Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์

Published by Guset User, 2021-09-15 08:58:13

Description: ilovepdf_merged (4)

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานการพฒั นาเวป็ ไซตเ์ พื่อใหค้ วามรู้เรือ่ งภาวะโรคซึมเศรา้ เสนอ อาจารย์กนกชล มูลมณี จดั ทำโดย ๑.นายธเนศพล นอ้ ยชาคำ เลขที่ 18 ๒.นางสาวญาณันธร แก่นปรงั่ เลขที่ 34 ๓.นางสาวปฏิมาภรณ์ กลุ สตู ร เลขที่ 37 ๔.นางสาวพัชรนิ ทร์ นามรกั ษา เลขที่ 39 ๕.นางสาววิชิรนิ ทรา กิ่งโด่ เลขที่ 42 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 รายงานนี้เปน็ สว่ นหนึ่งของเทคโนโลยี ตามหลกั สูตรแกนกลางข้นั พื้นฐาน ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนปราจีนกลัยาณี จังหวัดปราจีนบุรี สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 7

ก กิตติกรรมประกาศ โครงงานทางคอมพิวเตอร์เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อให้ความรู้เรื่องภาวะซึมเศร้า ด้วยความ อนุเคราะห์จากอาจารย์ กนกชล มูลมณี ครูที่ปรึกษาโครงงานทางคอมพิวเตอร์ ซึงได้ให้คำแนะนำ ให้ แนวคิด ข้อเสนอแนะ ที่เป็นประโยชน์ ตลอดจนได้ให้คำปรึกษาและแก้ไขข้อบกพร่องอย่างดีตั้งแต่ เริ่มแรกจนบรรลุสำเร็จ ตลอดจนถึงคณะกรรมการในการสอบโครงงานทางคอมพิวเตอร์ทุกท่าน ที่ได้ ให้คำแนะนำปรับปรุงและเอกสารประกอบโครงงานคอมพิวเตอร์ คณะผู้จัดทำขอกราบขอบพระคณุ ใน ความกรุณาในคร้ังนี้ ขอกราบขอบพระคุณคณะอาจารย์ และเพื่อนโรงเรียนปราจีนกัลยาณี จังหวัดปราจีนบุรี และ ทกุ ๆคน ที่ได้ให้คำปรึกษาแนะนำ ในการศกึ ษาค้นคว้าจัดทำโครงงานทางคอมพิวเตอร์ ขอกราบขอบพระคุณคุณพ่อ คุณแม่และครอบครัวที่ให้ความรัก ความอบอุ่น ให้กำลังใจ และ คอยชว่ ยเหลอื และเปน็ แหลง่ ทุนการศกึ ษามาตลอดหลักสูตร สดุ ท้ายนี้หากโครงงานทางคอมพิวเตอรฉ์ บบั นี้มีข้อผดิ พลาดหรือบกพรอ่ งแต่ประการใด คณะ ผู้จัดทำขอเป็นผู้รับผิดชอบและขออภัยเป็นอย่างสูงต่อความผิดพลาดหรือข้อบกพร่องที่เกิดขึ้น และ คณะผู้จัดทำหวังว่าโครงงานทางคอมพิวเตอร์นี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ใช้งานตลอดจนผู้ ที่จะศึกษา โครงงานทางคอมพิวเตอร์เร่ืองการพฒั นาเว็บไซต์เพื่อให้ความรู้เรอ่ื งภาวะซึมเศร้า ตอ่ ไป คณะผู้จดั ทำ นายธเนศพล น้อยชาคำ นางสาวญาณันธร แก่นปรั่ง นางสาวปฏิมาภรณ์ กุลสตู ร นางสาวพัชรินทร์ นามรกั ษา นางสาววิชิรินทรา กิ่งโด่

ข ชือ่ โครงงานคอมพิวเตอร์ : โครงงานทางคอมพิวเตอร์เรือ่ งการพฒั นาเวบ็ ไซต์เพือ่ ให้ความรู้เร่อื ง ภาวะซึมเศรา้ ผู้จัดทำ :นายธเนศพล น้อยชาคำ นางสาวญาณนั ธร แก่นปรั่ง ระดบั ชั้น : นางสาวปฏิมาภรณ์ กลุ สตู ร ครปู รึกษา : นางสาวพัชรินทร์ นามรกั ษา นางสาววิชิรนิ ทรา กิง่ โด่ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4/1 นางกนกชล มูลมณี บทคัดยอ่ ภาวะซึมเศรา้ หมายถึง ภาวะจติ ใจที่แสดงออกถึงความผดิ ปกติของอารมณ์ เช่น อารมณ์เศร้า ไมม่ ีความสขุ เบือ่ หน่าย หดหู่ ท้อแท้ สิน้ หวัง เซือ่ งซึม นอนไม่หลับ เบือ่ อาหาร ขาดสมาธิ วิตกกงั วล มองโลกในแงล่ บ ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพจิตที่สามารถเกิดขึ้นได้กับทกุ คนท้ังคนปกติ ผปู้ ่วย ทางกาย และผปู้ ่วยทางจิตเวช อาจเกิดขึ้นได้ตง้ั แต่ภาวะซึมเศร้าธรรมดาจนถึงภาวะซึมเศร้ารนุ แรง หากไม่ได้รับการรักษาจะป่วยเปน็ โรคซึมเศร้าในที่สุด ซึง่ โรคซึมเศร้าเปน็ ความผิดปกติของจิตใจ โดยมี ภาวะซึมเศรา้ รว่ มกบั ขาดความเคารพตนเอง รวมท้ังมีภาวะส้ินยินดี คอื ไม่มีความพึงพอใจในกิจกรรม ที่โดยปกติเปน็ ทีน่ า่ พงึ พอใจ ซึง่ อาจส่งผลเสียต่อคุณภาพชวี ิตและอาจนำไปส่กู ารฆ่าตัวตายในทีส่ ุด ผปู้ ว่ ยที่มภี าวะซึมเศร้ารุนแรงหรอื เป็นโรคซึมเศร้าและไม่ได้รับการรักษาจะจบชวี ิตด้วยการฆา่ ตัวตาย ซึ่งอาจเป็นเพราะผปู้ ่วยไมท่ ราบว่าตนเองป่วยเปน็ โรคซึมเศร้า และไม่ตระหนักถึงอันตรายทีอ่ าจเกิดข้ึน ความผิดปกติของสารชีวเคมีในสมอง ปัญหาทางดา้ นจิตใจ และปจั จยั ทางสิ่งแวดล้อม จะเห็นได้วา่ สาเหตุของการเกิดภาวะซึมเศร้าเกิดจากปัจจัยภายในและภายนอก ท้ังทีส่ ามารถควบคุมได้และควบคมุ ไม่ได้ ดังนน้ั เราทกุ คน คนในครอบครวั และคนใกล้ชิด ควรเฝ้าระวังและให้ควาสำคญั กบั โรคนมี้ ากๆ หา้ มปล่อยปะละเลยเป็นเดด็ ขาด คอยสังเกตพฤติกรรมและอาการต่างๆ ของผปู้ ่วยอย่างใกล้ชิดหาก พบว่ามีความผดิ ปกติจะได้สามารถเข้ารบั การรกั ษาได้ อยา่ งทันท่วงที เนอ่ื งจากผทู้ ีม่ ภี าวะซึมเศร้าหรอื ปว่ ยเปน็ โรคซึมเศร้าสว่ นใหญ่จะไมร่ ู้ตัวว่ามีภาวะหรอื โรค ดังกลา่ ว ซึง่ จะต้องอาศยั การสงั เกตจากคน ใกล้ชิด อีกทั้งการดำเนินชีวิตของคนในปัจจุบันเปน็ แบบเร่งรบี ตลอดเวลา ตอ้ งตอ่ สู้ดิน้ รนและใช้ชีวิต แบบตัวใครตัวมันมากขึ้น จึงขาดการดแู ลใสใ่ จสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจติ ของตนเองและคนใน ครอบครัว

สารบัญ ค กิตติกรรมประกาศ หน้า บทคดั ยอ่ ก สารบญั ข สารบัญภาพ ค บทที่ 1 บทนำ จ 1 1.1 หลกั การและเหตุผล 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของการศึกษา ๓ 1.3 ประโยชน์ทีไ่ ด้รับจากการศกึ ษา 1.4 ขอบเขตโครงงาน 1.5 นิยามศพั ทเ์ ฉพาะ บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง 2.1 ความสำคัญภาวะโรคซึมเศร้า 2.2 อาการของโรคซึมเศร้า 2.2.1 วยั รุ่นและคนทั่วไป 2.2.2 สตรหี ลังคลอดบตุ ร 2.3 สาเหตุ ของโรคซึมเศร้า 2.3.1 วยั รนุ่ และคนทัว่ ไป 2.3.2 สตรีหลังคลอดบุตร 2.4 การรักษา 2.4.1 วัยรนุ่ และคนท่ัวไป 2.4.2 สตรีหลังคลอดบตุ ร 2.5 การป้องกัน 2.5.1 วยั รุน่ และคนทั่วไป 2.5.2 สตรีหลังคลอดบุตร

บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ ง 3.1 วัสดุอปุ กรณ์ 3.2 ขั้นตอนการดำเนินการ ๑๕ บทที่ 4 ผลการศกึ ษา ๑๗ 4.1 ผลการดำเนินงานโครงงาน ๑๘ บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินโครงงานและข้อเสนอแนะ ๒๐ 5.1 สรปุ ผล ๒๑ 5.2 อภปิ รายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ บรรณานกุ รม ภาคผนวก

สารบัญภาพ จ ภาพที่ หน้า ๑๕ ภาพ 1 จัดสร้างเพจ Facebook ๑๖ ภาพ ๒ ประชาสัมพันธเ์ พจและให้ความรู้ ๑๗ ภาพ ๓ ลงแบบทดสอบการเปน็ ภาวะโรคซึมเศร้า

๑ บทที่ 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล เนื่องจากในปจั จบุ นั สงั คมไทยเกิดปัญหาภาวะโรคซึมเศรา้ เกิดขึน้ ทั้งกับเดก็ เยาวชน วยั ร่นุ วัยกลางคน ผู้สูงอายุและโรคซึมเศร้าหลังคลอดบตุ ร สามารถเกิดขึ้นได้ในทุกเพศทกุ วัย ซึ่งโรคนี้ หลายคนอาจจะมองวา่ เป็นโรคที่เรยี กร้องความสนใจแต่ในทีจ่ ริงแล้วโรคนีเ้ ปน็ โรคที่อนั ตรายมากใน สังคม ไมค่ วรปล่อยละเลย ถ้าทุกคนไม่ชว่ ยกนั อาจจะเกิดเรื่องราวทีส่ ะเทือนใจและคาดไมถ่ ึงได้ อีกทั้ง บางท่าน บางครอบครวั ยังไม่ทราบเลยด้วยซ้ำว่าคนใกล้ตัวของท่านกำลังเป็นโรคซึมเศรา้ อยู่ ท้ังยังไม่รู้ วิธีรบั มือ วิธีการชว่ ยเหลือ การให้กำลงั ใจ ควรจะทำอยา่ งไร โดยปกติผทู้ ีเ่ ปน็ โรคซึมเศร้ามักจะเกบ็ ตวั ไมค่ ่อยมีใครรบั รู้ ปัญหาหลักๆกค็ ือ ปัญหาทีต่ นเองนั้นไมส่ ามารถแก้ไขปญั หาได้ หรอื เกิดปญั หาจาก ครอบครัว การเงิน และสภาวะความเครียดต่างๆ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการศกึ ษา 1.2.1 เพื่อเพื่อให้ทกุ คนในสงั คม ได้เข้าใจภาวะโรคซึมเศร้า คอยสังเกตคนรอบข้างหรอื ตวั เอง วิธีการปฏิบัติตวั เมื่อมีคนรอบข้างเปน็ โรคซึมเศร้า 1.2.2 เพื่อให้เปน็ ความรู้ กับนกั เรียนและผทู้ ี่กำลงั ศกึ ษาเรื่องนอี้ ยู่ 1.2.3 เพื่อใหก้ ำลังใจคนที่เปน็ โรคซึมเศร้า ไม่ให้เขารู้สึกว่าตนเองโดดเดี่ยวหรอื อยคู่ นเดียวใน โลก 1.3 ประโยชน์ทีไ่ ดร้ บั จากการศกึ ษา 1.3.1 ทุกคนมคี วามเข้าใจเกีย่ วกับภาวะซึมเศร้าและสามารถนำไปปฏิบตั ิในชีวติ ประจำวนั ได้ 1.3.2 ผทู้ ี่เปน็ ภาวะซึมเศร้ามีกำลังใจในการใช้ชีวติ ไม่คิดวา่ ตนเองอยบู่ นโลกคนเดียว

๒ 1.4 ขอบเขตโครงงาน 1.เยาวชนและวยั รุ่น 2.ประชาชนทั่วไป 1.5 นิยามศพั ท์ โรคซึมเศร้า หมายถึงโรคซึมเศรา้ คือความผดิ ปกติของการหล่ังสารเคมีในสมองส่งผลใหเ้ กิด ความผิดปกติทางอารมณ์ ทำให้พฤติกรรมของผปู้ ว่ ยเปลีย่ นไปจนสง่ ผลกระทบต่อการใชช้ ีวิตประจำวัน กลายเปน็ คนมองโลกในแงล่ บ เศรา้ หมน่ หมอง หดหู่ เกบ็ เนือ้ เกบ็ ตัว รสู้ ึกเบือ่ หนา่ ยกบั สิง่ ที่เคยสนุก หรอื สบายใจไม่มีความสขุ ซึ่งคนไทยเปน็ โรคซึมเศร้าถึง 1.5 ล้านคน แต่ได้รับการรักษาแค่ครึง่ หนึง่ เทา่ น้ัน การฆ่าตัวตาย หมายถึงการฆ่าตวั ตาย (Suicide) คือการกระทำทีท่ ำให้ตนเองเสียชวี ิตโดย เจตนา สำหรบั มนษุ ยอ์ าจเกิดมาจากภาวะความเสียใจอยา่ งมาก

๓ บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีทเ่ี กีย่ วข้อง ในการพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์ ให้แก่เยาวชน วัยรุ่นและ ประชาชนทั่วไป ผู้ดำเนินโครงการได้รวบรวมเอกสาร ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแยกตาม หัวข้อตอ่ ไปนี้ 2.1 ความสำคัญภาวะโรคซึมเศร้า 2.2 อาการของโรคซึมเศร้า 2.2.1 วยั รุ่นและคนทว่ั ไป 2.2.2 สตรหี ลังคลอดบุตร 2.3 สาเหตุ ของโรคซึมเศร้า 2.3.1 วัยร่นุ และคนทวั่ ไป 2.3.2 สตรหี ลงั คลอดบุตร 2.4 การรักษา 2.4.1 วยั รุ่นและคนท่วั ไป 2.4.2 สตรีหลงั คลอดบุตร 2.5 การป้องกนั 2.5.1 วยั รุ่นและคนทัว่ ไป 2.5.2 สตรหี ลังคลอดบตุ ร 2.1 ความสำคัญภาวะโรคซึมเศรา้ Emotion คือ ความรสู้ ึกที่มคี วามซับซ้อนได้รบั อิทธิพลจากจิตใจ ร่างกาย และพฤติกรรม Mood คือ สว่ นของ emotion ซึง่ เปน็ ความรู้สกึ ที่อยู่ภายในและคงอยนู่ าน ถ้ามีความผิดปกติ รนุ แรงอาจส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมทุกด้าน รวมทั้งการรับรู้โรคภายนอก Affect หมายถึง ลกั ษณะอารมณ์ที่แสดงใหเ้ หน็ ภายนอก บอกถึงระดับความรู้สกึ ภายในและ บอกสภาวะอารมณ์ของบคุ คลนั้นๆ โยทีผ่ ู้อ่นื สามารถสังเกตและประเมินได้ ส่วนใหญ่จะแสดงออกทาง สีหน้า

๔ ความเศร้าปกติ (normal sadness) เปน็ อารมณ์ด้านลบ ซึง่ ทางจิตวทิ ยาถือเป็นสภาวะอารมณท์ ีเ่ กิดข้ึน เป็นครั้งคราวกับบุคคลท่วั ไปทุกเพสทุกวัยเมอ่ื เผชิญกบั การสูญเสีย ผิดหวงั หรอื ความรสู้ ึกอึดอัด ทรมาน ภาวะซึมเศรา้ (depression) ตา่ งจากความเศร้าปกติตรงที่อาจไมไ่ ด้เกิดจากเหตกุ ารณ์จรงิ แต่อาจเกิด จากการคาดการณล์ ว่ งหน้าหรือคิดไปเอง และถ้าเกิดจากเหตกุ ารณ์สญู เสียจรงิ ก็มักจะมอี าการเศร้า มากเกินควรและนานเกินไป ไม่ดีข้ึนแม้ได้รับกำลังใจหรืออธิบายด้วยเหตผุ ล มกั รู้สึกด้อยค่า รู้สกึ ผิด อยากตาย และพบบ่อยว่ามีผลกระทบต่อหน้าที่การงาน กิจวัตรประจำวนั และการสงั คมทว่ั ไป ในรายที่ รนุ แรงก็จะมีอาการทางกายด้วย เชน่ มีความผดิ ปกติของการนอน (นอนมากเกินไปหรอื นอนไม่หลบั ) เบือ่ อาหาร น้ำหนักลด หรอื อยากอาหารมากขึ้น น้ำหนักเพิม่ ข้ึน โรคซึมเศร้า (depressive disorder) เปน็ โรคทางจิตเวชชนิดหนึ่งทีพ่ บได้บ่อยและเป็นปญั หาดา้ น สาธารณสขุ ที่สำคญั โรค ที่มีอารมณ์เศร้าเป็นอาการเด่น ดงั น้ันเมือ่ พบผปู้ ่วยมีอารมณ์ซึมเศร้า ให้ ประเมินอาการอ่ืนๆที่พบรว่ ม และจะถือว่าเปน็ โรคซึมเศร้ากต็ ่อเมอ่ื มีอาการครบตามเกณฑ์การ วินจิ ฉยั โรคซึมเศร้า ซึง่ ในปัจจุบนั เกณฑใ์ นการวินิจฉัยที่ใชอ้ ยู่ 2 ระบบ คอื The Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorders 5th edition (DSM-V) และระบบมาตรฐานการจำแนกโรค ระหว่างประเทศขององคก์ ารอนามัยโลก ฉบับที่ 10 (The international Classification of Diseases 10th revision ; ICD-10) โดยในประเทศไทยใช้ท้ัง 2 ระบบ โดยในด้านการเรียนการสอน และการให้การวินิจฉยั โรค จะยึดถือ ตามระบบDSM-V เป็นหลกั เชน่ เดียวกับในสากลนิยม ส่วนในด้านการระบาดวิทยาและการวาง แผนการใชท้ รพั ยากรสาธารณสุข จะใช้การบันทึกรหัสโรคตาม ระบบ ICD-10 ซึ่งในบทความน้ีจะ กล่าวถึงโรคซึมเศร้า ตามระบบ DSM-V และเนื่องจากกลุ่มโรคซึมเศร้า (Depressive disorders) ประกอบด้วยหลายโรคย่อย ที่แตกตา่ งกนั ตามเกณฑ์การวินจิ ฉยั และสาเหตุรวมถึงพยาธิสรีรวิทยาของ การเกิดโรค แต่ในที่น้ีจะขอกล่าวถึงโรคทีพ่ บบอ่ ยในกลุ่มโรคนี้ คอื โรคซึมเศร้า (Major depressive disorder) และ โรคซึมเศร้าเรือ้ รัง (Persistent depressive disorder/dysthymia)

๕ 2.2 อาการของโรคซึมเศร้า 2.2.1 วัยรนุ่ และคนทวั่ ไป 1. ดา้ นร่างกาย วยั รนุ่ ที่มภี าวะซึมเศรา้ จะมีอาการแสดงทางกายหลายประการเช่น เชือ่ งช้าไมส่ นใจตนเอง หรอื หยดุ ทำสิ่งต่างๆ ให้กบั ตนเอง ไม่มีความอยากอาหาร มีความยุ่งยากในการนอน สูญเสียความ ต้องการทางเพศ ออ่ นล้าในบางรายรู้สึกแขนขาไมม่ ีแรงที่จะเคลือ่ นไหวและไม่ปรารถนาทีจ่ ะทำสิ่งใดๆ 2. ด้านความคิด วัยรนุ่ ทีม่ ภี าวะซึมเศร้าส่วนใหญจ่ ะมีความคิดในแง่ลบ เช่น คดิ ว่าตนเองไม่มีคณุ ค่า ล้มเหลว ทำ อะไรไมส่ ำเร็จ ไม่ม่ันใจในตนเอง คดิ วา่ ตนเองไม่มีความสามารถ มองโลกในแง่ร้าย มีความคาดหวัง เกีย่ วกับอนาคตในทางลบ รู้สึกสิ้นหวงั ตำหนวิ ิพากษ์วิจารณ์ตนเอง มีความตอ้ งการ พึ่งพาผู้อืน่ สงู มี การรับรู้ภาพลกั ษณ์ของตนเองทางลบ และคิดเกีย่ วกบั การตายหรอื มีโอกาสเสี่ยง ค่อนข้างสูงในการคิด ที่จะฆ่าตวั ตาย 3. ด้านอารมณ์ วัยรนุ่ ทีม่ ภี าวะซึมเศร้า จะรู้สึกเศร้า ส้ินหวงั กระวนกระวาย หงดุ หงิดงา่ ย น้ำตาไหล หรอื ร้องไห้บอ่ ยครั้งความพึงพอใจในตนเองลดลง รสู้ ึกวา่ ตนเองไม่มีคา่ สนใจในสิ่งตา่ งๆ รอบตวั ลดลงไม่ กระตอื รอื ร้นในชวี ิตไมอ่ ยากคิดหรือทำอะไร เบือ่ หน่าย ไม่มีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมตา่ งๆ รู้สกึ ผดิ โดยไม่สมเหตสุ มผล ท้อแท้และสิน้ หวงั 4.ด้านพฤติกรรม วัยรนุ่ ทีม่ ภี าวะซึมเศร้าสว่ นใหญ่จะ ไม่สนใจในภาพลักษณข์ องตนเองการดูแลตนเองในกิจวัตร ประจำวันลดลง สมาธิลดลงหรอื ไม่ สามารถตัดสินใจได้ไมไ่ ปโรงเรียนมีปญั หาการเรียน ความสนใจใน การทำกิจกรรมตา่ งๆ ลดลงหรอื หมดไป แยกตัวออกจากเพื่อนหรอื สงั คมเกบ็ ตัวอยู่คนเดียว มี พฤติกรรมทำร้ายตนเอง

๖ 2.2.2 สตรีหลังคลอดบตุ ร 1.ด้านร่างกาย หลงั จากคลอดบุตรประมาณ 6 สปั ดาหแ์ รก จะเป็นช่วงภาวะหลังคลอดทีร่ ่างกายของคณุ แม่ เกิดความเปลีย่ นแปลงและกำลังปรบั ตัวเข้าสู่ภาวะปกติ โดยความเปลี่ยนแปลงที่มักเกิดขึ้นในชว่ งน้ี ได้แก่ - น้ำคาวปลา คอื เนื้อเยือ่ และเลือดทีไ่ หลออกมาจากโพรงมดลูกหลงั การคลอด ซึ่งเกิดจาก การหลดุ ลอกตัวของรก น้ำคาวปลาจะถูกขับออกมาจากมดลูกโดย 3-4 วนั แรกหลงั คลอดจะมีน้ำคาวปลาเยอะมากและเป็นสีแดงสดคุณแม่ตอ้ งใสผ่ ้าอนามัยเอาไว้และเปลีย่ น ผา้ อนามัยบอ่ ยๆ ระยะเวลาในการมนี ้ำคาวปลาจะแตกต่างกนั ไปตั้งแต่ 2-6 สัปดาห์ แต่ โดยทว่ั ไปจะมีประมาณ 3 สัปดาห์ - เต้านมคดั ตึงบวม อาการน้ีเปน็ เรื่องปกติของภาวะหลงั คลอด อาจทำให้คุณแมม่ ีอาการเจ็บ เต้านม เต้านมแขง็ ตงึ ปวด ลานนมตึงแข็ง และครัน่ เนื้อ คร่นั ตัว เหมอื นไมส่ บาย เน่ืองจาก เต้านมจุน้ำนมจนเต็มแลว้ ไม่ถูกระบายออก จนเกิดแรงดันสูงภายในเต้านมไปขดั ขวางการ ไหลของน้ำนมนนั่ เอง หากประสบปัญหานี้แนะนำให้ประคบอ่นุ ประมาณ 10 นาที นวดคลึง หวั นม พร้อมท้ังให้ลกู ดูดนมบอ่ ยๆ ทกุ 2-3 ช่วั โมง เพือ่ ให้น้ำนมระบายออกได้มากที่สดุ - ผมร่วงหลงั คลอด เพราะขณะต้ังครรภ์ ระดบั ฮอร์โมนทีเ่ พิ่มข้นึ ส่งผลใหอ้ ัตราการงอกใหม่ ของเส้นผมเพิ่มมากขึ้น คุณแมต่ งั้ ครรภ์จึงดมู ีผมดกหนา แต่ในทางกลบั กันเม่อื คลอดบุตร แล้วระดับฮอร์โมนจงึ เกิดการเปลี่ยนแปลง ทำให้เกิดอาการผมรว่ งมากกว่าปกติ ซึง่ ไมใ่ ช่ อาการผดิ ปกติแตอ่ ย่างใด โดยทั่วไปอาการผมร่วงน้ีจะหายไปเองภายใน 6-12 เดือน เมอ่ื ฮอรโ์ มนกลับส่รู ะดับปกติ ก็จะมีผมขนึ้ ใหมด่ ีเหมือนเดิม ในชว่ งที่ผมร่วงคุณแม่อาจตัดผม ส้ัน เพือ่ ให้ง่ายต่อการดูแล ไม่ตอ้ งหวีผมบ่อย พร้อมกบั รับประทานอาหารทีม่ ธี าตเุ หล็กให้ เพียงพอ เช่น ไข่แดง (3 ฟอง/สัปดาห์) ผักทีม่ ีสเี ขียวเข้ม เชน่ ผักคะน้า ผักโขม รวมถึง อาหารทะเลทีม่ สี งั กะสีสูง เช่น หอยตา่ งๆ ก็จะช่วยเสริมสร้างเส้นผมได้ - ท้องผูก อาจเกิดจากภาวะริดสีดวงทวาร หรอื อาการเจ็บแผลจากการคลอดบุตรจนทำให้ คุณแมไ่ มอ่ ยากถ่ายอจุ จาระ ซึ่งอาจส่งผลใหท้ ้องผูกตามมาได้ดังน้ัน คณุ แมจ่ ึงควรเน้นกิน อาหารที่มีเส้นใยสงู อย่างผัก ผลไม้ หรอื ธญั พืช และดื่มนำ้ ให้มากๆ เพื่อชว่ ยใหข้ บั ถ่ายได้ งา่ ยขึ้นหากทำตามแลว้ แตอ่ าการยังไมด่ ีขึ้นใหป้ รึกษาแพทย์

๗ - กลั้นปสั สาวะไมไ่ ด้ เนือ่ งจากการคลอดอาจทำให้กล้ามเนือ้ อุ้งเชงิ กรานของคุณแม่ยืดออก โดยเฉพาะผทู้ ีใ่ ชเ้ วลาคลอดบตุ รนานกว่าปกติ จะเกิดภาวะน้สี ูงเมอ่ื มีการไอ จาม หรอื หัวเราะ จะทำให้เกิดปัสสาวะเลด็ ออกมาได้ แต่ภาวะนีจ้ ะค่อยๆ หาย และกลบั มาเป็นปกติ ได้ประมาณ 3 สัปดาห์หรอื นานกวา่ นี้ ในระหว่างน้ี แนะนำให้คณุ แม่หลังคลอดใส่ ผา้ อนามยั และหม่ันบริหารกล้ามเนือ้ อุ้งเชิงกรานเปน็ ประจำ ซึ่งปจั จบุ ันมีเทคโนโลยีใหม่ที่ ชว่ ยใหช้ อ่ งคลอดกระชบั รกั ษาอาการปสั สาวะเล็ด โดยการใชเ้ ลเซอร์กระชับชอ่ งคลอด หรอื มินิรีแพร์ - ผวิ แตกลาย คุณแมห่ ลงั คลอดร้อยละ 90 จะมีผิวหน้าท้องแตกลายโดยจะมีลกั ษณะเปน็ ร้ิว มักมีสีชมพูหรอื สีแดงตามสภาพผวิ หนงั ของแตล่ ะคน เกิดจากการขยายขนาดของผวิ หนงั อยา่ งรวดเรว็ ขณะตั้งครรภ์ พอหลงั จากคลอดบุตรออกมาแล้ว ร้วิ ลอยดังกล่าวก็ยังคงอยู่ แตจ่ ะค่อยๆ จางลงเมอ่ื เวลาผ่านไป หรอื จะใช้ครีมทาผิวหรอื ทาแก้ท้องลายนวดบริเวณ หนา้ ท้องที่แตกลาย ก็จะชว่ ยลดเลือนร้วิ ลอยได้ 2. ทางด้านความคิด ความไม่สมบูรณด์ ้านการรู้คิด การสูญเสียความเป็นตัวเอง ความรู้สกึ ผิดและความรสู้ ึก ละอาย การคิดฆ่าตัวตาย 3.ทางด้านอารมณ์ - ภาวะเศร้าหลังคลอด (Postpartum blue)เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับฮอร์โมน โดยเฉพาะคุณแม่มอื ใหมท่ ี่ยังปรบั ตัวหลงั คลอดไมค่ ่อยได้ ซึง่ ภาวะนจี้ ะมีอาการหงุดหงิด เศร้า เสียใจ อารมณ์เปลีย่ นแปลงง่าย ร่างกายอ่อนเพลีย นอนไมห่ ลับ มคี วามกงั วลเรื่องลูก ระยะเวลาของอาการนีอ้ าจอยู่ประมาณ 5 วนั หลังคลอด และจะหายไปเองภายใน 2 สปั ดาห์ ขนึ้ อย่กู บั คณุ แม่แต่ละรายในช่วงทีค่ ุณแมห่ ลงั คลอดมีอาการ อาศัยเพียงแค่กำลังใจและการ ดูแลเอาใจใส่อยา่ งใกล้ชิดจากคนรอบข้าง ก็จะชว่ ยใหอ้ าการดีข้นึ โดยไมต่ ้องทำการรกั ษา - โรคซึมเศร้าหลังคลอด (Postpartum depression)เกิดจากความผดิ ปกติของอารมณ์หลัง คลอดระดับปานกลางจนถึงรนุ แรงโดยมีอาการเชน่ นอนไมห่ ลับ เบื่ออาหาร รอ้ งไห้บอ่ ย ออ่ นไหวงา่ ย บางคร้ังหงุดหงดิ ความผูกพันกับลูกหายไป บางคร้ังเกิดอยากทำร้ายตวั เอง ทำ ร้ายลกู เปน็ ต้น ซึง่ ผทู้ ี่มปี ระวตั ิเป็นคนอารมณอ์ ่อนไหวง่าย มีคนในครอบครวั ปว่ ยเป็นโรค ซึมเศร้า ผทู้ ีต่ อ้ งเผชิญกบั ความเครียดหรือเคยมีประวตั ิความผิดปกติทางอารมณ์มากอ่ นมี

๘ แนวโน้มที่จะเป็นกบั โรคซึมเศร้าหลังคลอดได้ระยะอาการมตี ั้งแต่ 2 สัปดาห์ข้ึนไปจนถึงหลาย เดือน หรอื เปน็ ปี ต้องได้รับการรกั ษาที่ถกู ต้อง ดว้ ยการเข้ารับการบำบัดโดยนักจติ วิทยาคลินิก เพื่อทำความเข้าใจกบั อาการตา่ งๆ ทีค่ ุณแม่กำลังเผชิญอยรู่ วมทั้งแรงสนับสนุนและการดแู ล เอาใจใส่จากครอบครัวก็จะชว่ ยใหอ้ าการดีข้ึน 2.3 สาเหตขุ องโรคซึมเศร้า 2.3.1 วยั รนุ่ และบุคคลทั่วไป สาเหตุของโรคซึมเศร้าในเด็ก มีดังนี้ 1. สาเหตุทางร่างกาย - เกิดจากสารเคมีในสมองคือ เซโรโทนิน (Serotonin) มีปริมาณลดลง จึงทำให้รู้สึก เศร้าและหดหู่ - เกิดจากกรรมพนั ธุท์ ีถ่ า่ ยทอดมาจากคนในครอบครวั เชน่ พ่อหรอื แมเ่ ป็นโรคซึมเศร้า มาก่อน - เกิดจากโรคบางชนิดทีม่ ผี ลต่อสมอง เช่น โรคเกีย่ วกบั หัวใจและหลอดเลือด 2. สาเหตุทางจติ ใจ - การเลีย้ งดูในครอบครวั เชน่ การเลี้ยงดทู ีเ่ ข้มงวดมากจนเกินไป การเลี้ยงดโู ดยใช้ ความรนุ แรงทั้งคำพูดและการกระทำรนุ แรง การถกู ละเลยหรือไม่ได้รับการเอาใจใส่จากคนใน ครอบครัว - สภาพแวดล้อม เช่น ถูกเพื่อนแกล้งมากๆ ถกู คุณครูดุหรอื ทำโทษบอ่ ยๆ 3. สาเหตุอ่นื ๆ - ความเครียดทีม่ าจากการเรียนหรอื การสอบอย่างหนัก หรอื ผลการเรียนไมเ่ ป็นไป ตามทีค่ าดหวัง - ความสญู เสีย เชน่ สูญเสียบุคคลในครอบครวั อันเปน็ ทีร่ ัก คนรกั เลิกราจากไป

๙ 2.3.2 สตรีหลังคลอดบตุ ร ภาวะซึมเศรา้ ในมารดาหลังคลอดมกั มีสาเหตมุ าจากการสูญเสียคณุ คา่ ในตนเองในระยะ ตั้งครรภ์ซึง่ ส่วนใหญเ่ กิดจากความไมพ่ ร้อมในการตงั้ ครรภ์ อายุน้อย ไม่สามารถจัดการปญั หาทีเ่ กิดขึน้ ได้ตง้ั ครรภ์โดยไม่ได้ต้ังใจและไม่ได้เป็นไปตามทีต่ นเองคาดหวงั สูญเสียความเป็นตวั ของตัวเอง หรอื ถกู ครอบครวั และสังคมทอดทิง้ การเกิดภาวะซึมเศร้าหลงั คลอดสมั พันธ์กับการมปี ระวัติซึมเศรา้ ก่อน ต้ังครรภ์ ขณะตั้งครรภไ์ ม่มีแหล่งสนบั สนุนทางด้านจิตใจ มรี ายได้นอ้ ย มีระดับการศกึ ษาต่ำ มีประวตั ิ เคยแท้ง และเป็นการตงั้ ครรภค์ รง้ั แรก และเกิดในหญิงตั้งครรภท์ ีม่ ีภาวะเสี่ยงสงู มากกวา่ การต้ังครรภ์ ภาวะปกติ ในระยะหลงั คลอด ภาวะซึมเศร้ามีสาเหตุจากการเปลีย่ นแปลงของมารดาท้ังทางด้าน ร่างกายและด้านจิตสงั คม ทางดา้ นร่างกายมีการเปลีย่ นแปลง ของระดบั ฮอร์โมนเอสโตรเจนและโป รเจสเตอร์โรน โดยพบวา่ การลดระดบั ของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอร์โรนอยา่ งรวดเร็ว ภายหลังการคลอด มคี วามสัมพันธ์กบั ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด และการใหฮ้ อร์โมนเอสโตรเจนสามารถ รักษาภาวะซึมเศร้าในมารดา ที่มภี าวะซึมเศรา้ อย่างรุนแรงได้ ในขณะตั้งครรภฮ์ อร์โมนเอสโตรเจนและ โปรเจสเตอโรนจากรกมีระดบั สูงมาก ทำใหส้ ารสื่อประสาทซีโรโทนิน(Serotonin) เพิม่ สูงข้ึน เมื่อระดบั ฮอรโ์ มนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนลดลงทนั ทีหลังคลอดทำ ให้ระดับซีโรโทนินลดต่ำลงด้วย ส่งผล ให้มารดารู้สกึ เบื่อหน่าย มีอาการนอนไม่หลับ และเปน็ สาเหตกุ ารเกิดภาวะซึมเศร้าได้นอกจากน้ันยัง ส่งผลตอ่ สารสอ่ื ประสาทในสมองให้มีการลดลงของระดับสารในกลมุ่ แคททิโคลามีน (cathecholamines)โดยเฉพาะนอร์อิพเิ นฟริน (norepinephrine) ซึ่งมีคุณสมบัติเปน็ ตัวกระตุ้นเซลล์ ประสาทในสมองทำ ให้เกิดการตน่ื ตัว โดยสาเหตกุ ารลดลงของนอร์อิพเิ นฟรินยงั อาจเกิดจากสาเหตุ ทางพนั ธุกรรมหรอื องค์ประกอบทางส่งิ แวดล้อมหรอื จากกระบวนการภายในร่างกาย เช่น มีประวัติ บคุ คลในครอบครวั หรอื มารดาหลงั คลอดเองมีความผดิ ปกติทางจิต เคยมีประวัติซึมเศรา้ ภายหลังจาก การคลอดบตุ รคนแรก การสญู เสียเลือด นำ้ และอีเลคโตรลยั ทเ์ นือ่ งจากการคลอดลำ บาก การ บาดเจบ็ จากการคลอด การได้รบั ยานอนหลบั ยากลอ่ มประสาทหรอื ยาระงบั ความเจบ็ ปวดเพื่อทำ สูติ ศาสตร์หัตถการหรอื การอดนอนนาน ๆในระยะคลอดสำหรับด้านจติ สังคม มารดาต้องปรบั ตัวต่อการ เปลีย่ นแปลงของภาพลกั ษณ์ การฟืน้ ฟูสภาพร่างกายจากการคลอด การเปลี่ยนแปลงบทบาทการเป็น มารดาการให้นมบุตร และการเป็นแมบ่ ้าน การเปลี่ยนแปลงเหล่านมี้ ีผลต่อสุขภาพจิตของมารดาและ ครอบครัว ส่งผลใหเ้ กิดภาวะซึมเศร้า

๑๐ 2.4 การรกั ษา 2.4.1 วัยรุ่นและบคุ คลท่ัวไป 1. ยาต้านเศร้า (antidepressant drug) การรกั ษาภาวะซึมเศร้าโดยการใชย้ าเป็นการดำเนินการภายใต้หลักของแนวคิดทฤษฎี ชีวภาพทางการแพทย(์ biomedical model)ซึ่งเชอ่ื ว่ามีกลไกการรกั ษาโดยที่ยาต้านภาวะซึมเศร้า จะไปช่วยยบั ยั้งและปรับสมดุลของสารสือ่ ประสาทในสมองโดยเฉพาะอย่างยิ่ง serotoninการ รกั ษาด้วยวิธีการใช้ยานี้จะใช้กับวัยรุน่ ที่ได้รบั การวินจิ ฉัยจากจติ แพทย์ว่ามีอาการซึมเศรา้ ใน ระดับรนุ แรงซึ่งส่วนใหญ่มกั มีความคิดอยากฆา่ ตัวตายหรอื มีอาการทางจิตอ่ืนๆ ร่วมด้วย ยาที่ ใช้ในการรกั ษาภาวะซึมเศร้านั้น 2. การรักษาด้วยไฟฟ้า (electroconvulsive therapy: ECT) การรักษาภาวะซึมเศร้าด้วยไฟฟ้าอย่ภู ายใต้ความเช่อื ตามหลกั ของแนวคิดทฤษฎี ชีวภาพทางการแพทย์ (Biomedical model) โดยมีข้อบง่ ชที้ ีส่ ำคญั คือ การรกั ษาวิธีนใี้ ช้ในวยั รนุ่ ที่ไมต่ อบสนองตอ่ การรกั ษาด้วยยา หรอื ทนต่อฤทธิ์ข้างเคียงของยาไม่ได้หรือ เสีย่ งต่อการฆ่า ตวั ตายสงู ซึง่ ในปัจจุบันจะมีความเชื่อว่ามีผลต่อสารส่ือประสาทในสมองสว่ นทีค่ วบคมุ ความคิดอารมณ์การรับรู้และพฤติกรรมของวัยรุ่นว่าจะทำให้สารสือ่ ประสาททีไ่ มส่ มดุล เหลา่ นน้ั กลบั สภู่ าวะสมดุลปกติsซึ่งผลของการเปลี่ยนแปลง ดังกล่าวจะทำให้อาการซึมเศร้า ของวัยร่นุ ดีข้ึนแต่อย่างไรก็ตามการรกั ษาวิธีนี้ไมไ่ ด้ช่วยป้องกันอาการกลับเปน็ ซ้ำดังนน้ั จงึ จำเปน็ อยา่ งยิ่งที่จะต้องใช้รูปแบบการบำบดั รกั ษาด้วยยาและการรักษาทางจิตใจควบคกู่ ันไป 3. การบำบดั ทางจติ สงั คม (Psychosocialtherapy) การใชก้ ารบำบดั ทางจิตที่มุ่งเน้นในการจัดกระทำกับความคิด อารมณ์ และพฤติกรรม เพื่อลดภาวะซึมเศร้า สว่ นใหญเ่ หมาะ กับวัยรุ่นทีม่ ภี าวะซึมเศร้าเลก็ น้อยหรือปานกลางซึ่ง โปรแกรมการบำบัดทางจิตทีม่ ปี ระสิทธิผลและคุ้มคา่ ใช้จา่ ยในการลดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่น ได้แก่ การบำบัดด้วยสัมพนั ธภาพระหว่างบคุ คลการให้คำปรึกษาแบบกลุม่ ตลอดจนการบำบดั ด้วยการปรบั ความคิดและพฤติกรรม เปน็ ต้นจาก การศกึ ษาการใชโ้ ปรแกรมบำบัดความคิด และพฤติกรรม พบว่ารูปแบบการบำบดั รักษาดังกล่าว สามารถลดภาวะซึมเศร้าในวยั รนุ่ ได้ กรมสขุ ภาพจติ ของประเทศไทยได้เสนอว่า การชว่ ยเหลือวยั รุ่นทีม่ ภี าวะซึมเศร้ารนุ แรงใน ระยะแรกควรเริ่มจากการใช้ยาต้านเศร้าร่วมกับการให้คำ แนะนำเฝ้าระวังความเสีย่ งในการทำ

๑๑ ร้ายตนเองและติดตามอาการอย่างใกล้ชิด สำหรับวยั รุ่นทีม่ ีอาการดีขนึ้ ควรเริ่มต้นด้วยการ บำบัดทางจิตสังคมโดยใช้รูปแบบการบำบัดด้วยการปรับความคิด และพฤติกรรม 2.4.2 สตรหี ลังคลอดบุตร แนวทางในการรกั ษาขึน้ กับสาเหตุและความรุนแรงภาวะซึมเศร้าของมารดาหลงั คลอด มีท้ัง รูปแบบการไม่ใช้ยาและใช้ยาในการรักษา 1. การรักษาโดยไม่ใชย้ าทีไ่ ด้ผลดีใน depressive disorder(16) ได้แก่ 1.1 Cognitive behavioral therapy(CBT) เปน็ การช่วยใหม้ ารดาหลังคลอดทีม่ ี ภาวะซึมเศรา้ สามารถปรบั พฤติกรรมในด้านลบ และปรบั ความคิดของมารดาหลัง คลอดใหส้ อดคล้องกับความจริงมากขึ้น และมีทักษะในการแก้ปญั หาที่ดขี นึ้ ชว่ ย ป้องกนั การกลบั มาเป็นซ้ำในระยะยาว โดยการสอน ส่งเสริมทกั ษะทางปญั ญา และ การปรับพฤติกรรม เปน็ การช่วยใหม้ ารดามีความคิดด้านบวกมีความหวงั ร่วมมอื ใน การรกั ษา สามารถแยกแยะความคิดของตนเอง ทราบถึงส่งิ ทีม่ อี ิทธิพลตอ่ พฤติกรรม ของตนเอง และสามารถปรับเปลีย่ นพฤติกรรมของตนเองได้ 1.2 Interpersonal therapy เป็นวิธีการช่วยแก้ปัญหาเร่ืองปฏิสัมพันธ์ ระหว่างมารดาหลังคลอดกบั ผอู้ ืน่ ซึง่ มุ่งเน้นปัญหาความสัมพันธใ์ นปจั จบุ ันมากกวา่ การแก้ไขเรือ่ งราวในอดีต ช่วยบรรเทาอาการซึมเศรา้ หลงั คลอด พฒั นาทักษะในการ เผชิญปัญหาในภาวะซึมเศร้าหลงั คลอด และการมีปฏิสัมพันธ์กบั ผอู้ ืน่ ซึ่งผใู้ ห้การบำ บัดจะต้องเข้าใจธรรมชาติของภาวะซึมเศร้าของมารดา มีการกำหนดปญั หาเฉพาะ เชน่ ปญั หาการดูแลทารกหรอื ความขัดแย้งในสัมพนั ธภาพระหวา่ งบุคคลเปน็ ต้น จากนั้นผบู้ ำบัดชว่ ยกำ หนดปัญหา เป้าหมายและวธิ ีการแก้ไขปัญหาทีเ่ ฉพาะเจาะจง กับบุคคล 2. การรกั ษาโดยใช้ยา ยาที่ใช้ในการรักษาภาวะซึมเศร้าหลังคลอดมักจะใช้ยาหลาย กลุ่มรว่ มกนั

๑๒ - กล่มุ SSRIs เป็นยาที่มีผลตอ่ ระดับ Serotoninในสมอง ซึง่ ยาทีแ่ พทยเ์ ลือกใช้ในการ รักษาเป็นอนั ดบั แรก เพราะมีประสิทธิภาพในการรกั ษาสูงและมีความปลอดภัย ตวั อยา่ งของยาต้านการซึมเศร้า - กลมุ่ TCAs ใช้ในกรณีที่มีอาการรุนแรง ซึ่งยาในกลุม่ นมี้ ีผลต่อจำ นวนสารสอื่ ประสาทในสมอง 2.5 การป้องกนั 2.5.1 วยั รุ่นและบคุ คลท่ัวไป ปจั จบุ ันมกี ารศกึ ษาที่หลากหลายเกี่ยวกบั การป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นโดยสว่ นใหญม่ งุ่ เน้น ที่จะพฒั นารปู แบบหรอื โปรแกรมที่ใช้ป้องกันภาวะซึมเศรา้ ในวยั รนุ่ รายใหม่หรอื ลดความรุนแรงภาวะ ซึมเศร้า ในระยะเร่มิ ต้นเพอื่ ป้องกันไมใ่ ห้พฒั นาไปสูโ่ รคซึมเศร้าซึง่ จากการศกึ ษาพบว่ามีรปู แบบการดำเนินการ ทีห่ ลากหลาย ซึง่ อยภู่ ายใต้ระบบการจำแนกการบริการของสถาบันทางการแพทยแ์ หง่ ประเทศ สหรฐั อเมริกา ดงั น้ี 1.การป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในกลุ่มวัยรนุ่ ปกติ เป็นการพัฒนาโปรแกรมเพื่อมุง่ เนน้ ในการป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในกลมุ่ วยั รุน่ ทวั่ ไป สว่ นใหญม่ กั จดั กิจกรรมโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐานทีม่ งุ่ เน้นการเสริมสร้างทกั ษะการ แก้ปัญหา การเผชิญปัญหา หรอื การเสริมสร้างความเข้มแขง็ ทางดา้ นความคดิ หรอื อารมณ์ ตัวอยา่ งโปรแกรมที่มปี ระสิทธิภาพในการป้องกันภาวะซึมเศรา้ ในวยั รุ่น ได้แก่ การเสริมสร้างทกั ษะการแก้ปญั หาเพ่อื ชีวติ โปรแกรมแหล่งประโยชน์สำหรับวยั รุน่ โปรแกรมเพือ่ น การบำบัดด้วยการปรบั ความคิดและพฤติกรรมและการบำบัดด้วย สัมพนั ธภาพระหว่างบุคคล เปน็ ต้น ซึ่งจากการศกึ ษาพบวา่ โปรแกรมเหลา่ นสี้ ามารถ ลดภาวะซึมเศร้าในวยั รนุ่ และลดอตั ราการเกิดโรคซึมเศร้าได้ในระยะยาว 2. การป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นกลุ่มเสี่ยง เป็นการจดั กิจกรรมหรอื โปรแกรมเพื่อป้องกนั ภาวะซึมเศรา้ ในวยั รุน่ กลุ่มเสี่ยงได้แก่ กลุ่มนักเรียนที่มบี ิดามารดามีประวัติซึมเศร้ามีความเครียด หรอื มีภาวะวิกฤติในชีวิต

๑๓ เช่น ครอบครวั หยา่ ร้าง หรือมีการสญู เสียเปน็ ต้น ซึ่งรูปแบบของโปรแกรมในลกั ษณะนี้ ส่วนใหญม่ ักจดั กระทำในสว่ นของโรงเรียนเป็นฐาน ครอบครัวเปน็ ฐาน หรอื ชุมชนเป็น ฐาน โดยม่งุ เน้นกลุม่ วัยร่นุ ทีม่ ีบิดามารดาหรอื บคุ คลในครอบครวั เปน็ โรคซึมเศร้า ลกั ษณะ การจดั กิจกรรมที่เน้นการเสริมสร้างทกั ษะการจัดการกับความคิดทีบ่ ิดเบือนการปรับ โครงสรา้ งความคิดใหม่ และการเสริมสร้างทักษะการมีปฏิสมั พนั ธก์ บั บุคคลใน ครอบครัว ตวั อย่างโปรแกรมทีม่ ีประสิทธิภาพในการป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในวยั รุ่นกลุ่ม เสี่ยง ได้แก่ โปรแกรมการเสริมสรา้ งความสามารถในการฟืน้ ตัวเมื่อเผชิญกบั ภาวะ วิกฤติการบำบดั ด้วยการปรับความคิดและพฤติกรรม เปน็ ต้น 3.การป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นที่มอี าการซึมเศรา้ เป็นการพฒั นาโปรแกรมเพื่อช่วยเหลอื หรือลดภาวะซึมเศร้าในวัยรุ่นทีม่ อี าการของ ภาวะซึมเศรา้ แตย่ งั ไมเ่ ข้าเกณฑ์การวนิ ิจฉัยโรคว่าเป็นโรคซึมเศร้า มีเป้าหมายสำคัญ เพือ่ ลดความรนุ แรงของระดับภาวะซึมเศร้าและป้องกันไมใ่ ห้เกิดโรคซึมเศร้า เน้ือหา ของโปรแกรมจะมีความเข้มข้นในการจัดการกับภาวะซึมเศร้ามากยิ่งขนึ้ โดยมุง่ เนน้ การทำจติ บำบดั การจัดการกับพฤติกรรม หรอื ปัญหาด้านสัมพันธภาพ ได้แก่ การ บำบดั ด้วยการปรบั ความคิดและพฤติกรรม และการบำบัดด้วยสมั พนั ธภาพระหว่าง บคุ คล นอกจากนีย้ ังมีการพัฒนาเนือ้ หาของโปรแกรมให้มีความทันสมัยโดยดึงเอา ระบบอินเทอรเ์ น็ตมาเป็นฐาน ในการตดิ ตาม หรอื ประเมินผล ซึ่งพบว่ามีความทันสมยั คุ้มทุน และมีประสิทธิภาพมากในการลด ภาวะซึมเศรา้ จากการทบทวนวรรณกรรมดังกล่าวข้างต้นแสดงใหเ้ ห็นว่าระบบการป้องกันภาวะซึมเศร้าทีม่ อี ยู่ใน ปจั จุบนั คอ่ นข้างที่จะมุง่ เน้นในการจดั การกบั ปจั จัยเสีย่ งและสง่ เสริมปจั จยั ปกป้องในวยั ร่นุ ปกติกลมุ่ เสีย่ งและกลุ่มที่มีภาวะซึมเศรา้ เพือ่ เสริมสร้างให้วยั รุน่ มีความสามารถในการปรับตัว มคี วามเข้มแข็งใน การเผชิญกบั เหตุการณว์ ิกฤตในชีวติ มากขึ้น ปัจจุบนั มีความพยายามในการนำโปรแกรมเหลา่ นมี้ าใช้ใน การป้องกนั ภาวะซึมเศร้าในประเทศไทยเพิม่ มากขึ้น แต่ยงั พบการใชโ้ ปรแกรมเหล่านไี้ มแ่ พร่หลาย เท่าที่ควร

๑๔ 2.5.2 สตรีหลงั คลอดบุตร การป้องกันและดแู ลมารดาทีม่ ภี าวะซึมเศรา้ หลังคลอด แนวปฏิบตั ิในการป้องกันการเกิดภาวะ ซึมเศร้าหลังคลอด ควรเริม่ ต้ังแตใ่ นระยะตั้งครรภ์ และดแู ลตอ่ เนือ่ งในระยะหลงั คลอด ดงั น้ี 1. การเฝา้ ระวังและการคัดกรอง (screening) มีการคัดกรองภาวะซึมเศร้าในหญิงตง้ั ครรภ์ทกุ ราย เนือ่ งจากถือว่าเปน็ กลุม่ ทีม่ ี ความเสีย่ งต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า ซึง่ การคดั กรองนั้นเปน็ การค้นหาปัจจยั ส่วน บคุ คลและครอบครัวทีม่ ีผลตอ่ การเกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด เพื่อให้เข้าถึง ปัญหาทีแ่ ท้จริงของแต่ละบุคคล ได้แก่ การตั้งครรภไ์ ม่พร้อม ปญั หาวิกฤติในชีวติ ปัญหาความสมั พันธ์ในครอบครวั แหล่งสนับสนุนชว่ ยเหลือเพือ่ ใหส้ ัมพันธภาพใน ครอบครวั ดีขึน้ การมที ัศคติเรื่องเพศของทารกในครรภ์ กรณีที่เพศบตุ รไม่ตรง ตามที่คาดหวัง การตอ้ งเลยี้ งดบู ุตรโดยลำ พัง ประวัติปว่ ยด้วยโรคซึมเศร้า ทารก ไมแ่ ข็งแรงหรอื มีปัญหาสขุ ภาพ และขาดความมัน่ ใจในการเลี้ยงดูบตุ ร 2.การใหค้ วามรโู้ ดยการสอนสุขภาพจติ ศกึ ษา เปน็ การให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และบคุ คลในครอบครัว ให้มีความ เข้าใจเกีย่ วกบั ภาวะซึมเศร้าหลงั คลอด การป้องกันและการดแู ลตนเองเพื่อป้องกันการ เกิดภาวะซึมเศร้าหลังคลอด พรอ้ มท้ังสนบั สนุนและกระตุ้นใหค้ รอบครวั โดยเฉพาะ สามี เข้ามามีสว่ นรว่ มในการดแู ลชว่ ยเหลือภรรยาขณะตั้งครรภ์ 3.การให้คำแนะนำเรือ่ งโภชนาการในช่วงตั้งครรภ์ ซึง่ ถือวา่ มีความจำ เป็นมากในการป้องกนั การเกิดภาวะซึมเศร้าในหญิงตั้งครรภ์ โดยเฉพาะอาหารทีม่ ีกรดไขมันโอเมก้า-3 เชน่ ปลาทะเล ปลานา้ จดื (เช่น ปลาสวาย ปลานลิ ) พชื ตระกลู ถวั่ (เช่น ถั่วเหลือง ถั่วเขียว) และฟักทอง เป็นต้น 4. การออกกำลงั กาย ควรกระตนุ้ ให้หญิงตง้ั ครรภ์ ตระหนักถึงความสำคญั ของการออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพราะการออก กำลังกายช่วยให้สารเอนโดรฟินหล่งั ส่งผลใหร้ ่างกายสดชน่ื 5. การสง่ เสริมการทำกิจกรรมหรอื เสริมสร้างพลงั ทางจติ วิญญาณ เช่น การสวดมนต์ การทำสมาธิ และการทำกิจกรรมทางศาสนา เปน็ ต้น

๑๕ บทที่ 3 วิธีการดำเนนิ การ การพัฒนาโครงงานทางคอมพิวเตอร์เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์ ให้แก่เยาวชน วัยรุ่นและ ประชาชนทัว่ ไปมีวธิ ีการดำเนินการศึกษา ผดู้ ำเนนิ โครงงาน มีวธิ ีการดำเนินการ ดงั ตอ่ ไปนี้ 3.1 วัสดุอปุ กรณ์ 3.2 ข้ันตอนการดำเนินการ 3.1 วัสดอุ ปุ กรณ์ 1.เครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเช่อื มต่อระบบเครือข่ายอินเทอรเ์ นต็ 2.โทรศพั ท์ สมารท์โฟน 3.เว็บไซต์ที่ใช้ในการตดิ ตอ่ สือ่ สาร เช่น www.facebook.com www.hotmail.com www.google.com และ แอพพลิเคช่นั line 3.2 ขนั้ ตอนการดำเนนิ การ 3.2.1 คิดหัวข้อโครงงานเพือ่ นำเสนอครทู ีป่ รึกษาโครงงาน 3.2.2 ศึกษาและคน้ คว้าข้อมลู ทีเ่ กีย่ วข้องกบั เรื่องทีส่ นใจคือเรอื่ ง ภาวะโรคซึมเศร้า 3.2.3 ศกึ ษาเวบ็ ไซต์วา่ มีเน้ือหามากน้อยเพียงใด และต้องศกึ ษาค้นคว้าเพิ่มเติมเพียงใดจาก เว็บไซต์ตา่ งๆ และเก็บข้อมูลไว้เพือ่ จดัทา เนือ้ หาต่อไป 3.2.4 จัดสร้างเพจ Facebook ภาพท่ี 1 จดั สรา้ งเพจ Facebook

๑๖ 3.2.5 ประชาสัมพันธเ์ พจและใหค้ วามรู้ ภาพท่ี 2 ประชาสมั พนั ธเ์ พจและใหค้ วามรู้ 3.2.6 ลงแบบทดสอบการเปน็ ภาวะโรคซึมเศรา้ ภาพ 3 ลงแบบทดสอบการเป็นภาวะโรคซมึ เศรา้ 3.2.7 นำเสนอความคืบหน้าของโครงงานเปน็ ระยะ กับอาจารย์กนกชล มูลมณี ครทู ีป่ รึกษา จะให้ข้อเสนอแนะต่างๆ เพื่อให้จัดทำ เนือ้ หาและการนำเสนอทีน่ ่าสนใจตอ่ ไป 3.2.8 จดั ทำเล่มโครงงาน

๑๗ บทที่ 4 ผลการศึกษา การดำเนินงานโครงงานทางคอมพิวเตอร์เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อให้ความรู้เรื่องภาวะ ซึมเศร้า มีวัตถุประสงค์เพื่อ ให้ทุกคนในสังคม ได้เข้าใจภาวะโรคซึมเศร้า คอยสังเกตคนรอบข้างหรือ ตัวเอง วิธีการปฏิบัติตัวเมื่อมีคนรอบข้างเป็นโรคซึมเศร้า เพื่อให้เป็นความรู้ กับนักเรียนและผู้ที่กำลัง ศึกษาเรือ่ งนอี้ ยู่และเพื่อให้กำลังใจคนที่เปน็ โรคซึมเศร้า ไม่ใหเ้ ขารสู้ ึกวา่ ตนเองโดดเดี่ยวหรืออยู่คนเดียว ในโลก จากการวิเคราะห์ขอ้ มูลดังกล่าว ผดู้ ำเนนิ โครงงาน มีผลการดำเนินโครงงาน ดังตอ่ ไปนี้ ผลการดำเนินการโครงงานทางคอมพิวเตอร์เรื่องการพัฒนาเว็บไซต์เพื่อให้ความรู้เรื่องภาวะ ซึมเศร้าผลการดำเนนิ งาน 1.ผู้คนรจู้ กั โรคซึมเศร้ามากขึ้น รู้จกั วิธีการป้องกนั ตัวเองและครอบครวั จากโรคซึมเศร้า 2.สามารถคัดกรองผู้ทีอ่ าจมอี าการของโรคซึมเศร้าเบือ้ งตน้ ได้ 3.ให้คำปรึกษากบั คนที่อาจมอี าการของโรคซึมเศร้า 4.ผคู้ นมีสขุ ภาพจิตดขี ึน้ และลดภาวะซึมเศรา้ น้อยลง 5.มีเพจทีค่ อยระวังโรคซึมเศร้า 6.ผู้คนอาจมกี ำลงั ใจในการคุยปรึกษา ปรับทุกข์ กับแอดมนิ เพจ 7.สรา้ งความรู้ความเข้าใจใหผ้ ปู้ กครองเกี่ยวกับโรคซึมเศร้า เพราะครอบครัวอาจเป็นส่วนหนึ่ง ของปญั หาโรคซึมเศร้าได้ 8.มีแบบทดสอบเช็กอารมณข์ องตนเองและคนรอบข้าง 9.มีแบบทดสอบภาวะซึมเศรา้ PHQ-9 10.ผู้คนรจู้ กั สาเหตทุ ี่ที่อาจทำให้เกิดปญั หาภาวะซึมเศร้าได้

๑๘ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ การดำเนินงานโครงงาน การดำเนินงานโครงงานทางคอมพิวเตอรเ์ รือ่ งการพัฒนาเว็บไซต์ เพื่อให้ความรู้เรอ่ื งภาวะซึมเศรา้ ผดู้ ำเนินโครงงาน มสี รุปผลการดำเนินโครงงานและข้อเสนอแนะ ดังตอ่ ไปนี้ 5.1 สรปุ ผล 5.2 อภปิ รายผล 5.3 ข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผล จากการศกึ ษาพบวา่ อัตราการเกิดโรคซึมเศร้าในวัยรุ่นผหู้ ญิงมีมากกว่าผู้ชาย เพราะ เดก็ ผหู้ ญิงต้องเจอความเครียดทีเ่ กิดจากอารมณ์ ร่างกาย การคุกคามหรือถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ มากกว่าเดก็ ผู้ชาย ผู้เชี่ยวชาญด้านการให้คำปรึกษาชือ่ ชารอน เฮิร์ช เขียนวา่ “เมื่อโลกภายนอกที่น่า กลวั มาปะทะกบั จติ ใจภายในที่ว้าวุน่ กจ็ ะทำให้เกิดความสับสนว่นุ วายจนเกินกว่าวัยรุ่นจะรับไหว” นอกจากน้ัน เด็กผู้หญิงอาจได้รบั อิทธิพลเกี่ยวกบั รปู ร่างหน้าตาที่ “สวยสมบรู ณแ์ บบ” จากสือ่ ต่าง ๆ ดังนนั้ เด็กบางคนทีค่ ิดว่าตัวเองไมส่ วย หรอื บางคนที่กลัวเกินไปว่าเพื่อนจะไมย่ อมรบั อาจมีแนวโน้มเปน็ โรคซึมเศร้าได้ง่าย 5.2 อภิปรายผล จากการทีศ่ ึกษาโครงงานเกี่ยวกับโรคซึมเศร้าคณะผจู้ ดั ทำพบว่า ปัจจัยสำคญั ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคซึมเศร้าได้แก่ 1.กรรมพนั ธ์ุ พบว่ากรรมพันธมุ์ ีส่วนเกีย่ วข้องสูงในโรคซึมเศร้าโดยเฉพาะในกรณีของผู้ที่มอี าการเป็น ซ้ำหลายๆ คร้ัง 2.สารเคมีในสมอง พบว่าระบบสารเคมีในสมองของผู้ปว่ ยโรคซึมเศร้ามีการเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ อย่างชัดเจน โดยมีสารที่สำคญั ได้แก่ ซีโรโทนิน (serotonin) และนอรเ์ อพิเนฟริน (norepinephrine) ลด ตำ่ ลง รวมทั้งอาจมคี วามผิดปกติของเซลลร์ บั สื่อเคมีเหลา่ นี้ ปัจจุบันเช่อื ว่าเป็นความบกพร่องในการ ควบคมุ ประสานงานรว่ มกัน มากกวา่ เป็นความผิดปกติทีร่ ะบบใดระบบหนง่ึ ยาแก้ซึมเศร้าที่ใชก้ ันนั้นก็ ออกฤทธิ์โดยการไปปรับสมดลุ ยข์ องระบบสารเคมีเหล่านี้

๑๙ 3.ลักษณะนิสัย บางคนมีแนวคิดทีท่ ำให้ตนเองซึมเศร้า เช่น มองตนเองในแงล่ บ มองอดตี เห็นแต่ความ บกพรอ่ งของตนเอง หรือ มองโลกในแง่รา้ ย เปน็ ต้น บคุ คลเหลา่ นีเ้ มื่อเผชิญกับสถานการณท์ ีก่ ดดนั เชน่ ตกงาน หย่าร้าง ถูกทอดทิง้ ก็มีแนวโน้มทีจ่ ะเกิดอาการซึมเศร้าได้ง่าย ซึง่ หากไม่ได้รบั การชว่ ยเหลอื ที่ เหมาะสมอาการอาจมากจนกลายเปน็ โรคซึมเศร้าได้ โรคซึมเศร้าน้ันไม่ได้มีสาเหตจุ ากแตเ่ พียงปัจจยั ใดปัจจัยหนึ่งเท่านั้น เหมอื นกับการปว่ ยเปน็ ไข้หวดั กม็ กั เปน็ จากรา่ งกายอ่อนแอ จากพกั ผ่อนน้อย ไม่ได้ออกกำลังกาย ขาดสารอาหาร ถกู ฝน อากาศเยน็ ร่วมกบั การได้รบั เชอื้ ไวรัสที่ทำให้เกิดไข้หวัด ถ้าเราแขง็ แรงดี แมจ้ ะได้รบั เช้ือหวดั ก็ไมเ่ ป็นอะไร ใน ทำนองเดียวกนั ถ้ารา่ งกายเราอ่อนแอ แต่ไม่ได้รับเชื้อหวัดกไ็ มเ่ กิดอาการ การเริม่ เกิดอาการของโรค ซึมเศร้านั้นมกั มีปัจจยั กระตุ้น มากบ้างน้อยบ้าง บางคร้ังอาจไม่มีกไ็ ด้ซึ่งพบได้นอ้ ย อย่างไรก็ตาม การมี สาเหตุทีเ่ หน็ ชัดวา่ เปน็ มาจากความกดดนั ด้านจติ ใจนี้ มิได้หมายความว่าสิ่งที่เกิดข้ึนนนั้ เปน็ เรื่องปกติ ธรรมดาของคนเราไม่ว่าจะรุนแรงแค่ไหน การพิจารณาวา่ การเปลีย่ นแปลงที่เกิดขึน้ นั้นผดิ ปกติหรือไม่ เราดูจากการมอี าการตา่ ง ๆ และความรุนแรงของอาการเป็นหลัก ผทู้ ีม่ อี าการเข้ากับเกณฑ์การ วินจิ ฉยั โรคซึมเศร้าน้ัน บ่งถึงภาวะของความผดิ ปกติทีจ่ ำต้องได้รบั การช่วยเหลอื และการรักษา 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 1.การใชย้ าแก้เศร้า เน่อื งจากโรคซึมเศร้าสาเหตทุ ีพ่ บเกีย่ วข้องกบั สารเคมีในสมองดังทีไ่ ด้กล่าว แล้วขา้ งต้น ดังนน้ั การให้ยาแก้เศรา้ เพือ่ ไปปรบั สมดลุ สารเคมีในสมองจึงเป็นสิ่งจำเป็น อย่างมาก ยาแก้ เศร้าชว่ ยบรรเทาอาการเศร้า ทานยาจนรู้สึกดีขนึ้ และเม่อื ดีข้ึนแล้วควรทานยาตอ่ ไปอีก 6-12 เดือน เพือ่ ป้องกันอาการกลบั มาเปน็ ซ้ำอีก ดงั นน้ั แมจ้ ะ รสู้ ึกสบายดีกย็ งั ต้องกินยาตามแพทย์สั่งอยา่ ง ต่อเนื่อง เพือ่ ป้องกันการกลับเป็นซ้ำ เนอ่ื งจากผู้ทีเ่ คยป่วยเปน็ โรคซึมเศร้ามักจะกลับมาป่วยซ้ำหรอื อาจมอี าการ กำเรบิ ซ้ำ จงึ ถือวา่ โรคซึมเศร้าเป็นโรคเร้ือรังจำเปน็ ต้องได้รับยาระยะยาว 2. วิธีรกั ษาทางจติ ใจอยูห่ ลายรูปแบบ ในการช่วยเหลอื ผปู้ ่วยโรคซึมเศร้า ซึง่ อาจเปน็ การ พูดคุยกับ จติ แพทย์ อนั จะช่วยใหผ้ ปู้ ว่ ยเกิดความเข้าใจตนเอง สาเหตุที่ทำให้ตนเองเป็นทกุ ข์ ซึมเศรา้ เข้าใจปัญหา และนำไปส่กู ารแก้ไขปญั หาได้อย่างเหมาะสมในที่สุด

๒๐ บรรณานุกรม สืบค้นเมอ่ื วันที่ 2 กนั ยายน 2564 https://www.thonburibamrungmuang.com/index.phpnews/detail/10 https://www.nakornthon.com/article/detai https://www.sikarin.com/health/postpartum-depression https://med.mahidol.ac.th/ramamental/generalknowledge/general/09042014-1017 https://new.camri.go.th/Knowledge วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม - มีนาคม 2559 วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย ปีที่ 9 ฉ.2ก.ค.-ธ.ค. 59

๒๑ ภาคผนวก






Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook