Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนปฏิบัติการ 4 ปี 62-65 โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา

แผนปฏิบัติการ 4 ปี 62-65 โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา

Published by Naruemol Poopinta, 2021-07-16 03:42:39

Description: แผนปฏิบัติการ 4 ปี 62-65 โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา

Search

Read the Text Version

1 แผนปฏิบัตกิ าร 4 ปี (พ.ศ.2562-พ.ศ.2565) โรงเรียนชุมชนบา้ นฟอ่ นวทิ ยา สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1

2 คานา ตามบทพระราชบัญญัติของพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริหารกิจการบ้านเมืองท่ี พ.ศ.2546 มาตรา 16 กาหนดให้สว่ นราชการจัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี ดังน้ันเพื่อให้เป็นไปตามบทบัญญัติ ดังกล่าวโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวทิ ยาจึงได้จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษา ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – พ.ศ. 2565) ฉบบั น้ีขนึ้ สาหรบั ใช้เปน็ คู่มอื การปฏิบตั งิ านใหเ้ กิดผลผลิตและผลลพั ธต์ ามท่ีกาหนดไว้ โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยาขอขอบคุณผู้บริหารโรงเรียน ครูผู้สอน บุคลากรทางการศึกษาและ นักเรียนทุกคน ตลอดถึงหน่วยงานทุกภาคส่วนท่ีได้ให้ความร่วมมือและมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนนโยบาย ไปสกู่ ารปฏิบัติให้มปี ระสทิ ธิภาพและเกดิ ประสทิ ธผิ ลสงู สุดต่อการพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ด้วยดีตลอดมา โรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟ่อนวทิ ยา ตุลาคม 2561

3 สารบญั ที่ หนา้ คานา สารบญั สภาพปจั จุบนั ของโรงเรียน ก สว่ นที่ 1 - ประวัติโรงเรยี นโดยสงั เขป ข - ทีต่ งั้ โรงเรยี น 1 สว่ นที่ 2 - แผนผังโรงเรยี น 1 - ข้อมลู บุคลากร 1 ส่วนท่ี 3 - จานวนนักเรียนแยกตามระดับชนั้ 2 - ผลการดาเนนิ งานดา้ นการจดั การศึกษา 3 - ผลการประเมินของ สมศ.รอบท่ี 3 4 5 สถานภาพของโรงเรียนชมุ ชนบ้านฟ่อนวทิ ยา 10 - สภาพแวดล้อมภายนอก 12 - สภาพแวดลอ้ มภายใน 12 - ตารางสรปุ ผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟอ่ นวิทยา 14 โดยภาพรวม 15 กรอบนโยบาย/ทิศทางพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา 18 - วสิ ัยทศั น์ 18 - พันธกจิ 18 - เป้าประสงค์ 19 - กลยทุ ธ์โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา 19 - การนากรอบนโยบายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน สูก่ ารปฏิบตั ใิ นสถานศึกษา 19 มาตรฐานการศึกษาระดบั ชั้นปฐมวยั (พ.ศ. 2562 - 2565) 23 - มาตรฐานการศึกษาระดับช้นั พนื้ ฐาน (พ.ศ. 2562 - 2565) 23 - ตวั ช้วี ดั และคา่ เปา้ หมายในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา 24 25 - คา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาระดบั ชนั้ ปฐมวยั (พ.ศ. 2562 - 2565)

สารบญั (ตอ่ ) 4 ที่ หนา้ 26 ส่วนที่ 4 - ค่าเปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 29 สว่ นที่ 5 (พ.ศ. 2562 - 2565) 31 ส่วนที่ 6 40 ภาคผนวก งบประมาณดาเนินการตามกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา 42 แผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – พ.ศ.2565) 43 การกากับ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผล 47 - คาสั่งแตง่ ตงั้ คณะกรรมการจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศกึ ษา 4 ปี (พ.ศ.2562-2565) และแผนปฏบิ ตั ิการประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2562 - บนั ทึกการให้ความเหน็ ชอบแผนพฒั นาคุณภาพการจดั การศึกษา 4 ปี (พ.ศ.2562-2565) ของคระกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานโรงเรียน ชมุ ชนบา้ นฟอ่ นวิทยา -

5 สารบญั ตาราง ตารางที่ ผลการประเมนิ ความสามารถด้านการอ่านออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) 5 หน้า ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ี่ 1 ระหว่างปี พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 1 ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (National Test : NT) 5 ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 3 ระหว่างปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 2 ผลการทดสอบความสามารถพ้ืนฐานของผู้เรียนระดบั ชาติ (O - NET) ของนักเรยี น 5 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ระหวา่ งปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 3 ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รยี นระดับชาติ (O - NET) ของนักเรยี น 6 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 4 ผลการประเมินคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีท่ี 6 6 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 5 ผลการประเมินคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงคข์ องนักเรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 7 ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 6 สรปุ ผลการประเมินความสามารถในการอา่ น คิดวิเคราะหแ์ ละเขยี นของนักเรียน 7 ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 6 ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 7 สรปุ ผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะหแ์ ละเขยี นของนักเรยี น 8 ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 8 ผลการประเมนิ คณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวยั ระหว่างปีการศึกษา 8 พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 9 ผลการประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดบั ข้นั พ้นื ฐาน ระหว่างปีการศึกษา 9 พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 9 10 จานวนนกั เรียนท่มี ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นต้ังแต่ระดับ 3 ขึน้ ไป ปกี ารศกึ ษา พ.ศ.2561 10 ผลการประเมนิ ของ สมศ.รอบท่ี 3 ระดับการศึกษาปฐมวยั 11 11 ผลการประเมินของ สมศ.รอบที่ 3 ระดับการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 15 12 การประเมนิ สถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายนอก 16 13 การประเมนิ สถานการณส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน 30 14 งบประมาณดาเนนิ การระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565) 15 16

6 สว่ นที่ 1 บทนา 1.1 ประวัติโรงเรยี นโดยสงั เขป โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา เป็นโรงเรียนในสังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาลาปาง เขต 1 ก่อต้ังเม่ือวันท่ี 1 มีนาคม พ.ศ. 2471 ตัง้ อยู่เลขท่ี 643 หมู่ที่ 2 ตาบลชมพู อาเภอเมือง จังหวดั ลาปาง 52100 หมายเลขโทรศพั ท์ 054-250516 หมายเลขโทรสาร 054-250516 e-mai l: [email protected] website http://www.School.obec.go.th/banfon เดิมชื่อโรงเรียนประชาบาล 1 (บ้านฟ่อน) โดย ร.ต.อ.หลวงพิชิตชนบท แรกเร่ิม เปิดทาการสอนช้ันอนุบาล 1 – ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 พ.ศ.2535 ได้ขยายช้ันเรียน ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และเปลี่ยนช่ือเป็น โรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟ่อนวทิ ยา เนือ้ ทข่ี องโรงเรยี นมีท้ังสนิ้ 14 ไร่ 1 งาน 69 ตารางวา มพี น้ื ท่ีใหบ้ รกิ ารรับนักเรยี น จานวน 7 หมู่บ้าน คือ บ้านฟ่อน บ้านชมพู บ้านต้า บ้านย่าเป้า บ้านศรีปงชัย บ้านศาลาดอนและบ้านลาปางกลางฝ่ัง ตะวนั ออก และพืน้ ท่ีใกล้เคยี งอกี 5 หมบู่ ้าน ได้แก่ บ้านหมอสม บา้ นลาปางกลางฝง่ั ตะวันตก บา้ นสาเภา บ้านมา้ เหนือและ บา้ นมา้ ใต้ คณะครแู ละบคุ ลากรโรงเรียนมีทง้ั สน้ิ 43 คน ผบู้ ริหารโรงเรียนคนปัจจบุ ัน คอื นายวนิ ยั แป้นน้อย (ย้ายมาปฏบิ ตั ิ หนา้ ทีเ่ ม่ือวันท่ี 25 ตุลาคม พ.ศ.2535) 1.2 ทตี่ ้ังโรงเรียน

7 1.3 แผนผงั โรงเรียน

8 1.4 ข้อมูลบุคลากร ตาแหนง่ เพศ ตา่ ปริญญาตรี วฒุ ิการศกึ ษา ปริญญาเอก ชาย หญงิ - ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท - ผ้บู รหิ ารโรงเรยี น 1- - - ครูผสู้ อน - 24 - -1 - ครูอตั ราจ้าง 25 - 17 7 - พนกั งานราชการ 1- 1 7- - ครุพเี่ ลย้ี งอนบุ าล -3 1 1- ครพู ี่เลี้ยงเรยี นรวม - 2- - เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ 2 1 1 - นักการภารโรง -1 1 1- แม่บา้ น 1- 4 -- รวม 1 29 8 - 5 36 อนั ดับ / วทิ ยฐานะ ตาแหน่ง เพศ - อนั ดับ / วทิ ยฐานะ คศ.3 ชาย หญิง ครผู ู้ชว่ ย คศ.1 คศ.2 ชานาญการพเิ ศษ ผู้บรหิ ารโรงเรียน 1- ครู ชานาญการ ครผู ู้สอน - 24 - 1 1 24 2 -- 17 รวม 2 14 18 14

1.5 จานวนนักเรียนแยกตามระดบั ชั้น 31 ชนั้ เรยี น จานวนนกั เรยี น จานวนหอ้ งเรยี น หญงิ อนบุ าล 1 รวม ชาย 12 รวม 2 อนบุ าล 2 29 17 41 2 อนบุ าล 3 รวม 23 22 40 2 รวม 18 51 40 6 ประถมศึกษาปีที่ 1 รวมท้ังหมด 70 22 121 2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 2 37 23 59 2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 28 18 51 2 ประถมศึกษาปีท่ี 4 25 21 43 2 ประถมศึกษาปีท่ี 5 15 14 36 2 ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 31 19 45 2 21 117 40 12 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 157 19 274 2 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 23 12 42 2 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 17 12 29 2 16 43 28 6 56 211 99 24 283 494 จานวนนักเรยี น : ห้อง = 1 : 21 จานวนครู : นกั เรยี น = 1 : 21

32 1.6 ผลการดาเนนิ งานด้านการจดั การศึกษา ตารางท่ี 1 ผลการประเมินความสามารถดา้ นการอ่านออกของผเู้ รยี น (Reading Test : RT) ของนกั เรียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 1 ระหวา่ งปี พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ สมรรถนะ ปี กศ. พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 การอ่านออกเสยี ง การอา่ นรู้เรือ่ ง 83.22 72.60 รวม 2 สมรรถนะ 70.73 70.72 76.98 71.66 ตารางที่ 2 ผลการทดสอบความสามารถพื้นฐานของผู้เรยี นระดับชาติ (National Test : NT) ของนักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 ระหวา่ งปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 ปี กศ. คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ ดา้ น พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ด้านภาษา ด้านคานวณ 38.28 54.66 ด้านเหตผุ ล รวม 32.28 37.80 46.14 46.00 38.90 46.15 ตารางที่ 3 ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผเู้ รยี นระดบั ชาติ (O - NET) ของนกั เรยี น ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ระหวา่ งปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 ปี กศ. คะแนนเฉลี่ยร้อยละ วิชา พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ภาษาไทย 58.43 คณิตศาสตร์ 59.05 50.61 36.76 วิทยาศาสตร์ 42.18 ภาษาอังกฤษ 45.26 36.00 39.34 รวม 44.18 45.42 40.55 40.13 37.50 47.47 41.17

33 ตารางท่ี 4 ผลการทดสอบความสามารถพ้นื ฐานของผ้เู รยี นระดบั ชาติ (O - NET) ของนักเรยี น ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3 ระหวา่ งปี พ.ศ.2559 – พ.ศ.2561 ปี กศ. คะแนนเฉลีย่ ร้อยละ วิชา พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 ภาษาไทย 60.31 คณติ ศาสตร์ 48.44 53.62 28.62 วิทยาศาสตร์ 36.62 ภาษาองั กฤษ 31.74 24.71 26.92 รวม 38.12 36.76 32.28 31.24 30.45 37.05 35.27 ตารางท่ี 5 ผลการประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ของนกั เรยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ร้อยละของนักเรยี นทีม่ ผี ลการประเมนิ ระดบั ดีขึ้นไป เฉลีย่ 3 ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ.2560 พ.ศ. 2561 (ร้อยละ) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซอ่ื สัตยส์ จุ ริต 100 100 100 100 มวี นิ ัย 100 100 100 100 ใฝ่เรยี นรู้ 100 100 100 100 อย่อู ย่างพอเพยี ง 100 100 100 100 มุง่ มั่นในการทางาน 100 100 100 100 รักความเป็นไทย 100 100 100 100 มจี ิตสาธารณะ 100 100 100 100 สรปุ ผลการประเมินใน 100 100 100 100 100 100 100 100 ภาพรวม

34 ตารางท่ี 6 ผลการประเมินคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ของนกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระหว่างปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์ ร้อยละของนักเรียนท่มี ผี ลการประเมนิ ระดบั ดขี น้ึ ไป เฉล่ยี 3 ปี พ.ศ. 2559 พ.ศ.2560 พ.ศ. 2561 (ร้อยละ) รกั ชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซือ่ สัตย์สจุ รติ 100 100 100 100 มีวนิ ัย 100 100 100 100 ใฝ่เรียนรู้ 100 100 100 100 อยูอ่ ย่างพอเพยี ง 100 100 100 100 มงุ่ ม่ันในการทางาน 100 100 100 100 รกั ความเปน็ ไทย 100 100 100 100 มีจิตสาธารณะ 100 100 100 100 สรุปผลการประเมินใน 100 100 100 100 100 100 100 100 ภาพรวม ตารางที่ 7 สรุปผลการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียนของนกั เรยี น ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 ตัวช้ีวดั ความสามารถ รอ้ ยละของนักเรยี น เฉลี่ย 3 ปี ในการอา่ น คิดวิเคราะห์ และเขยี น ท่มี ผี ลการประเมิน ระดับดขี ้ึนไป (รอ้ ยละ) พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 78.11 1. ความสามารถอ่าน เพอื่ หาขอ้ มูลสารสนเทศ 22 19 34 เสริมประสบการณจ์ ากส่อื ประเภทตา่ งๆ 81.48 67.86 85.00 78.47 2. สามารถจบั ประเด็นสาคัญ เปรยี บเทยี บ เช่ือมโยง 22 20 33 ความเป็นเหตุ เปน็ ผลจากเร่อื งทอ่ี า่ น 81.48 71.43 82.50 90.66 3. สามารถเชือ่ มโยงความสัมพนั ธข์ องเร่อื งราว 23 25 39 เหตุการณข์ องเรอื่ งท่อี า่ น 85.19 89.29 97.50 95.46 4. สามารถแสดงความคิดเห็นตอ่ เรอื่ งท่ีอ่านโดยมี 24 28 39 เหตผุ ลสนับสนนุ 88.87 100 97.50 95.86 5. สามารถถ่ายทอด ความเขา้ ใจ ความคดิ เห็น คุณคา่ 25 28 38 จากเร่ืองท่ีอา่ นโดยการเขยี น 92.59 100 95.00 87.91 85.92 85.72 92.10 สรุปผลการประเมินในภาพรวม

35 ตารางท่ี 8 สรุปผลการประเมนิ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะหแ์ ละเขยี นของนกั เรยี น ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ระหวา่ งปี พ.ศ. 2559 – พ.ศ.2561 ตวั ชว้ี ัดความสามารถ รอ้ ยละของนักเรียน เฉลย่ี 3 ปี ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขยี น ท่มี ีผลการประเมิน ระดับดีขนึ้ ไป (รอ้ ยละ) พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 79.56 1. ความสามารถอ่าน เพ่ือหาขอ้ มลู สารสนเทศ 33 40 21 เสริมประสบการณ์จากส่ือประเภทตา่ งๆ 78.57 85.11 75.00 79.56 2. สามารถจับประเด็นสาคญั เปรยี บเทยี บ เชอ่ื มโยง 33 40 21 ความเปน็ เหตุ เป็นผลจากเรื่องทีอ่ ่าน 78.57 85.11 75.00 79.56 3. สามารถเช่ือมโยงความสัมพนั ธข์ องเร่อื งราว 33 40 21 เหตกุ ารณ์ของเรือ่ งทีอ่ า่ น 78.57 85.11 75.00 79.56 4. สามารถแสดงความคดิ เหน็ ตอ่ เรอ่ื งท่ีอ่านโดยมี 33 40 21 เหตุผลสนบั สนนุ 78.57 85.11 75.00 79.56 5. สามารถถ่ายทอด ความเขา้ ใจ ความคิดเห็น คณุ ค่า 33 40 21 จากเรือ่ งที่อา่ นโดยการเขียน 78.57 85.11 75.00 79.56 78.57 85.11 75.00 สรปุ ผลการประเมินในภาพรวม ตารางที่ 9 ผลการประเมินคณุ ภาพมาตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวัย ระหว่างปีการศึกษา พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 มาตรฐาน ผลการประเมนิ พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดีเลศิ ดีเลศิ มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี นน้ เดก็ เป็นสาคัญ ดีเลิศ ดเี ลศิ ดีเลศิ ดเี ลศิ สรุป ดเี ลิศ ดเี ลิศ

36 ตารางที่ 10 ผลการประเมนิ คุณภาพมาตรฐานการศึกษาระดับขั้นพนื้ ฐาน ระหวา่ งปีการศกึ ษา พ.ศ.2560 – พ.ศ.2561 มาตรฐาน ผลการประเมนิ พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลศิ ดีเลิศ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ ีเ่ น้นนกั เรยี นเป็นสาคญั ดีเลิศ ดีเลศิ ดเี ลศิ ดเี ลศิ สรุป ดีเลิศ ดีเลศิ ตารางที่ 11 จานวนนักเรยี นท่มี ผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต้ังแต่ระดบั 3 ขึ้นไป ปีการศึกษา พ.ศ.2561 ระดบั ชนั้ ภาษาไทย จานวนนักเรยี นทมี่ ผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นต้งั แตร่ ะดบั 3 ข้ึนไป (คน) รวม ป.1 31 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ภาษาอังกฤษ 59 ป.2 33 51 ป.3 22 24 26 39 26 43 ป.4 17 26 30 28 33 36 ป.5 21 22 21 10 26 45 ป.6 24 12 24 22 16 40 ม.1 17 16 18 33 33 42 ม.2 15 12 19 31 25 29 ม.3 18 3 26 23 15 28 1 19 23 10 4 17 14 1

37 1.7 ผลการประเมินของ สมศ.รอบที่ 3 (พ.ศ.2555) ตารางที่ 12 ผลการประเมนิ ของ สมศ.รอบที่ 3 ระดับการศกึ ษาปฐมวยั กลุ่มตัวบง่ ช้พี น้ื ฐาน นา้ หนกั คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ระดบั คุณภาพ 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชที้ ่ี 1 เด็กมีพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกายสมวยั 5.00 5.00 ดมี าก 4.50 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ่ี 2 เด็กมพี ฒั นาการทางด้านอารมณแ์ ละจติ ใจสมวัย 5.00 8.00 ดี 10.00 ดีมาก ตวั บ่งชที้ ่ี 3 เด็กมีพฒั นาการทางด้านสังคมสมวยั 5.00 35.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ 4 เด็กมีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญาสมวัย 10.00 13.00 ดี ตวั บ่งชท้ี ี่ 5 เดก็ มคี วามพรอ้ มศึกษาตอ่ ในขน้ั ต่อไป 10.00 4.48 ดี ตัวบ่งชที้ ี่ 6 ประสทิ ธภิ าพของการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ที่เน้น 35.00 2.50 ดมี าก เดก็ เปน็ สาคัญ 2.50 ดมี าก ตวั บ่งชท้ี ี่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบริหารจดั การและการพฒั นา 15.00 2.00 ดี สถานศกึ ษา 2.50 ดีมาก ตัวบง่ ชที้ ี่ 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกนั คณุ ภาพภายใน 5.00 94.48 ดมี าก กลมุ่ ตัวบ่งชอี้ ตั ลักษณ์ ไมใ่ ช่ ไมใ่ ช่ ตัวบง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลตุ ามปรัชญา วสิ ัยทัศน์ พนั ธกิจและ 2.50 ไมใ่ ช่ วตั ถุประสงค์ของการจัดต้งั สถานศึกษา ตวั บง่ ชที้ ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจดุ เน้นและจุดเดน่ ทส่ี ่งผลสะทอ้ นเปน็ 2.50 เอกลกั ษณ์ของสถานศกึ ษา กลมุ่ ตวั บง่ ช้ีมาตรการสง่ เสรมิ ตวั บ่งชที้ ี่ 11 ผลการดาเนินงานโครงการพิเศษเพื่อสง่ เสริมบทบาทของ 2.50 สถานศกึ ษา ตวั บ่งชท้ี ี่ 12 ผลการสง่ เสรมิ พฒั นาสถานศึกษาเพอ่ื ยกระดบั มาตรฐาน 2.50 รักษามาตรฐานและพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลศิ ทส่ี อดคล้องกับ แนวทางการปฏิรปู การศกึ ษา คะแนนรวม 100.00 การรบั รองมาตรฐานของสถานศกึ ษา ระดับปฐมวัย ผลคะแนนรวมทกุ ตวั บ่งชี้ ตง้ั แต่ 80 คะแนนข้ึนไป  ใช่ มีตัวบ่งชี้ท่ีได้ระดับดขี ้ึนไปอย่างนอ้ ย 10ตวั บง่ ชีจ้ าก 12 ตัว  ใช่ ไม่มตี วั บ่งช้ใี ดทีม่ รี ะดับคณุ ภาพตอ้ งปรับปรงุ หรอื ต้องปรับปรุงแกไ้ ข  ใช่ ในภาพรวมสถานศกึ ษาจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน  สมควรรับรองมาตรฐานการศึกษา

38 ตารางท่ี 13 ผลการประเมนิ ของ สมศ.รอบท่ี 3 การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน : ประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา กลมุ่ ตัวบง่ ช้ีพ้นื ฐาน นา้ หนกั คะแนน คะแนนทไี่ ด้ ระดบั คุณภาพ 9.66 ดมี าก ตัวบง่ ชท้ี ี่ 1 เด็กมีพัฒนาการทางดา้ นรา่ งกายสมวยั 10.00 9.65 ดีมาก 8.46 ดี ตวั บง่ ชท้ี ี่ 2 เดก็ มีพฒั นาการทางดา้ นอารมณ์และจติ ใจสมวยั 10.00 8.95 ดี 8.57 พอใช้ ตวั บง่ ชที้ ี่ 3 เด็กมีพัฒนาการทางดา้ นสงั คมสมวยั 10.00 8.00 ดี ตัวบ่งชที้ ี่ 4 เด็กมีพฒั นาการทางด้านสตปิ ัญญาสมวัย 10.00 4.30 ดี ตัวบง่ ชท้ี ่ี 5 เด็กมคี วามพรอ้ มศึกษาต่อในขั้นต่อไป 20.00 4.55 ดมี าก ตัวบง่ ชที้ ี่ 6 ประสทิ ธิภาพของการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรทู้ ีเ่ นน้ 10.00 5.00 ดีมาก นักเรียนเปน็ สาคญั 5.00 ดีมาก ตัวบง่ ชที้ ี่ 7 ประสทิ ธิภาพของการบรหิ ารจัดการและการพฒั นา 5.00 4.00 ดี สถานศกึ ษา 5.00 ดีมาก ตวั บ่งชท้ี ี่ 8 ประสทิ ธผิ ลของระบบการประกันคุณภาพภายใน 5.00 81.14 ดี กลมุ่ ตัวบง่ ชอ้ี ัตลกั ษณ์ ไม่ใช่ ไมใ่ ช่ ตวั บง่ ชท้ี ี่ 9 ผลการพฒั นาให้บรรลุตามปรชั ญา วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ และ 5.00 ไมใ่ ช่ วัตถุประสงคข์ องการจัดตั้งสถานศึกษา ตัวบ่งชที้ ี่ 10 ผลการพฒั นาตามจุดเน้นและจุดเดน่ ทสี่ ง่ ผลสะทอ้ นเปน็ 5.00 เอกลักษณข์ องสถานศึกษา กลุ่มตัวบ่งช้ีมาตรการสง่ เสรมิ ตวั บ่งชท้ี ่ี 11 ผลการดาเนนิ งานโครงการพเิ ศษเพ่อื ส่งเสรมิ บทบาทของ 5.00 สถานศกึ ษา ตัวบ่งชท้ี ่ี 12 ผลการสง่ เสรมิ พัฒนาสถานศกึ ษาเพือ่ ยกระดับมาตรฐาน 5.00 รักษามาตรฐานและพัฒนาสคู่ วามเปน็ เลศิ ทสี่ อดคลอ้ งกบั แนวทางการปฏริ ปู การศึกษา คะแนนรวม 100.00 การรับรองมาตรฐานของสถานศึกษา ระดับขนั้ พ้นื ฐาน ผลคะแนนรวมทุกตัวบ่งชี้ ต้ังแต่ 80 คะแนนขึ้นไป  ใช่ มีตวั บ่งชี้ทไ่ี ด้ระดบั ดขี น้ึ ไปอยา่ งนอ้ ย 10 ตัวบ่งช้จี าก 12 ตวั  ใช่ ไมม่ ตี ัวบ่งช้ใี ดทมี่ รี ะดับคณุ ภาพตอ้ งปรับปรงุ หรอื ตอ้ งปรบั ปรุงแกไ้ ข  ใช่ ในภาพรวมสถานศกึ ษาจัดการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน  สมควรรับรองมาตรฐานการศกึ ษา

39 ส่วนท่ี 2 สถานภาพของโรงเรยี นชุมชนบ้านฟ่อนวทิ ยา จากการศึกษาสถานภาพ การระดมความคิดเห็น การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ของโรงเรียนชุมชน บ้านฟ่อนวิทยาโดยผู้บริหารโรงเรียน คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษาพร้อมด้วย ตัวแทนผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา ได้ผลการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและ สภาพแวดลอ้ มภายในโดยวธิ ี : SWOT Analysis ดังนี้ สภาพแวดล้อมภายนอก (External Environment) สภาพแวดล้อมภายนอก โอกาส อปุ สรรค (External Environment) ผู้ปกครองและชุมชน (Opportunities) (Threats) การเมืองและกฎหมาย 1. ผปู้ กครองและชมุ ชนใหค้ วามสนใจกับ 1. ผู้ปกครองสว่ นใหญม่ ีคา่ นยิ มสง่ บตุ ร การปฏิรปู การศึกษา หลานเขา้ เรยี นโรงเรียนดงั ในเมอื ง/ 2. ผปู้ กครองและชุมชนให้ความร่วมมือกับ จงั หวัด โรงเรยี นในภารกจิ งานตา่ งๆ 2. การสนับสนนุ งบประมาณของ 3. หนว่ ยงานต้นสงั กดั ให้การสนับสนุน ผูป้ กครองและชุมชนเมื่อ การจัดการศกึ ษา โรงเรยี นรอ้ งขอเท่าน้ัน 4. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนใหก้ าร 3. หน่วยงานภาครัฐและเอกชนมี สนบั สนุนการจัดการศึกษา ภารกิจงานด้านอื่นๆมาก ทาให้การ สนบั สนุนดา้ นงบประมาณเพ่อื การศึกษาของโรงเรียนมีจากัด 1. รัฐจัดใหท้ กุ สถานศึกษาต้องรับการประเมนิ 1. บุคลากรท่ีไมใ่ ชข่ า้ ราชการประจา การประกนั คุณภาพภายนอกรอบสส่ี ่งผลให้ ขาดเสถียรภาพในการทางาน ขาด โรงเรยี นเรง่ รัดในการจัดการศกึ ษาให้ได้ ขวญั กาลังใจมผี ล กระทบต่อการ คณุ ภาพตามมาตรฐาน ปฏบิ ตั ิงาน 2. นโยบายเรียนฟรี 15 ปี เอ้ือประโยชนใ์ ห้ 2. ขอ้ กฎหมายบางข้อเป็นอปุ สรรคต่อ ครอบครวั ของนักเรยี นท่ีขาดแคลนไดร้ ับ พฤติกรรมดา้ นการอบรมวินยั ของ การชว่ ยเหลอื นักเรียน 3. นโยบายของรัฐทเ่ี ปลี่ยนแปลงบ่อย ทาให้การดาเนนิ งานต้องปรับเปล่ยี น ตามรัฐบาลจึงขาดความต่อเนอ่ื งใน การพัฒนา

40 สภาพแวดลอ้ มภายนอก โอกาส อปุ สรรค (External Environment) เศรษฐกิจ (Opportunities) (Threats) สงั คมและวัฒนธรรม 4. นโยบายการจดั สรรงบประมาณ เทคโนโลยี รายหัวของรัฐบาลยังไม่เพียงพอกับ การบริหารจดั การภายในโรงเรยี น 1. ชุมชนทโ่ี รงเรียนตั้งอย่มู ีสถานประกอบการ 1. ผ้ปู กครองส่วนใหญม่ ีฐานปานกลาง- ท่ีประกอบอาชพี หลากหลาย คอ่ นขา้ งยากจน 2. คนในชมุ ชนมฐี านะทางเศรษฐกิจไม่ เท่าเทียม มผี ลกระทบต่อการใหก้ าร สนบั สนนุ การศกึ ษา 3. คา่ ครองชีพทสี่ งู ข้ึนสง่ ผลกระทบต่อ วถิ ชี ีวิตของผู้ปกครอง 1. ภมู ปิ ัญญาท้องถนิ่ ใหค้ วามรว่ มมอื ในการ 1. แนวโน้มประชากรลดลงทาให้ จดั จานวนนักเรยี นมแี นวโน้มลดลงและ การศกึ ษา เพ่มิ ข้นึ ไมแ่ น่นอน 2. ชุมชนมแี หลง่ เรยี นรูท้ ีห่ ลากหลายทาให้ 2.นักเรียนมากกว่าร้อยละ 60 มสี ภาพ นกั เรียนได้รับประสบการณ์ตรง ครอบครวั แตกแยกทาให้นักเรยี น ขาดการอบรมเลยี้ งดทู ่ดี ี 3. ผ้ปู กครองมากกวา่ รอ้ ยละ 80 ประกอบอาชพี รับจ้าง มรี ายได้ไม่ แน่นอนทาให้มีเวลาอยู่กับครอบครัว นอ้ ย 1. ระบบสญั ญาณอินเทอร์เน็ตของโรงเรยี นมี 1.สอ่ื เทคโนโลยี อินเตอรเ์ นต็ เกมส์ ประสิทธิภาพ ทาให้ครผู สู้ อนคลอ่ งตัวใน เขา้ มามบี ทบาทในชีวติ ประจาวันทา การจดั การเรียนการสอน ให้นักเรยี นบางส่วนนาแบบอย่างทผ่ี ิด 2. โรงเรยี นมีเวป็ ไซต์ , เฟสบุ๊ค ในการ ไปประพฤตปิ ฏบิ ัติ เผยแพรผ่ ลงานขอ้ มูล ข่าวสารและกจิ กรรม 2. ขาดการควบคุมดแู ลในการเลอื กใช้ ต่างๆ ทีเ่ กดิ ข้ึน ส่ือเทคโนโลยที ี่ถกู ต้องและเหมาะสม 3. ครูบางส่วนขาดทกั ษะในการใช้ เทคโนโลยี 4. การเข้าถงึ อนิ เตอร์เนต็ ทาได้ยากใน บา้ นพักอาศยั ของนักเรียนบางคน

41 สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Environment) ปจั จยั ภายใน จดุ แข็ง จดุ อ่อน (Internal Environment) โครงสร้างการบริหารงาน (Strength) (Weakness) กลยุทธ์ 1. โรงเรียนมรี ะบบการจัดการศกึ ษาและ 1. หวั หนา้ งาน 4 ฝ่ายขาดความ ประสิทธภิ าพการดาเนินงาน โครงสร้างการบรหิ ารงาน 4 ฝา่ ยทช่ี ดั เจน เข้มแข็งในสายงานและระหว่าง การบรหิ ารจดั การ ครแู ละบุคลากร สายงาน 2. การจดั คนปฏิบัติงานตามโครงสรา้ งมี 2. ครมู ภี าระงานตามโครงสร้างงาน ความเหมาะสม 4 ฝา่ ย มากกวา่ 5 งานทาใหข้ าด ความ คลอ่ งตวั ในการปฏบิ ัตงิ านที่ ไดร้ บั มอบหมาย 3. โครงสรา้ งงาน 4 ฝ่าย สอดคล้องกับการ ขับเคลื่อนของหน่วยงานต้นสังกัด 1. โรงเรยี นมีแผนการจดั การศึกษา 4 ปี และ 1. ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนมภี ารกจิ งานมาก แผนปฏบิ ตั ิการ 1 ปี เปน็ คมู่ ือในการปฏบิ ตั ิ ทาให้ขาดความเข้มแข็งในส่วนของ งานทตี่ ามนโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กดั การนเิ ทศตดิ ตาม 2. มีกลยทุ ธ์ของการปฏิบัติงานทชี่ ดั เจนใช้งาน 2. ผลการดาเนนิ งานบางโครงการ/ ได้จริง กิจกรรมไม่บรรลุตามเปา้ หมายท่ี กาหนด 1. การนานโยบายของหน่วยงานตน้ สังกดั สู่ 1. การนานโยบายต้นสงั กดั สู่การ การปฏบิ ตั ิเป็นรูปธรรม สามารถตรวจสอบ ปฏบิ ัติมมี าก บางภารกิจงานเร่งด่วน ได้ ทาให้ขาดคุณภาพในการปฏิบัติงาน 1. ผูบ้ รหิ ารโรงเรียนและหวั หนา้ งานมี 1. ผรู้ ่วมงานหรือผใู้ ตบ้ งั คับบัญชาบาง คณุ ธรรมจรยิ ธรรม ใช้หลกั การกระจาย คนขาดความเอาใจใสใ่ นงานที่ได้รับ อานาจในการดาเนนิ งาน มอบหมาย 1. ครผู ูส้ อนมากกว่าร้อยละ 90 มี 1. มคี รผู สู้ อนบางคนยังไม่ปรบั การ ประสบการณ์ในการปฏบิ ัติงานสอน เรียนเปลยี่ นการสอนยังใช้วธิ คี รเู ปน็ มากกว่า 20 ปี ศูนย์กลาง 2. ครผู สู้ อนส่วนใหญ่สอนตรงตามวุฒิ 2. ครผู สู้ อนบางคนไม่ชานาญในการใช้ การศึกษา เทคโนโลยีเพอื่ การจัดการเรียนรู้ 3. ครผู ู้สอนมากกว่ารอ้ ยละ 90 มีความ 3.ขาดนักการภารโรงที่มคี วามรดู้ า้ น รบั ผดิ ชอบและให้ความรว่ มมือในการ งานเกษตร ทางานเป็นทีม 4. โรงเรยี นขาดครผู ู้ชาย

42 ปัจจัยภายใน จุดแขง็ จุดออ่ น (Internal Environment) (Strength) (Weakness) ทกั ษะความรู้ความสามารถ 1. โรงเรยี นมีครผู สู้ อนสอนครบชั้นเรยี นและ 1.ครูผูส้ อนบางคนรับผิดชอบงานสอน ครบ 8 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ ไม่ตรงตามวุฒวิ ิชาชพี ค่านยิ มของสมาชิก 2. โรงเรียนไดร้ ับรางวัลจากการปฏิบตั งิ านท่ี 2. ครผู ูส้ อนและบุคลากรทางการ เป็นเลิศตามนโยบายและกิจกรรมที่ ศกึ ษารบั ผดิ ชอบงานตามนโยบาย หน่วยงานต้นสงั กดั มอบหมาย ไมต่ รงตามความถนัดและความ สนใจ 1. คณะครูและบุคลากรสว่ นใหญใ่ ห้ความ 1. ผู้บริหารโรงเรยี นโยกยา้ ยบ่อย รว่ มมอื และมีความสามัคคีในองค์กร ทาใหก้ ารปฏบิ ัติงานหยดุ ชะงกั ขาดความตอ่ เนื่อง 2. เมอ่ื เกิดข้อขัดแยง้ ในการทางานขององค์กร จะใช้หลกั ประชาธปิ ไตยในการคิดตดั สินใจ ตารางสรุปผลการประเมินสถานภาพของโรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟอ่ นวทิ ยาโดยภาพรวม ตารางท่ี 14 การประเมินสถานการณ์สภาพแวดลอ้ มภายนอก ประเด็น น้าหนัก ค่าคะแนน คะแนนจริง สรุปผลการ คะแนน คะแนนเฉลยี่ น้าหนกั x คะแนน วิเคราะห์ คะแนนเตม็ 1 โอกาส (+) อปุ สรรค (-) โอกาส (+) อปุ สรรค (-) ผู้ปกครองและชุมชน 0.3 3.00 2.00 0.9 - 0.6 0.3 การเมืองและกฎหมาย 0.2 3.00 2.00 0.6 - 0.4 0.2 เศรษฐกิจ 0.2 3.00 2.00 0.6 - 0.4 0.2 สังคมและวัฒนธรรม 0.1 3.00 2.00 0.3 - 0.2 0.1 เทคโนโลยี 0.2 3.00 2.00 0.6 - 0.4 0.2 สรุปการประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก 2.10 -1.40 0.70 ค่าเฉลยี่ คะแนนจริงประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายนอก 0.42

43 ตารางที่ 15 การประเมินสถานภาพปัจจยั สภาพแวดล้อมภายใน ประเดน็ น้าหนกั คา่ คะแนน คะแนนจรงิ สรุปผลการ คะแนน คะแนนเฉลย่ี นา้ หนัก x คะแนน วิเคราะห์ คะแนนเตม็ 1 โอกาส (+) อปุ สรรค (-) โอกาส (+) อปุ สรรค (-) โครงสร้างการบรหิ ารงาน 0.15 3.00 2.00 0.45 - 0.30 0.15 กลยุทธ์ 0.15 3.00 2.00 0.45 - 0.30 0.15 ประสิทธิภาพการดาเนนิ งาน 0.12 3.00 2.00 0.36 - 0.24 0.12 การบริหารจดั การ 0.20 3.00 2.00 0.60 - 0.40 0.20 ครแู ละบุคลากร 0.15 3.00 2.00 0.45 - 0.30 0.15 ทักษะความรู้และความสามารถ 0.13 3.00 2.00 0.39 - 0.26 0.13 ค่านยิ มของสมาชิก 0.10 4.00 1.00 0.40 - 0.10 0.30 สรุปการประเมนิ สถานภาพปัจจยั สภาพแวดลอ้ มภายใน 3.10 1.90 1.20 คา่ เฉล่ียคะแนนจริงประเมนิ สถานภาพปจั จยั สภาพแวดล้อมภายใน 0.44

44 ผลจากการวิเคราะห์สถานภาพของโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยาพบว่า อยู่ด้านโอกาสและจุดแข็ง (Stars) แสดงให้เห็นว่าโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยามีสภาพปัจจัยภายนอกเอื้อและแข็ง คือ ภายนอกให้การ สนับสนุน ภายในองค์กรมีประสิทธิภาพในการร่วมมือและทางานร่วมกัน ส่งผลให้โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา เป็นองค์กรที่มีคุณภาพประสบผลสาเร็จ แต่อย่างไรก็ตามโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยายังคงมีปัจจัยบางอย่างท่ี เป็นอุปสรรคและ จุดอ่อน ดังนั้นโรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยาต้องรักษาเสถียรภาพของตนเองไว้และพัฒนา ตนเองอยา่ งต่อเนื่องเพ่อื ปรับปรุงและแก้ไขจุดอ่อนใหล้ ดน้อยลงหรือหมดไป

45 ส่วนที่ 3 กรอบนโยบาย/ทิศทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จากการสรุปสภาพการจดั การศกึ ษา ผลการวเิ คราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอก ยุทธศาสตร์ชาติ (พ.ศ.2561 – 2580) แผนการศึกษาแห่งชาติ (พ.ศ.2560 – 2579) นโยบายและยุทธศาสตร์ของ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ปี พ.ศ.2562 ท่ีได้กาหนดกรอบการศึกษา คือ ต้องเป็นไปเพื่อการ พัฒนาท่ียั่งยืน รู้จักศักยภาพของตนเองและผู้อ่ืน มีความรู้ความสามารถด้านวิชาการ มีทักษะในการประกอบ อาชพี ก้าวสปู่ ระชาคมอาเซียน ประชาคมโลกและศตวรรษที่ 21 ดงั น้ันเพือ่ เตรียมการรองรับการพัฒนาคุณภาพ การศึกษา โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยาจึงได้กาหนดกรอบนโยบายและทิศทางการพัฒนาการศึกษาในระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565) ของโรงเรยี นชุมชนบ้านฟอ่ นวิทยา ดงั นี้ วสิ ัยทศั น์ ภายในปี พ.ศ. 2565 โรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟ่อนวทิ ยามุ่งจดั การศึกษาใหม้ ีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา ข้นั พ้ืนฐาน นักเรยี นมีคุณธรรมจริยธรรม ก้าวทันเทคโนโลยี อยู่ในสงั คมโลกอยา่ งมคี วามสขุ บนพื้นฐานหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง พันธกิจ 1. ส่งเสรมิ ให้นักเรียนมคี ุณภาพตามหลกั สตู รแกนกลางการจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. 2551 และมี คณุ ลักษณะของผ้เู รยี นในศตวรรษที่ 21 2.สง่ เสรมิ ให้นักเรียนมีคณุ ธรรมจรยิ ธรรม และนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ 3.ส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมีความพร้อมสู่งานอาชีพและทนั เทคโนโลยี 4.ส่งเสรมิ ให้นกั เรียนมีสขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี ี ไม่ยงุ่ เก่ยี วกบั ส่งิ เสพติดและอบายมุข มจี ติ สานึกในการอนรุ ักษ์พลังงานและสงิ่ แวดล้อม 5.ส่งเสรมิ การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาใหเ้ ปน็ ครูมอื อาชพี 6.ส่งเสรมิ การบรหิ ารการจดั การศึกษาใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพ ทกุ ภาคสว่ นมีสว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา

46 เป้าประสงค์ 1. นักเรยี นทุกระดับชัน้ มคี วามรู้ มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและมคี ุณลักษณะของผูเ้ รียนในศตวรรษที่ 21 2. นักเรียนชัน้ ป.1 , ป.3 , ป.6 และ ม.3 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนระดับชาตเิ พิ่มสงู ขนึ้ กวา่ ปีผ่านมา ไม่น้อยกวา่ รอ้ ยละ 3 3. นักเรียนทกุ ระดับชน้ั มคี วามสามารถด้านเทคโนโลยี มีทักษะดา้ นงานอาชพี พรอ้ มสสู่ ังคมโลกโดยยดึ หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4. ครมู ที กั ษะสามารถจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ได้อยา่ งหลากหลายตามแบบอย่าง Active Learning สามารถสร้างสรรคน์ วัตกรรมและมที ักษะในการใชเ้ ทคโนโลยี 5. ผูบ้ ริหารโรงเรยี นใชห้ ลักการบรหิ ารแบบมสี ่วนร่วม โดยร่วมมือกบั หน่วยงานภาครัฐและเอกชนในการ ขบั เคล่อื นคุณภาพการศึกษา 6. ระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาได้คุณภาพตามมาตรฐาน เน้นการกระจาย อานาจโดยใช้โรงเรยี นเป็นฐาน กลยุทธ์โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นานกั เรยี นให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน กลยทุ ธท์ ่ี 2 ปลกู ฝงั นกั เรยี นใหม้ ีคุณธรรมจรยิ ธรรมและมที ักษะในการดาเนินชีวติ ตามหลกั ปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียง กลยทุ ธ์ท่ี 3 ส่งเสรมิ นักเรยี นให้มสี ุขภาพกายและจิต รู้รักษาพลังงานและส่ิงแวดล้อม กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาให้เปน็ ครูมืออาชีพ กลยทุ ธท์ ี่ 5 เสรมิ สรา้ งประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การศกึ ษา ประสานความร่วมมอื กับชุมชนและเครือข่าย

47 การนากรอบนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานสูก่ ารปฏิบัติในสถานศึกษา นโยบายท่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพ่อื ความมั่นคง แนวทางการดาเนินงาน นโยบายท่ี 2 1. พฒั นารปู แบบและวิธีการจดั การเรียนรู้ สื่อการเรยี นรู้ และการวัดและประเมินผลท่ีเหมาะสม สาหรบั การพัฒนาศกั ยภาพสงู สุด 2. สง่ เสริมการจดั การเรยี นร้โู ดยใชช้ ุมชนเปน็ ฐาน ในการพฒั นาทกั ษะวชิ าการ ทักษะชีวติ ทกั ษะอาชพี และภาษาที่ 3 พัฒนาคุณภาพผู้เรยี น แนวทางการดาเนินงาน 1. พัฒนาหลักสูตรระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ใหส้ อดคล้องกับทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นเป็นรายบคุ คล 2. ปรับปรุงหลกั สูตรปฐมวยั เพอื่ ให้เดก็ ได้รับการพัฒนา ทั้ง 4 ด้าน สอดคล้องกับทักษะการ เรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 3. สง่ เสริม สนับสนุนให้ครูผูส้ อนนาพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวงรัชกาล ท่ี 10 และหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปบูรณาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ 4. พัฒนานักเรียนสู่ความเปน็ เลิศทางวิชาการ โดยเนน้ การพัฒนาสมรรถนะทจี่ าเป็น 3 ด้าน การรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การร้เู รอื่ งคณิตศาสตร์ (Mathematical Literacy) และการรเู้ รื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) 5. พัฒนานักเรยี นทุกระดับชนั้ ให้มีสมรรถนะด้านดิจทิ ัล (Digital Competence) และ สมรรถนะด้านการสือ่ สารภาษาอังกฤษ และภาษาท่ี 3 6. ส่งเสริม สนับสนุนให้การจดั การเรยี นรทู้ ีใ่ ห้นกั เรียนได้เรยี นรผู้ า่ นกิจกรรมการปฏิบตั ิจริง (Active Learning) 7. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การจัดการเรียนรใู้ ห้นักเรียนในลกั ษณะของ STEM ศึกษา 8. พัฒนารายวิชาท่สี ่งเสริมการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ 9. สง่ เสริมใหน้ ักเรียนทุกคนไดร้ ับประทานอาหารตามหลักโภชนาการ และเป็นไปตามเกณฑ์ มาตรฐานของอนามัย (EESD) 10. ส่งเสริม สนบั สนุนการจัดกจิ กรรมการอนุรักษส์ ิ่งแวดล้อม และการประยกุ ต์ใชป้ รัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี ง 11. ปรับปรงุ และพัฒนากระบวนการวัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง

48 12. สง่ เสรมิ สนบั สนุน ให้นกั เรยี นมที ศั นคตทิ ่ีถูกต้องต่อการปกครองตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตรยิ ์ทรงเปน็ ประมุข 13. ส่งเสริมและพฒั นานักเรียนท่ีมคี วามสามารถพิเศษในด้านวชิ าการ ดนตรี กีฬา ศิลปะ และ อ่นื ๆ เพ่ือยกระดับสคู่ วามเป็นเลศิ 14. สง่ เสริม สนบั สนนุ การนาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใชใ้ นการจดั การเรียนการสอน 15. จดั ใหม้ ีระบบการนิเทศ กากบั ติดตาม ประเมนิ ผลการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการ 16. ส่งเสริม สนับสนุนใหม้ ีระบบประกันคุณภาพภายในท่ีเข้มแขง็ 17. พฒั นาระบบการดูแลชว่ ยเหลอื นกั เรียนและระบบแนะแนวใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ 18. ส่งเสรมิ สนับสนนุ การจดั สภาพแวดลอ้ มและแหล่งเรยี นรู้ให้เอื้อต่อการจัดการศกึ ษา นโยบายท่ี 3 พฒั นาผ้บู ริหาร ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา แนวทางการดาเนินงาน 1. สนับสนนุ ให้ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษา วางแผนและเข้ารับการพฒั นาตาม หลักสูตรทก่ี าหนดที่เชอ่ื มโยงความกา้ วหน้าในวชิ าชพี (Career Path) 2. สง่ เสรมิ และพัฒนาบคุ ลากรในรูปแบบชมุ ชนแห่งการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี (Professional Learning Community: PLC) 3. สง่ เสริมและพฒั นาครใู ห้ออกแบบการเรียนรู้ การจดั การเรียนร้ใู ห้สอดคลอ้ งกบั การวดั ประเมินผลทเี่ นน้ ทักษะการคิดขนั้ สูง (Higher Order Thinking) ผ่านกจิ กรรมการปฏบิ ัติ จริง (Active Learning) 4. ส่งเสรมิ และพัฒนาผบู้ ริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภท ให้มคี วามรู้ทักษะ ด้าน Digital Literacy, Digital Pedagogy ทักษะส่อื สารภาษาอังกฤษ ทักษะสื่อสารภาษา ท่ี 3 5. ส่งเสรมิ และพัฒนาครูให้มีความรแู้ ละทักษะในการสร้างเครื่องมือการวดั และประเมินผลการ เรยี นรู้ด้านทกั ษะการคิดข้ันสูง (Higher Order Thinking) 6. ส่งเสรมิ สนับสนนุ ใหค้ รูพัฒนาตนเองผา่ นระบบ Online และแบบ Face-to-Face Training 7. ปรบั เปล่ยี นกระบวนการวิธีการประเมนิ ครู โดยเน้นการประเมินสมรรถนะในการจดั การ เรียนการสอนโดยผลสมั ฤทธิ์ของผู้เรยี นเปน็ หลกั และประเมินจรรยาบรรณของครู ทุก ๆ 5 ปี (ประเมิน 360 องศา)

49 นโยบายท่ี 4 สรา้ งโอกาสในการเขา้ ถึงบริการการศกึ ษาทีม่ ีคุณภาพ มีมาตรฐาน และลดความ เหลือ่ มลา้ ทางการศกึ ษา แนวทางการดาเนินงาน 1. ร่วมกับองค์กรปกครองระดับพน้ื ที่ ภาคเอกชนและหนว่ ยงานที่เกีย่ วข้อง วางแผนการจดั การศึกษาให้สอดคล้องเหมาะสมกบั บรบิ ทของพนื้ ที่ 2. จดั ทามาตรฐานสถานศกึ ษาโดยพจิ ารณาจากองคป์ ระกอบข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือสร้างโอกาสให้ นักเรยี นเข้าถึงบรกิ ารการเรยี นรูท้ ่ีจะพฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นให้มีมาตรฐาน ได้แก่ ปัจจยั ด้านโครงสรา้ งพืน้ ฐานและส่งิ อานวยความสะดวก เช่น อาคารเรยี น อาคารประกอบ หอประชุม สนามกฬี า ห้องเรียน ห้องพิเศษ วัสดุ ครุภัณฑ์ ฯลฯ ด้านครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา ดา้ นการบรหิ ารจดั การ ด้านงบประมาณ ดา้ นความปลอดภัย และ ด้าน Digital Technology 3. ส่งเสริม สนบั สนุน ปรบั ปรงุ พัฒนาสถานศึกษาใหม้ มี าตรฐานตามที่กาหนด 4. จัดทาระบบข้อมูลสารสนเทศของการจัดการศึกษาพเิ ศษ ที่เชือ่ มโยงกบั หนว่ ยงาน ท่ีเกยี่ วข้องทุกระดบั และนามาใช้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ 5. ส่งเสรมิ สนับสนุน ใหส้ ถานศกึ ษามีระบบคอมพวิ เตอร์ และอปุ กรณ์ที่ใช้เปน็ เคร่ืองมือใน พฒั นาทักษะดา้ น Digital Literacy แก่ผ้เู รียน 6. โครงการพฒั นาคุณภาพการศึกษาทางไกลผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (Distance Learning Information Technology: DLIT) นโยบายที่ 5 เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบริหารจดั การ แนวทางการดาเนนิ งาน 1. กากับ ติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผล เพือ่ การบรหิ ารจัดการท่ีมีประสทิ ธภิ าพ โดยยึด หลกั ธรรมาภบิ าล 2. ส่งเสริมระบบประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาใหเ้ ขม้ แข็ง 3. ใชร้ ะบบการบรหิ ารจัดการท่มี ุ่งเนน้ คณุ ธรรมและความโปร่งใสในการทางานตามหลักการ ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหน่วยงานภาครัฐ (ITA: Integrity & Transparency Assessment) 4. ส่งเสรมิ สนับสนุน ผู้ปกครอง ชมุ ชน สงั คม และสาธารณชน ใหม้ คี วามรู้ความเข้าใจ และมี ส่วนรว่ มรับผดิ ชอบ (Accountability) ในการบริหารจดั การศกึ ษา

50 5. สง่ เสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนของสังคมเข้ามามีส่วนร่วมสนับสนนุ ทรัพยากรเพ่ือการศกึ ษา 6. นาผลการประกันคุณภาพการศกึ ษามาใชใ้ นการวางแผนการปฏิบตั ิการตรวจสอบติดตาม เพอื่ การปรบั ปรงุ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพและเป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ชนั้ ปฐมวัยและข้นั พ้นื ฐานโรงเรยี นชุมชนบ้านฟ่อนวิทยา (พ.ศ.2562 – 2565) ตามทรี่ ัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศให้ใชม้ าตรฐานการศึกษาระดบั ปฐมวยั และ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานเม่ือวันท่ี 6 เดือนสิงหาคม พ.ศ.2561 ทั้งนี้เพ่ือเป็นหลักในการเทียบเคียงให้กับ สถานศึกษาต่างๆซ่ึงจากการประชุมโดยผู้บริหารโรงเรียน คณะครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนชุมชน บ้านฟ่อนวิทยาเห็นชอบให้ใช้มาตรฐานการศึกษาตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการเป็นมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรยี นชุมชนบ้านฟอ่ นวทิ ยา มรี ายละเอียดของมาตรฐานการศกึ ษาแตล่ ะระดับชัน้ ดังตอ่ ไปน้ี มาตรฐานการศกึ ษาระดบั ชน้ั ปฐมวัย (พ.ศ. 2562 - 2565) มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ 1.1 มพี ัฒนาการดา้ นรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนสิ ัยมดี่ ี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพฒั นาการดา้ นสังคม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชิกทด่ี ีของสังคม 1.4 มพี ัฒนาการดา้ นสติปญั ญา ส่อื สารได้ มีทกั ษะการคิดพื้นฐานและแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มีหลกั สตู รครอบคลุมพัฒนาการทง้ั ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บริบทของท้องถนิ่ 2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกบั ช้ันเรยี น 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเช่ียวชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพ่ือการเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ให้ระบบส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศและการสอื่ สารการเรยี นรูเ้ พื่อสนับสนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ียวข้องทุกฝา่ ยมสี ่วนร่วม

51 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการที่เน้นเด็กเป็นสาคญั 3.1 จัดประสบการณท์ ีส่ ่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอยา่ งสมดุลเตม็ ศักยภาพ 3.2 สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณ์ตรง เลน่ และปฏบิ ตั ิอย่างมีความสุข 3.3 จัดบรรยากาศทีเ่ อ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สือ่ เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจดั ประสบการณ์และพฒั นาเดก็ มาตรฐานการศึกษาระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน (พ.ศ. 2562 - 2565) มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผ้เู รียน 1) ความสามารถในการอ่านการเขียนการส่ือสารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแตล่ ะดับช้นั 2) ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอย่างมวี ิจารณญาณอภปิ รายแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหา 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม 4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 5) มีผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสตู รสถานศึกษา 6) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐานและเจตคตทิ ด่ี ตี ามหลักสูตรสถานศึกษา 1.2 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น 1) การมีคุณลักษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามที่สถานศึกษากาหนด 2) ความภูมิใจในท้องถน่ิ และความเป็นไทย 3) การยอมรบั ที่จะอย่รู ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางร่างกายและลักษณะจติ สงั คม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ 2.1) การมีเป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพันธกิจทีส่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน 2.2) มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา

52 2.3) ดาเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย 2.4) พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชีย่ วชาญทางวิชาชีพ 2.5) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมคี ุณภาพ 2.6) จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเปน็ สาคัญ 3.1) จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ ริงและสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ 3.2) ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ท่เี อือ้ ต่อการเรียนรู้ 3.3) มีการบริหารจัดการเรยี นการสอนเชงิ บวก 3.4) ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ และนาผลมาพัฒนาผู้เรียน 3.5) มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลับเพ่ือพฒั นาและปรับปรุงการจัดการเรยี นรู้

53 ตวั ชี้วดั และค่าเป้าหมายในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนชมุ ชนบา้ นฟ่อนวทิ ยาโดยคณะครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ไดร้ ว่ มกันกาหนดค่าเปา้ หมาย สาหรบั ใชใ้ นการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรยี น จาแนกตามระดับช้นั ดงั นี้ ค่าเป้าหมายมาตรฐานการศกึ ษาระดับชัน้ ปฐมวัย (พ.ศ. 2562 - 2565) มาตรฐานและตัวบ่งชี้ เป้าหมายในปี การศึกษา 2562 2563 2564 2565 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของเดก็ 1.1 มีพัฒนาการด้านรา่ งกาย แข็งแรง มสี ุขนิสยั มี่ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 80 80 83 83 1.2 มพี ัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทางอารมณ์ได้ 80 80 83 83 1.3 มพี ัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเปน็ สมาชิกท่ดี ีของสังคม 80 80 83 83 1.4 มีพัฒนาการด้านสตปิ ัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพน้ื ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้ 80 80 83 83 มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ดเี ลิศ ดเี ลศิ ดี ดี 2.1 มีหลักสูตรครอบคลมุ พัฒนาการทั้ง 4 ดา้ น สอดคล้องกับบริบทของท้องถนิ่ เยี่ยม เยย่ี ม 2.2 จัดครูให้เพยี งพอกบั ช้นั เรียน ดีเลิศ ดีเลศิ ดี ดี เยย่ี ม เยี่ยม 2.3 ส่งเสริมให้ครูมีความเชี่ยวชาญด้านการจดั ประสบการณ์ ดี ดี ดีเลศิ ดีเลศิ เยย่ี ม เยี่ยม 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและสื่อเพื่อการเรยี นรู้ อย่างปลอดภยั และเพียงพอ ดี ดี ดีเลศิ ดเี ลศิ เยี่ยม เยยี่ ม ดี ดี 2.5 ให้ระบบส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสารการเรยี นรู้เพอื่ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ ดีเลิศ ดเี ลศิ เยีย่ ม เยี่ยม ดี ดี 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทีเ่ ปิดโอกาสใหผ้ ู้เก่ยี วข้องทุกฝา่ ยมีส่วนร่วม เย่ยี ม เยีย่ ม ดีเลิศ ดีเลิศ

54 มาตรฐานที่ 3 กระบวนการท่ีเนน้ เดก็ เปน็ สาคัญ 3.1 จัดประสบการณ์ทส่ี ่งเสริมใหเ้ ด็กมีพัฒนาการทุกดา้ นอย่างสมดุลเต็มศักยภาพ 90 90 92 92 3.2 สร้างโอกาสให้เด็กไดร้ ับประสบการณ์ตรง เล่นและปฏิบัติอยา่ งมีความสุข 90 90 92 92 3.3 จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรยี นรู้ใชส้ ื่อเทคโนโลยีทีเ่ หมาะสมกับวัย 90 90 92 92 3.4 ประเมินพฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนาผลการประเมนิ พัฒนาการเด็กไปปรับปรุง 90 90 92 92 การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก คา่ เปา้ หมายมาตรฐานการศกึ ษาระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน (พ.ศ. 2562 - 2565) มาตรฐานและตวั บ่งชี้ เป้าหมาย (ร้อยละ) ในปี การศกึ ษา 2562 2563 2564 2565 มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผู้เรียน 1.1 ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผเู้ รียน 1) ความสามารถในการอา่ นการเขียนการสื่อสารและการคิดคานวณตามเกณฑ์ ระดับชั้นประถมศกึ ษา 1.1) ความสามารถในการอ่าน 70 70 73 73 1.2) ความสามารถในการเขยี น 70 70 73 73 1.3) ความสามารถในการสื่อสาร 70 70 73 73 1.4) ความสามารถในการคิดคานวณ 65 65 68 68 2) ความสามารถในการวเิ คราะห์และคิดอยา่ งมีวิจารณญาณอภิปรายแลกเปลยี่ น 65 65 68 68 ความคิดเห็นและแกป้ ัญหา 3) มีความสามารถในการสร้างนวตั กรรม 60 60 65 65 4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 70 70 72 72 5) มผี ลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น (8 กลุม่ สาระการเรียนร้)ู ตามหลกั สูตรสถานศึกษา 5.1 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย 70 70 72 72

5.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 55 5.3 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 65 65 68 68 5.5 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา 70 70 72 72 5.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ 70 72 72 75 5.7 กลมุ่ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี 75 75 78 78 5.8 กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาตา่ งประเทศ 75 75 78 78 6) มีความรทู้ ักษะพ้ืนฐานและเจตคตทิ ี่ดตี ามหลักสตู รสถานศึกษา 75 75 78 78 ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาตอนต้น 65 65 68 68 1.1) ความสามารถในการอา่ น 70 70 72 72 1.2) ความสามารถในการเขยี น 1.3) ความสามารถในการสอื่ สาร 72 72 73 73 1.4) ความสามารถในการคดิ คานวณ 70 70 72 72 2) ความสามารถในการวิเคราะห์และคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณอภิปรายแลกเปล่ียน 70 70 72 72 ความคิดเห็นและแกป้ ญั หา 65 65 67 67 3) มีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 65 65 67 67 มาตรฐานและตวั บ่งชี้ 60 60 65 65 4) ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร เป้าหมาย (รอ้ ยละ) ในปี การศกึ ษา 5) มีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียน (8 กล่มุ สาระการเรียนรู้) ตามหลกั สตู รสถานศึกษา 2562 2563 2564 2565 5.1 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย 70 70 73 73 5.2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ 5.3 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 70 70 72 72 5.4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม 68 68 70 70 70 70 72 72 70 70 72 72

56 5.5 กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ุขศึกษาและพลศึกษา 75 75 78 78 5.6 กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ 75 75 78 78 5.7 กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี 75 75 78 78 5.8 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ 67 67 70 70 6) มีความรทู้ ักษะพืน้ ฐานและเจตคตทิ ี่ดตี ามหลักสตู รสถานศึกษา 70 70 72 72 1.2 คุณลักษณะท่พี งึ ประสงคข์ องผ้เู รียน 1) การมคี ุณลักษณะและค่านยิ มทีด่ ีตามท่ีสถานศึกษากาหนด 70 70 75 75 2) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย 70 70 75 75 3) การยอมรับท่จี ะอยู่รว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย 70 70 75 75 4) สขุ ภาวะทางรา่ งกายและลักษณะจติ สงั คม 70 70 75 75 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1) การมเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั น์และพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากาหนดชดั เจน ดเี ลศิ ดเี ลิศ ดี ดี เยี่ยม เยย่ี ม 2.2) มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา ดีเลิศ ดีเลศิ ดี ดี เยี่ยม เยี่ยม ดี ดี 2.3) ดาเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและ ดีเลศิ ดีเลศิ เย่ยี ม เยี่ยม ทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย ดี ดี 2.4) พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชพี ดีเลศิ ดเี ลศิ เยย่ี ม เยย่ี ม 2.5) จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อต่อการจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ณุ ภาพ ดี ดี 2.6) จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบริหารจัดการและการจดั การเรียนรู้ ดีเลศิ ดเี ลศิ เยยี่ ม เยี่ยม ดี ดี เยีย่ ม เยี่ยม ดเี ลศิ ดเี ลศิ

มาตรฐานและตัวบง่ ชี้ 57 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั เป้าหมาย (ร้อยละ) ในปี การศกึ ษา 3.1) จดั การเรยี นรู้ผา่ นกระบวนกระบวนการคิดและปฏบิ ัติจริงและสามารถนาไป 2562 2562 2562 2562 ประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ติ ได้ 75 75 80 80 3.2) ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ที่เอือ้ ต่อการเรียนรู้ 3.3) มกี ารบรหิ ารจัดการเรยี นการสอนเชงิ บวก 75 75 80 80 3.4) ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผ้เู รยี น 75 75 80 80 3.5) มีการแลกเปล่ียนเรียนรแู้ ละให้ขอ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพัฒนาและปรบั ปรุงการ 75 75 80 80 จัดการ 75 75 80 80 เรียนรู้

58 ส่วนที่ 4 งบประมาณดาเนินการตามกลยทุ ธ์ของสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนบ้านฟ่อนวิทยาได้รับงบประมาณจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แผนงานยทุ ธศาสตร์พัฒนาการศึกษาเพ่ือความยั่งยนื โครงการสนับสนุนคา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับ อนบุ าลจนจบการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน กิจกรรมการสนบั สนนุ ค่าใชจ้ า่ ยในการจัดการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน แนวทางการดาเนนิ งาน 1. ค่าจัดการเรยี นการสอน หมายถงึ งบประมาณงบเงินอดุ หนุน ประเภทเงินอดุ หนนุ ท่ัวไป เงนิ อดุ หนุน คา่ ใช้จ่ายในการจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน ได้แก่ เงินอุดหนุนรายหัว ปัจจัยพืน้ ฐานสาหรบั นักเรยี นยากจน ค่าอาหาร นกั เรียนประจาพักนอน การจัดการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานโดยครอบครัวและสถานประกอบการ 1.1 นักเรียนโรงเรยี นปกติ มเี กณฑ์การจัดสรร ดงั น้ี 1.1.1 เงินอุดหนุนรายหัว 1) ระดับกอ่ นประถมศกึ ษา 850 บาท/คน/ภาคเรยี น (1,700 บาท/คน/ป)ี 2) ระดับประถมศกึ ษา 950 บาท/คน/ภาคเรียน (1,900 บาท/คน/ป)ี 3) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ 1,750 บาท/คน/ภาคเรยี น (3,500 บาท/คน/ป)ี มตคิ ณะรัฐมนตรเี มื่อวนั ท่ี 2 มิถุนายน 2553 เหน็ ชอบใหเ้ พ่ิมเงินอุดหนุนให้โรงเรียนขยายโอกาสทม่ี นี ักเรยี น 300 คน ลงมา ใหเ้ พ่ิมจากรายหัวท่ีได้รับปกติ โดยจดั ให้เฉพาะนักเรยี น ม.ตน้ เพ่ิมใหอ้ ีก 500 บาท/ คน/ภาคเรยี น (1,000 บาท/คน/ปี) 1.1.2 คา่ ปจั จยั พืน้ ฐานสาหรับนักเรยี นยากจน มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวนั ท่ี 12 มถิ นุ ายน 2550 เหน็ ชอบให้ปรับอัตราเงนิ อุดหนนุ ปจั จยั พื้นฐาน นกั เรียนยากจน ดงั นี้ 1) ระดบั ประถมศึกษา 500 บาท/คน/ภาคเรียน (1,000 บาท/คน/ป)ี 2) ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น 1,500 บาท/คน/ภาคเรยี น (3,000 บาท/คน/ปี) 2.คา่ หนงั สือเรียน 3. คา่ อุปกรณ์การเรียน 4. ค่าเครือ่ งแบบนกั เรยี น 5. คา่ กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น - กอ่ นประถมศึกษา 215 บาท/คน/ภาคเรียน (430 บาท/คน/ป)ี - ประถมศึกษา 240 บาท/คน/ภาคเรียน (480 บาท/คน/ปี) - มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ 440 บาท/คน/ภาคเรยี น (880 บาท/คน/ปี

59 จากงบประมาณข้างตน้ โรงเรียนชมุ ชนบ้านฟอ่ นวทิ ยาได้นามาจดั ทาเป็นงบประมาณดาเนนิ การ (งบอุดหนนุ รายหัว และงบกจิ กรรมพฒั นาผเู้ รียน) ในชว่ งระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565) ดงั น้ี ตารางที่ 16 งบประมาณดาเนินการระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – 2565) รายการ 2562 ปีงบประมาณ (พ.ศ.) 2565 120 2563 2564 124 จานวนนกั เรยี น ปฐมวยั (1,700) 272 120 124 276 (คน) ประถมศึกษา (1,900) 98 272 276 100 มัธยมศกึ ษา (3,500) 204,000 98 100 210,800 เงินอุดหนนุ รายหวั ปฐมวัย 516,800 204,000 210,800 (บาท) (430) 343,000 516,800 524,400 524,400 ประถมศกึ ษา (480) 1,063,800 343,000 350,000 350,000 กจิ กรรมพฒั นา มัธยมศึกษา (880) 51,600 1,063,800 1,085200 1,085200 คุณภาพผู้เรยี น รวม 130,560 51,600 53,320 53,320 ปฐมวยั 86,240 130,560 132,480 132,480 (บาท) ประถมศึกษา 268,400 86,240 88,000 88,000 มธั ยมศกึ ษา 268,400 273,800 273,800 รวม จากงบประมาณดาเนนิ การในตารางท่ี 5 โรงเรียนไดน้ ามาจดั สรรเป็นงบประมาณ ( เงนิ อุดหนนุ รายหวั ) ดาเนนิ การตามแผนงาน 4 ฝา่ ย ของสถานศึกษาในชว่ งระยะ 4 ปี ดังนี้ รายการ งบประมาณประมาณการ งบอุดหนุนรายหัว (ประมาณการ) พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 พ.ศ.2564 พ.ศ.2565 คา่ สาธารณูปโภค 1,063,800 1,085200 งบประมาณดาเนนิ การหลังหักคา่ สาธารณปู โภค 300,000 1,063,800 1,085200 300,000 แผนงานวชิ าการ 763,800 785,200 แผนงานบคุ คล 435,366 300,000 300,000 447,564 แผนงานงบประมาณ 76,380 74,594 แผนงานบริหารทั่วไป 76,380 763,800 785,200 74,594 กจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน 76,380 74,594 งบสารองจา่ ย 5% 268,400 435,366 447,564 273,800 38,190 39,260 76,380 74,594 76,380 74,594 76,380 74,594 268,400 273,800 38,190 39,260

60 สว่ นท่ี 5 แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – พ.ศ.2565) โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นฟอ่ นวิทยาไดก้ าหนดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพอ่ื ใหเ้ กิดความสาเรจ็ ตามวสิ ัยทศั น์ พนั ธกิจและเป้าประสงค์ทส่ี ถานศึกษากาหนด โดยกาหนดกลยทุ ธ์สาหรับใช้ในแผนพฒั นาการจดั การศึกษาระยะ 4 ปี (พ.ศ.2562 – พ.ศ.2565) ฉบับน้ี ดังน้ี กลยทุ ธ์ที่ 1 พฒั นานกั เรยี นให้มคี ุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน กลยุทธท์ ี่ 2 ปลกู ฝงั นกั เรยี นให้มีคุณธรรมจริยธรรมและมที ักษะในการดาเนินชวี ิตตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพยี ง กลยุทธ์ท่ี 3 ส่งเสริมนกั เรยี นให้มสี ขุ ภาพกายและจิต รู้รกั ษาพลังงานและสง่ิ แวดล้อม กลยุทธ์ท่ี 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหเ้ ปน็ ครมู ืออาชีพ กลยุทธท์ ี่ 5 เสรมิ สร้างประสิทธิภาพการบริหารจดั การศกึ ษา ประสานความร่วมมือกับชุมชนและเครือข่าย

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนานกั เรียนให้มีคุณ โครงการ วัตถปุ ระสงค์ ตวั ชี้วัด เปา้ หมาย 2562 2563 2564 2565 1.โครงการส่งเสริม - เพอื่ ให้เดก็ ได้รับการ 1.เด็กไดร้ บั การส่งเสริม 80 80 83 83 คุณภาพผ้เู รยี นระดับ สง่ เสริมพัฒนาการทั้ง 4 พัฒนาการทัง้ 4 ดา้ นตาม ปฐมวัย ดา้ นตามหลักสูตร หลกั สตู รการศกึ ษาปฐมวยั - เพื่อให้เด็กมีทกั ษะการ 2. เด็กมีความรู้ด้าน เรียนร้วู ิทยาศาสตร์การ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยีและการใช้ และภาษาเพือ่ การส่อื สาร ภาษาเพอื่ การสื่อสาร 3.เดก็ มีทกั ษะการเรียนรู้ - เพ่ือให้เด็กมที กั ษะการ แบบมอนเตสเซอรี่ เรยี นรตู้ ามแบบ 4.เดก็ มีคุณธรรมและ มอนเตสเซอรี่ จรยิ ธรรมและจุดเนน้ - เพื่อให้เดก็ มีคณุ ธรรม 5.เด็กเลื่อนไปเรยี นใน จริยธรรมและค่านยิ ม ระดบั ชน้ั ทสี่ ูงขึน้ - เพือ่ ให้เด็กมีความ พรอ้ มไปเรียนใน ระดบั ชั้นทีส่ งู ขึน้

ณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 2562 งบประมาณ 2565 กิจกรรม แผนงาน/ 100,000 2563 2564 100,000 ครูผู้รับผิดชอบ 100,000 100,000 - สง่ เสรมิ พัฒนาการท้งั 4 ดา้ น - กิจกรรมบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย บริหารงานวิชาการ - กิจกรรมทักษะการใชค้ อมพวิ เตอร์ ครนู ภิ า - กิจกรรมการฟังพดู ภาษาจนี เพ่ือการ ครูดาราวัลย์ ครสู ธุ าลนิ ี ส่ือสารในชีวิตประจาวัน ครอู ลษิ า - กจิ กรรมมอนเตสเซอรี่ ครูภคพร - กจิ กรรมรูจ้ กั พยญั ชนะไทยและตัวอกั ษร ครธู ัญพร ในภาษาองั กฤษ - กจิ กรรมสง่ เสริมคณุ ธรรมจริยธรรม และจดุ เน้น

กลยทุ ธ์ท่ี 1 พฒั นาผู้เรยี นใหม้ คี ุณภ โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวช้ีวดั เป้าหมาย 2562 2563 2564 2. โครงการพัฒนา - เพ่ือพฒั นาระบบ 1. ระบบ Network มี ดเี ลิศ ดีเลศ ดี ห้องเรียนคอมพวิ เตอร์ อนิ เตอร์เน็ตในสถานศกึ ษา สภาพพร้อมใช้ เยีย่ ม - เพื่อซอ่ มบารุงวัสดอุ ุปกรณ์ 2. คอมพิวเตอร์ทุกเครื่องมี ในห้องเรยี นคอมพวิ เตอร์ให้ สภาพพร้อมใช้ พร้อมใช้ 3. มหี ้องเรียนคอมพิวเตอร์ - เพื่อจัดซ้ือคอมพวิ เตอร์ เพยี งพอกบั ความต้องการ จานวน 26 เครอื่ งทดแทน 4. มีกลอ้ งถา่ ยรปู ใชใ้ นงาน เครอื่ งเดมิ ทช่ี ารุด ตา่ งๆ - เพอื่ จดั ซือ้ กลอ้ งถา่ ยรูป สาหรบั ใชใ้ นกิจกรรม ต่างๆของโรงเรยี น

ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน 2565 2562 งบประมาณ 2565 กจิ กรรม แผนงาน/ ดี 450,000 2563 2564 50,000 ครผู ูร้ บั ผิดชอบ เย่ยี ม 100,000 50,000 - เพม่ิ ประสิทธภิ าพระบบ Network - ซ่อมบารงุ เครื่องคอมพิวเตอร์เดมิ ให้ บรหิ ารงานวิชาการ มีสภาพพรอ้ มใช้ ครรู ่งุ ทวิ า - จัดซ้อื เคร่อื งคอมพวิ เตอร์จานวน ครูนฤมล 26 เครอ่ื ง ครูเอกพล - จดั ซื้อกลอ้ งถา่ ยรปู Android

กลยุทธ์ท่ี 1 พฒั นาผู้เรียนให้มีคุณภ โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวช้ีวัด เปา้ หมาย (รอ้ ยละ) 2562 2563 2564 2565 3.โครงการเสรมิ สร้าง - เพ่อื เสริมสร้าง 1. ผลสัมฤทธ์ิทางการ 72 72 75 75 ความเขม้ แข็ง ความสามารถนกั เรยี น เรยี นของนักเรยี นทุก ระบบงานวิชาการ ด้านผลสัมฤทธิ์ทางการ ระดับชนั้ สงู ขนึ้ มากกวา่ เรียนให้สูงขึ้น รอ้ ยละ 3 - เพอื่ ขบั เคลือ่ นภารกจิ 2. ภารกจิ งานวิชาการมี งานวิชาการใหเ้ กดิ คณุ ภาพตามมาตรฐาน คณุ ภาพตามมาตรฐาน 3. เครอื ข่ายทางการ - เพอื่ เสรมิ สร้าง ศกึ ษามีความเขม้ แข็ง เครอื ขา่ ยทางการศกึ ษา ให้มคี วามเข้มแข็ง

ภาพตามมาตรฐานการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน 2562 งบประมาณ 2565 กจิ กรรม แผนงาน/ 400,000 2563 2564 400,000 ครผู ูร้ บั ผิดชอบ 400,000 400,000 - จัดสรา้ งและฝกึ ความสามารถดา้ นอา่ น ออก เขยี นได้ชนั้ ป.1- ป.6 บรหิ ารงานวชิ าการ - ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน RT , ครขู นิษฐา NT, O-NET เพ่มิ สงู ขึ้นร้อยละ 3 ครูสุนันท์ - จดั วางประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา ครยู วุ ดี ให้เขม้ แข็ง ครขู วัญเมือง - เขา้ รว่ มกจิ กรรมการแขง่ ขนั งาน ครสู ุพศิ ศิลปหัตถกรรมนกั เรียนระดบั เขตพน้ื ทแ่ี ละ ครเุ กษราภรณ์ ระดับประเทศ ครวู ลิ าวลั ย์ - จัดทาแบบ ปพ. 1- 3 ,และ ปพ..5 - 6 ครพู ลับพลงึ - จดั ระบบมนิเทศภายใน ครูนิภา - ฝกึ ทกั ษะฟงั ดู อา่ น พูด ภาษาองั กฤษ ป.1- ป.3 เน้นการส่ือสาร - ปรับปรงุ ดห้องสมดุ 3 ดมี ีชีวติ - ซอื้ สือ่ การสอนและธรุ การช้นั เรยี น - จัดกิจกรรมบัณฑติ นอ้ ยและปจั ฉิมนิเทศ - นานกั เรียนไปแหล่งเรยี นรู้ - จัดจา้ งครจู ้างสอน - ปรับปรงุ แหลง่ เรยี นรใู้ นโรงเรยี น - จัดกิจกรรมแนะแนว - จัดกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรยี น

กลยทุ ธ์ที่ 2 ปลกู ฝงั ผูเ้ รยี นให้มีคุณธรรมจรยิ ธรรมและมที โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวชีว้ ดั เป้าหมาย (รอ้ ยละ) 2562 2563 2564 2565 4. โครงการระบบดแู ล - เพ่อื พฒั นานักเรียนให้ 1.นกั เรียนปลอดยาเสพ 70 70 80 80 ชว่ ยเหลอื นกั เรยี น มคี ุณธรรมจริบธรรม ติด และอบายมขุ และคา่ นิยม 2.นักเรยี นเขา้ รว่ ม - เพอ่ื เสรมิ สรา้ งทักษะ กจิ กรรมกฬี าสี ชวี ิต สร้างภมู คิ ุ้มกัน 3.นักเรยี นเขา้ คา่ ยพกั แรม ทางจิตใจที่เขม้ แข็ง ลูกเสอื เนตรนารี 4. นักเรยี นเกิดอตั ลักษณ์ โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. ตามที่โรงเรยี นกาหนด 5. นกั เรยี นเกิดคุณ ลกั ษณะโรงเรียนสุจรติ 7. นกั เรียนปฏบิ ตั ติ นตาม วถิ ปี ระชาธิปไตย

ทักษะในการดาเนินชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง 2562 งบประมาณ 2565 กจิ กรรม แผนงาน/ 100,000 2563 2564 100,000 ครูผ้รู บั ผดิ ชอบ 100,000 100,000 - จดั หาและมอบทุนการศกึ ษา - เยี่ยมบา้ นนักเรียน บรหิ ารงานทวั่ ไป - จดั ทาแบบประเมนิ SDQ ครยู ุวดี - เสรมิ สร้างอนามัยโรงเรียน ครนู ิลาวัณย์ - จดั อาหารกลางวนั ใหน้ ักเรียนรับประทาน ครูขนษิ ฐา อยา่ งมคี ณุ ภาพ คณะครู - ประกนั อุบัติเหตุ

กลยทุ ธท์ ่ี 3 สง่ เสรมิ ผเู้ รยี นให้มีสุขภา โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ ตัวชี้วัด เป้าหมาย (รอ้ ยละ) 2562 2563 2564 2565 5. โครงการเสรมิ สรา้ ง - เพ่อื ใหน้ กั เรียนมี 1.นักเรยี นมีสุขภาพทาง 70 70 80 80 ประสทิ ธภิ าพกจิ การ สขุ ภาพทางกาย กาย นา้ หนกั และสว่ นสงู นักเรียน นา้ หนักและส่วนสูงตาม ตามเกณฑ์ เกณฑ์ 2.นกั เรียนทกุ คนได้ - เพอ่ื ใหน้ กั เรยี นไดร้ ับ รบั ประทานอาหาร ประทานอาหารกลางวัน กลางวัน อยา่ งมคี ุณภาพ 3. นักเรยี นได้รับบรกิ าร - เพอ่ื สร้างความรูค้ วาม และการคุ้มครองดา้ น เขา้ ใจในการใช้รถ ความปลอดภยั ใช้ถนน 4. นักเรยี นเกดิ - เพ่อื ให้นกั เรยี นไดร้ ับ คณุ ลกั ษณะนิสัยลดใช้ การคมุ้ ครองจาก พลังงานและรกั ษา อบุ ตั ิภัย ส่งิ แวดล้อม - เพอื่ สร้างนสิ ยั ในการ 5.นกั เรยี นรู้เข้าใจและมี ลดใช้พลังงานและรักษา ส่วนรว่ มในกิจกรรมวนั สิง่ แวดลอ้ ม สาคญั ชาติ ศาสนาและ พระมหากษัตรยิ ์

าพกายและจิตที่ดี รูร้ ักษาพลงั งานและสิ่งแวดล้อม 2562 งบประมาณ 2565 กจิ กรรม แผนงาน/ 50,000 2563 2564 50,000 ครผู รู้ ับผิดชอบ 50,000 50,000 - จดั คา่ ยหอ้ งเรียนสเี ขียว - จัดกจิ กรรม 5 ส บรหิ ารงานทัว่ ไป - จัดกฬี าสีตา้ นภยั ยาเสพตดิ ครรู ุง่ เรือง - เขา้ คา่ ยพกั แรมลูกเสือ เนตรนารี ครจู นั ทรพ์ มิ พ์ - โครงงานคุณธรรม สพฐ. ครูขนิษฐา - โรงเรียนสจุ รติ ครูนลิ าวณั ย์ - วถิ ปี ระชาธิปไตย ครูธีรารตั น์ - สถานศกึ ษาปลอดภยั ครูสุพิศ - งานจราจรปลอดภยั

กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาครูและบคุ โครงการ วตั ถุประสงค์ ตัวชว้ี ัด เป้าหมาย (ร้อยละ) 2562 2563 2564 2565 6. โครงการพฒั นา - เพอื่ สง่ เสรมิ และพัฒนา 1.ครเู ข้ารว่ มประชมุ 80 80 90 90 ศกั ยภาพครแู ละ ครูให้มีมาตรฐาน มี อบรม สมั มนา ศกึ ษาดู บุคลากรสูม่ อื อาชพี ความสามารถในการใช้ งาน แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ งานเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถเข้าถึงและใช้ - เพอื่ ใหค้ รูและบคุ ลากรมี ประโยชนจ์ ากเทคโนโลยี คณุ ธรรม จรยิ ธรรม สารสนเทศ ปฏบิ ตั ิตามจรรยาบรรณ 2. ครมู ีคุณธรรม ของวิชาชพี มีความมงุ่ ม่ัน จรยิ ธรรม ปฏิบัตติ าม อุทศิ ตนในการสอน และ จรรยาบรรณของวชิ าชพี พฒั นาผู้เรียน มีความมงุ่ ม่ัน อุทศิ ตนใน - เพอ่ื ส่งเสรมิ ใหค้ รูและ การสอนและพัฒนา บุคลากรมีสุขภาพทีด่ ี ผูเ้ รียน 3. ครมู ีสุขภาพท่ดี ี

คลากรทางการศึกษาให้เปน็ ครูมืออาชพี 5 2562 งบประมาณ 2565 กจิ กรรม แผนงาน/ 70,000 2563 2564 70,000 ครผู ู้รบั ผิดชอบ 70,000 70,000 - ครูเข้าร่วมประชุม อบรมสัมมนาตามที่ หน่วยงานต่างๆจัดข้ึน บรหิ ารงานบุคลากร - จัดกิจกรรมมุฑิตาจิตครูเกษียณอายุ ครูจันทรพ์ ิมพ์ ราชการ ครูยุวดี - จดั กจิ กรรมศกึ ษาดูงาน ครูสมฤทัย ครูยพุ ิน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook