแปลงรูปขยะมูลฝอย แต่เดิมน้นั นิยมใช้วิธกี ารเทกองกลางแจ้งเปน็ วิธีกาจดั ข้นั สุดท้าย แต่เนอื่ งจากวิธีการดังกลา่ วทาให้เกดิ ภาพที่ไม่น่าดู กล่ินเน่าเหม็นและเป็นบ่อเกดิ แห่ง พาหะนาโรคต่าง ๆ ด้วย ดังนั้นในบางประเทศจงึ มกี ฎหมายหา้ มใช้วธิ กี ารเทกองกลางแจ้งและใหใ้ ช้ วธิ ฝี ังกลบแทน แนวทางการลดปรมิ าณขยะจากแหลง่ กาเนิด การแกไ้ ขปญั หาในชุมชนควรม่งุ เน้นไปท่กี ารลดปรมิ าณขยะมลู ฝอยมใิ ห้เกดิ ขนึ้ จานวน มาก ซงึ่ การลดปริมาณขยะมลู ฝอยจากแหล่งผลิตจะช่วยลดปรมิ าณขยะมูลฝอยรวมที่เกิดขนึ้ ใน แต่ละแห่งของชุมชนได้ในระดับหนึ่ง อันก่อให้เกดิ ผลดีหลายประการ เช่น สามารถลดปริมาณ สารพิษหรือสารอันตรายปนเป้ือนในขยะมูลฝอยได้ ชว่ ยประหยัดทรัพยากรธรรมชาติ ลดคา่ ใช้จ่าย ในการจัดการขยะมูลฝอยและลดปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ซง่ึ วธิ ีการลดปริมาณขยะมูลฝอย ผู้ผลติ หรือ ผูท้ ิ้งขยะมูลฝอยโดยใช้แนวคิด 5 อาร์ (5R) (อดิศักด์ิ โรจนาพงษ์, 2551, หน้า 43) ไดแ้ ก่ 1. การลดจานวน (Reduction) เป็นการลดปริมาณขยะมลู ฝอยท่ีอาจเกิดขนึ้ ในอนาคต พฤติกรรมในการลดปริมาณขยะมูลฝอย เช่น เวลาทจี่ ะไปซ้อื สินคา้ ทีต่ ลาดหรอื รา้ นค้าตา่ ง ๆ ควรนา ถุงผ้าจะเปน็ ถุงผ้าดิบไมย่ อ้ มสี เพ่อื ไม่เป็นการทาลายสง่ิ แวดลอ้ ม และราคาถกู อาจใช้ตะกร้าหรือ ภาชนะบรรจลุ กั ษณะอนื่ ทีส่ ามารถใช้ซา้ ไดห้ ลาย ๆ ครัง้ สาหรับไว้ใสส่ ินค้าทจ่ี ะซือ้ เช่นน้จี ะเปน็ การชว่ ยลดปริมาณการใช้ถุงกระดาษ และถุงพลาสตกิ จากรา้ นค้าได้ นอกจากน้ีควรเลอื กซือ้ สินคา้ ที่ มีอายกุ ารใชง้ านยาวนาน ซ้ือสินค้าที่มปี รมิ าณมากแทนการซอ้ื สนิ คา้ ที่มปี รมิ าณน้อยเพ่ือลดปริมาณ ขยะมลู ฝอยจากบรรจุภณั ฑท์ ี่จะเกดิ ข้ึน 2. การใช้ซ้า (Reuse) เป็นการนาสิง่ ของที่จะท้ิงเป็นขยะมูลฝอยมาใช้ใหม่ หรอื ใชซ้ ้าอีก หลาย ๆ ครัง้ ซึ่งในแตล่ ะคร้งั อาจใช้เพ่อื วตั ถุประสงค์ทีแ่ ตกต่างกันไป เชน่ การนาขวดใส่กาแฟที่ หมดแล้วมาใส่น้าตาล นาขวดใสน่ า้ ดม่ื ทเี่ ปน็ พลาสตกิ มาปลูกไม้ประดับ เป็นต้น 3. การซอ่ มแซมใชใ้ หม่ (Repairing) เป็นการนาวสั ดุอปุ กรณ์ทช่ี ารุดไมส่ ามารถใชง้ าน ได้มาซอ่ มแซม เพ่อื ใหใ้ ชง้ านได้ เชน่ การซ่อมวทิ ยุ โทรทัศน์ เป็นต้น 4. การแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycling) เปน็ การนาขยะมลู ฝอยบางประเภทมาผ่าน ขบวนการผลิตเป็นสนิ ค้าใหม่โดยโรงงานอุตสาหกรรม เชน่ การนาเศษแกว้ มาหลอมผลติ เปน็ แก้ว

18 หรอื กระจกใหม่ นาโลหะมาหลอมผลติ เปน็ กระปอ๋ ง เปน็ ต้น ขยะมลู ฝอยประเภทท่ีสามารถนามา แปรรปู กลบั มาใชใ้ หม่นน้ั ได้แก่ 4.1 กระดาษ เช่น กระดาษกล่อง กระดาษสมดุ ถุงสาน้าตาล และแผน่ พับ เป็นต้น 4.2 พลาสตกิ เช่น ขวดแชมพู ขวดนมเปรย้ี ว และบรรจุภัณฑ์ทีม่ ีสญั ลักษณ์รไี ซเคลิ 4.3 โลหะ เชน่ เหลก็ ทองแดง ทองเหลอื ง อลมู ีเนยี ม (กระป๋องนา้ อัดลม) เปน็ ต้น 4.4 แก้ว เชน่ ขวดแก้วต่าง ๆ เป็นต้น 5. การหลกี เลย่ี ง (Rejection) เป็นการหลกี เลีย่ งการใชข้ ยะมูลฝอยอันตราย หลกี เลย่ี ง การใช้สิ่งของทใี่ ช้ครงั้ เดยี วแล้วท้งิ หลกี เล่ยี งวัสดุท่กี าจดั ยาก เช่น กระปอ๋ ง หรือขวดใส่ยาฆา่ แมลง ต้องหลีกเลีย่ งการนามาใช้เป็นภาชนะใส่อาหารหรือน้าดื่ม ถงุ พลาสติกใสข่ องทีใ่ ชแ้ ล้วตอ้ งหลีกเลยี่ ง การนามาใสอ่ าหารร้อน ขนมครก กลว้ ยทอด กุ้งชุบแปง้ ทอด หลีกเล่ยี งการใชโ้ ฟม เป็นต้น แนวทางการคดั แยกขยะ การคดั แยกขยะทาให้เราร้วู า่ ควรจะจัดการกาจดั ขยะแตล่ ะประเภทอยา่ งไรจึงจะเหมาะสม กับสภาพแวดล้อมและงบประมาณ หรอื ขยะเช่นใดบ้างท่ีควรนากลับมาหมนุ เวยี นใช้ใหม่เนื่องจาก ขยะของสงั คมเมืองมีปรมิ าณมาก หากไม่คดั แยก ค่าใชจ้ ่ายในการจดั การขยะทัง้ ดา้ นงบประมาณ คน สถานทีฝ่ ังกลบ การเกบ็ ขน กย็ ่อมต้องสงู ตามไปด้วย การคัดแยกขยะเพ่ือให้สะดวกแกก่ ารนาไป กาจัด หรือนาไปใช้ประโยชน์ได้ใหม่ โดยท่ัวไปแยกเปน็ 4 ประเภท (มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกลา้ ธนบุรี, 2549, หน้า 3) 1. ขยะเศษอาหารหรือขยะที่เนา่ เสียได้ เป็นขยะท่ีย่อยสลายไดง้ ่าย มคี วามชนื้ มาก สง่ กล่นิ เหมน็ ได้อยา่ งรวดเร็ว ขยะประเภทนก้ี าจัดและนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้โดยการหมกั ทาปุ๋ยใชใ้ น การเกษตรได้ ตัวอย่างขยะเศษอาหาร เช่น เศษผลไม้ เช่น เศษผักผลไม้ เปลอื กผลไม้ เนอ้ื สตั ว์ เศษอาหาร ฯลฯ 2. ขยะรีไซเคลิ หรอื ขยะยงั ใช้ได้ ขยะประเภทนี้บางส่วนสามารถแยกนามาแปรรูป กลบั มาใช้ใหมไ่ ด้ เป็นการประหยดั พลงั งานและทรพั ยากร ได้แก่ แก้ว พลาสติก กระดาษ กระป๋อง อะลมู เิ นียม กระป๋องเหลก็ เศษผา้ ฯลฯ 3. ขยะพษิ / อนั ตราย ถือเป็นขยะอันตรายท่ีจาเปน็ ตอ้ งแยกทงิ้ ต่างหาก เน่ืองจากสมบัติ ทางกายภาพ เคมี และชีวภาพ เชน่ ติดไฟงา่ ย ระเบิดได้ มสี ารกัดกร่อน ขยะพษิ ไดแ้ ก่ ถ่ายไฟฉาย หลอดไฟ กระป๋องยาฆ่าแมลง เคร่ืองสาอาง นา้ มันเครอ่ื ง ภาชนะน้ายาทาความสะอาดสุขภณั ฑ์ ฯลฯ 4. ขยะที่ตอ้ งทิ้ง เปน็ ขยะท่ไี ม่สามารถนามารไี ซเคลิ ได้และไม่สามารถแยกเปน็ ประเภท ตา่ ง ๆ ไดข้ ยะท้งั 3 ประเภทข้างตน้ ทาให้ต้องท้ิงเพื่อใหร้ ถมาเก็บขนไปทาลายหรอื กาจัดตอ่ ไป เช่น เศษกระจกแตก เปลือกลูกอม ซองขนม ซองบะหมีส่ าเร็จรูป ฯลฯ

19 ขยะแตล่ ะชนดิ หากปล่อยใหย้ ่อยสลายตวั เองตามธรรมชาติ จะใชต้ อ้ งใช้เวลาแตกต่างกัน บางชนดิ ย่อยไดเ้ ร็ว บางชนิดใช้เวลานานหลายร้อยปี ดงั ตาราง ตารางที่ 1 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการยอ่ ยสลายตัวเองตามธรรมชาติของขยะ ชนิดของขยะ ระยะเวลา เศษกระดาษ 2 - 5 เดือน เปลอื กสม้ 6 เดือน ถว้ ยกระดาษเคลือบ 5 ปี ก้นบหุ ร่ี 12 ปี รองเทา้ หนัง 25 - 40 ปี กระปอ๋ งอะลมู เิ นยี ม 80 - 100 ปี ถงุ พลาสติก 450 ปี ผ้าอ้อมเดก็ ชนิดสาเรจ็ รปู 500 ปี โฟม ใช้เวลานานมากในการยอ่ ยสลาย หมายเหตุ: (กรมส่งเสรมิ คณุ ภาพส่งิ แวดล้อม, ออนไลน์, 2548) 1. ข้อกาหนดดา้ นการคดั แยกขยะ การคดั แยกขยะมลู ฝอย กรมควบคุมมลพิษไดม้ ขี ้อกาหนดเกยี่ วกับการคดั แยกไว้ ผ้วู ิจัยได้ สรปุ ประเด็นสาคัญไว้ ดงั นี้ (กรมควบคุมมลพษิ , 2548, หน้า 19) 1.1 การคัดแยกขยะในแหลง่ ท่พี กั อาศัย องค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ ทร่ี ับผดิ ชอบดา้ นการจัดการขยะควรส่งเสริมให้บคุ คลที่ พักอาศัยอย่ใู นบ้านเรือน อาคารทพี่ กั อาศยั อาคารสานกั งาน สถาบนั การศึกษา หา้ งสรรพสินคา้ โรงแรม สถานประกอบการ และสถานท่ีอยอู่ าศยั อ่ืน ๆ ดาเนนิ การคดั แยกและเกบ็ กกั ขยะทเ่ี กิดขน้ึ ดังตอ่ ไปน้ี 1.1.1 คัดแยกขยะท่สี ามารถนากลับมาใช้ประโยชนไ์ ดใ้ หม่ หรือขยะรีไซเคลิ ออก จากขยะยอ่ ยสลาย ขยะอันตราย และขยะทว่ั ไป 1.1.2 เกบ็ กกั ขยะที่ทาการคดั แยกแล้วในบ้านเรือนไว้ในถุงหรือถงั รองรบั ขยะแบบ แยกประเภทท่ีหน่วยราชการจดั เตรียมไว้ 1.1.3 เกบ็ กกั ขยะทที่ าการคดั แยกแลว้ ในบริเวณทม่ี ีอากาศถา่ ยเทได้สะดวก มแี สงสวา่ งพยี งพอ ไมก่ ีดขวางทางเดิน อยหู่ า่ งจากสถานท่ปี ระกอบอาหาร ที่รบั ประทานอาหาร

20 แหลง่ น้าด่มื 1.1.4 ใหจ้ ัดเกบ็ ขยะอนั ตราย หรอื ภาชนะบรรจุทีไ่ ม่ทราบแนช่ ดั เป็นสัดสว่ นแยก ต่างหากจากขยะอนื่ ๆ เพื่อป้องกนั การแพรก่ ระจายของสารพิษ หรือการระเบดิ แล้วให้นาไป รวบรวมไวใ้ นภาชนะหรือสถานทร่ี วบรวมขยะอันตรายอันตรายชมุ ชน 1.1.5 หา้ มจดั เกบ็ ขยะอันตรายไวร้ วมกัน โดยใหแ้ ยกเก็บเป็นประเภท ๆ หากเป็น ของเหลวใหใ้ ส่ถังหรือภาชนะบรรจทุ ี่มิดชดิ และไมร่ ั่วไหล หากเป็นของแข็งหรือสง่ิ ของแขง็ ใหเ้ กบ็ ใสถ่ งั หรอื ภาชนะท่แี ขง็ แรง 1.1.6 หลกี เล่ียงการเก็บขยะท่ที าการคดั แยกแลว้ และมคี ณุ สมบัติทเี่ หมาะแก่ การเพาะพันธข์ องพาหะนาโรค หรอื ที่อาจเกิดการรว่ั ไหลของสารพิษไว้เป็นเวลานาน 1.1.7 หากมีการใช้น้าทาความสะอาดวสั ดคุ ัดแยกแล้ว หรือวัสดุเหลือใช้ทม่ี ีไขมนั หรอื ตะกอนน้ามนั ปนเป้ือน จะต้องระบายน้าเสยี น้ันผ่านตะแกง และบอ่ ดักไขมนั กอ่ นระบายสู่ ทอ่ นา้ สาธารณะ 1.1.8 ห้ามเผา หลอม สกดั หรือดาเนินกิจกรรมอื่นใด เพื่อการคดั แยก การสกดั โลหะมีคา่ หรือการทาลายขยะในบรเิ วณท่พี ักอาศัย หรือพ้ืนทท่ี ่ไี มม่ ีระบบปอ้ งกันและควบคมุ ของ เสยี ทจี่ ะเกดิ ข้ึน 1.2 การคัดแยกขยะในชมุ ชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ ทร่ี ับผดิ ชอบดา้ นการจัดการขยะจะจดั หาภาชนะสาหรับ เก็บกกั และคดั แยกขยะท่ีเกดิ ขน้ึ ในชุมชนควร มขี ้อพิจารณาดงั นี้ 1.2.1 จัดวางภาชนะรองงรับขยะในบรเิ วณพื้นท่ีท่มี ีประชากรอาศัยอยู่อย่าง หนาแน่น เช่น ตลาด ท่พี กั อาศัย สถาบนั การศกึ ษา ชุมชน อตุ สาหกรรม หรืออ่นื ๆ 1.2.2 จดั วางภาชนะรองรับขยะแบบแยกประเภทในอัตราไม่นอ้ ยกว่า 500 ลิตรตอ่ 1 จดุ ต่อ 50 - 80 หลงั คาเรือน หรอื ตอ่ ประชากร 350 คน หรอื ตามความเหมาะสมของชมุ ชน 1.2.3 จดั ใหม้ ีภาชนะหรอื สถานท่ีท่ีใชส้ าหรับเก็บกักแบบแยกประเภท ณ จุด รวบรวมขยะ (Station) ของชุมชนเพอ่ื รอการเกบ็ ขนไปกาจัดหรอื ดาเนนิ การอยา่ งอืน่ โดยให้มี ความจุไมน่ อ้ ยกวา่ 3 เท่าของปรมิ าณขยะทเ่ี กิดขึน้ ในแตล่ ะวนั หรือตามความเหมาะสมของสถานท่ี 2. จดั หาภาชนะรองรบั ขยะ หรือสถานทเ่ี กบ็ กกั ขยะรวมในชุมชน โดยต้องพิจารณาตาม ลักษณะของขยะท่ีจะทาการคดั แยก ประกอบด้วย 3 รูปแบบ คือ 2.1 จดั หาภาชนะหรือสถานท่เี กบ็ กักขยะยอ่ ยสลายและขยะรไี ซเคลิ 2.2 จัดหาภาชนะหรือสถานทีเ่ กบ็ กักขยะรีไซเคิล ขยะยอ่ ยสลาย และขยะทั่วไป 2.3 จดั หาภาชนะหรือสถานทเ่ี ก็บกักขยะรไี ซเคิล ขยะยอ่ ยสลาย และขยะท่วั ไป และ

21 ขยะทัว่ ไป 3. ภาชนะรองรับขยะ หรือสถานท่เี ก็บกกั ขยะรวมในชุมชน จะตอ้ งต้งั อยู่ในท่ไี มก่ ดี ขวาง ทางจราจรและการสัญจรของประชาชน 4. ขยะจะตอ้ งถกู เก็บรวมไวใ้ นภาชนะรองรับแบบแยกประเภทตามทร่ี ะบุไวบ้ นภาชนะ หรอื สถานทเ่ี กบ็ ขยะ ซง่ึ ได้จัดเตรียมไว้สาหรับชมุ ชนนน้ั 5. จัดใหม้ ีศนู ย์รับซื้อขยะรไี ซเคลิ สาหรับชมุ ชน พร้อมทั้งเครื่องมืออปุ กรณ์ประกอบการ ดาเนนิ งานเทา่ ทีจ่ าเปน็ เช่น เครื่องอกั สาเนา (Press Machine) และเครื่องตัด (Shredders) เปน็ ต้น 6. จดั ใหม้ กี ิจกรรมท่ีจะสร้างกลไกลการคดั แยกและใช้ประโยชนข์ ยะในชมุ ชน เชน่ การจดั ตง้ั ธนาคารขยะ กจิ กรรมขยะแลกไข่ ผา้ ป่ารีไซเคลิ ตลาดนัดรไี ซเคลิ การหมกั ปุ๋ยชีวภาพ เป็นต้น 7. จัดใหม้ กี ารอบรมเก่ยี วกับการคดั แยกขยะทถ่ี ูกสุขลกั ษณะใหแ้ กผ่ ู้คดั แยกขยะ เพอื่ ลด ปญั หาความเสย่ี งต่อสขุ ภาพอนามยั และผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อมจากการดาเนินการคดั แยกทีไ่ ม่ ถูกต้อง วิธกี ารกาจดั ขยะมูลฝอย วธิ กี ารกาจดั ขยะมูลฝอย (Methods of Refuse Disposal) มหี ลายวิธีกม็ ีความเหมาะสม แตกตา่ งกันไป การพจิ ารณาเลอื กวธิ ีการกาจัดขยะทเ่ี หมาะสมสาหรับชุมชนแหง่ ใดแห่งหน่ึงนนั้ จาเป็นจะต้องนาองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้องมาพิจารณาด้วย เชน่ ชนดิ และปริมาณขยะท่ีเกิดข้ึน รปู แบบของการบริหารางานในท้องถิน่ งบประมาณ เคร่ืองมอื เครือ่ งใช้ในการเกบ็ และกาจัด สถานทท่ี ี่จะใช้กาจดั ความรว่ มมอื ของประชาชนในชุมชน ฯลฯ การเลอื กวิธกี ารกาจัดขยะจาเปน็ จะตอ้ งพจิ ารณาอย่างรอบคอบเสมอ การกาจัดขยะมีหลายวธิ ี ดงั นี้ 1. การกองบนพนื้ ดิน (Dumping on Land) หมายถงึ วธิ กี ารกาจัดขยะโดยใช้ขยะชนดิ ต่าง ๆ เปน็ วสั ดสุ าหรบั ถมพ้ืนทท่ี ่ีเป็นทลี่ มุ่ น้าขังให้มรี ะดับสูงข้ึนตามท่ตี ้องการ นอกจากจะกาจดั ขยะทีเ่ กดิ จากชุมชนใหห้ มดไปแลว้ กย็ ังสามารถทาลายแหล่งขงั น้าท่เี ปน็ แหลง่ เพาะพันธ์ุยุงให้หมดไปด้วย โดยทั่ว ๆ ไป การกาจัดขยะด้วยวธิ ถี มทีล่ มุ่ จะใชไ้ ดผ้ ลดีกบั ขยะบางชนดิ เช่น ขยะทไี่ ด้จากการกวาด ถนน เถา้ กากตะกอน เศษวสั ดุ สิง่ ก่อสร้างและขยะจาพวกท่ไี มเ่ ป็นเชื้อเพลงิ แตถ่ า้ เป็นพวกขยะเปยี ก ซึ่งสลายซง่ึ สลายตวั ง่ายอาจจะกอ่ ใหเ้ กิดราคาญเน่ืองจากกลนิ่ ข้ึนได้นอกจากนั้นอาจจะกลายเป็น แหล่งเพาะพนั ธุ์แมลงวันไดง้ ่าย สงิ่ สาคัญที่ควรพิจารณาในการกาจดั ขยะด้วยวิธีถมท่ลี ่มุ กค็ อื พน้ื ท่ที ี่ จะใช้เป็นทสี่ าหรับกาจัดขยะควรอย่หู ่างจากชุมชน เพ่ือป้องกันเหตุราคาญเนื่องจากกล่ินที่อาจจะ เกิดขึ้น การนาขยะมาถมทุกครั้งควรใชย้ าฆ่าแมลงพ่นบริเวณผิวหนา้ ขอบขยะ เพ่ือป้องกันแมลงวนั ดว้ ยเสมอในบริเวณใกลเ้ คียงไม่ควรจะมีแหลง่ น้า เนื่องจากนา้ จากกองขยะจะไหลไปทาความสกปรก

22 แกแ่ หล่งน้าหรือดินในบริเวณใกลเ้ คยี งนนั้ ได้ บริเวณท่ีใช้กาจัดขยะควรกัน้ รั้วโดยรอบ เพ่อื ป้องกัน คนและสตั วจ์ ากภายนอกบรเิ วณเขา้ มายงั ท่ีทง้ิ ขยะซึ่งอาจเปน็ อันตรายเกิดการแพรก่ ระจายของเชื้อโรค ไดง้ ่าย ขยะที่นามาถมทลี่ มุ่ เม่อื ปลอ่ ยท้ิงไวพ้ วกอนิ ทรียวัตถุจะถูกจลุ นิ ทรยี ช์ นิดตา่ ง ๆ ย่อยให้ เสอ่ื มสภาพและผพุ ังไปอยา่ งช้า ๆ ซงึ่ อาจจะต้องใชเ้ วลานานถึง 3 - 5 ปี จึงจะหมดปฏิกิริยาโดยปกติ แล้วส่วนผิวของขยะทอี่ อกซเิ จนจากอากาศเข้าถงึ การย่อยสลายโดย Aerobic Organisms เม่ือมีการ ยอ่ ยสลายสิ้นสุดลง กากทเ่ี หลอื จะมลี ักษณะคลา้ ยดนิ ร่วนจะมคี ณุ คา่ ที่ใชป้ ระโยชน์เป็นปยุ๋ ของพชื ได้ เนอื่ งจากยังคงมปี ริมาณในโตรเจน ฟอสฟอรสั และโปตัสเซยี มในรปู ของปยุ๋ อินทรีย์ 2. การเผา (Incineration) การเผาขยะด้วยดว้ ยเตาเผาขยะ โดยเตาเผาขยะนั้นจะต้องเปน็ เตาสามารถเผาขยะชนิดต่าง ๆ ไดอ้ ยา่ งสมบรณู ์ไมท่ าใหเ้ กดิ กล่นิ และควนั รบกวนไม่ก่อให้เกดิ มลภาวะทางอากาศ (Air Pollution) ขึน้ การกาจัดขยะโดยการเผาด้วยเตาเผาขยะจะต้องใช้ความรอ้ น ให้สูงมากพอทีจ่ ะเผาขยะชนิดตา่ ง ๆ ได้อยา่ งสมบรูณ์ ความรอ้ นของเตาเผาขยะทใ่ี ชโ้ ดยท่ัวไป คือ 676 - 1,000 องศาเซลเซยี ส โดยความรอ้ นประมาณ 676 องศาเซลเซยี ส จะช่วยทาให้กา๊ ซท่ีเกิดขึ้น จากการเผาขยะถูกเผาไหม้ได้อย่างสมบรูณ์ ความรอ้ น 760 องศาเซลเซยี ส จะช่วยทาให้การเผาไหม้ ไม่มกี ลิ่นรบกวน สว่ นขยะทีเ่ กดิ จากสารวัตถชุ นิดตา่ ง ๆ ซึ่งเผาไหม้ ๆ ไดน้ ้ันจะถูกเผาไดอ้ ยา่ ง สมบรณู ท์ ส่ี ุด เมอื่ เตาเผาขยะมอี ุณหภูมิ 1,000 องศาเซลเซียส สาหรบั การนาขยะมากองรวมกนั แล้ว เผากลางแจ้ง (Open Burning) น้นั เปน็ วิธกี ารกาจดั ขยะทไี่ ม่ถกู หลักสุขาภิบาล เนื่องจากการเผาไหม้ ไม่สมบรูณท์ าให้เกดิ ควันและสิง่ รบกวน นอกจากน้ันแล้วจะมกี ๊าซและไอระเหยขน้ึ ส่บู รรยากาศ ด้วยเพราะความร้อนมไี ม่เพียงพอนน่ั เอง การกาจดั ขยะโดยวิธเี ผาดว้ ยเตาเผา ทาได้ผลดีกบั ขยะบางชนดิ เชน่ ขยะพเิ ศษ ซงึ่ เป็นขยะ ทมี่ ีเช้อื โรคปนเปอ้ื น ขยะแห้งและขยะมวี ัตถทุ ่ีเผาไหม้ได้ปะปนอยมู่ ากกวา่ ขยะเปยี ก การกาจัดขยะด้วยวิธีนี้ จะมีมากเหลืออยู่หลังจากการเผาไหมแ้ ลว้ เช่น เถา้ ซ่ึงจะต้อง นาออกไปกาจัดโดยวธิ ีอื่นต่อไป ดังนน้ั การกาจัดขยะดว้ ยวิธีเผาจงึ จาเป็นต้องจดั หาสถานท่ีไว้สาหรบั กาจดั กากท่ีเกดิ ขน้ึ ด้วยเสมอ 3. การฝังกลบถูกหลักสุขาภบิ าล (Sanitary Landfill) เป็นวธิ ีทน่ี ยิ มใช้กนั อยา่ งแพรห่ ลาย โดยเฉพาะในยโุ รปและอเมริกาเพราะสามารถนาขยะทีเ่ กบ็ รวบรวมจากชมุ ชนมากาจัดไดท้ ันทโี ดย ไมต่ ้องแยกชนดิ ของขยะ เม่ือเกบ็ รวบรวมขยะซ่งึ เปน็ Mixel Refuse มาแล้วก็นามาฝงั หรอื กลบด้วย ดนิ โดยใชแ้ ทรคเตอร์ วิธกี ารน้ีเร่ิมจากการขดุ ร่องดนิ สาหรับกาจัดขยะ บดอัดขยะใหแ้ นน่ กลบทบั หนา้ และบดอัดขยะด้วยดนิ ใหแ้ น่น หลังจากน้ันก็ปลอ่ ยทิ้งไวข้ ยะคอ่ ย ๆ ถูกยอ่ ยสลายไปเองดว้ ย จลุ นิ ทรยี ใ์ นดนิ ซึ่งอาจจะต้องใช้เวลานาน 3 - 5 ปี การย่อยสลายตัวของขยะก็จะสนิ้ สดุ พน้ื ที่น้นั

23 กย็ ุบตังลงสามารถใช้ประโยชน์เป็นสนามหญา้ สนามกีฬา สนามเดก็ เลน่ หรือใช้เปน็ พื้นทกี่ ่อสร้าง อาคารได้ โดยปกติแล้วการกาจัดขยะด้วยวธิ ีนี้ มักจะเลือกพ้นื ทที่ ่ีมนี ้าขังหรือที่ราคาถกู ๆ เมอ่ื ทา การปรบั ปรุงแลว้ จะช่วยให้พื้นทดี่ งั กลา่ วมสี ภาพดขี ึ้นและมีราคาสูงขึ้นดว้ ย อินทรยี วัตถุชนิดตา่ ง ๆ ท่ีถกู ฝังไว้ในดนิ เมื่อถูกจุลนิ ทรยี ์ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วก็จะชว่ ย ทาใหด้ ินมปี ริมาณของไตรเจน ฟอสฟอรัส โปรเตสเซยี มเพิ่มข้ึน ซึ่งจะเป็นประโยชนต์ ่อพืชได้เปน็ อยา่ งดี และการสลายตัวของอินทรยี วัตถดุ ้วยปฏกิ ริ ิยาของจลุ นิ ทรีย์จะไมท่ าให้ดนิ เกิดเป็นกรด หรือ ดา่ ง ซึ่งเปน็ การชว่ ยปรบั ปรงุ ดินไปได้ดว้ ย การกาจัดขยะด้วยวิธีฝังกลบถกู หลกั สขุ าภบิ าล ดงั กล่าวน้ี จะช่วยกาจดั ขยะไดท้ ุกชนิด เมือ่ การสลายตัวเสร็จสมบรู ณแ์ ล้วก็จะใช้พ้นื ดนิ นั้นทาประโยชน์อย่างอน่ื ได้ การปรบั ปรงุ พ้ืนทดี่ ้วย ขยะน้ีควรใชด้ ินปนทราย (Sandy Loam) เป็นดินกลบทับและควรคานึงถึงองคป์ ระกอบอน่ื ๆ ที่ เกยี่ วข้อง คือ ระยะทาง ลกั ษณะการซมึ น้าของดิน ระดบั ของนา้ ในดิน กระแสลม เปน็ ต้น การฝังกลับถูกหลักสุขาภบิ าลนิยมจัดทา 2 แบบ คอื 1. วิธีกลบฝงั แบบกลบบนพนื้ ที่ (Area Method) เปน็ วธิ กี ลบฝังที่เรม่ิ จากระดับดนิ เดมิ โดย ไม่มีการขุดดินจะทาการบดอัดขยะตามแนวราบก่อนและคอ่ ยบดอดั ทับในชัน้ ถัดไป สูงขนึ้ เร่ือย ๆ จน ได้ระดับตามทกี่ าหนด วิธีน้ีจาเปน็ ต้องทาคันดิน (Embankment) ตามแนวขอบพ้นื ที่บรเิ วณที่กาจดั เพ่อื เป็นผนงั หรอื ขอบยนั การบดอัดขยะมลู ฝอยและเป็นตวั ก้นั นา้ เสยี ทเี่ กิดจากขยะไม่ให้ซมึ ออก ด้านนอก ลักษณะพืน้ ทที่ ่ีจาเปน็ ต้องใช้วิธนี ี้คือ ที่ราบลุ่ม หรือที่ระดับนา้ ใต้ดนิ สงู หรอื นา้ ใต้ดินอยู่ ตา่ กว่าผวิ ดินนอ้ ย (ประมาณ 1 เมตร) ทาใหไ้ ม่สามารถขดุ ดินเพื่อกาจัดดว้ ยวิธกี ลบฝังแบบขดุ ร่องได้ 2. วธิ ีกลบฝังแบบขดุ รอ่ ง (Trench Method) เปน็ วธิ ีท่ีจะต้องทาการขุดดนิ ลงไปใหไ้ ด้ ระดบั ตามที่กาหนดแล้วจึงเร่ิมบดอัดมลู ฝอยเป็นช้นั ๆ โดยทาในแนวราบก่อนแลว้ จึงเริ่มช้นั ถดั ไป โดยทั่ว ๆ ไป ความลึกของการขุดรอ่ งน้ันจะถกู กาหนดด้วยระดับน้าใตด้ ิน คือ ควรจะอยสู่ ูงกวา่ ระดบั น้าใต้ดินอย่างน้อย 1 เมตร โดยยดื หลักระดับนา้ ในฤดฝู นเป็นเกณฑ์ วิธีนีไ้ ม่ต้องเตรยี มคันดนิ เพราะสามารถใชผ้ นงั ของร่องขุดเปน็ กาแพงยนั มลู ฝอยท่บี ดอดั ได้โดยตรง และยงั สามารถใชด้ ินท่ี ขุดมานนั้ นามาใชก้ ลบมลู ฝอยไดอ้ ีกด้วย ข้อจากดั วิธีฝงั กลบบนพนื้ ที่มีข้อจากัด คือ ต้องจัดหาดนิ มาจากที่อนื่ เพ่ือทาคนั ดนิ และ การถมก็ไมค่ วรเกินระดับความสงู ของไม้ยืนตน้ ทจ่ี ะช่วยกาบังบรเิ วณกาจดั ขยะใหม้ ิดชิดได้ สว่ นวิธี กลบฝังแบบขดุ ร่องน้ันมขี ้อจากัด คอื ในชว่ งฤดฝู นจะมีนา้ ขังในรอ่ งขุดต้องแก้ปญั หาโดยการสูบนา้ ระบายนา้ ออกและกรณีร่องขุดค่อนขา้ งลกึ จะต้องทาทางขึ้นลงใหร้ ถยนตเ์ กบ็ ขนมลู ฝอยสามารถ แลน่ ขน้ึ ลงได้สะดวก

24 โดยสรุปแล้ว การเลือกวิธีกลบฝงั ท่เี หมาะสมทสี่ ุดควรจะเป็นวิธีผสมระหว่างวิธที ั้งสอง ดังกลา่ ว คอื สามารถใชด้ นิ ส่วนทีเ่ หลือจากร่องขดุ นามาทาคันดนิ และกลบทบั มูลฝอยทกี่ าจัดแบบ กลบบนพื้นทไี่ ด้ 3. การหมักขยะเปน็ ป๋ยุ (Composition Methods) เปน็ วธิ ีการทอี่ าศัยขบวนการทางชวี วิทยา ของจุลินทรยี ย์ ่อยสลายอนิ ทรียวัตถสุ ่วนท่ีย่อยได้ใหเ้ ปน็ แร่ธาตุที่คอ่ นขา้ งจะคงรปู และมีคุณคา่ ในทาง เปน็ ปุ๋ยบารงุ ดินให้เป็นประโยชนแ์ กพ่ ชื ตอ่ ไป นอกจากน้ันขยะทหี่ มักไดแ้ ลว้ ปริมาณจะลดลง ประมาณ ร้อยละ 30.00 - 65.00 และยังไมส่ ามารถทาลายพวกจุลนิ ทรีย์ทอ่ี าจทาให้เกิดโรคได้ดว้ ย ขบวนการทางชีววทิ ยาทย่ี ่อยสลายอินทรียวตั ถนุ ้นั ต้องอาศัยจลุ ินทรียต์ ่าง ๆ อยา่ งมากมาย ซึง่ แบง่ ออกไดเ้ ป็น 2 พวกใหญ่ ๆ คือ พวกหน่ึงเป็นพวกที่ต้องการออกซิเจนชว่ ยในการย่อยสลาย เรียกว่า “Aerobic” พวกนี้สามารถยอ่ ยสลายอนิ ทรยี วตั ถุไดด้ ีมีประสทิ ธภิ าพและเปน็ ไปอยา่ งรวดเร็ว อีกพวกหนึง่ ไมต่ ้องอาศยั ออกซเิ จนเรียกว่า “Anaerobic” การยอ่ ยสลายเปน็ ไปอย่างได้ช้า ทาให้เกดิ กรดและกา๊ ซทาให้มีกลิน่ อันไม่พึงปรารถนาเป็นเหตรุ าคาญและเปน็ อนั ตรายต่อสขุ ภาพของ ประชาชนได้ การกาจัดขยะมลู ฝอยโดยการหมกั ปยุ๋ น้ัน ตอ้ งพยายามทาโดยอาศยั ขบวนการทางชีววิทยา ของจุลนิ ทรียพ์ วกทตี่ อ้ งใช้ออกซิเจนจึงจะเปน็ วธิ กี ารทถ่ี กู สขุ ลกั ษณะ คือ นอกจากจะได้ปุย๋ ท่มี ี คุณภาพดแี ล้วในระหว่างดาเนนิ การก็จะไมม่ ีกล่นิ อันพงึ ปรารถนาเกดิ ข้นึ ด้วย 4. การนาขยะมลู ฝอยไปทาก๊าซชวี ภาพ (Bio - Gas) ขยะมลู ฝอยประเภทท่เี หมาะอยา่ งยง่ิ ในการไปทาแกส๊ ชวี ภาพ คือ ประเภทมลู สัตว์ ซงึ่ ได้แก่ มลู หมู ววั ควาย เปด็ ไก่ นอกจากน้ขี ยะ มลู ฝอยประเภทเศษหญา้ ใบไม้ ขยะสดก็สามารถนาไปทาได้ แต่การให้แกส๊ ยงั ไม่ดีเทา่ กบั ประเภท มูลสตั ว์ หลักการของการทาแกส๊ ชวี ภาพกค็ อื การนามูลสัตว์ ซง่ึ มีสารอินทรยี ์อยู่มากไปหมกั ไว้ใน สภาวะทีไ่ มม่ อี ากาศและในมูลสัตว์จะมีแบคทีเรียอยชู่ นดิ หนึ่งทเี่ รยี กวา่ “มเี ทนฟอร์มม่ิง แบคทเี รีย” (Methane Forming Bacteria) ซงึ่ เป็นแบคทเี รียทยี่ ่อยสลาย สารอินทรียใ์ นสภาวะทไี่ มม่ อี อกซเิ จนให้ แก๊สมเี ทนซึง่ เป็นแกส๊ ท่จี ดุ ไฟตดิ สามารถนาไปใชเ้ ปน็ เช้ือเพลิงในการหุงต้ม แต่ละครอบครัวได้ ตลอดไป นอกจาก 5 วิธี สาคญั ดงั กล่าวแล้ว ยงั มีวิธกี ารกาจัดอ่นื ๆ อีก เชน่ การนาขยะมลู ฝอยไป เล้ียงสกุ ร โดยการนาเศษอาหารที่เหลือจากการบรโิ ภคตามร้านอาหาร ภัตตาคาร โรงอาหารนาไป ตม้ ให้เดือดนาน 30 นาที แล้วจึงนาไปเล้ียงสุกรได้ หลักการพจิ ารณาวิธกี ารกาจัดขยะมูลฝอย ในการพิจารณาถงึ วิธีกาจดั ขยะมลู ฝอยว่าควรจะใช้วธิ ีการกาจัดวธิ ีใดนัน้ ตอ้ งคานงึ ถงึ องค์ประกอบต่าง ๆ ดังน้ี

25 1. ลกั ษณะและปริมาณของขยะมูลฝอยวิธีการกาจัดขยะมลู ฝอยแต่ละวธิ ีอาจจะใช้ได้กับ ลกั ษณะของขยะมลู ฝอยอยา่ งหนง่ึ แต่อาจจะไม่เหมาะสมกับลักษณะของขยะมลู ฝอยประเภทอ่ืน ก็ได้ เช่น ขยะมูลฝอยประเภทท่ีเผาได้ก็เหมาะสมกับวิธกี ารกาจัดโดยใช้การเผา เป็นต้น และลักษณะ ของขยะมลู ฝอยประเภทอ่ืนอาจจะเหมาะสมกับวธิ ีการากาจดั หลายวธิ กี ไ็ ด้ นอกจากพิจารณาถึงลักษณะของขยะมูลฝอยให้เหมาะสมกับวิธีการกาจัดขยะมูลฝอยแล้ว ยงั ต้องคานึงถึงปรมิ าณขยะมูลฝอยด้วย ซ่งึ ถา้ ปรมิ าณต่อวันเป็นปรมิ าณสงู มากกอ็ าจจะต้องพจิ ารณา ถึงวิธีการกาจดั ขยะมลู ฝอยวธิ อี น่ื ๆ ประกอบการกาจัดเพ่ือช่วยใหพ้ อเพียงกบั ปรมิ าณขยะมูลฝอยท่ี มมี ากขน้ึ สถานท่ี (Location Area) การเลอื กวิธีการกาจัดขยะมลู ฝอยควรจะเลือกใหเ้ หมาะสมกับ สถานท่ที ี่มอี ยู่ด้วย เชน่ ถ้ามีสถานทีท่ ่ีจะทาการกาจัดขยะมูลฝอยแต่อยใู่ นทช่ี ุมชนจะใช้วิธเี ผาก็ควร ตอ้ งคานงึ ถงึ ควันไฟและเขม่า ท่อี าจจะทาการรบกวนแก่ประชาชนท่อี าศัยอยบู่ ริเวณใกลเ้ คียงหรือ สถานที่ทเ่ี ป็นที่ลุ่มมาก ๆ และใกลแ้ หล่งน้าจะใช้วธิ ถี มทลี่ มุ่ ในการกาจดั ขยะมูลฝอยกอ็ าจจะทาให้ เกิดมลพิษทางนา้ ได้ หรือจะหาสถานท่ใี หม่ เพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั วิธกี ารกาจดั กต็ อ้ งพิจารณาถึง คุณลักษณะของวิธกี ารกาจดั ดว้ ย เช่น ถ้าใช้วิธกี ารฝงั อยา่ งถกู หลักสขุ าภิบาลกย็ อ่ มต้องใช้พ้ืนทกี่ วา้ ง กว่าวธิ ีการเผาด้วยเตาเผาขยะ เป็นต้น 2. ค่าใชจ้ า่ ยในการลงทุน (Initial Cost) วิธกี ารกาจดั ขยะมูลฝอยบางวิธตี ้องลงทนุ ครง้ั แรก สงู เช่น วิธีฝงั แบบถกู หลกั สุขาภบิ าลจะต้องใชอ้ ปุ กรณเ์ ครือ่ งจกั รกลทีม่ ีราคาสงู คือ รถแทรคเตอร์ รถบด รถเกรด และเน้ือทใี่ นการกาจัดกวา้ ง ซ่ึงถา้ ราคาท่ีดินสงู แล้วกจ็ ะทาให้คา่ ลงทนุ สงู ค่าใช้จา่ ย ในการลงทุนจึงต้องนามาพิจารณาเปรยี บเทียบกับวธิ ีการกาจัดอื่น ๆ ด้วย 3. คา่ ใช้จ่ายกระบวนการกาจัด (Operation Cost) ในกระบวนการกาจดั ต้องเสียค่าใชจ้ า่ ย ตา่ ง ๆ ซ่งึ ในแตล่ ะวิธขี องการกาจดั กเ็ สียคา่ ใช้จ่ายต่างกนั เชน่ วธิ ีการเผาด้วยเตาเผาอาจจะเสีย ค่าเช้ือเพลิงในการเผา หรอื วิธกี ารฝงั ขยะมูลฝอยอยา่ งถกู ต้องสุขาภิบาล ต้องใช้เคร่ืองจกั รกลหลาย ชนิดกต็ อ้ งใช้น้ามันเชื้อเพลงิ ซ่งึ ถ้ามรี าคาแพงแล้วก็จะทาใหค้ ่าใช้จา่ ยในการดาเนนิ การสงู ด้วย 4. การนาผลผลติ จากการกาจัดขยะมลู ฝอยไปใช้ประโยชน์ในวธิ กี ารกาจดั ขยะมูลฝอย อาจจะได้ผลผลิตในรูปแบบต่าง ๆ กนั ถ้าสามารถพจิ ารณานาไปใชป้ ระโยชน์ได้ก็จะช่วยใหป้ ระหยดั ค่าใช้จ่ายได้ เช่น การเผาด้วยเตาเผาขยะ ถ้าสามารถนาเอาพลังงานความร้อนทีไ่ ดจ้ ากการเผาไหมไ้ ป ใชป้ ระโยชน์ เป็นตน้ ว่า นาไปตม้ นา้ และพลงั งานไอนา้ ไปปั่นเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากจ็ ะได้ประโยชน์ มากขึน้ หรือวธิ กี ารฝังขยะมูลฝอยอย่างถกู หลักสขุ าภบิ าล พื้นท่ที ี่ได้กน็ าไปสร้างสนามกีฬา สนามเดก็ เลน่ หรือทาสวนสาธารณะประชาชนกไ็ ดร้ ับประโยชนจ์ ากการทาลายขยะมลู ฝอยด้วย หรือ การหมักทาป๋ยุ ก็เป็นการชว่ ยประหยดั การใชป้ ุ๋ยเคมี ซึ่งมผี ลเสยี ตอ่ ดนิ มากกวา่ การใชป้ ุ๋ยอนิ ทรีย์จาก

26 ขยะมลู ฝอยมาก 5. ผลกระทบของการกาจัดขยะตอ่ ส่งิ แวดล้อมและสขุ ภาพอนามัย ผลกระทบของการกาจดั ขยะมูลฝอยอาจจะทาใหเ้ กิดมลพิษทางดนิ น้า อากาศได้ เชน่ การาเผาขยะทาใหเ้ กดิ ควันและกล่ิน ซง่ึ ถา้ ขยะประเภททไี่ มส่ มควรเผา เป็นต้น ยาง พลาสติก แลว้ จะทาใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศเปน็ อันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนท่ีอาศยั ในบริเวณนั้น หรือถา้ เผากลางแจ้ง เช่น เผาหญา้ แห้ง ตามรมิ ถนนหลวงกท็ าให้ควันปกคลุมบริเวณกวา้ ง ทศั นวิสัยผ้ขู บั ขี่ยวดยานไมด่ ี ก่อให้เกดิ อุบตั ิเหตุ ทาใหเ้ สยี ชวี ิตและทรัพยส์ นิ อยู่เสมอ 6. การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ วธิ ีการกาจัดขยะมลู ฝอยบางวิธีเปน็ การทาลายธรรมชาติ หรือวัตถดุ บิ ในทางอ้อมเพราะส่งิ ที่เหลือใช้ซ่งึ เราเรียกกว่าขยะมูลฝอยนั้นอาจจะนากลบั มาใช้ ประโยชนใ์ นรปู ต่าง ๆ กันได้อีกเป็นการสงวนทรพั ยากรธรรมชาตอิ กี ทางหนงึ่ ดว้ ย ซง่ึ ถา้ เราไมค่ านงึ หลักการนี้แลว้ นาไปกาจัดโดยวธิ ตี ่าง ๆ กจ็ ะเป็นการทาลายวัตถุดิบโดยตรงนั่นเอง บทบาทขององคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินในการจัดการขยะมูลฝอย: ปญั หาการจัดการ สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทยไดก้ ลา่ วถงึ หนา้ ที่ขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ประการหน่ึง คือ ภารกิจทเ่ี ก่ียวข้องกับสงิ่ แวดล้อมของชุมชน นบั ตัง้ แต่งได้มกี ารจัดตั้งองคก์ ร ปกครองส่วนท้องถน่ิ ตามกฎหมายเฉพาะน้ัน ๆ ภารกิจโครงสรา้ งและอานาจหนา้ ท่ีต่าง ๆ ขององค์กร ปกครองสว่ นท้องถิน่ ไดม้ กี ารปรบั ปรุงแกไ้ ขและพัฒนาแก้ไขใหม้ ีการสอดคลอ้ งกับยุคสมยั มาเปน็ ลาดับจวบจนปัจจุบันได้มกี ารออกพระราชบัญญัติกาหนดแผนและข้ันตอนการกระจายอานาจให้แก่ องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน พ.ศ. 2542 กาหนดอานาจและหน้าท่ีในการจัดการระบบการบรหิ าร สาธารณะขององค์กรปกครองสว่ นท้องถ่ินเพ่ือประโยชน์ของประชาชนในการดาเนนิ งานกาจดั ขยะ มลู ฝอยติดเชื้อและขยะมลู ฝอยจากภาคอุตสาหกรรมยังไม่มีประสทิ ธิภาพ อุปกรณใ์ นการบารงุ รักษา เคร่ืองจักรและโรงงานไม่เพยี งพอและขาดการบารงุ รกั ษามผี ลกระทบอย่างชัดเจนต่อความปลอดภยั และสุขภาพอนามัยและผลกระทบต่อการให้บรกิ ารสาธารณูปโภคอื่น ๆ เช่น ระบบประปา การจัดการนา้ เสยี เปน็ ต้น (สานักงานปลดั กระทรวงมหาดไทย, 2543, หนา้ 12) สภาพปญั หาดังกล่าว มีผลมาจากโครงสร้างการบริการ (Institution Framework) ทไ่ี มม่ ี ประสิทธภิ าพและพอเพยี งต่อการแก้ไขปญั หาขาดทรพั ยากรท้ังดา้ นงบประมาณ บุคลากร ฯลฯ รวมทง้ั มาตรการบงั คบั ใช้กฎหมาย กฎระเบยี บยงั ไม่เข้มงวด หนา้ ที่หนว่ ยงานท้องถ่ิน หรอื องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น โดยการจดั การขยะมลู ฝอยต้องทา คือ 1. การรา่ งมาตรการ แนวทาง ระเบยี บ กฎหมายด้านการจัดการขยะมูลฝอย 2. การพัฒนาและฝกึ อบรมบุคลากรให้มคี วามร้คู วามสามารถในการทาหน้าที่จดั การขยะ มลู ฝอยไดอ้ ยา่ งยง่ั ยืนและมปี ระสทิ ธภิ าพ

27 3. การวางแผนยทุ ธศาสตร์ระยะยาวดา้ นการจัดการขยะมูลฝอยอย่างผสมผสาน รวมทั้ง การจัดการขยะมูลฝอยตดิ เชื้อและขยะมลู ฝอยอุตสาหกรรม 4. ตรวจสอบ ติดตาม การบังคบั ใหก้ ารจดั การ และการกาจดั ขยะมลู ฝอย เป็นไปตาม มาตรฐานที่กาหนดไวอ้ ย่างเข้มงวด 5. การใหบ้ รกิ ารขา่ วสารที่ทันสมยั ท้งั ในระดับชาติ และนานาชาติในรปู แบบห้องสมุด นโยบายและแผนดา้ นสงิ่ แวดล้อมทเ่ี ก่ยี วกบั การจดั การขยะมลู ฝอย ข้อมูลทว่ั ไปของเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง อาเภอเกาะชา้ ง จงั หวัดตราด ประวตั เิ กาะช้าง จากข้อมลู ทางเวบ็ ไซด์ Koh Chang EBooking.Com ได้รวบรวมและกลา่ วถงึ ประวัติของ เกาะช้างว่า ในปี พ.ศ. 2510 ระบวุ า่ จงั หวดั ตราดไดใ้ ห้ นายสมศกั ด์ิ เผ่ือนด้วง ไปทาการสารวจ บรเิ วณน้าตกธารมะยมและไดส้ ่งรายงานการสารวจเบื้องต้นของน้าตกธารมะยม ซง่ึ ตงั้ อยูบ่ นเกาะช้าง อาเภอแหลมงอบ จงั หวัดตราด ใหก้ รมปา่ ไมพ้ ิจารณาจดั ตั้งเป็นวนอุทยาน ซ่ึงในปี 2516 กรมป่าไม้ ไดใ้ ห้ความเห็นชอบในหลักการให้จดั ต้ัง “วนอทุ ยานน้าตกธารมะยม” และกรมปา่ ไมไ้ ด้มหี นังสือให้ จังหวัดตราด รบั งานจัดตงั้ วนอุทยานนา้ ตกธารมะยมไปดาเนินการในปี 2517 ซ่ึงในปี 2518 จงั หวัดตราด ได้ให้ นายทนง โหตรภวานนท์ พนกั งานปา่ ไมต้ รี ไปดาเนินการจัดต้ังวนอทุ ยาน น้าตกธารมะยม (เกาะช้าง, ออนไลน์, 2555) ต่อมาคณะกรรมการอทุ ยานแหง่ ชาติได้มมี ติในการประชุมครั้งท่ี 2/ 2524 เมอื่ วันท่ี 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2524 ใหด้ าเนินการจัดบริเวณเกาะช้างและเกาะกูด จังหวัดตราด เปน็ อุทยานแหง่ ชาติ ทางทะเลอกี แหง่ หนึง่ กรมปา่ ไม้จงึ มีคาส่ังให้ นายเรืองศิลป์ ประกรศรี นักวชิ าการป่าไม้ 4 ไปทาการ สารวจหาข้อมลู รายละเอยี ด ทัง้ ดาเนนิ การปรบั ปรงุ วนอุทยานนา้ ตกธารมะยม เพือ่ ยกฐานะเป็น อุทยานแหง่ ชาติต่อไปจากรายงานข้อมูลการสารวจตามหนังสือวนอทุ ยานน้าตกธารมะยม พบวา่ เกาะช้าง และเกาะบริวารสภาพท่ัวไปมีทวิ ทศั นส์ วยงาม มีนา้ ตก และสตั วป์ ่าหลายชนิดอาศัยอยู่ ตลอดจนในอดตี นา่ นนา้ บริเวณทิศตะวนั ออกของเกาะช้างไดเ้ กิดเหตุการณ์ข้ึนใน สมัยอนิ โดจีน กลา่ วคือ เรือรบหลวงสงขลา เรือรบหลวงชลบุรี และเรอื รบหลวงธนบรุ ีได้ทาการยุทธนาวีกับเรือรบ ฝรงั่ เศส จานวน 7 ลา อย่างห้าวหาญ เม่ือวันท่ี 17 มกราคม พ.ศ. 2484 วีรกรรมคร้งั น้ีได้รับการจารึกไว้ ในประวัติศาสตรข์ องกองทพั เรือ เพือ่ อนรุ ักษน์ ่านน้าประวัตศิ าสตรแ์ ละสภาพธรรมชาติของหมเู่ กาะในทะเล กองอุทยาน แหง่ ชาติ กรมป่าไม้ ได้นาเสนอคณะกรรมการอุทยานแห่งชาติ ซงึ่ มมี ติในการประชมุ ครัง้ ท่ี 1/ 2525 เม่ือวนั ท่ี 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2525 เหน็ ควรจัดตงั้ หมูเ่ กาะช้าง เปน็ อทุ ยานแหง่ ชาติ โดยมพี ระราช

28 กฤษฎกี ากาหนดบริเวณที่ดินเกาะชา้ ง และเกาะใกลเ้ คียงในท้องทต่ี าบล เกาะช้าง และตาบลเกาะหมาก อาเภอแหลมงอบ จงั หวัดตราด ครอบคลมุ พืน้ ที่ 406,250 ไร่ หรอื 650 ตารางกิโลเมตร โดยเปน็ พ้ืนน้า ประมาณ 458 ตารางกิโลเมตร หรือ 70 เปอร์เซน็ ต์ของพ้ืนที่ เป็นอทุ ยานแหง่ ชาติ ซ่ึงประกาศไว้ใน ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 99 ตอนที่ 197 ลงวนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2525 เป็นอทุ ยานแห่งชาติลาดบั ที่ 45 ของประเทศไทย (กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สตั วป์ า่ และพันธ์ุพืช, 2555) ภมู ปิ ระเทศเกาะช้าง เกาะช้างเปน็ เกาะที่ใหญ่ทส่ี ุดในจานวนกวา่ 40 เกาะ ของอุทยานแหง่ ชาตหิ มู่เกาะชา้ ง ซง่ึ ตงั้ อยหู่ า่ งจากแหลมงอบมาประมาณ 8 กโิ ลเมตร พืน้ ที่มีความยาวจากทิศเหนือลงมาทศิ ตะวันออก เฉยี งใต้ ประมาณ 30 กโิ ลเมตร มีความกว้างประมาณ 14 กิโลเมตร พ้ืนท่ีอทุ ยานแหง่ ชาติไม่ได้ ครอบคลุมเกาะช้างท้งั หมด มีบางสว่ นท่ีเปน็ สว่ นของก่ิงอาเภอเกาะชา้ ง มปี ระชาชนอาศัยอยู่ ส่วน ในพนื้ ท่ขี องอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชา้ ง สว่ นทเี่ ป็นพืน้ ดินส่วนใหญ่ของเกาะช้าง มีลกั ษณะภมู ิ ประเทศ เปน็ ภูเขาเกอื บตลอดทง้ั เกาะ เช่น เขาล้าน เขาจอมปราสาท เขาคลองมะยม เขาสลกั เพชร ยอดเขาใหญ่เปน็ ยอดเขาทีส่ ูง ท่สี ดุ มีความสูง 743 เมตร จากระดับน้าทะเลปานกลาง ข้อมูลโครงสรา้ งทางธรณีระบวุ า่ ในพ้ืนท่สี ่วนใหญข่ อง เกาะชา้ ง เป็นหินอัคนีในยคุ ไทรแอสซกิ มีช่วงอายุ 195 - 230 ลา้ นปมี าแลว้ มที ร่ี าบตามชายฝงั่ ทะเลในบรเิ วณหมู่บ้านสลกั เพชร หมู่บา้ นสลกั คอก หมู่บา้ นคลองสน และอา่ วคลองพร้าว แมน่ ้าลาธารในเกาะช้างเปน็ คลองสายสัน้ ๆ ทนี่ า้ ทะเลเข้าถงึ ต้นคลองเป็นหว้ ยนา้ จืดไหลมาจากนา้ ตก ซ่ึงเปน็ สภาพหบุ เขาหลังอา่ วต่าง ๆ ไหล แทรกไปตามบรเิ วณปา่ ชายเลนแล้วไหลลงสูท่ ะเลรอบ ๆ คลองทส่ี าคญั ไดแ้ ก่ คลองสน คลองมะยม คลองค้างคาว คลองบางเบ้า คลองพร้าว คลองนนทรี เป็นตน้ ลานา้ เหล่าน้ยี งั ก่อให้เกิดน้าตกที่ สวยงามหลายแห่ง เชน่ น้าตกธารมะยม นา้ ตกคลองพลู นา้ ตกคลองนนทรี น้าตกคีรเี พชร และน้าตก คลองหน่ึง นอกจากน้ชี ายฝงั่ ตะวันออกของเกาะ จะมีหาดโคลนและหินเป็นหาดหน้าแคบ สว่ นหาด ทางดา้ นตะวันตกของเกาะชา้ งจะเปน็ หาดทรายและหิน (กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพนั ธ์พืช, 2555) โครงสร้างของเทศบาลตาบลเกาะช้าง วิรัช ถิรพนั ธุ์เมธี (2539) ได้กล่าวประวัติความเป็นมาของเทศบาลว่า เทศบาล เปน็ การปกครองท้องถิน่ รปู หนงึ่ ของไทย ตามหลักการกระจายอานาจ กล่าวคือ ราชการบรหิ ารส่วนกลาง กระจายอานาจไปใหป้ ระชาชนในทอ้ งถ่นิ มีอิสระท่ีจะดาเนินการปกครอง ตนเองภายในขอบเขตท่ีกฎหมายกาหนดเป็นการปูพ้ืนฐานการปกครองระบอบประชาธิปไตย ระบบรัฐสภาเพราะเป็นการจาลองรปู แบบการปกครองประเทศมาใช้ในท้องถิ่น

29 ปัจจุบันเทศบาลจัดตง้ั ข้ึนตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 ซึง่ ไดก้ าหนดใหก้ ารจัดตั้ง การเปล่ยี นช่ือ การเปลีย่ นแปลงเขต หรอื การเปล่ียนแปลงฐานะของเทศบาลให้กระทาเป็นพระราช กฤษฎกี า เทศบาลมีฐานะเป็นนิติบุคคล แบง่ ออกเปน็ 3 ระดบั คอื เทศบาลตาบล เทศบาลเมืองและ เทศบาลนคร อย่างไรกต็ ามเทศบาลทงั้ 3 ระดับ มีโครงสรา้ งเหมือนกัน คอื ประกอบด้วย สภาเทศบาล (ซ่ึงสมาชกิ มาจากการเลือกตั้งของประชาชนในเขตเทศบาลนน้ั ) และคณะเทศมนตรี (นายกเทศมนตรี และเทศมนตรีอกี จานวนหนึ่ง) จะแตกตา่ งกันก็เฉพาะทีต่ ้ังหรอื จานวนประชากรเทา่ นั้น เทศบาลตาบล จัดต้ังขึน้ ในท้องถิน่ ที่มคี วามเจริญพอสมควรและสามารถมรี ายไดพ้ อสมควร แกก่ ารปฏิบตั ิหนา้ ท่ีอนั ตอ้ งทาปกตจิ ะตง้ั ขึน้ ในท้องถน่ิ ของอาเภอต่าง ๆ ท่มี ิใชอ่ าเภอเมืองหรือ ทอ้ งถิ่นอนั เป็นท่ีต้งั ศาลากลางจังหวัด เชน่ เทศบาลตาบลโพธท์ิ อง ตัง้ อยูท่ อี่ าเภอโพธ์ทิ อง จงั หวัด อ่างทอง เทศบาลตาบลมีสมาชิกเทศบาลได้ 12 คน มีคณะเทศมนตรี 3 คน (นายกเทศมนตรีและ เทศมนตรอี กี 2 คน) ปัจจบุ นั มีอยู่ 48 แห่ง เทศบาลเมอื ง จัดตัง้ ขน้ึ ในท้องถิน่ อนั เป็นที่ต้งั ศาลากลางจงั หวัดหรอื ท้องถ่นิ ชมุ ชนทีม่ ี ประชากรต้ังถิ่นฐานอยู่ต้งั แต่ 10,000 คนขึ้นไป โดยประชากรเหล่าน้นั อยหู่ นาแน่นเฉลย่ี ไม่ตา่ กว่า 3,000 คน/ ตารางกโิ ลเมตร ทั้งมีรายได้พอสมควรแกก่ ารปฏิบตั หิ น้าทอี่ ันต้องทา เทศบาลเมืองมี สมาชกิ สภาเทศบาลได้ 18 คน มีคณะเทศมนตรีได้ 3 คน เช่นเดยี วกับเทศบาลตาบล ส่วนใหญ่ เทศบาลเมอื งจะตงั้ อยู่ในพื้นทีอ่ าเภอเมืองเพราะเป็นทตี่ ั้งศาลากลางจงั หวัด ดงั นั้น ในแตล่ ะจงั หวดั อย่างน้อยจะมีเทศบาลเมือง 1 แห่ง อยา่ งไรก็ตาม เทศบาลเมอื งอาจจัดตง้ั ขึ้นในท้องถ่ินอาเภออน่ื นอกจากอาเภอเมอื งกไ็ ด้ เช่น เทศบาลเมืองบา้ นโปง่ ตั้งขึ้นทอ่ี าเภอบา้ นโป่ง จงั หวัดราชบุรี ปัจจุบัน มเี ทศบาลเมืองทั้งส้นิ 87 แหง่ เทศบาลนคร ต้ังข้ึนในท้องถน่ิ ชุมชนทีม่ ปี ระชากรตั้งถ่ินฐานอยู่ตง้ั แต่ 50,000 คนขนึ้ ไป โดยประชาชนเหลา่ นน้ั อยกู่ ันอยา่ งหนาแน่นเฉล่ียไม่ต่ากวา่ 3,000 คน/ ตารางกิโลเมตร ทง้ั มีรายได้ พอสมควรแก่การที่จะปฏิบัติหน้าท่ีอันตอ้ งทา เทศบาลนครมีสมาชกิ สภาเทศบาล 24 คน และ มีคณะเทศมนตรี 5 คน (นายกเทศมนตรีและเทศมนตรีอน่ื อกี 4 คน) โครงสร้างของเทศบาลตาบลเกาะช้างในปจั จุบันได้รบั การปรับปรุงใหส้ อดคล้องกบั บทบญั ญัตไิ ว้ในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 หมวดว่าด้วยการปกครองท้องถิ่น และพระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 รวมทงั้ ทีไ่ ด้แก้ไขเพิม่ เตมิ ถึง ฉบับที่ 11 พ.ศ. 2543 โดยมี โครงสรา้ ง ดงั น้ี 1. สภาเทศบาลตาบลเกาะช้าง ประกอบดว้ ย ประธานสภา 1 คน รองประธานสภา 1 คน เลขานกุ ารสภา 1 คน โดยมีสมาชกิ สภา มาจากการเลือกตั้ง หมูบ่ ้านละ 2 คน องคก์ ารบริหารส่วน

30 ตาบลใดมี 1 หมู่บา้ น ใหม้ ีสมาชกิ 6 คน องค์การบริหารสว่ นตาบลใด มี 2 หมู่บา้ น ใหม้ สี มาชิกได้ หม่บู า้ น ละ 3 คน 2. นายกเทศมนตรตี าบลเกาะชา้ ง มาจากการเลอื กต้งั โดยตรงจากประชาชนสามารถ แต่งต้ังผู้ช่วยบริหาร คือ รองนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล จานวน 2 คน ท่ปี รกึ ษานายกเทศมนตรี ตาบลเกาะชา้ ง จานวน 1 คน และเลขานุการนายกเทศมนตรีตาบลเกาะช้าง จานวน 1 คน อานาจหนา้ ทเ่ี ทศบาลตาบลเกาะชา้ ง สภาเทศบาลตาบลเกาะช้าง มีอานาจหน้าท่ีดังต่อไปน้ี พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 มาตรา 49 ให้สภาเทศบาลตาบลมี สมาชิกสิบสองคนและใหค้ ณะเทศมนตรปี ระกอบดว้ ยนายกเทศมนตรีกับเทศมนตรีอื่นอีกสองคน หน้าทขี่ องสภาเทศบาล สาหรบั หน้าทีข่ องสภาเทศบาลโดยหลักการแลว้ มีสาคญั 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1) หน้าทใ่ี นการเลอื กฝ่ายบริหาร 2) หนา้ ทใ่ี นการสะท้อนความตอ้ งการของประชาชนในเขต เทศบาล 3) หน้าทีใ่ นการออกเทศบญั ญตั ิ และ 4) หนา้ ที่ในการตรวจสอบและถว่ งดลุ ฝ่ายบริหาร โดยสรปุ ดงั น้ี 1. หน้าท่ีในการเลอื กต้งั ฝ่ายบรหิ ารน้ัน สภาเทศบาลจะทาหน้าทใ่ี นการเลอื ก นายกเทศมนตรแี ละเทศมนตรีด้วยเสยี งขา้ งมากของสภาเทศบาล ซึ่งหน้าทด่ี ังกล่าวนจี้ ะไม่มใี น เทศบาลที่ใช้รูปแบบนายกเทศมนตรีเพราะหนา้ ทด่ี งั กล่าวนีจ้ ะถูกกระทาโดยประชาชนในเขตเทศบาล แทน 2. หน้าท่ใี นการสะท้อนความต้องการของประชาชนในพ้ืนทน่ี นั้ เป็นหนา้ ท่ีโดยทั่วไปของ ผ้แู ทนประชาชนอยู่แล้ว เช่น รบั ฟงั ปัญหา ความต้องการ ความเดอื ดร้อน ตลอดจนข้อร้องเรียนตา่ ง ๆ ของประชาชนในเทศบาล แลว้ นาข้อเรยี กร้องเหลา่ นั้นเสนอต่อฝ่ายบรหิ ารให้ฝา่ ยบริหารดาเนินการ แกไ้ ขให้ หรือในบางเรื่องท่สี มาชกิ สภาเทศบาลสามารถกระทาได้เอง สมาชกิ สภาเทศบาลก็จะ ดาเนินการแกไ้ ขไดเ้ ลย หรอื หากในบางเร่ืองอยู่เกินขอบเขตอานาจที่เทศบาลจะดาเนนิ การได้สมาชกิ สภาเทศบาลก็จะทาหน้าทใี่ นการประสานไปยังหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพ่อื ดาเนินการต่อไป การดาเนินการเพือ่ ให้ฝา่ ยบริหารกระทาตามขอ้ เรียกร้องของตนนนั้ อาจกระทาได้ทง้ั ในรปู แบบท่ีเป็น ทางการ เช่น การทาหนงั สือยื่นแสดงปญั หาของประชาชนในเทศบาลผา่ นไปยงั นายกเทศมนตรี เป็นต้น และรปู แบบท่ไี มเ่ ป็นทางการ เช่น การใชค้ วามสัมพนั ธ์สว่ นตัวของตนกับผมู้ ีอานาจร้องขอให้ ผ้มู อี านาจดาเนินการให้ เปน็ ตน้ 3. หน้าทีใ่ นการออกกฎหมายหรอื เทศบญั ญัติ หน้าท่นี ี้เป็นหน้าท่ีท่ีชดั เจนทส่ี ดุ ในการ ทางานของสภาเทศบาล กล่าวคอื สภาเทศบาลทาหนา้ ทีเ่ ป็นองคก์ รทางนิตบิ ัญญัติในเทศบาล ทาหนา้ ท่ใี นการพิจารณา กล่นั กรอง และอนุมตั ิกฎหมายต่าง ๆ ว่าควรบังคับใชใ้ นเขตเทศบาล

31 หรอื ไม่ อย่างไร และเมือ่ พจิ ารณากนั อยา่ งรอบคอบแลว้ สมาชกิ สภาเทศบาลจึงจะมีมติเห็นชอบ หรอื ไม่เห็นชอบในร่างเทศบัญญัติเพ่อื บังคบั ใชเ้ ป็นเทศบัญญัตติ ่อไปหรือไม่ หน้าทใ่ี นประการน้ถี ูก กาหนดไวใ้ น มาตรา 60 แหง่ พระราชบญั ญตั ิเทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพม่ิ เตมิ พ.ศ. 2543 ท่ีกาหนด วา่ “เทศบาลมอี านาจตราเทศบัญญัตโิ ดยไม่ขัดหรือแยง้ ต่อบทกฎหมาย…” 4. หนา้ ท่ใี นการตรวจสอบและถ่วงดลุ การทางานของฝ่ายบรหิ ารน้นั สภาเทศบาลมีวธิ ีการ ในการตรวจสอบและถว่ งดลุ อย่างน้อย 3 วธิ ี ไดแ้ ก่ 4.1 การตง้ั กระทถู้ ามฝา่ ยบริหารเพ่ือให้ฝ่ายบริหารตอบกระทู้ทีต่ นเหน็ วา่ เป็นปัญหา และใหฝ้ า่ ยบริหารชี้แจงขอ้ เท็จจริงหรือแนวทางเพอื่ ดาเนินการแกไ้ ขตอ่ ไปตาม มาตรา 31 แหง่ พระราชบญั ญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ พ.ศ. 2546 4.2 การตรวจสอบการทางานโดยคณะกรรมการสามัญและวิสามญั ของสภาเทศบาล คณะกรรมการสามัญและวิสามญั ของสภาเทศบาล มหี นา้ ท่ีหลกั ในการกระทากจิ การ ใด ๆ ตามที่สภามอบหมายให้ดาเนินการ เช่น สืบสวน สอบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ ศึกษาถงึ ความเปน็ ไปได้ หรอื ลงไปเก็บข้อมลู ในพนื้ ท่ีเทศบาล เปน็ ตน้ และเม่ือไดด้ าเนินการไปเช่นไร กรรมการดังกลา่ ว ต้องรายงานผลการดาเนินงานน้นั ใหส้ ภาเทศบาลรับทราบด้วย การดาเนินงานของคณะกรรมการในลักษณะเช่นนี้ กค็ อื การตรวจสอบการทางาน ของฝา่ ยบริหารในลกั ษณะหนึง่ ด้วยเชน่ กัน เชน่ หากสภาเทศบาลไมเ่ ห็นดว้ ยกับการทางานของฝ่าย บริหาร สภาเทศบาลอาจจะต้ังคณะกรรมการวสิ ามญั เพ่ือศึกษาและพิจารณาว่าในประเด็นดงั กล่าว ควรมีแนวทางในการตัดสนิ ใจหรือดาเนนิ การอย่างไร ตลอดจนสามารถเรยี กใหฝ้ ่ายบริหารมาชแ้ี จง วา่ เหตุใดฝา่ ยบริหารจึงตดั สินใจเช่นน้ัน ซ่งึ หากฝา่ ยบริหารไมส่ ามารถช้ีแจงให้คณะกรรมการ ดงั กล่าวเข้าใจหรือไมส่ ามารถตอบคาถามได้อยา่ งกระจา่ งชัดแลว้ ผลเสยี ยอ่ มเกิดแก่ตัวผบู้ ริหารเอง และอาจมีผลในการเลือกต้ังครง้ั ต่อไป มาตรา 32 วรรค 1 แห่งพระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพิม่ เติม พ.ศ. 2543 ได้ ให้อานาจแกส่ ภาเทศบาลไว้โดยกาหนดวา่ “สภาเทศบาลมีอานาจเลือกสมาชิกสภาเทศบาลต้ังเปน็ คณะกรรมการสามัญของสภาเทศบาลและมอี านาจเลือกบคุ คลผเู้ ปน็ หรอื มไิ ด้เป็นสมาชิกต้งั เป็น คณะกรรมการวิสามัญของสภาเทศบาลเพื่อกระทากิจการหรือพิจารณาสอบสวนหรอื ศึกษาเร่ืองใด ๆ อันอยใู่ นอานาจหนา้ ที่ของสภาเทศบาล แลว้ รายงานตอ่ สภาเทศบาล” 4.3 การเสนอเพื่อใหม้ ีการออกเสียงประชามตใิ นเขตเทศบาล การตรวจสอบการทางาน ในประการน้ีถกู กาหนดไวใ้ นมาตรา 32 ทวิ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ. 2496 แกไ้ ขเพิม่ เติม พ.ศ. 2543 วา่ “ในกรณีกิจการในเร่อื งใดอาจกระทบถงึ ประโยชน์ได้เสียของเทศบาลหรือประชาชน ในทอ้ งถน่ิ สมาชิกสภาเทศบาลจานวนไม่น้อยกว่าก่งึ หน่งึ ของจานวนสมาชิกเท่าทมี่ ีอยู่หรอื คณะ

32 เทศมนตรอี าจเสนอต่อประธานสภาเทศบาลเพอ่ื ใหม้ ีการออกเสียงประชามตใิ นท้องถิน่ ได้และ ประกาศให้ประชาชนทราบ การออกเสยี งประชามติต้องเป็นไปเพอื่ ประโยชน์ในการขอปรกึ ษาความเหน็ ของ ประชาชนว่าจะเหน็ ชอบหรือไม่เห็นชอบกิจการสาคญั ในเรือ่ งใดเร่ืองหนงึ่ ตามวรรคหนงึ่ …” ซ่ึงกฎหมายได้เปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนในทอ้ งถน่ิ มสี ทิ ธเิ ข้ามาช่วยฝ่ายบรหิ ารตดั สินใจในประเด็น ที่สาคญั ต่อเทศบาลไดง้ ่ายข้ึน ซงึ่ การใหค้ วามเหน็ ของประชาชนนจ้ี ะสามารถกระทาได้ก็ต้องได้รบั การเสนอจากสมาชกิ สภาเทศบาลเสยี กอ่ น หนา้ ทขี่ องนายกเทศมนตรี และรองนายกเทศมนตรี ตามกฎหมายไดก้ าหนดหนา้ ทีข่ องนายกเทศมนตรี มาตรา 48 แหง่ พระราชบัญญัติ เทศบาล พ.ศ. 2496 แก้ไขเพ่มิ เตมิ พ.ศ. 2543 ดังน้ี 1. กาหนดนโยบายโดยไม่ขัดต่อกฎหมายและรับผดิ ชอบในการบริหารราชการของ เทศบาล 2. ให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั เทศบัญญัติและนโยบาย 3. สัง่ อนญุ าต และอนุมตั ิเกี่ยวกับราชการของเทศบาล 4. แตง่ ต้ังและถอดถอนรองนายกเทศมนตรี ทป่ี รกึ ษานายกเทศมนตรี และเลขานุการ นายกเทศมนตรี 5. วางระเบียบเพื่อให้งานของเทศบาลเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย 6. รักษาการให้เปน็ ไปตามเทศบัญญัติ 7. ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อ่ืนตามทีก่ ฎหมายบัญญัติไวใ้ นพระราชบัญญัตินแี้ ละกฎหมายอน่ื ลกั ษณะการใชอ้ านาจของนายกเทศมนตรที ่มี าจากการเลอื กต้งั โดยตรงน้ีแตกตา่ งจาก การใช้อานาจของนายกเทศมนตรใี นรูปแบบคณะเทศมนตรใี นสมยั กอ่ น กลา่ วคือ นายกเทศมนตรี ที่มาจากการเลือกต้ังโดยตรงมลี ักษณะการใชอ้ านาจทีเ่ ด็ดขาดกว่าและเป็นผู้ใชอ้ านาจแตเ่ พียงคนเดยี ว ไม่จาเปน็ ต้องใชอ้ านาจรว่ มกับรองนายกเทศมนตรี ซ่ึงสามารถสรา้ ง “ภาวะผนู้ า” ใหแ้ ก่ นายกเทศมนตรีไดม้ ากกว่านายกเทศมนตรีในรูปแบบคณะเทศมนตรี ท่ีนายกเทศมนตรมี าจากการ เลอื กของสภาเทศบาล เทศบาลตาบลเกาะช้างมอี านาจ หนา้ ทใ่ี นการพัฒนาตาบล ท้ังในด้านเศรษฐกจิ สงั คมและ วัฒนธรรมโดยการบริหารงานราชการของเทศบาลตาบลเกาะชา้ งมีนายกเทศมนตรีตาบลเกาะชา้ ง ซ่งึ ได้มาจากการเลือกตัง้ ของประชาชนเปน็ ผบู้ รหิ ารงาน โดยมผี ู้ชว่ ยผ้บู ริหารคอื รองนายกเทศมนตรี และมปี ลัดนายกเทศมนตรีตาบล หัวหนา้ ส่วนราชการ พนักงานเทศบาล และพนักงานจ้างของ เทศบาลรบั ผดิ ชอบงานราชการประจาและนานโยบายจากนายกเทศมนตรีไปปฏบิ ัตใิ ห้เกิด

33 ประโยชน์ต่อประชาชนภายในเขตเทศบาทตาบลเกาะช้างอยา่ งสงู สดุ หนว่ ยงานที่รับผิดชอบงานกาจดั ขยะมลู ฝอย การจดั การขยะมลู ฝอยของเทศบาลตาบลเกาะช้าง เปน็ งานในความรบั ผดิ ชอบของานรกั ษา ความสะอาด ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ซง่ึ มีอตั ราบคุ ลากรดารงตาแหน่งตามแผนอตั รากาลัง 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 - 2551) ของเทศบาลตาบลเกาะช้าง (เทศบาลตาบลเกาะชา้ ง, 2549) ดงั นี้ ตารางที่ 2 อตั รากาลงั ของสว่ นสาธารณสขุ และสง่ิ แวดล้อม ลาดับ ช่อื - สกลุ ตาแหนง่ หมายเหตุ 1 วา่ ง นักบรหิ ารงานสาธารณสุขและสงิ่ แวดล้อม ขา้ ราชการ 2 ว่าง เจ้าพนกั งานสุขาภบิ าล ขา้ ราชการ 3 นางชศู รี จันทร์จารุ ผชู้ ว่ ยเจา้ หนา้ ทีธ่ ุรการ พนักงานจ้าง (แผนอัตรากาลังเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง 3 ปี (ปงี บประมาณ พ.ศ. 2549 - 2551), 2549) อานาจหน้าที่ของเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง เทศบาลตาบล มีอานาจหน้าที่การพัฒนาตาบล ท้งั ในด้านเศรษฐกิจ สังคม และวฒั นธรรม และมบี ทบญั ญตั ิหน้าท่ีกาหนดไว้ในกฎหมาย โดยบัญญัติหนา้ ทเ่ี ทศบาล จะต้องทาตามมาตรา 67 แหง่ พระราชบัญญัตเิ ทศบาล พ.ศ. 2496 และท่ีแก้ไขเพิม่ เติม มีดงั น้ี มาตรา 50 ภายใตบ้ ังคับแหง่ กฎหมาย เทศบาลตาบลมีหนา้ ที่ตอ้ งทาในเขตเทศบาล ดังต่อไปนี้ (1) รักษาความสงบเรียบร้อยของประชาชน (2) ให้มแี ละบารุงทางบกและทางนา้ (3) รักษาความสะอาดของถนน หรอื ทางเดนิ และทสี่ าธารณะ รวมท้ังการกาจัดมลู ฝอย และสงิ่ ปฏกิ ลู (4) ปอ้ งกันและระงับโรคติดตอ่ (5) ใหม้ เี คร่อื งใช้ในการดบั เพลงิ (6) ให้ราษฎรได้รบั การศึกษาอบรม (7) สง่ เสรมิ การพัฒนาสตรี เดก็ เยาวชน ผสู้ ูงอายุ และผู้พกิ าร (8) บารุงศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปญั ญาท้องถ่ิน และวฒั นธรรมอันดีของท้องถน่ิ (9) หนา้ ท่อี ่นื ตามที่กฎหมายบญั ญัตใิ ห้เป็นหนา้ ท่ขี องเทศบาล

34 การปฏบิ ตั ิงานตามอานาจหน้าทีข่ องเทศบาลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วธิ ีการบริหารกจิ การบ้านเมืองที่ดี และใหค้ านึงถงึ การมสี ่วนร่วมของประชาชนในการจัดทา แผนพัฒนาเทศบาล การจัดทางบประมาณ การจดั ซ้ือจัดจา้ ง การตรวจสอบ การประเมินผลการ ปฏบิ ตั งิ าน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ท้ังนี้ ให้เปน็ ไปตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคบั วา่ ด้วย การน้นั และหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารทก่ี ระทรวงมหาดไทยกาหนด มาตรา 51 ภายใต้บงั คับแหง่ กฎหมาย เทศบาลตาบลอาจจัดทากิจการใด ๆ ในเขตเทศบาล ดงั ต่อไปนี้ (1) ให้มนี า้ สะอาดหรือการประปา (2) ให้มโี รงฆา่ สัตว์ (3) ใหม้ ีตลาด ทา่ เทยี บเรือและท่าข้าม (4) ให้มีสุสานและฌาปนสถาน (5) บารงุ และส่งเสริมการทามาหากินของราษฎร (6) ให้มีและบารงุ สถานท่ที าการพิทักษ์รักษาคนเจ็บไข้ (7) ให้มีและบารงุ การไฟฟา้ หรือแสงสวา่ งโดยวธิ อี ื่น (8) ให้มแี ละบารุงทางระบายน้า (9) เทศพาณิชย์ จะเหน็ ได้วา่ เทศบาลในฐานะเป็นนติ ิบุคคลและเปน็ ราชการบรหิ ารสว่ นท้องถนิ่ มีอานาจ หนา้ ท่ีที่จะดาเนนิ กิจการพฒั นามากมายหลายอยา่ ง และแมแ้ ตห่ น่วยงานของรัฐหรือองคก์ ารใด ๆ จะไปดาเนนิ กจิ การในพนื้ ท่ีจะตอ้ งแจง้ ให้วา่ เทศบาลทราบและนาความเหน็ ขอต่อเทศบาลยงั มี รายไดอ้ ันเปน็ เงนิ งบประมาณของตนเองและสภาเทศบาลสามารถให้ความเห็นชอบข้อบังคบั งบประมาณรายจา่ ยเพ่ิมเติม เพ่อื นาไปดาเนนิ การตามอานาจหนา้ ท่ี ในการให้บรกิ ารสาธารณเพอื่ ประโยชน์แก่ประชาชนในเขตให้บริการของเทศบาลได้ งานวจิ ยั ทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง ปณติ า นสิ สยั สขุ (2552, บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวิจยั เร่ืองความรูแ้ ละพฤติกรรมการคดั แยก ขยะมลู ฝอยของประชาชนในพ้ืนทเ่ี ทศบาลเมืองบ้านสวน อาเภอเมืองชลบรุ ี จงั หวัดชลบุรี กลุ่ม ตัวอยา่ งท่ีใช้ในการวิจัยคร้งั นี้ ไดแ้ ก่ ประชาชนในเทศบาลตาบลบา้ นสวน จานวน 400 คน โดยใช้ แบบสอบถามเปน็ เคร่ืองมือในการรวบรวมข้อมูล แล้วนามาวเิ คราะห์ดว้ ยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สถติ ทิ ี่ใชใ้ นการวจิ ัยคร้งั น้ี คือ สถิตเิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistice) ได้แก่ คา่ ความถี่ (Frequency) คา่ รอ้ ยละ (Percentage) คา่ เฉลีย่ (Arithmetic Mean) และสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

35 (Standard Deviation) และสถติ ิเชิงอา้ งองิ (Inferential Statistics) ได้แก่ t - test, F - test (ANOVA) ผลการศกึ ษาพบว่า ประชาชนท่ีเป็นกลมุ่ ตัวอยา่ งของการวจิ ัยเป็นเพศชายมากกวา่ เพศหญิง มีอายุ ระหวา่ ง 31 - 45 ปี สว่ นใหญ่จบการศกึ ษาระดับปริญญาตรี ประกอบอาชีพข้าราชการ/ รัฐวสิ าหกิจ มีรายไดร้ ะหวา่ ง 5,000 - 10,000 บาท มคี วามรู้เกยี่ วกบั การคดั แยกขยะมลู ฝอยระดับมากและมี พฤตกิ รรมการจัดการขยะอย่ใู นระดบั ค่อนข้างดี ประชาชนในพน้ื ที่เทศบาลตาบลบ้านสวนทมี่ เี พศ อายุ อาชพี และการศกึ ษาตา่ งกันจะมพี ฤตกิ รรมการคดั แยกขยะมูลฝอย ไมแ่ ตกต่างกันในสว่ น ประชาชนท่ีมรี ายได้ และความรใู้ นเรอื่ งการคัดแยกขยะมลู ฝอยตา่ งกนั มพี ฤตกิ รรมการคดั แยกขยะ มลู ฝอยแตกตา่ งกนั ที่ระดับนัยสาคญั .05 ดังน้ัน เทศบาลต้องใหค้ วามร้กู บั ประชาชนในประเด็น ประเภทขยะมลู ฝอย ปจั จยั สาคัญท่ีมผี ลตอ่ ปรมิ าณขยะในชุมชน และการแยกประเภทขยะมูลฝอยท่ี ถูกตอ้ ง เพอ่ื ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการคัดแยกขยะมูลฝอย โดยเทศบาลอาจจดั ทาโครงการอบรม ความรแู้ กเ่ ยาวชนและประชาชนทว่ั ไปในการคดั แยกกอ่ นทิง้ ขนึ้ มา เพ่อื ทาให้เยาวชนและประชาชน ทัว่ ไปมีความรู้และสามารถปฏิบัติได้ถกู ตอ้ งเกย่ี วกบั การจัดการกาจัดขยะและคัดแยกขยะเบ้ืองตน้ อย่างถูกวิธีก่อนการนาไปทิ้งลงถงั รองรบั ขยะ บุษกร ชวี ะธรรมานนท์ (2552, บทคดั ย่อ) ได้ศกึ ษาวจิ ยั เร่ือง ความรู้และพฤติกรรมในการ จัดการขยะในครัวเรือนของนักศึกษา มหาวทิ ยาลยั ศรปี ทุม วิทยาเขตชลบรุ ี กลุ่มตวั อย่างไดแ้ ก่ นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยศรีปทุม วทิ ยาเขตชลบรุ ี จานวน 400 คน สถติ ิท่ใี ช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถ่ี คา่ สถติ ริ อ้ ยละ ค่าเฉลยี่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทกสอบความแตกตา่ งโดยใช้ค่าสถิติ t - test และ One - way ANOVA และทดสอบความแตกต่างรายคู่ดว้ ยวิธี LSD ผลการวิจยั พบวา่ นักศกึ ษา มหาวิทยาลยั ศรปี ทุม วิทยาเขตชลบรุ ี สว่ นใหญเ่ ปน็ เพศหญงิ อายรุ ะหวา่ ง 21 - 22 ปี ศกึ ษาใน คณะบริหารและอย่ใู นชั้นปีที่ 3 มีความรู้ในการจดั การขยะในครวั เรือนโดยรวมมคี ะแนนเฉลี่ย 56.90 ซ่งึ อยใู่ นเกณฑ์ความรู้น้อย เมื่อจาแนกระดับความรอู้ อกเป็นสามระดบั ผูต้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีความรูอ้ ยใู่ นเกณฑร์ ู้น้อย ร้อยละ 51.50 รองลงมาคือ มีความรู้อยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 45.25 และมีความรู้อย่ใู นเกณฑ์ดีเพียงร้อยละ 3.25 เมื่อพิจารณาเป็นรายดา้ นพบวา่ ด้านที่นกั ศึกษามคี วามรู้ นอ้ ยทีส่ ุด คอื ดา้ นความรใู้ นการคดั แยกขยะในบา้ น รองลงมาคอื ความรู้ในการคดั แยกขยะจาก บา้ นเรือน และดา้ นท่ีมีความรู้มากทส่ี ดุ คือ ด้านการเลอื กใช้สินคา้ ที่เปน็ มติ รกับสง่ิ แวดล้อม สว่ นพฤตกิ รรมในการคัดแยกขยะในครัวเรือนของนักศึกษาเฉล่ียโดยรวมมพี ฤตกิ รรมอย่ใู นเกณฑ์ คอ่ นข้างดี ส่วนพฤตกิ รรมท่ีมีปญั หามากท่สี ดุ ไดแ้ ก่ พฤติกรรมการเลือกใชส้ นิ คา้ ที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดลอ้ ม จัดอยใู่ นเกณฑ์ที่ควรปรบั ปรงุ ส่วนด้านอื่นยังอยูใ่ นเกณฑค์ ่อนข้างดแี ละพบวา่ นักศึกษา ในคณะทแี่ ตกตา่ งกันมีระดับความรู้ในการจัดการขยะในครัวเรอื นแตกต่างกัน ในขณะท่นี กั ศกึ ษาท่ี มีเพศและคณะที่ศึกษาแตกต่างกันมพี ฤตกิ รรมในการจัดการขยะแตกต่างกันที่ระดับนยั สาคญั ที่

36 ระดบั .05 สว่ นนกั ศกึ ษาที่มีความรใู้ นการจัดการขยะในครัวเรือนทีแ่ ตกตา่ งกัน มีพฤติกรรมในการ จดั การขยะไมแ่ ตกต่างกัน นจิ นิรันดร์ สม้ โอชา (2552, บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ กึ ษาวจิ ยั เรื่อง ความรูแ้ ละพฤติกรรมในการ จัดการขยะมูลฝอยของผู้ต้องขงั ในเรือนจาพิเศษพัทยา จงั หวดั ชลบรุ ี กลมุ่ ตวั อยา่ งทศ่ี กึ ษา คอื ผู้ตอ้ งขังที่อาศัยอยูใ่ นเรือนจาพิเศษพัทยา จังหวัดชลบุรี จานวน 336 คน ผลการศึกษา พบว่า กลุ่ม ตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มอี ายรุ ะหว่าง 18 - 28 ปี ระดับการศกึ ษาชน้ั ประถมศกึ ษา มีอาชีพ รบั จา้ งกอ่ นต้องโทษ ระยะเวลาตอ้ งโทษ 1 เดือน - 10 ปี 11 เดือน มรี ะดับความรู้เกี่ยวกับการจัดการ ขยะมลู ฝอยอยใู่ นระดบั ดี ผู้ต้องขังมรี ะดับพฤติกรรมในการจดั การขยะในภาพรวมอยใู่ นระดับดี โดยมพี ฤตกิ รรมในการคัดแยกขยะมากที่สุด รองลงมาด้านการเลอื กซ้ือและเลอื กใช้ และดา้ นการ จดั การขั้นสุดทา้ ย จากการเปรียบเทยี บปัจจยั ส่วนบุคคลกับพฤตกิ รรมในการจัดการขยะของผู้ต้องขงั เรือนจาพิเศษพทั ยา จังหวดั ชลบรุ ี พบว่า เพศ อายุ ระดับการศกึ ษา อาชีพกอ่ นต้องโทษ ระยะเวลา การตอ้ งโทษแตกต่างกันจะมีระดับพฤตกิ รรมในการจัดการขยะไมแ่ ตกตา่ งกนั ซึ่งผู้ศึกษาได้ให้ ข้อเสนอแนะเห็นควรเปน็ เรือนตัวอย่าง หรือเรอื นจาต้นแบบ และส่งเสริมกระบวนการมีสว่ นรว่ ม ของผู้ต้องขงั โดยการรณรงค์ประชาสัมพนั ธ์ความร้ใู นเรอื่ งปญั หาขยะ ขยะมพี ิษ และแนวโน้มของ ขยะท่อี าจกอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายในอนาคตหากการมสี ว่ นร่วมของผ้ตู ้องขาดความตอ่ เน่ือง เปรียบเทยี บ การจัดการขยะในเรือนจาใกล้เคยี งเพ่อื ใหเ้ กดิ พัฒนาการในการดาเนินงาน เชน่ การใช้เครื่องมือที่ ทันสมยั ในการกาจัดขยะ ให้เรอื นจาสง่ เสริมการนาขยะรไี ซเคลิ มาใชป้ ระโยชน์อยา่ งต่อเน่อื ง เชน่ นาขยะมาทาผลติ ภณั ฑ์ หรือของชาร่วยโดยจัดหาบคุ คลท่ีมีความรู้ และความคิดสร้างสรรคม์ าสอน ผ้ตู อ้ งขงั และจัดหาตลาดรองรับผลิตภัณฑข์ องเรอื นจาต่อไป พัทธยา ยิ่งยืน (2552, บทคดั ยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวิจยั เรือ่ ง ความรู้และพฤติกรรมการจัดการขยะ ของพนกั งานในสานักงาน: กรณีศึกษาสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมเกตุเวยซ์ ติ ี้ จังหวัด ฉะเชิงเทรา กล่มุ ตัวอย่างพนักงานในสานกั งาน เคร่ืองมือทใ่ี ชใ้ นการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม วเิ คราะห์ข้อมลู โดยใชส้ ถิติแจกแจงค่าความถ่ี ร้อยละ คา่ เฉลยี่ ( X ) ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติเชงิ อนมุ าน t - test และ One - way ANOVA โดยกาหนดระดับนยั สาคญั ทางสถติ ิ ท่ีระดับ .05 ผลการศกึ ษาพบวา่ พนกั งานในสานกั งานของสถานประกอบการนิคมอุตสาหกรรมเกตุเวย์ซติ ้ี มคี วามรู้การจัดการขยะอยู่ในระดบั ปานกลาง และมพี ฤติกรรมในการจดั การขยะอยูใ่ นระดับ คอ่ นขา้ งดี โดยพนักงานท่ีมี เพศ อายุ การศึกษา ตาแหน่งงาน ระยะเวลาการทางาน ขนาดสถาน ประกอบทีท่ างานแตกต่างกนั มีความรกู้ ารจัดการขยะไมแ่ ตกต่างกนั แต่พนกั งานที่มีสถานภาพ สมรสตา่ งกัน มีความรู้การจดั การขยะแตกตา่ งกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถติ ทิ ีร่ ะดบั .05 และ พนกั งานทมี่ ีอายุ สถานภาพสมรส ตาแหน่งงาน ความรกู้ ารจดั การขยะแตกต่างกัน มพี ฤตกิ รรมใน

37 การจดั การขยะไมแ่ ตกต่างกัน แต่พนกั งานท่ีมีเพศ การศึกษา ระยะเวลาการทางาน ขนาดสถาน ประกอบการทท่ี างานต่างกัน มีพฤตกิ รรมในการจัดการขยะแตกต่างกนั อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 ขอ้ เสนอแนะ ควรใหพ้ นกั งานไดร้ ับความรคู้ าจากดั ความรไี ซเคลิ และความรู้ในการเลอื ก ซื้อสินคา้ ท่มี ปี รมิ าณขยะน้อย วิชชุ หวลประไพ (2552, บทคัดย่อ) ได้ศกึ ษาวจิ ัยเรื่อง ความคดิ เห็นและพฤติกรรมของ ประชาชนเรอ่ื งการจัดการขยะ ในเขตพื้นท่ีองค์การบริหารสว่ นตาบลหนองบอนแดง กลมุ่ ตัวอยา่ ง ประชาชนในในเขตพืน้ ที่องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองบอนแดง จานวน 328 คน สถิตทิ ใี่ ชใ้ นการ วจิ ยั ประกอบด้วยค่าความถ่ี (Frequencies) คา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลย่ี ( X ) สว่ นเบย่ี งเบน มาตรฐาน (S.D.) ผลการศกึ ษาพบว่า ความคดิ เห็นของประชาชนในเขตพื้นทอ่ี งคก์ ารบริหารสว่ น ตาบลหนองบอนแดงต่อเตาเผาขยะ ในภาพรวมพบวา่ ประชาชนมีความคิดเห็นต่อเตาเผาขยะอยใู่ น ระดบั เห็นดว้ ยค่อนขา้ งมากเหน็ ว่า เตาเผาขยะมขี อ้ เสียมากกวา่ ข้อดี เปน็ ลาดบั ที่ 1 รองลงมาเห็นว่า ควันของเตาเผาขยะส่งกล่นิ และควนั ทีม่ พี ษิ ออกมา และพฤตกิ รรมการคดั แยกขยะของประชาชนใน เขตพนื้ ที่องคก์ ารบริหารส่วนตาบลหนองบอนแดง ในภาพรวมพบว่า ประชาชนมพี ฤติกรรม การคัดแยกขยะอย่ใู นระดับค่อยขา้ งไม่ดี คอื การแนะนาหรอื บอกคนในบา้ นวา่ ฝาจบี หรอื ท่ีเปิดฝา กระป๋องน้าอดั ลมสามารถ หลอมใหมแ่ ล้วนามาใชท้ าเปน็ ขาเทียมหรือไมเ้ ทา้ สาหรับผู้ป่วยได้ เป็น ลาดับที่ 1 รองลงมา คอื ทุกวันนที้ ่ีบ้านไมไ่ ด้ทาการคดั แยกขยะตามลาดบั เมื่อเปรียบเทียบพฤติกรรม การคัดแยกขยะของประชาชนในเขตพ้ืนท่ีองคก์ ารบริหารส่วนตาบลหนองบอนแดง พบวา่ ประชาชน มอี ายแุ ตกตา่ งกนั มพี ฤติกรรมในการคัดแยกขยะแตกต่างกัน อย่างมีนยั สาคญั ทางสถติ ิท่ีระดับ .05 และ ประชาชนมีอาชีพแตกต่างกันมพี ฤตกิ รรมในการคัดแยกขยะแตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 ซง่ึ ผ้ศู ึกษาไดใ้ ห้ขอ้ เสนอแนะในเร่ืองการประชาสมั พนั ธ์ใหป้ ระชาชน เขา้ มามีส่วนร่วม แสดงความคดิ เห็นต่อการบริหารจัดการขยะ และให้ องค์การบริหารสว่ นตาบลหนองบอนแดง ดาเนนิ การศกึ ษาวจิ ัยเชงิ คณุ ภาพเพิม่ เติมเพ่ือรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของประชาชนในชมุ ชนเพ่ือเป็น ประโยชนต์ ่อความตอ้ งการ และการบริหารจดั การขยะในชมุ ชนตอ่ ไป ดิศพงษ์ บญุ ญาผลา (2552, บทคัดย่อ) ไดศ้ กึ ษาวจิ ัยเรื่อง ความรู้และพฤติกรรมเก่ยี วกบั การจดั การขยะของประชาชนในเทศบาลเมอื งตราด จงั หวดั ตราด กลุม่ ตวั อย่างท้งั หมด 387 คน ดาเนินการวิเคราะห์ข้อมลู โดยใช้โปรแกรมสาเรจ็ รปู ในการคานวณหาคา่ ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ยี (Mean) สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์เปรยี บเทยี บโดยใช้ สถติ ิ t - test และ One - way ANOVA จากการศกึ ษาพบวา่ ประชาชนสว่ นใหญ่ เปน็ เพศชายมีอายุ 31 - 40 ปี การศกึ ษาอยูใ่ นระดบั ปริญญาตรี ประกอบอาชีพเปน็ พนกั งานเอกชน มีรายได้ 5,000 - 10,000 บาท และมรี ายจา่ ยน้อยกว่า 5,000 บาท ซึง่ เม่อื พิจารณาในดา้ นความรู้เกยี่ วกบั การ

38 จัดการขยะ พบวา่ ผ้ตู อบแบบสอบถามส่วนใหญม่ ีความรู้เก่ยี วกบั วธิ ีการ Repair (การซ่อมแซม ใช้ใหม่) มากที่สดุ ผลทดสอบสมมตฐิ านการเปรยี บเทยี บความแตกตา่ งระหว่างปจั จัยสว่ นบุคคลกับ พฤตกิ รรมการเก่ียวกับการจัดการขยะ พบว่า ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองตราด จงั หวัดตราด ทม่ี ี ปัจจัยสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ การศกึ ษา อาชีพ รายได้ แตกต่างกันจะมีพฤตกิ รรมเก่ียวกับการ จดั การขยะ (ดา้ นการนากลับมาใช้ใหม่) และ (ด้านการซ่อมแซมใหม่) แตกตา่ งกันที่ระดบั นยั สาคัญ ทางสถติ ิ .05 ซง่ึ เป็นไปตามสมมตฐิ าน เกษรา สร้างสขุ ดี (2552, บทคดั ย่อ) ไดศ้ ึกษาวิจยั เรื่อง การมสี ่วนร่วมในการจัดการขยะ มูลฝอยของผอู้ าศัยในมณฑลทหารบกท่ี 14 จงั หวัดชลบุรี กลุม่ ตัวอย่างทไี่ ด้ศึกษา คือผู้อาศยั ในมณฑล ทหารบกท่ี 14 จงั หวัดชลบรุ ี จานวน 282 คน เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจยั ครัง้ นี้ คอื แบบสอบถาม การวิเคราะห์ขอ้ มลู ใช้คา่ สถติ ิค่าเฉล่ยี สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน t - test และ One - way ANOVA ผลจากการศึกษาพบว่า การมสี ว่ นรว่ มในการจัดการมูลฝอยของผ้อู าศยั ในมณฑลทหารบกท่ี 14 จงั หวัดชลบรุ ี ในดา้ นการวางแผนอย่ใู นระดับน้อย ในดา้ นการปฏิบตั ิ ดา้ นการรับผลประโยชน์ และ ด้านการประเมินผล อยใู่ นระดับมาก และพบว่า ผอู้ าศัยในมณฑลทหารบกที่ 14 ทีม่ ีความรู้เกยี่ วกบั การจดั การขยะมลู ฝอยอยู่ในระดับดี เนือ่ งจากหนว่ ยงานมณฑลทหารบกท่ี 14 ไดม้ กี ารจดั อบรมให้ ความรู้ในเรื่องการจัดการมูลฝอยอีกทง้ั มนี โยบายท่ชี ัดเจนเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร สว่ นปจั จัยส่วนบุคคล เพศ อายุ รายได้ ระดบั การศึกษา ระยะเวลาทพี่ กั อาศัย และอาชพี ของ ผู้อาศัยในมณฑลทหารบกท่ี 14 เพศกับการส่วนรว่ มในการจัดการมูลฝอยด้านการวางแผนดา้ นการปฏบิ ัติ ด้านการรบั ผลประโยชน์ และดา้ นการประเมินผลไม่แตกต่างกันและระดบั ความรูใ้ นการจัดการมลู ฝอยของผูอ้ าศยั อยูใ่ นมณฑล ทหารบกที่ 14 กับการสว่ นรว่ มในการจัดการมลู ฝอยด้านการปฏบิ ตั ิ ดา้ นการรบั ผลประโยชน์ และ ดา้ นการประเมินผลไมแ่ ตกต่างกนั แต่ระดับความรู้แตกตา่ งกนั กบั การมีสว่ นร่วมในการจดั การ มลู ฝอยด้านการวางแผน อยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 โดยผ้อู าศยั ในมณฑลทหารบกท่ี 14 ทม่ี ี ระดับความรูเ้ กยี่ วกบั ด้านการวางแผนอยใู่ นระดบั ดี มีส่วนรว่ มในการวางแผนนอ้ ยกว่าผอู้ าศัยอยู่ใน มณฑลทหารบกที่ 14 ท่ีมรี ะดับความรปู้ านกลาง ส่วนการมีส่วนร่วมดา้ นการปฏิบตั ิ ด้านการรบั ผลประโยชน์และด้านการประเมนิ ผลไม่แตกตา่ งกนั อรนิภา บุดทะสุ (2552, บทคัดยอ่ ) ได้ศกึ ษาวิจัยเร่ือง ความรแู้ ละความพงึ พอใจของ ประชาชนต่อการกาจัดขยะมลู ฝอยของเทศบาลตาบลเกาะขวาง อาเภอเมือง จังหวัดจันทบรุ ี กลมุ่ ตวั อย่างไดแ้ ก่ ประชาชนในเทศบาลตาบลเกาะขวาง อาเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี จานวน 381 ตัวอยา่ ง สถติ ทิ ี่ใช้ในการวิจยั ไดแ้ ก่ ค่าความถี่ (Frequency) คา่ รอ้ ยละ(Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และทดสอบความแตกตา่ งโดยใช้ คา่ สถติ ิ t - test, F - test และ One - way ANOVA ผลการศกึ ษา พบวา่ กลุม่ ตัวอย่างส่วนใหญม่ คี วามรู้

39 และความพึงพอใจของประชาชนต่อการกาจดั ขยะมลู ฝอยของเทศบาลตาบลเกาะขวาง อาเภอเมือง จังหวดั จันทบรุ ี เรื่องการกาจัดขยะอย่ใู นระดบั น้อยร้อยละ 45.40 รองลงมาคือ มีความรู้อยู่ในระดับ ปานกลาง รอ้ ยละ 34.65 และมคี วามร้อู ย่ใู นระดับดี ร้อยละ 19.95 การศึกษาความพึงพอใจตอ่ การ กาจดั ขยะ พบวา่ ประชาชนมีความพึงพอใจในด้านการบคุ ลากรมากท่ีสดุ และมคี วามพงึ พอใจในด้าน สถานท่จี ดั วางถงั ขยะและท่ตี ้ังศูนย์กาจดั ขยะนอ้ ยท่ีสุด ส่วนประชาชนทีม่ ี เพศ สถานภาพสมรส ระดบั การศกึ ษาทแ่ี ตกตา่ งกนั จะมคี วามพงึ พอใจต่อการกาจดั ขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลเกาะขวาง อาเภอเมือง จงั หวัดจันทบุรี ไม่แตกตา่ งกนั แตป่ ระชาชนท่ีมีอายุ อาชพี และความรทู้ ีแ่ ตกต่างจะมี ความพงึ พอใจต่อการกาจัดขยะมูลฝอยของเทศบาลตาบลเกาะขวาง อาเภอเมือง จงั หวัดจันทบุรี แตกตา่ งกัน อย่างมนี ัยสาคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดับ .05 ซงึ่ ผ้วู จิ ยั มขี อ้ เสนอแนะให้ทางเทศบาลตาบล เกาะขวาง อาเภอเมือง จังหวัดจันทบุรี ส่งเสริมให้มีการสอน และฝึกอบรมในเร่ืองวินัยการกาจัดขยะ การจัดการขยะ และการคดั แยกขยะทถ่ี กู ต้องใหแ้ ก่ประชาชนและจดั ทาผงั เมืองเพื่อเตรียมพ้นื ท่ไี ว้ สร้างสถานที่กาจัดขยะมลู ฝอย ซ่งึ อย่างน้อยต้องเพยี งพอรองรบั การกาจดั ขยะในอกี 5 - 10 ปีขา้ งหน้า รวมถงึ การสง่ เสริมการพัฒนาระบบกาจดั ขยะจากชุมชน ขยะอนั ตรายจากภาคอุตสาหกรรม ขยะติดเชอื้ ใหไ้ ดม้ าตรฐาน อนนั ต์ ศริ พิ งศว์ ัฒนา (2552, บทคัดยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวจิ ัยเรื่อง ความรู้และพฤติกรรมการจัดการ ขยะในครวั เรือนของประชาชนในเขตองค์การบรหิ ารสว่ นตาบลหนองไผ่แกว้ อาเภอบา้ นบงึ จงั หวัด ชลบรุ ี กลุม่ ตัวอยา่ ง ได้แก่ ประชาชนในเขตองคก์ ารบริหารสว่ นตาบลหนองไผ่แกว้ จานวน 380 คน สถติ ทิ ใี่ ช้ในการวจิ ยั ได้แก่ ค่าความถี่ คา่ สถิตริ อ้ ยละ ค่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ทดสอบความ แตกตา่ งโดยใชค้ ่าสถิติ t - test และ One - way ANOVA และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี LSD ผลการวจิ ัยพบวา่ ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถามทเี่ ป็นกล่มุ ตวั อย่างของการวจิ ัยสว่ นมากเป็น เพศหญงิ มีอายรุ ะหวา่ ง 21 - 35 ปี มสี ถานภาพเปน็ สมาชิกในครอบครวั จบการศึกษาระดบั ปริญญาตรี ประกอบอาชีพรบั ราชการ มีรายได้ของครอบครัวเฉลยี่ ตอ่ เดอื น ระหวา่ ง 5,001 - 10,000 บาท มี ระยะเวลาท่พี กั อาศัยอยู่ในบา้ น 20 ปขี ึ้นไป และส่วนใหญ่ได้รับขา่ วสารเกย่ี วกับขยะมลู ฝอยจาก เอกสาร/ วารสาร/ ภาครฐั และพบวา่ ในดา้ นความรู้ เก่ียวกบั การจดั การขยะในครัวเรือน ผลการ ทดสอบสมมตฐิ าน พบวา่ ประชาชนทมี่ เี พศ อายุ ระดับการศกึ ษา อาชีพ รายได้ของครอบครัว ระยะเวลาในการอยอู่ าศยั และการไดร้ บั ข้อมลู ขา่ วสารต่างกนั มีความรเู้ ก่ยี วกับการจัดการขยะใน ครัวเรือนแตกตา่ งกัน ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามรู้เรอื่ งการนาเคร่ืองใช้ตา่ ง ๆ ที่ชารุดมาซ่อมใช้ กอ่ นทีจ่ ะท้งิ ชว่ ยลดขยะได้มากกวา่ ความรเู้ รือ่ งอนื่ และคาถามทมี่ ผี ้ตู อบถกู นอ้ ยท่ีสุดคือ ผลติ ภัณฑ์ ขนาดใหญ่ก่อให้เกิดขยะได้มากกว่าขนาดเล็ก และในดา้ นพฤติกรรมการจัดการขยะมลู ในครวั เรือน ผลการทดสอบสมมตฐิ าน พบว่า ประชาชนทมี่ ีเ่ พศ อายุ ระดบั การศกึ ษา อาชพี รายได้ของครอบครัว

40 ระยะเวลาในการอยู่อาศยั และการได้รบั ข้อมลู ขา่ วสารตา่ งกันมพี ฤติกรรมการจดั การขยะในครัวเรือน แตกตา่ งกัน และพบวา่ ผู้ตอบแบบสอบถามมพี ฤตกิ รรมการจัดการขยะในครัวเรือนในภาพรวมอยใู่ น ระดับค่อนข้างดี เม่ือพจิ ารณาเป็นรายข้อ ทกุ ข้ออยูใ่ นเกณฑ์คอ่ นขา้ งดแี ละพอใช้ ยกเว้น พฤตกิ รรม ท่านซอ้ื ผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่เพอ่ื ลดปริมาณขยะ อยู่ในเกณฑค์ วรปรับปรุง กรอบแนวคิดในการวจิ ยั จากแนวคดิ และทฤษฎที ง้ั หมด ผู้ศกึ ษาวิจัยจงึ นาแนวคิดทฤษฎแี ละงานวิจัยทีเ่ ก่ียวข้อง ของ พฤตกิ รรมการจัดการขยะในครวั เรือนของประชาชนในเขตพ้ืนท่ีเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง อาเภอ เกาะช้าง จงั หวัดตราด โดยพฤตกิ รรมในการจัดการขยะในครัวเรือนแบ่งเป็นการลด การคดั แยก การกาจดั ไดด้ งั นี้ พฤติกรรมในการจดั การขยะ พฤติกรรมการจดั การขยะมลู ฝอยของ ประชาชนในเขตเทศบาลตาบลเกาะชา้ ง ในครวั เรือน 1. การลดปรมิ าณขยะจากแหลง่ กาเนิด อาเภอเกาะช้าง จังหวัดตราด 2. การคัดแยกขยะในครัวเรือน 3. การกาจดั ขยะจากครวั เรือน (อดิศกั ดิ์ โรจนาพงษ์, 2551, หน้า 43) ภาพท่ี 4 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook