Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความเป็นมาของสมรรถนะ

ความเป็นมาของสมรรถนะ

Published by Naruemol Poopinta, 2021-01-19 12:47:45

Description: ความเป็นมาของสมรรถนะ

Search

Read the Text Version

สมรรถนะของผบู้ รหิ ารสถานศึกษา ความเป็นมาของสมรรถนะ เดวิด ซี. แมคเคลล์แลนด์ (David C. McClelland อ้ำงถงึ ใน สำนกั งำนพัฒนำและส่งเสริมวิชำชีพ , 2549 : 56) ศำสตรำจำรย์ทำงด้ำนจิตวิทยำแห่งมหำวิทยำลัยฮำร์วำร์ด เป็น คนแรกที่ริเริ่มใช้คำว่ำ สมรรถนะ และเป็นผู้นำแนวคิดนี้มำใช้ในองค์กรแมคเคลล์แลนด์ ไดพ้ ัฒนำแบบทดสอบขึ้นชุดหนึ่งเพื่อ ศึกษำว่ำคนที่ทำงำนได้อย่ำงมีประสิทธิภำพนั้นมีอุปนิสัยและเจตคติอย่ำงไร โดยเก็บข้อมูลของกลุ่ม บุคคลที่มีผลกำรปฏิบัติงำนโดดเด่นกับผู้ที่ไม่ได้ มีผลงำนโดดเด่น ด้วยวิธีสัมภำษณ์ ผลจำกกำรศึกษำ หลำยครั้งทำให้พบว่ำแบบสอบวัด ควำมถนัด (Aptitude test) ที่นักจิตวิทยำสร้ำงขึ้นเพื่อใช้ทำนำยผล กำรปฏิบตั ิงำนของบุคคลนั้นไมส่ ำมำรถใช้ทำนำยผลควำมสำเรจ็ ในกำรปฏิบตั ิงำนจริงของบุคคลไดแ้ ละ ยังมีควำมโน้มเอียงด้ำนวฒั นธรรม ซึง่ ในประเดน็ นี้ แมคเคลล์แลนด์ ได้นำมำอธิบำยในภำยหลงั ว่ำควำม ผิดพลำด ที่เกิดขึ้นในครั้งนั้นเกิดจำกตัวแบบทดสอบไม่ได้เกิดจำกเกณฑ์ในกำรประเมิน เนื่องจำก นักจิตวิทยำได้ออกข้อทดสอบเพื่อจะใช้วัดเชำวน์ปัญญำ ไม่ได้ใช้วัดเพื่อหำผู้ปฏิบัติงำนที่ดีที่สุด (The best performer) แนวคิดของแมคเคลล์แลนด์ปรำกฏชัดเจนในบทควำมชื่อ “Testing for Competence Rather Than for Intelligence” ที่ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1973 ซึ่งสรุปได้ว่ำ องค์ประกอบที่ทำให้บุคคลประสบ ควำมสำเร็จในกำรทำงำนมิได้ขึ้นอยู่กับระดับสติปัญญำ (IQ) ของคนเท่ำนั้นหำกแต่ยังเกี่ยวข้องกับ คณุ ลกั ษณะอื่นๆ ของบุคคลด้วยโดยเฉพำะในเรื่องควำมมนั่ คง ทำงอำรมณ์ (EQ) กำรปรบั ตวั และ เจตคตขิ องบุคคล สมรรถนะเปน็ สิ่งที่สำมำรถใช้ทำนำยควำมสำเรจ็ ในกำรทำงำนได้ดีกว่ำวิธีกำรทำนำย แบบเดมิ ทีพ่ ิจำรณำควำมสำมำรถของบุคคลจำกระดับกำรศึกษำคะแนนสอบ แนวคิดในกำรใช้สมรรถนะเปน็ ตวั ขบั เคลอ่ื นทีส่ ำคัญเพือ่ นำองค์กรไปสคู่ วำมสำเร็จ ไดร้ ับควำม สนใจอย่ำงแพร่หลำยในอเมริกำเหนือ โดยในปี ค.ศ. 1982 โบยำต์ซิส (Boyatizis) ได้เสนอผลงำนตีพิมพ์ เรื่อง “The Competent Manager : A Model for Effective Performance” ซึ่งเป็นกำรประยุกต์แนวคิด เรื่องสมรรถนะไปใช้ในงำนบริหำรในช่วงเวลำที่ใกล้เคียงกันนี้เอง จอห์น ลำเวน (John Raven) ก็ได้ ตีพิมพ์หนังสือเลม่ หนึง่ ชื่อ “Competence in Modern World” ทีป่ ระเทศองั กฤษ งำนพิมพ์เกี่ยวกับสมรรถนะท้ังสองเรื่องได้ขยำยควำมสนใจออกไปในวงกว้ำง จำกแวดวงของ นักวิชำกำรออกไปสู่โลกของผู้บริหำร ที่ปรึกษำ และฝ่ำยฝึกอบรมทรัพยำกรมนุษย์ ต้ังแต่ต้น ปี ค.ศ. 1990 เป็นต้นมำ (Kierstead, 1998) จนถึงปัจจุบันควำมรู้เกีย่ วกบั สมรรถนะก็ยงั มีอิทธิพลต่อกำรนำไป ประยุกต์ใช้ในงำนด้ำนต่ำงๆ อำทิ กำรบริหำรจัดกำรองค์กรกำรบริหำรงำน บุคคลในวงกำรศึกษำ สขุ ภำพจิต กำรพัฒนำเศรษฐกิจและกำรพัฒนำประเทศสำหรับในประเทศไทยได้มีกำรนำแนวคิดเรื่อง สมรรถนะมำใช้ในองค์กรที่เป็นเครือข่ำยบริษัทข้ำมชำติชั้นนำก่อนที่จะแพร่หลำยเข้ำไปสู่บริษัทชั้นนำ ของประเทศ เช่น เครือปูนซีเมนต์ไทย ชินคอร์เปอเรชั่น ไทยธนำคำร กำรปิโตเลียมแห่งประเทศไทย ฯลฯ เนือ่ งจำกภำคเอกชนที่นำแนวคิดเรื่องสมรรถนะไปใช้เกิดผลสำเร็จอย่ำงเห็นไดช้ ดั เจน ดังเช่นกรณี ของปนู ซีเมนต์ไทยมีผลให้เกิดกำรตื่นตัวในวงรำชกำรและมีกำรนำแนวคิดไปทดลองใช้ในหน่วยรำชกำร จัดทำโดย นำงสำวนฤมล ปูปินตำ เลขที่ 12 1 รหสั นิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ

สมรรถนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา สำนักงำนคณะกรรมกำรข้ำรำชกำรพลเรือนได้จ้ำงบริษัทเฮย์กรุ๊ป (Hay Group)เป็นที่ปรึกษำในกำรนำ แนวควำมคิดนี้มำใช้ในกำรพัฒนำข้ำรำชกำรพลเรือนในระยะแรก ได้ทดลองนำแนวคิดกำรพัฒนำ ทรัพยำกรมนุษย์โดยยึดหลักสมรรถนะ (Competency based human resource development) มำใช้ใน ระบบกำรสรรหำผู้บรหิ ำรระดบั สูงในระบบรำชกำรไทยและกำหนดสมรรถนะของข้ำรำชกำรทีจ่ ะ สรรหำในอนำคต (สำนกั งำนพัฒนำและส่งเสริมวิชำชีพ, 2549 : 56) จัดทำโดย นำงสำวนฤมล ปปู ินตำ เลขที่ 12 2 รหัสนิสิต 63204296 สำขำกำรบรหิ ำรกำรศกึ ษำ มหำวิทยำลยั พะเยำ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook