Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Published by Naruemol Poopinta, 2022-01-23 07:43:16

Description: หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

Search

Read the Text Version

1

หน่วยการเรียนร้ทู ี่ 1 คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผอู้ านวยการสถานศึกษา โรงเรยี นชุมชนบ้านฟอ่ นวิทยา จังหวัดลาปาง สงั กดั สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 กระทรวงศึกษาธกิ าร ผู้บริหารหรือผู้นาหรือผู้จัดองค์การ หรือหัวหน้างาน ไม่ว่าหน่วยงานเล็กหรือหน่วยงานใหญ่ หน่วยงาน ราชการหรือเอกชนก็ตาม ย่อมมีบทบาทที่เป็นผลต่อการสาเร็จหรือประสิทธิภาพ ของงานเป็นอยา่ งยิ่ง บางครง้ั การจดั องค์การ แม้จะไม่เรยี บรอ้ ยถกู ต้องอยู่บ้าง กอ็ าจได้รบั ผลงานสูงได้ หากผู้บริหารมคี ณุ ลักษณะทีด่ ี แตถ่ ้าคณุ ลักษณะ หรือพฤติกรรมในการนาของผู้บริหารไม่ดี แม้การจัด องค์การถูกต้อง หรือดีเพียงใดก็ตาม ผลงาที่เกิดขึ้นของหน่วยงานนั้นๆ ย่อมสมบูรณ์ได้ยาก ดังน้ัน ผู้บริหารหรือผู้นาจะต้องมีคุณสมบัติเหมาะสม มีพฤติกรรม ในการนาที่ถูกต้อง เหมาะสมเพราะ ความสาเร็จของงานทุกดา้ นขององค์การ ขนึ้ อยู่กับผู้บริหาร หรือผู้นา ซึ่งจะวินิจฉัยสงั่ การ หรือตัดสนิ ใจ แก้ปัญหาต่างๆ เพื่อให้งานเกิดประสิทธิภาพ ซึ่งคุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ของผู้บริหารหรือผู้นาน้ัน ควรที่จะประกอบด้วยเรื่องที่สาคัญ ได้แก่ คุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ คุณลักษณะด้านความเป็นผู้นา คณุ ลกั ษณะดา้ นความรู้ทางวิชาการ และ คุณลักษณะดา้ นความสามารถในการบรหิ าร 1. คุณลักษณะดา้ นบุคลิกลกั ษณะ 1.1 เป็นผมู้ ีความรู้ 1.2 เปน็ ผมู้ ีความคิดริเรม่ิ สร้างสรรค์ 1.3 เป็นผมู้ ีความกลา้ หาร 1.4 เปน็ ผมู้ ีความเด็ดขาด 1.5 เปน็ ผมู้ ีความแนบเนียน มีกริ ิยาวาจาที่ถูกต้องเหมาะสม 1.6 เปน็ ผมู้ ีความยุติธรรม 1.7 เป็นผมู้ ีลกั ษณะท่าทางการแสดงออกทีด่ ี 1.8 เปน็ ผทู้ ีม่ ีความอดทน 1.9 เป็นผทู้ ี่มีความกระตอื รือรน้ 1.10 เป็นผทู้ ี่ไมเ่ ห็นแก่ตัว 1.11 เปน็ ผมู้ ีความตน่ื ตวั หรือระมัดระวงั อยู่เสมอ 2

1.12 เป็นผมู้ ีความพินิจพิจารณาสิง่ ต่างๆ อย่างมีเหตุผล 1.13 เปน็ ผมู้ ีความสงบเสงีย่ ม 1.14 เปน็ ผมู้ ีความสงรักภักดี 1.15 เปน็ ผมู้ ีมนุษยส์ ัมพันธ์ที่ดี 1.16 เป็นผมู้ ีความสามารถควบคุมอารมณไ์ ด้ดี 2. คณุ ลักษณะด้านความเปน็ ผู้นา 2.1 ความมีชีวิตชีวาและทนทาน (Vitality and Endurance) จะต้องมีความคล่อง แคล่วว่องไว ตืน่ ตัวอยู่เสมอ พร้อมอยู่เสมอทีจ่ ะรับสถานการณ์ทุกชนิด ปรับตัวได้ เปล่ยี นแปลงได้ และร่าเรงิ แจ่มใส อยู่เสมอ มีความอดทนต่อการทางานหนักและนานๆ ทนต่อความลาบากเจ็บช้าได้ โดยไม่ปริปาก หรือ แสดงอาการ ท้อแท้ ให้พบเหน็ 2.2 ความสามารถในการตดั สินใจ (Decisiveness) จะต้องตดั สนิ ใจถกู ต้อง ตัดสินใจ ได้เร็ว และ เตม็ ใจเสมอ ทีจ่ ะเป็น ผู้ตดั สินใจดว้ ยตัวเอง ในเมื่อมีปญั หาใดๆ เกิดขนึ้ 2.3 ความสามารถในการจงู ใจคน (Persuasiveness) ผู้นาที่สามารถชักจูงให้ผู้อื่นร่วม มือกับตน ได้เท่าน้ัน ทีจ่ ะได้รับความสาเรจ็ 2.4 ความรบั ผิดชอบ (Responsibility) 2.5 ความฉลาดไหวพริบ (Intellectual Capacity) ความฉลาดไหวพริบจาเป็นที่สุด สาหรับ ผู้บริหาร หรือผู้นา ทีจ่ ะใช้ในการบรหิ ารงาน หรือใช้ในการวินิจฉยั สงั่ การ 3. คุณลกั ษณะดา้ นความรู้ทางวิชาการ ความรทู้ างวิชาการไดแ้ ก่ การศึกษาวิชาการท่ัวไป การศึกษาดา้ นวิชาชีพ และการศึกษา ให้เกิด ความรอบรู้ เชี่ยวชาญในแขนงวิชาที่คนสนใจ สาหรับใช้จัดระดับความรู้ และประสบการณ์ ในการ ทางานของบคุ คลที่มาทางาน ในการเป็นผบู้ รหิ าร 4. คณุ ลกั ษณะดา้ นความสามารถในการบริหาร 4.1 ใช้แผนเปน็ เครือ่ งมือในการบรหิ ารโรงเรียน อย่างมีประสทิ ธิภาพ ได้แก่ การจัด ระบบข้อมลู สารสนเทศให้ถูกต้อง การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดทาแผน การมอบหมายงานให้บุคลากรทาตาม ความรคู้ วามสามารถ การควบคุม กากับ ติดตาม นิเทศงาน 4.2 สนับสนุนให้บุคลากรเกิดความมุ่งมั่นในการพัฒนา ได้แก่ การส่งเสริมให้ บุคลากรพัฒนา ตนเองและพัฒนางาน การจดั สวสั ดิการ สง่ิ อานวยความสะดวก และประโยชน์ ตอบแทน 4.3 จัดกิจกรรมหลากหลายเพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน ได้แก่ การจัดกิจกรรม ทาง วิชาการ การจดั บริการแนะแนว บรกิ ารสุขภาพ การจดั กิจกรรมสง่ เสริมการเรียนรู้ ศิลปวฒั นธรรมการ จัดสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนให้มีบรรยากาศสง่ เสริมการเรียนรู้ 3

4.4 ประสานความร่วมมือจากทุกฝ่ายเพื่อพัฒนางาน 4.5 ประเมินผลการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระบบ เป็นการประเมินผลการปฏิบัตงิ าน อย่างต่อเนื่อง ใช้วิธีการที่หลากหลาย ให้ทุกฝ่ายมีส่วนร่วม นาผลการประเมินไปนิเทศ และพัฒนางานการบริหาร เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย 5. บทบาทผ้บู รหิ ารสถานศึกษาเพอ่ื การปฏิรูปการศึกษา 5.1 บทบาทของผู้บริหารโรงเรียนในการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็น สาคัญ พอสรุป ได้ดังนี้ 5.1.1 เป็นผู้นาในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ของครูและ นกั เรยี น 5.1.2 เปน็ ผนู้ าในการบรหิ าร โดยยึดแนวทางการบริหารโดยใช้โรงเรียนเปน็ ฐาน 5.1.3 เป็นผนู้ าดา้ นการนานวัตกรรมและเทคโนโลยี มาใช้ในการพฒั นาการเรียนรู้ 5.1.4 เป็นผนู้ าในการพฒั นาวิชาการ 5.1.5 เป็นผปู้ ระสานความร่วมมือกับชุมชน 5.1.6 เป็นผนู้ าในการบรหิ ารงานแบบประชาธิปไตย โดยร่วมกันทางานเป็นทีม และสง่ เสริม ให้ทกุ คนมีส่วนร่วม อย่างแข็งขนั 5.1.7 เปน็ ผนู้ าในการจดั การศึกษา และเปน็ เอกลักษณ์ขององค์กรในทางสร้างสรรค์ 5.1.8 เป็นผู้นาในการบริหารคุณภาพ โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ลงมือทา และรบั ผิดชอบรว่ มกัน เพือ่ มุ่งพฒั นาคณุ ภาพของผู้เรยี นเปน็ สาคญั 5.1.9 เป็นผู้สร้างขวัญและกาลังใจแก่บุคลากรเพื่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมใน การเรียนรู้และ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ร่วมกนั 5.1.10 เป็นผนู้ าในการจดั หางบประมาณ เพื่อสนบั สนนุ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา 5.2 บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษา ทีม่ ีการบรหิ ารที่ใช้โรงเรียนฐาน (SBM : School Based Management) ประกอบดว้ ยเกณฑต์ ่อไปนี้ 5.2.1 การเป็นผนู้ าทางวิชาการ 5.2.2 การบรหิ ารแบบมีส่วนร่วม 5.2.3 การเป็นผอู้ านวยความสะดวก 5.2.4 การประสานความสมั พนั ธ์ 5.2.5 การสง่ เสริมการพัฒนาครแู ละบคุ ลากร 5.2.6 การสร้างแรงจูงใจ 5.2.7 การประเมินภายในและประเมินภายนอก 4

5.2.8 การสง่ เสริมสนับสนุนการวิจัย พฒั นา 5.2.9 การเผยแพร่ ประชาสมั พนั ธ์ 5.2.10 การสง่ เสริมเทคโนโลยี 5.3 บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ตามมาตรา 39 ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ . ศ . 2542 ที่ให้กระทรวงกระจายอานาจการบริหาร จดั การ ไปยงั คณะกรรมการ และสานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาโดยตรง ใน 4 ดา้ น คือ ดา้ นวิชาการ การ บรหิ ารงบประมาณ การบรหิ ารบุคคล และการบริหารทว่ั ไป สรุปพอสังเขปได้ดงั นี้ 5.3.1 ด้านวิชาการ 1. มีความรแู้ ละเปน็ ผนู้ าดา้ นวิชาการ 2. มีความรู้ มีทกั ษะ มีประสบการณ์ด้านการบรหิ ารงาน 3. สามารถใช้ความรู้และประสบการณ์แก้ปญั หาเฉพาะหน้าไดท้ นั ท่วงที 4. มีวิสัยทศั น์ 5. มีความคิดริเร่มิ สร้างสรรค์ 6. ใฝเ่ รียน ใฝร่ ู้ มุ่งพัฒนาตนเองอยู่เสมอ 7. รอบรทู้ างด้านการศึกษา 8. ความรบั ผิดชอบ 9. แสวงหาข้อมูลขา่ วสาร 10. รายงานผลการปฏิบตั งิ านอย่างเปน็ ระบบ 11. ใช้นวตั กรรมทางการบรหิ าร 12. คานึงถึงมาตรฐานวิชาการ 5.3.2 การบรหิ ารงบประมาณ 1. เข้าใจนโยบาย อานาจหน้าที่ และกิจกรรมในหน่วยงาน 2. มีความรรู้ ะบบงบประมาณ 3. เข้าใจระเบียบคลงั วัสดุ การเงิน 4. มีความซือ่ สัตย์ สจุ ริต 5. มีความละเอียดรอบคอบ 6. มีความสามารถในการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล 7. หมน่ั ตรวจสอบการใช้งบประมาณอยู่เสมอ 8. รายงานการเงินอย่างเปน็ ระบบ 5

5.3.3 การบรหิ ารงานบคุ คล 1. มีความรู้ ทักษะ ประสบการณใ์ นการบริหารงานบคุ คล 2. เปน็ แบบอย่างที่ดี 3. มีมนษุ ยสัมพันธ์ 4. มีอารมณ์ขนั 5. เปน็ นกั ประชาธิปไตย 6. ประนีประนอม 7. อดทน อดกลนั้ 8. เปน็ นักพดู ทด่ี ี 9. มีความสามารถในการประสานงาน 10. มีความสามารถจงู ใจให้คนร่วมกันทางาน 11. กล้าตัดสินใจ 12. มุ่งมนั่ พฒั นาองค์กร 5.3.4 การบรหิ ารทวั่ ไป 1. เป็นนกั วางแผนและกาหนดนโยบายทีด่ ี 2. เปน็ ผทู้ ี่ตัดสินใจและวินิจฉัยส่ังการทีด่ ี 3. มีความรู้ และบรหิ ารโดยใช้ระบบสารสนเทศทีท่ ันสมยั 4. เปน็ ผทู้ ีม่ ีความสามารถในการติดต่อสอ่ื สาร 5. รู้จักมอบอานาจและความรับผิดชอบแก่ผทู้ ี่เหมาะสม 6. มีความคลอ่ งแคลว่ ว่องไว และตืน่ ตวั อยู่เสมอ 7. มีความรับผิดชอบงานสงู ไมย่ ่อท้อตอ่ ปัญหาอุปสรรค 8. กากับ ติดตาม และประเมินผล 5.4 บทบาทผบู้ รหิ ารสถานศึกษาในการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ของโรงเรียน เป็นการให้หลักฐานข้อมูลแก่ประชาชนว่า บคุ ลากรในโรงเรียนทางานอย่างเต็มความสามารถ เพือ่ ให้ผู้ปกครองนกั เรียน และสาธารณชนมั่นใจใน คุณภาพของนักเรียน ดังน้ัน โรงเรียนต้องจัด ให้มีระบบประกันคุณภาพภายใน และให้ถือว่าเป็นส่วน หนึ่ง ของกระบวนการบริหารการศึกษา ที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยจัดทารายงานประจาปี เสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเปิดเผยต่อสาธารณะ เพื่อนาไปสู่การพัฒนา คณุ ภาพและมาตรฐานการศึกษา 6

บทบาทของผู้บรหิ ารสถานศึกษาทีก่ ล่าวถึงที่ยงั เปน็ ผลให้เกิดการพฒั นาโรงเรียนท้ังระบบเพือ่ การปฏิรูป การศึกษา ที่จะต้องบริหารแบบมีสว่ นร่วม มีลักษณะของผู้นาแบบประชาธิปไตย จะให้ความสาคัญ ให้ เกียรติและเคารพ ในศักด์ิศรีของผู้ร่วมงาน ยอมรับและเปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานแสดงความคิดเห็นร่วม แก้ปัญหาและร่วมตัดสินใจ เป็นผู้มีวิสัยทัศน์ มีความเชื่อมั่น เห็นคุณค่าของตนเองและผู้ร่วมงาน ซือ่ สตั ย์ จริงใจ มีความสามารถกระตนุ้ และจงู ใจให้เกิดความรักและความผกู พันในโรงเรียน ดังน้ัน การพัฒนาโรงเรียนท้ังระบบเพื่อการปฏิรปู การเรียนรู้ ผู้บริหารสถานศึกษาจะต้องเปล่ียนแปลง บทบาทของตนเองโดยการใช้หลักการบริหารคุณภาพที่ให้ทุกคนมีส่วนร่วมคิดร่วมตัดสินใจ โรงเรียน สร้างทีมงาน ซึ่งมีความสาคัญต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน (School Based Management : SBM) สรปุ ผู้บริหารสถานศึกษา จะต้องมีความรู้ ความสามารถในการบริหาร จัดการ มีวิสัยทัศน์ ในการบริหารการศึกษาให้ทันสมัยกับการเปล่ียนแปลง มีภาวะผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์เป็นที่ยอมรับ ของผู้เกีย่ วข้อง และมีความเปน็ ประชาธิปไตย เพื่อนาไปสกู่ ารปฏิรูปการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทกุ คนมีความรู้ ความสามารถ บุคลิกลักษณะ และคุณสมบัติตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานอย่างแท้จริง ดังนั้น ผู้บริหารสถานศึกษาทีม่ ีประสทิ ธิภาพ ควรมีลักษณะทีส่ าคญั คือ นักพฒั นา นักแก้ปญั หา นักตัดสินใจ นักประนปี ระนอม นักการฑูต นักวางแผน นกั ปกครอง และนกั ปราชญ์ 7


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook