Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Parts of Speech

Parts of Speech

Published by meard.prapa, 2021-10-03 07:58:05

Description: Parts of Speech

Search

Read the Text Version

E-Book PPaarrttss ooff SSppeeeecchh

Parts of Speech? Parts of Speech (ชนิดของคำ) Parts (แปลว่า ส่วน) และ Speech (แปลว่า การพูด หรือ คำ บรรยาย) ดังนั้น Parts of Speech หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ของการพูด หรือการเขียนในภาษาอังกฤษ ซึ่งนั่นก็คือ ชนิดของคำในภาษา อังกฤษนั่นเอง ทั้งนี้ ชนิดของคำในภาษาอังกฤษตามหลักไวยากรณ์ มีอยู่ 8 ชนิด ได้แก่ 1. NOUN 2. PRONOUNS คำนาม คือ คำที่ใช้ คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม (Nouns) เรียกคน สัตว์ สิ่งของ เช่น I (ฉัน), You (คุณ), They (พวกเขา) สถานที่ รวมทั้ง คุณสมบัติหรือคุณค่า ต่าง ๆ 4. ADJECTIVES 5. ADVERBS คำกริยาวิเศษณ์ คือ คำที่ใช้ 3. VERB ขยายคำกริยา (verbs) คำ คุณศัพท์(adjectives)หรือ คำกริยา คือ คำที่ คำคุณศัพท์ คือ คำที่บ่งบอก คำกริยาวิเศษณ์ (adverb) มัก บ่งบอกถึงการกระ ถึงคุณลักษณะและใช้ขยาย เป็นคำที่ลงท้ายด้วย -ly ทำ หรือการแสดง อาการ เช่น laugh คำนาม (Noun) หรือ คำ สรรพนาม (Pronouns) ซึ่ง (หัวเราะ), run (วิ่ง), watch (ดู) เป็นคำที่เกี่ยวข้องกับ คุณสมบัติ สภาพ สี อายุ หรือ 8 INTERJECTIONS สัญชาติ เป็นต้น 6. PREPOSITIONS คำอุทาน คือ คำที่ 7 . CONJUNCTIONS ใช้เปล่งออกมาเพื่อ คำบุพบท คือ คำที่ใช้เชื่อมคำนาม คำสันธาน คือ คำที่ใช้เชื่อมคำ แสดงอารมณ์ หรือ และคำสรรพนามเข้ากับคำอื่น ๆ กลุ่มคำ หรือประโยค ความรู้สึกต่าง ๆ ในประโยค มักเป็นคำแสดงเวลา เข้าด้วยกัน สถานที่ ทิศทาง หรือวิธีการ

NOUN คำนาม คือ คำที่ใช้แทน ชื่อคน, สัตว์, สิ่งของ, สถานที่, ความรู้สึก, แนวคิด,และลักษณะกลุ่มก้อน เช่น คน/สัตว์ : teacher, engineer, doctor, Josh, Lisa, puppy, dolphin, butterfly สิ่งของ : photograph, refrigerator, hankie, bookshelf, notebook, honey, banana สถานที่ : gallery, public library, playground, forest, mountain, Bangkok, London แนวคิด/ความรู้สึก : pleasure, sadness, faith, confidence, pain, anger, love ลักษณะ (เป็นชิ้น อัน กลุ่ม ก้อน) : piece, pile, flock, heap, pack, slide, army, unit, bunch หน้าที่ของ Noun (คำนาม) 1. เป็นประธาน (ชอบอยู่หน้าคำกริยา) เช่น Jane is a wonderful person. 2. เป็นกรรมของกริยา คือ เป็นคนโดนกระทำ (ชอบอยู่หลังคำกริยา) เช่น You stole my heart. 3. เป็นส่วนเติมเต็ม ถ้าไม่เติมประโยคจะมีความหมายไม่สมบูรณ์ (ชอบอยู่ หลังคำกริยา) เช่น This is a book. 4. เป็นกรรมของบุพบท เอาไว้เชื่อมกับคำบุพบท (ชอบอยู่หลังคำบุพบท) เช่น Keys are on the table.

NOUN คำนาม COMMON NOUN PROPER NOUN CONCRETE NOUN นามทั่วไป/ นามเฉพาะ/ นามรูปธรรม สามาน ยนาม วิสามานยนาม ใช้เรียกเจาะจง พูดถึง แล้วรู้เลยว่าคือใคร มีรูปร่าง รับรู้ได้ด้วย ใช้เรียกรวม ๆ สิ่ง อะไร หรือที่ไหน ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ต่าง ๆ ทั่วไป ไม่ ตา หู จมูก ปาก มือ ** Proper noun จะขึ้นต้นคำด้วยตัว เจาะจง พิมพ์ใหญ่เสมอ ** MATERIAL NOUN ABSTRACT NOUN วัตถุ นาม COLLECTIVE NOUN นามนามธรรม สมุหนาม มีลักษณะเป็นกลุ่ม ก้อนที่นับไม่ได้ ให้จำ ใช้เพื่อบอกถึงความ ว่าไม่สามารถนับได้ถ้า เป็น หมู่คณะ ฝูง ไม่มีเครื่องมือมาช่วย ไม่มีรูปร่าง ไม่สามารถ กลุ่ม ก้อน รับรู้ได้ด้วยประสาท พวกพ้อง วัด ชั่ง ตวง นับ สัมผัส COUNTABLE NOUN UNCOUNTABLE NOUN นามนับได้ นามนับไม่ได้ สามารถนับจำนวน ได้ จึงมีทัง้ รูป เอกพจน์และ พหูพจน์ ไม่สามารถนับจำนวน ได้ จึงมีแค่รูปเอกพจน์ เท่านั้น

Pronoun คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนาม เพื่อหลีกเลี่ยงการกล่าวถึง ซ้ำซาก หรือ แทนสิ่งที่รู้กันอยู่แล้ว หรือ แทนสิ่งของที่ ยังไม่รู้ ไม่แน่ใจว่าคืออะไร หน้าที่ของ Pronoun (คำสรรพนาม) “ทำทุกอย่างได้เหมือนคำนาม แบ่งตามประเภทอีกทีหนึ่ง” ตัวอย่าง เช่น เป็นประธาน (อยู่หน้าคำกริยา) เช่น She is a wonderful person. เป็นกรรมของกริยา คือ เป็นคนโดนกระทำ (อยู่หลัง คำกริยา) เช่น Joe will take care of himself. เป็นกรรมของบุพบท เอาไว้เชื่อมกับคำบุพบท (อยู่ หลังคำบุพบท) เช่น Rosy talks with me about her friends.

Pronoun คำสรรพนาม Personal Pronoun (บุรุษสรรพนาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนนามบุรุษที่ 1 (ผู้พูด) นามบุรุษที่ 2 นามบุรุษที่ 3 (ผู้ที่ถูกกล่าวถึง อาจเป็นคน สัตว์ สิ่งของ) I, you, he, she, it, we, they, me, him, her, us, them Possessive Pronoun (สรรพนามเจ้าของ) คือ ใช้เป็นคำนามเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ อยู่คนเดียวได้ เลยไม่ต้องพึ่งใคร mine, yours, ours, theirs, his, hers, its Reflexive Pronouns ( สรรพนามตนเอง ) คือ คำสรรพนามที่ใช้บอกการกระทำว่าทำเอง หรือทำเพื่อตัวเอง myself, yourself, ourselves, themselves, himself, herself, itself Definite Pronoun ( สรรพนามเจาะจง) คือ คำสรรพนามที่ชี้เฉพาะเจาะจง this, that, these, those

Pronoun คำสรรพนาม Indefinite Pronoun (สรรพนามไม่เจาะจง) คือ คำสรรพนามที่พูดถึงโดยรวม ไม่เจาะจง everyone, everybody, everything, everywhere someone, somebody, something, somewhere anyone, anybody, anything, anywhere, no one, nobody, etc. Interrogative Pronoun (สรรพนามคำถาม) คือ คำสรรพนามที่ใช้เป็นคำถาม who, whom, whose, what, which, Whoever, Whomever, Whatever, Whichever Relative pronoun (สรรพนามเชื่อมความ) คือ คำสรรพนามที่ช้เชื่อมคำ หรือ ประโยคข้างหน้าและข้าง หลังเข้าด้วยกัน Who = ผู้ซึ่ง/คนที่ ใช้กับสิ่งมีชีวิต Whom = ผู้ซึ่ง/คนที่ ใช้กับคน (ทำหน้าที่เป็นกรรม มักใช้ในภาษาที่เป็นทางการ) Whose = เป็นของ ใช้แสดงความเป็นเจ้าของ Which = อันไหน คนไหน ชิ้นไหน ใช้กับสัตว์และสิ่งของ That = ซึ่ง/ที่ ใช้กับคน สัตว์ สิ่งของ (มักใช้ในภาษาที่ไม่เป็นทางการ) Where = ที่ ใช้กับสถานที่ When = ตอน/เมื่อ ใช้กับเวลา Why = ทำไม ใช้กับเหตุผล What = สิ่งที่/อะไรที่ ใช้กับสิ่งต่าง ๆตัวอย่างประโยค

Verb คำกริยา คือ คำที่โดยหลักแล้วจะทำหน้าที่แสดงถึงการกระทำ ต่าง ๆ ในประโยค แต่ยังมีหน้าที่อีกมากมาย แบ่งตาม ชนิดของคำกริยาอีก โดยสามารถแบ่งคำกริยาใน ภาษาอังกฤษได้ 4 ประเภท ได้แก่ 1 สกรรมกริยา (Transitive verb) 2 อกรรมกริยา (Intransitive verb) คือ คำกริยาที่มีความหมายสมบูรณ์ใน คือ คำกริยาที่ไม่มีความหมายสมบูรณ์ ตัวเอง ไม่จำเป็นต้องมีกรรม (Object) ในตัวเอง ต้องมีกรรม (Object) มารองรับ มารองรับ The rain falls. I saw a ghost. 3 กริยาแท้ (Finite verb) 4 กริยาไม่แท้ (Non-Finite verb) คือ กริยาที่แสดงการกระทำหรือ คือ ไม่ได้ทำหน้าที่เป็นคำกริยา ไม่ ลักษณะอาการของประธาน (Subject) เปลี่ยนรูปเลย ไม่ว่าอยู่ส่วนไหนของ คู่ไปกับกาลเวลา (Tenses) ประโยค ก็จะใช้รูปนั้นตลอด กริยาแท้ (finite verb) แบ่งย่อยออกเป็น กริยาไม่แท้ (Non-Finite verb) แบ่งย่อยออกเป็น กริยาหลัก (Main Verb) มีแค่หนึ่งตัว Gerunds คือ V.ing ที่ทำหน้าที่เป็นคำนาม Infinitives คือ รากของคำกริยา แยกเป็นใช้ เท่านั้นในประโยค ต้องหาให้เจอ กริยาช่วย (Helping or Auxiliary Verb) คู่กับ to และไม่ใช้ เช่น I want to be / I can be Participles (Present Participle/Past เอาไว้เติมเพื่อช่วยให้ถูกหลัก Tenses กริยาเชื่อม (Linking Verb) เอาไว้เชื่อม Participle) คือ V.ing ที่ทำหน้าที่เป็น Adjective หรือทำหน้าที่เป็นส่วนเติมเต็มใน Tenses ประธาน กับคำนาม หรือคำคุณศัพท์ : appear, be, become, feel, get, grow, look, remain, seem, smell, stay, sound, taste, turn

Adjectives คำคุณศัพท์ มีหน้าที่ ใช้ขยายคำนาม เพื่อช่วยให้เราเห็นภาพ และ เข้าใจคำนามนั้น ๆ มากยิ่งขึ้น ประเภทของ Adjectives (คำคุณศัพท์) 1 Proper Adjective (คุณศัพท์แสดงสัญชาติ) มาจาก Proper Noun และต้องขึ้นต้นด้วยตัวใหญ่เสมอ เช่น 1 Proper Noun : England — Proper Adjective : English 2 Proper Noun : America — Proper Adjective : American 3 Proper Noun : Thailand — Proper Adjective : Thai 2 Descriptive Adjective (คุณศัพท์แสดงคุณสมบัติ ใช้บอกลักษณะ คุณสมบัติ หรือความพิเศษ *ใช้บ่อยที่สุด* เช่น handsome, tall, kind, gentle, happy, efficient, smart, selfish, angry, sad เป็นต้น

Adjectives คำคุณศัพท์ ประเภทของ Adjectives (คำคุณศัพท์) 3 Quantitative Adjective ใช้แสดงปริมาณของนามที่นับไม่ได้ มีมากหรือน้อย แต่ไม่บอก จำนวน เช่น any, much, half, little, some, great, all เป็นต้น 4 Numeral Adjective ใช้บอกจำนวนมาก/น้อยของนามที่นับได้ หรือบอกลำดับก่อนหลัง แบ่งเป็น 2 จำพวก คือ บอกจำนวนที่แน่นอน (Definite Numeral) 1) บอกจำนวนนับ (Cardinal) : one, two, three 2) บอกลำดับที่ (Ordinal) : first, second, third 3) บอกจำนวนเท่า (Multiplicative) : single, double, triple บอกจำนวนที่ไม่แน่นอน (Indefinite Numeral) many, no, few, some, several, any, all, enough

Adjectives คำคุณศัพท์ ประเภทของ Adjectives (คำคุณศัพท์) 5 Demonstrative Adjective ระบุเจาะจงว่าเป็นคำนามอันไหน สิ่งไหน หรือคนใด This ใช้ชี้ของหนึ่งชิ้น ที่อยู่ใกล้ ๆ That ใช้ชี้ของหนึ่งชิ้น ที่อยู่ไกล ๆ These ใช้ชี้ของหลายชิ้น ที่อยู่ใกล้ ๆ Those ใช้ชี้ของหลายชิ้น ที่อยู่ไกล ๆ ***จำไว้ว่า Pronoun = Noun อยู่คนเดียวได ้ แต่ Adjective ต้องพึ่ง Pronoun/Noun เสมอ เช่น This is a book. ������ This book is good. หรือ Are these free? ������ Are these seats free? 6 Distributive Adjective ทำหน้าที่ แยกย่อยคำนาม เช่น Each boy was given a toffee. (each = แต่ละ : ใช้สำหรับมากกว่า 1 สิ่งขึ้นไป) Every book has its own inspiration. (every = ทุก ๆ : ใช้เฉพาะคำนามที่มากกว่า 1 สิ่งขึ้นไป) Either of you can walk me home. (either = อันใดอันหนึ่งใน 2 สิ่ง) Neither of them is good. (neither = ไม่ใช่ทั้ง 2 สิ่ง) Both you and I are fun. (both = ทั้งคู่ ทั้งสอง) I love any dish my mom cooks. (any = สักอย่าง บ้างไหม)

Adjectives คำคุณศัพท์ ประเภทของ Adjectives (คำคุณศัพท์) 7 Possessive Adjective วางไว้หน้านามเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของ อย่าสับสนกับ Possessive Adjective เพราะหน้าตาคล้ายกัน จำไว้ว่า Pronoun = Noun อยู่คนเดียวได้ แต่ Adjective ต้องพึ่ง Pronoun/Noun เสมอ เช่น He is mine. ������ He is my boyfriend. หรือ Is this yours? ������ Is this your book? จะเห็นได้ว่า mine = Possessive Pronoun ส่วน my = Possessive Adjective yours = Possessive Pronoun ส่วน your = Possessive Adjective 8 Interrogative Adjective ขยายคำนามที่อยู่ในคำถามให้ชัดเจนขึ้น Who = ผู้ซึ่ง/คนที่ ใช้กับสิ่งมีชีวิต Whom = ผู้ซึ่ง/คนที่ ใช้กับคน (ทำหน้าที่เป็นกรรม มักใช้ในภาษาที่เป็นทางการ) Whose = เป็นของ ใช้แสดงความเป็นเจ้าของ Which = อันไหน คนไหน ชิ้นไหน ใช้กับสัตว์และสิ่งของ That = ซึ่ง/ที่ ใช้กับคน สัตว์ สิ่งของ (มักใช้ในภาษาที่ไม่เป็นทางการ) Where = ที่ ใช้กับสถานที่ When = ตอน/เมื่อ ใช้กับเวลา Why = ทำไม ใช้กับเหตุผล What = สิ่งที่/อะไรที่ ใช้กับสิ่งต่าง ๆ

Adverbs คำกริยาวิเศษณ์ คือ คำที่โดยหลักแล้วจะทำหน้าที่ขยายคำกริยา แต่ยัง มีหน้าที่อื่น ๆ อีก หน้าที่ทั้งหมด ได้แก่ ขยายคำกริยา บอกให้รู้ว่า ทำที่ไหน ทำเมื่อไหร่ ทำอย่างไร ทำบ่อยแค่ไหน เช่น She came here yesterday. here เป็น adverb บอกให้รู้ว่ามา ที่ไหน yesterday เป็น adverb บอกให้รู้ว่ามา เมื่อไหร่ It walks slowly. slowly เป็น adverb บอกให้รู้ว่าเดิน อย่างไร He always walks to school. always เป็น adverb บอกให้รู้ว่าเดิน บ่อยแค่ไหน ขยายคำคุณศัพท์ และ ขยายกริยาวิเศษณ์เอง บอกให้รู้ว่าอยู่ในระดับไหน หนักเบาแค่ไหน เช่น The fire is very hot. hot เป็น Adjective (คำคุณศัพท์) ขยาย fire ส่วน very เป็น Adverb ขยายคำว่า hot บอกให้รู้ว่า ร้อนแค่ไหน

Adverbs คำกริยาวิเศษณ์ ประเภทของ Adverb (คำกริยาวิเศษณ์) TIME ADVERB PLACE ADVERB MANNER ADVERB “เกิดขึ้นอย่างไร” “เกิดขึ้นเมื่อไหร่ “เกิดขึ้นที่ไหน” fast, well, hard, เกิดขึ้นมานานแค่ไหน inside, outside, here, หรือ เกิดขึ้นหรือยัง” there, somewhere, และคำที่มักจะลงท้ายด้วย nowhere, everywhere, -ly (slowly, quickly, today, yesterday, later, happily) now, last year, yet, all anywhere day, not long, for a while FREQUENCY ADVERB DEGREE ADVERB AND FOCUSING ADVERB “เกิดขึ้นบ่อยแค่ไหน” always, never, แค่ไหน เฉพาะเรื่องอะไร หรือ ระดับไหน ” occasionally, often, rarely, sometimes, too, enough, extremely, hourly, daily, weekly very, so, just, even, mostly, particularly, especially

Prepositions คำบุพบท คือ คำที่เอาไว้หน้า noun หรือ pronoun เพื่อเชื่อม noun หรือ pronoun นั้นกับคำอื่น เช่น about, after, as, at, before, by, for, in, into, of, on, to, with, without ข้อยกเว้นที่ห้ามใช้ prep ! ประโยคแบบที่ 1 ประโยคแบบที่ 2 ประโยคแบบที่ 3 หลังจากคำว่า “go” โดยปกติเราจะใช้ ถ้ากริยาต้องการสื่อ เรามักจะต่อท้ายด้วย on + a day และ ความหมายว่า to + place (สถานที่) in + a month “เข้าไปใน” เรา สามารถใช้ “into” ได้ และสามารถใช้คำว่า “enter” ได้ด้วย ประโยคแบบที่ 4 ประโยคแบบที่ 5 จะไม่ใช้ ไม่ใช้ “of” ในประโยค Preposition “to” ต่อ เดียวกับ “lack” ที่ทำ ท้ายคำว่า “attend” หน้าที่เป็นคำกริยา ซึ่งแปลว่า “ไป” หรือ (Verb) ในประโยค “เข้าร่วม”

Conjunctions คำสันธาน คือ คำที่ทำหน้าที่เชื่อมคำ วลี หรือประโยคเข้าด้วยกัน แบ่งเป็น 3 ชนิดใหญ่ ๆ 1 Coordinating conjunctions 2 Subordinating Conjunctions เอาไว้ใช้เชื่อมประโยคที่มีน้ำหนักเท่ากัน เอาไว้ใช้เชื่อมประโยครองกับประโยคหลัก คำเชื่อมในกลุ่มนี้คือ เข้าด้วยกัน คำเชื่อมที่อยู่ในกลุ่มนี้ คือ ทุก FAN BOYS = for, and, nor, but, or, คำยกเว้น FANBOYS yet, so ประโยคหลัก = ประโยคที่มีความหมาย For – แปลว่า เพราะว่า สมบูรณ์ในตัวเอง อยู่คนเดียวได้ And – แปลว่า และ ประโยครอง = ประโยคที่ไม่มีความหมาย Nor – แปลว่า ไม่ทั้งสอง สมบูรณ์ในตัวเอง อยู่คนเดียวไม่ได้ ต้อง But – แปลว่า แต่ พึ่งประโยคหลักโครงสร้างการใช้ Or – แปลว่า หรือ Subordinating conjunction : Yet – แปลว่า แต่ แบบที่ 1: S + V + SC + S + V So – แปลว่า ดังนั้น แบบที่ 2: SC + S + V, S + V 3 Correlative Conjunctions ใช้เหมือนกันกับ Coordinating Conjunctions แต่คำเชื่อมนี้จะมาเป็นแพ็คคู่ both…and : Michael can both read and write. not only…but also : Not only Mary but also Gabriel is from Italy. either…or : I can have either cola or tea. neither…nor : Neither George nor his brother is very tall. the more…the more : The more you can dream, the more you can do. As…as : He’s not singing as loudly as he can. so…that : My mother speaks so quickly that nobody understands what she says.

Interjections คำอุทาน คือ คำหรือประโยคที่แสดงออกมาทางอารมณ์อย่างฉับพลัน เพื่อ แสดงความรู้สึกที่เกิดขึ้นในขณะนั้น เช่น ดีใจ ตื่นเต้น หรือแม้แต่ ประหลาดใจ เป็นต้น และเมื่อจบคำอุทานแล้วต้องใส่เครื่องหมาย อัศเจรีย์หรือเครื่องหมายตกใจ (Exclamation mark) คือ ‘! ’ ทุกครั้ง บางครั้งคำอุทานเป็นเพียงเสียง หรืออาการต่าง ๆ เช่น อ้าปาก ค้าง ตะโกนออกมาแบบไม่ได้ศัพท์ หรือเป็นสียงและอาการต่าง ๆ ซึ่ง บุคคลนั้น ๆ จะแสดง ออกมา ตัวอย่างคำอุทานโดยทั่ว ๆ ไป เช่น Aha! Ahem! All right! Gadzooks! Gee Whiz! Good! Gosh! Yippee! Hey! Hooray! Indeed! My Goodness! Nuts! Oh no! Oops! Ouch! Whoopee! Wow! Yikes! Yoo-hoo! Yuck! Tut! tut! Pooh! Ugh!

ผู้จัดทำ นางสาวปภาวดี แอบกิ่ง ครูผู้ช่วย โรงเรียนบ้านบะใหญ่ ตำบลอุดมทรัพย์ อำเภอวังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 3

E-Book PPaarrttss ooff SSppeeeecchh


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook