Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักธรรมในวันสำคัญต่างๆ

หลักธรรมในวันสำคัญต่างๆ

Published by mirumo602, 2020-08-28 20:32:24

Description: หน่วยที่ 9

Search

Read the Text Version

พระพทุ ธศำสนำ ม.๔-๖ หนว่ ยท่ี ๑๓ หลกั ธรรม คติธรรม ท่ีเกี่ยวเน่ืองกับวันสำคญั ทำงศำสนำ

หลกั ธรรม คติธรรมท่เี กีย่ วเนื่องกับวันสำคญั ทำงศำสนำ วนั สำคัญทำงพระพทุ ธศำสนำ เป็นวันท่ีพุทธศาสนิกชนยอมรับว่ามีความสาคัญเก่ียวเน่ืองกับ พระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้ำ พระธรรม พระสงฆ์ และถือปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนาน จนเปน็ ประเพณที ี่สาคัญของไทย วันสาคัญทางพระพุทธศาสนาของไทย คือ วันมำฆบูชำ วันวิสำขบูชำ วนั อัฐมีบชู ำ และวนั อำสำฬหบูชำ วันเขำ้ พรรษำ วนั ออกพรรษำ

หลกั ธรรม คติธรรมท่เี กีย่ วเนื่องกับวันสำคัญทำงศำสนำ ๑. หลกั ธรรม คติธรรมในวันมำฆบูชำ มำฆบชู ำ แปลวา่ การบชู าในวันเพ็ญเดอื นมาฆะ คือ เดอื น ๓ ได้กาหนดไว้เป็น วันขน้ึ ๑๕ ค่า เดือน ๓ ถา้ ปใี ดมอี ธิกมาส คือ มี ๘ สองหน จะตรงกับวันขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๔ โดยปกติวนั มาฆบูชามกั จะอยใู่ นเดอื นกมุ ภาพนั ธ์

หลักธรรม คติธรรมท่เี กยี่ วเนอื่ งกับวันสำคัญทำงศำสนำ ควำมสำคญั ของวันมำฆบูชำ วันน้ีเป็นวันคล้ายวันท่พี ระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวำทปำติโมกข์ และมีการประชุมของ พระสงฆ์สาวกใหญ่เป็นครั้งแรกและครั้งเดียวในพระพุทธศาสนา เรียกว่า “จำตุรงคสันนิบำต” ประกอบดว้ ย ๑. มีภกิ ษจุ านวน ๑,๒๕๐ องค์ มาประชมุ พรอ้ มกนั โดยมิได้นดั หมาย ๒. ภกิ ษุเหลา่ นนั้ ลว้ นเปน็ พระอรหันต์ ๓. ภิกษุเหล่านั้นลว้ นเปน็ เอหภิ กิ ขุอปุ สมั ปทา ๔. วนั นั้นเป็นวนั เพญ็ เดือนมาฆะ

หลกั ธรรม คตธิ รรมทเ่ี ก่ยี วเนอ่ื งกับวนั สำคัญทำงศำสนำ พิธกี รรมในวันมำฆบูชำ การจัดพิธีในวันมาฆบูชา มีท้ังพิธีทางราชการและประชาชนร่วมกันเช่นเดียวกับ วันวิสาขบูชา ต่างกันก็แต่การกล่าวคาบูชาก่อนการทาพิธีเวียนเทียนและการแสดง พระธรรมเทศนาใหส้ อดคลอ้ งกับลกั ษณะของงาน

หลักธรรม คติธรรมท่เี ก่ยี วเน่ืองกับวันสำคัญทำงศำสนำ หลักธรรม คตธิ รรมทเ่ี ก่ียวเนือ่ งในวันมำฆบูชำ หลักธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเนื่องในวันมาฆบูชาและควรนาไปปฏิบัติ ได้แก่ โอวำทปำติโมกข์ หมายถึง หลักคำสอนที่สำคัญของพระพุทธศำสนำ อันเป็นไปเพ่ือ ป้องกันและแก้ปัญหำต่ำง ๆ ในชีวิต เป็นไปเพื่อควำมหลุดพ้น เป็นคาสอนอันเป็นหัวใจของ พระพุทธศาสนา

หลักธรรม คติธรรมทเ่ี กีย่ วเนื่องกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ ขอ้ ควรปฏิบัติของพุทธศำสนกิ ชนในวันมำฆบูชำ ๑. พทุ ธศาสนิกชนควรนอ้ มระลกึ ถึงเหตกุ ารณใ์ นวนั มาฆบูชา ๒. พทุ ธศาสนิกชนควรทาบญุ ตกั บาตร ไปวดั เพ่อื ฟงั เทศน์ สวดมนต์ ถวายภัตตาหารแด่ พระสงฆ์ นาดอกไม้ ธปู เทียน ไปเวยี นเทยี นเพือ่ เป็นพุทธบชู า

หลกั ธรรม คติธรรมท่ีเกย่ี วเนอื่ งกับวนั สำคัญทำงศำสนำ ๒. หลกั ธรรม คตธิ รรมในวันวิสำขบชู ำ วิสำขบูชำ แปลว่า การกระทาการบชู าในวันวิสาขบูรณมี ตรงกับวันข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๖ ในปที ่ีมี อธิกมาส คอื ๘ สองหน วนั วิสาขะจะเล่ือนไปเปน็ วนั ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๗ ทั้งน้เี พอื่ ให้ใกลเ้ คียงกับการเสวยฤกษ์ของดวงจนั ทร์มากทส่ี ดุ

หลกั ธรรม คตธิ รรมท่เี กีย่ วเน่อื งกบั วันสำคัญทำงศำสนำ ควำมสำคญั ของวนั วสิ ำขบชู ำ วันวิสาขบูชา เป็นวันสาคัญมีความเกี่ยวข้องกับพระประวัติของสมเด็จพระสัมมา- สมั พุทธเจ้า ๓ ประการ คือ ๑. ตรงกับวันประสูติของพระพุทธเจ้ำที่สวนลุมพินีวัน ตรงกับวันขึ้น ๑๕ คา่ เดือน ๖ กอ่ นพทุ ธศักราช ๘๐ ปี ๒. ตรงกับวันตรัสรู้ พระพุทธเจ้ำได้ตรัสรู้อริยสัจ ๔ หรือความจริงอันประเสริฐ ๔ ประการ ณ ตาบลพุทธคยา ใกลก้ รงุ ราชคฤห์ แควน้ มคธ ก่อนพุทธศักราช ๔๕ ปี ๓. ตรงกับวันปรินพิ พำน พระพุทธเจำ้ ปรินิพพำน ณ ใต้ต้นสำละ ทางเข้ากรุงกุสินารา กอ่ นพุทธศักราช ๑ ปี

หลักธรรม คติธรรมที่เก่ียวเน่ืองกบั วนั สำคัญทำงศำสนำ พิธกี รรมในวันวสิ ำขบูชำ วนั วสิ าขบชู า มีการจดั พิธีกรรมมาต้งั แตส่ มัยสุโขทัย ซึง่ จัดทาเปน็ พธิ ใี หญ่โต แสดงให้เหน็ ว่า วนั วสิ าขบชู ามมี ากอ่ นพระพุทธศาสนาเขา้ มาส่ปู ระเทศไทย สมัยอยุธยาวันวิสาขบชู ามีการจดั พธิ กี รรมทกุ ปี แตเ่ ปน็ พธิ รี าษฎร์ สมัยรัตนโกสินทร์ พระบำทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้ำนภำลัย ทรงปรึกษากับ สมเด็จพระสังฆรำช (มี) วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ราชวรมหาวิหาร ยกวันวิสำขบูชำเป็น วันพิธีกรรมหลวง พระองค์ทรงเป็นประธานในพระราชพิธีกรรมน้ีท่ีวัดพระศรีรัตนศาสดาราม และโปรดเกลา้ ฯ ให้จดั พระราชพธิ ตี ่อมาจนถึงปจั จุบนั

หลักธรรม คตธิ รรมท่เี กย่ี วเน่อื งกับวนั สำคัญทำงศำสนำ หลกั ธรรม คตธิ รรมที่เกย่ี วเนอ่ื งในวันวสิ ำขบูชำ หลักธรรม คตธิ รรมท่ีเก่ยี วเนอ่ื งในวันวสิ าขบูชาและควรนาไปปฏิบตั ิ มดี ังน้ี ๑. ควำมกตัญญู ความกตัญญู คือ ความรู้อุปการคุณท่ีมีผู้ทาไว้ก่อน เป็นคุณธรรมคู่กับความกตเวที คือ การตอบแทนอุปการคุณที่ผอู้ ืน่ ทาไวน้ ้ัน เชน่ บิดามารดามีอุปการคุณแก่ลูกในฐานะผู้ให้กาเนิดและ เล้ยี งดูจนเตบิ โต เมื่อถงึ คราวมีคูค่ รองได้จดั หาคู่ครองที่เหมาะสมให้ และมอบทรัพย์สมบัติให้ไว้เป็น มรดก ลูกเมื่อรู้อุปการคุณที่บิดามารดาทาไว้ ย่อมตอบแทนด้วยการประพฤติตัวดี เล้ียงดูท่านและ เมื่อทา่ นล่วงลับไปแล้วกท็ าบุญอุทิศสว่ นกศุ ลไปใหท้ า่ น

หลกั ธรรม คติธรรมที่เกี่ยวเน่ืองกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ ๒. อรยิ สัจ ๔ อรยิ สัจ ๔ คอื ความจรงิ อนั ประเสรฐิ หมายถงึ ความจริงของชวี ิตท่ไี มผ่ ันแปร เกิดมไี ดแ้ ก่ ทกุ คน มี ๔ ประการ คอื มรรค ทกุ ข์ อริยสจั ๔ นโิ รธ สมทุ ัย

หลักธรรม คตธิ รรมท่ีเกี่ยวเนือ่ งกับวันสำคญั ทำงศำสนำ ๓. ควำมไม่ประมำท ความไม่ประมาท คือ การมีสติเสมอท้ังขณะทา ขณะพูดและขณะคิด สติ คือ การระลึกได้ การทางานต่าง ๆ ให้สาเร็จได้ก็ด้วยความไม่ประมาท กล่าวคือ ผู้ทาย่อมต้องมีสติ ระลึกรู้อยู่เสมอว่าตนเองเป็นใคร มีหน้าท่ีอะไร และกาลังทาอะไร หากมีสติระลึกรู้ได้อย่างน้ัน กย็ อ่ มไมม่ ีความผิดพลาด

หลกั ธรรม คตธิ รรมทเ่ี กย่ี วเนอื่ งกบั วนั สำคัญทำงศำสนำ ขอ้ ควรปฏิบัติของพทุ ธศำสนกิ ชนในวนั วสิ ำขบูชำ เพื่อเป็นการนอบน้อมระลึกถึงคุณของพระพุทธเจ้า อันได้แก่ พระปัญญาคุณ พระวิสุทธิคุณ พระมหากรุณาธิคุณ เพ่ืออานวยประโยชน์แก่ชาวโลก และเป็นวันที่พระองค์ได้ ประสูติ ตรัสรู้ ปรินิพพาน ในวันวิสาขบูชา พุทธศาสนิกชนพึงปฏิบัติ เช่น ทาบุญตักบาตร ฟังเทศน์ในเวลาเชา้ เวยี นเทียน

หลักธรรม คติธรรมที่เก่ียวเนอ่ื งกบั วันสำคญั ทำงศำสนำ ๓. หลักธรรม คตธิ รรมในวันอัฐมีบูชำ วนั อัฐมบี ูชำ คือ วนั แรม ๘ ค่า เดอื น ๖ เป็นวันสาคัญทางพระพทุ ธศาสนา อกี วนั หนง่ึ คอื ตรงกบั วนั ถวำยพระเพลิงพระพทุ ธสรรี ะของ พระพทุ ธเจำ้ หลังจากเสดจ็ ดบั ขันธปรินพิ พาน ในราตรี ๘ คา่ เดอื น ๖

หลกั ธรรม คตธิ รรมทีเ่ ก่ยี วเนือ่ งกับวันสำคัญทำงศำสนำ กำรบำเพ็ญกศุ ลเนอ่ื งในพธิ ีวนั อฐั มบี ูชำ การบาเพ็ญกุศลในวันน้ีก็เหมือนกับวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาอื่น ๆ มีการให้ทาน รักษาศีล เจริญภาวนา และมีการเวียนเทียนในตอนค่า บางวัดในบางจังหวัดยังมีการนิยมบาเพ็ญ กศุ ลเน่อื งในวันอฐั มีบชู านี้อยู่บา้ ง มีการจาลองเหตุการณ์วันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระ เพื่อระลึกถึงพระพุทธคุณของ พระพุทธเจ้า และระลึกถึงเหตุการณ์คร้ังพุทธกาลด้วย เช่น วัดพระบรมธาตุ อาเภอทุ่งย้ัง จังหวัด อตุ รดติ ถ์

หลกั ธรรม คติธรรมที่เกีย่ วเน่ืองกับวนั สำคัญทำงศำสนำ หลักธรรมท่ีเกย่ี วเน่ืองในวันอัฐมบี ูชำ หลกั ธรรม คตธิ รรมทค่ี วรนาไปเป็นแบบอย่างในวนั นี้ มดี ังน้ี ๑. หลักไตรลักษณ์ ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง ลักษณะสามัญ ๓ ประการ ของ สรรพส่ิงทั้งปวง ซึ่งเป็นเหมือนกฎธรรมชาติครอบงาส่ิงมีชีวิต และไม่มีชีวิต เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า สามญั ลักษณะ ประกอบดว้ ย

หลกั ธรรม คตธิ รรมทเ่ี กยี่ วเน่อื งกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ ไตรลกั ษณ์ อนิจจตำ ควำมไมค่ งที่ ทกุ ขตำ ควำมเปน็ ทกุ ขข์ อง อนตั ตตำ ควำมเป็นไปของ ไม่ถำวร สง่ิ ท้งั ปวง ตัวตน

หลักธรรม คติธรรมทีเ่ ก่ียวเนอ่ื งกับวันสำคัญทำงศำสนำ ๒. สุจริต ๓ หมายถึง ควำมประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ซ่ึงส่งผลให้ผู้กระทำประสบแต่ ควำมสงบสขุ แสดงออกได้ ๓ ทาง คือ ทำงกำย คือ กำยสจุ รติ สุจริต ๓ ทำงใจ คือ มโนสจุ รติ ทำงวำจำ คอื วจีสจุ ริต

หลกั ธรรม คติธรรมทเ่ี กีย่ วเนอ่ื งกับวนั สำคัญทำงศำสนำ ๓. เบญจศีลและเบญจธรรม เบญจศลี หมายถึง ควำมประพฤตทิ ำงกำยและทำงวำจำหรือขอ้ ปฏบิ ตั ิ สาหรับ ควบคมุ กายและวาจาใหถ้ ืออยใู่ นความดงี าม ๕ ประการ ได้แก่ กำรงดเว้นจำกกำรทำลำยชีวิตของผอู้ น่ื กำรฆ่ำสัตว์ เบญจศีลและ กำรงดเว้นจำกกำรถอื เอำสง่ิ ของทีเ่ จำ้ ของมิไดใ้ ห้ เบญจธรรม กำรงดเวน้ จำกกำรประพฤตผิ ดิ ในกำม กำรงดเว้นจำกกำรพดู เทจ็ กำรงดเวน้ จำกกำรดมื่ สุรำและเมรัยอนั เปน็ ทีต่ ้งั แห่งควำมประมำท

หลกั ธรรม คติธรรมทีเ่ ก่ียวเนือ่ งกับวันสำคญั ทำงศำสนำ ๔. หลกั ธรรม คติธรรมในวันอำสำฬหบชู ำ อำสำฬหบชู ำ คอื การบูชาในวนั อาสาฬหปณุ ณมี คอื วันขน้ึ ๑๕ คา่ เดอื น ๘ ในปีทมี่ ีอธกิ มาส คอื มเี ดอื น ๘ สองหน เลือ่ นไปเป็นวันข้นึ ๑๕ คา่ เดอื น ๘ หลงั

หลกั ธรรม คตธิ รรมทีเ่ กย่ี วเนอ่ื งกบั วันสำคัญทำงศำสนำ ควำมสำคัญของวันอำสำฬหบชู ำ วันอาสาฬหบูชา เป็นวันท่ีพระพุทธเจ้าแสดงปฐมเทศนำ แสดงธัมมจักกัปปวัตนสูตร โปรดพระปญั จวคั คียท์ ่ีป่าอสิ ปิ ตนมฤคทายวนั เมอื งพาราณสี การแสดงปฐมเทศนาน้ี หา่ งจากวนั ตรัสรู้ ของพระองค์ ๒ เดือน ผลของการแสดงพระธรรมเทศนา พระอัญญาโกณฑัญญะ หัวหน้า พระปัญจวัคคีย์ได้ดวงตาเห็นธรรม มีความเข้าใจพระพุทธศาสนาอย่างลึกซ้ึง ซ่ึงกาหนดได้ว่าเป็น พระโสดาบนั ได้เป็นพระอริยสงฆ์องคแ์ รก และเป็นพยานในการตรสั รู้ของพระพทุ ธเจา้

หลกั ธรรม คตธิ รรมทเี่ ก่ียวเนือ่ งกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ หลกั ธรรม คตธิ รรมที่เก่ียวเน่อื งในวนั อำสำฬหบูชำ หลกั ธรรม คตธิ รรมทเี่ กี่ยวเนือ่ งกบั วันอาสาฬหบูชาและควรนาไปปฏิบัติ อันเน่ืองมาจาก การแสดงปฐมเทศนาของพระพุทธเจา้ มใี จความสาคัญ ดังนี้ พระพทุ ธเจา้ ตรัสถึงทาง ๓ สาย ได้แก่ ทำงทีห่ ยอ่ น คอื ความหมกมุ่นในกาม มุ่งแสวงหา กามสขุ ไมเ่ ป็นหนทางใหต้ รัสรไู้ ด้ ทำงทตี่ งึ เครียด คอื การทรมานตนให้ลาบากด้วยประการต่าง ๆ ทาให้เกิดความทุกข์ยากลาบาก ไม่เป็นทางให้ตรัสรู้ได้ ทำงสำยกลำง คือ ทางท่ีพระพุทธเจ้าตรัสรู้ ขน้ึ เปน็ ทางให้ตรสั รู้ได้

หลกั ธรรม คติธรรมท่ีเก่ยี วเนือ่ งกบั วันสำคัญทำงศำสนำ พิธีกรรมในวนั อำสำฬหบูชำ การจัดพิธีในวันอาสาฬหบูชาในประเทศไทยนั้น เป็นมติของคณะสังฆมนตรีไทย กาหนดให้จดั กนั มาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๕๐๑ และจัดเปน็ พระราชพธิ ีด้วย การจัดพิธีในวันอาสาฬหบูชาท้ังพระราชพิธี พิธีของทางราชการ พิธีของวัดและ ประชาชน กระทาเช่นเดียวกับที่จัดในวันวิสาขบูชา ต่างกันเฉพาะคาบูชาก่อนเวียนเทียนและ การแสดงพระธรรมเทศนา ซึ่งสอดคล้องกับลักษณะของวันอาสาฬหบูชา มักจะเป็นธรรมเทศนา เรือ่ ง ธัมมจกั กัปปวัตนสูตร

หลักธรรม คติธรรมท่เี กย่ี วเนอื่ งกบั วนั สำคัญทำงศำสนำ ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิของพทุ ธศำสนิกชนในวันอำสำฬหบูชำ การปฏิบัติของชาวพุทธในวันอาสาฬหบูชานี้ ปฏิบัติเช่นเดียวกับการปฏิบัติใน วนั วสิ าขบชู า ทั้งนี้ เพ่ือการระลกึ ถึงเหตุการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ ในวนั สาคัญนี้ เมือ่ คร้งั พุทธกาล คือ ๑. เป็นวนั ท่ีพระพทุ ธเจ้ำทรงแสดงพระธรรมเทศนำเปน็ ครงั้ แรก ๒. พระธรรมเทศนำทำใหเ้ กดิ พระอรยิ สงฆอ์ งค์แรกในโลก ๓. เป็นวันทพ่ี ระรตั นตรัยครบบรบิ ูรณ์ คอื พระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์

หลักธรรม คติธรรมทเี่ ก่ยี วเนอ่ื งกับวันสำคัญทำงศำสนำ ๕. หลกั ธรรม คติธรรมในวนั เข้ำพรรษำ วันเขำ้ พรรษำ ตรงกับวนั แรม ๑ คา่ เดอื น ๘ คาว่า พรรษำ แปลวำ่ ฝน โดยใจความหมายถงึ ฤดูฝน ซึ่งถือตามฤดูของอนิ เดยี ท่ีมี ๓ ฤดู คอื คมิ หนั ตฤดู หรอื ฤดรู ้อน ตง้ั แต่แรม ๑ คา่ เดือน ๔ ถงึ ขนึ้ ๑๕ คา่ เดือน ๘ วสั สำนฤดู หรือ ฤดฝู น ตง้ั แต่แรม ๑ คา่ เดือน ๘ ถงึ ขน้ึ ๑๕ คา่ เดอื น ๑๒ เหมนั ตฤดู หรือ ฤดหู นำว ตั้งแต่แรม ๑ คา่ เดือน ๑๒ ถงึ ขน้ึ ๑๕ ค่า เดอื น ๔

หลักธรรม คตธิ รรมทเ่ี ก่ียวเนื่องกับวนั สำคญั ทำงศำสนำ ควำมสำคัญของวันเขำ้ พรรษำ สมยั พุทธกาลตอนต้น พระภิกษุมีจานวนน้อย ล้วนแตเ่ ปน็ พระอรหนั ต์หรือบรรลุมรรคผล ระดับต่าง ๆ เป็นส่วนใหญ่ เมื่อถึงฤดูฝนพระพุทธเจ้าก็ทรงหยุดพักอยู่ ณ ที่เดียว และพระภิกษุก็ ปฏิบัติเช่นเดียวกัน ตามประเพณีของอินเดีย พระพุทธเจ้าจึงยังไม่ทรงบัญญัติพระวินัยเกี่ยวกับ การเขา้ พรรษา

หลักธรรม คตธิ รรมทเ่ี ก่ยี วเน่อื งกับวันสำคญั ทำงศำสนำ เมื่อพระภิกษุมีจำนวนมำกข้ึน บำงรูปไม่หยุดค้ำงฤดูฝน เท่ียวจำริกไปในท่ี ต่ำง ๆ เหยียบยำ่ ข้ำวกล้ำของชำวนำเสียหำย ชาวบ้านจึงตาหนิติเตียนพระภิกษุ ควำมทรำบ ถึงพระพุทธเจ้ำจึงทรงบัญญัติพระวินัย ให้พระภิกษุทุกรูปอยู่จำพรรษำในฤดูฝนเป็นเวลำ ๓ เดอื น ฤดูฝนมี ๔ เดือน ตั้งแต่วันแรม ๑ ค่า เดือน ๘ ถึงวันข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๑๒ แต่ทรงอนุญาตให้จาพรรษาเพียง ๓ เดือนเท่าน้ัน ให้ออกพรรษาในวันขึ้น ๑๕ ค่า เดือน ๑๑ ทั้งน้ี เพ่อื เวน้ ไว้ ๑ เดอื น ปลายฤดูฝนเป็นเดอื นสาหรบั ทอดกฐิน เพอ่ื พระภิกษจุ ะได้จดั หาจีวรเปลี่ยนใหม่ เพราะสมัยนั้นผ้าจีวรหาได้ยาก อีกประการหนึ่งในปลายฤดูฝนน้าหยุดหลากแล้ว ข้าวกล้าเติบโต ใกลเ้ ก็บเกยี่ วได้ ไมส่ รา้ งความเดอื ดร้อนใหป้ ระชาชน และไมเ่ ป็นอนั ตรายแกพ่ ระภกิ ษุด้วย

หลักธรรม คตธิ รรมท่ีเกีย่ วเนอ่ื งกับวนั สำคัญทำงศำสนำ พธิ ีกรรมในวนั เข้ำพรรษำ พิธีเข้าพรรษา เป็นพิธีของพระภิกษุโดยเฉพาะ คือ ผูกใจว่าจะอยู่ประจา ณ วัดเดียว ตลอดเวลา ๓ เดือนในฤดูฝน พิธีเข้าพรรษาน้ีจะกระทาในโบสถ์ โดยพระภิกษุผู้จะอยู่จาพรรษาใน วัดเดียวกัน ประชุมพร้อมกันหลังจากทาวัตรสวดมนต์เย็นเสร็จแล้ว มีการประกาศเขตวัดว่า ทิศใดจรดท่ีใด เพ่ือไม่ให้พระภิกษุออกไปโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์จนรุ่งอรุณนอกเขตวัด ซ่ึงจะทาให้ พรรษาของพระภิกษขุ าดได้

หลักธรรม คตธิ รรมทเ่ี กี่ยวเนื่องกับวนั สำคัญทำงศำสนำ ขอ้ ควรปฏิบัตขิ องพทุ ธศำสนิกชนในเทศกำลเขำ้ พรรษำ ๑. ทาบุญตักบาตรทห่ี นา้ บา้ นหรอื ท่ีวดั ๒. ไปวดั เพือ่ รับสมาทานศีลและฟงั ธรรม ๓. หลอ่ เทยี นจานาพรรษา ๔. ถวายผ้าอาบนา้ ฝน เครื่องไทยธรรม ๕. อาจถือโอกาสอธษิ ฐานทาความดีตลอดพรรษา เชน่ งดดืม่ สุรา หรอื งดเวน้ อบายมุข ทุกประเภท อธษิ ฐานรักษาศลี ๕ หรอื ศลี ๘ และบาเพญ็ สมาธิตลอดพรรษา

หลักธรรม คตธิ รรมท่ีเกี่ยวเนื่องกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ 6. หลกั ธรรม คตธิ รรมในวนั ธรรมสวนะ วนั ธรรมสวนะ หรือ วันพระ หมายถึง วันทพ่ี ุทธศาสนิกชนสมาทานศีล ฟงั ธรรมเทศนา ในหน่ึงเดือน มี ๔ วนั คือ วันขนึ้ ๘ ค่า วันขึ้น ๑๕ คา่ วนั แรม ๘ ค่า และวันแรม ๑๔ หรอื ๑๕ คา่

หลกั ธรรม คติธรรมที่เก่ยี วเน่ืองกับวันสำคญั ทำงศำสนำ ควำมเปน็ มำของวันธรรมสวนะ ในสมยั สโุ ขทัย เวลาบา้ นเมืองว่างเว้นจากการสงคราม พระมหากษตั รยิ ์เกอื บทกุ พระองค์ ได้พาไพร่ฟ้าประชาชนเข้าวัด นิมนต์พระมาเทศน์ เพราะจะเป็นการใชเ้ วลาว่างให้เกิดประโยชน์ทั้ง ตอ่ ฝา่ ยพระและฝ่ายฆราวาส ในสมยั น้นั วนั พระ ๘ ค่า จะเรียกว่า วนั พระนอ้ ย และวันพระ ๑๕ ค่า เรียกวา่ วนั พระใหญ่

หลักธรรม คติธรรมทเ่ี กี่ยวเนือ่ งกบั วันสำคญั ทำงศำสนำ หลักธรรม คตธิ รรมทเี่ ก่ยี วเน่อื งในวนั ธรรมสวนะ หลักธรรมสาคัญท่ชี าวพทุ ธทกุ คนควรนาไปปฏบิ ัตใิ นวนั ธรรมสวนะน้มี ี ๓ ประการ คือ ๑. ทำน หมายถึง การให้ แบ่งเปน็ ๓ ประเภท คอื อำมสิ ทำน ได้แก่ การใหส้ ง่ิ ของ เสอ้ื ผ้า อาหาร ทอี่ ยู่อาศัย ธรรมทำน ได้แก่ ใหค้ วามรู้ วิทยาการ ให้คาแนะนาสง่ั สอน อภยั ทำน ไดแ้ ก่ การให้อภยั กนั หรอื การอโหสกิ รรมใหแ้ กก่ นั ๒. ศลี หมายถงึ การรักษากาย วาจา ใหเ้ รียบร้อย ด้วยการรักษาศีล ๕ การมรี ะเบียบ วินัยและการเคารพกฎ กติกาของสงั คม

หลกั ธรรม คติธรรมที่เกยี่ วเนื่องกับวนั สำคญั ทำงศำสนำ ๓. ภำวนำ หมายถงึ การฝกึ สมาธใิ ห้จิตสงบและพฒั นาปญั ญาดว้ ยการเจริญวปิ สั สนา ภาวนา หมายถึง การทาวัตรสวดมนต์และการฟังธรรม การเจริญจิตภาวนา อบรมจิตใจ ให้สงบเยือกเย็น ไม่ฟุ้งซ่าน ไม่เครียด ไม่กังวล มีชีวิตอยู่ด้วยปีติสุขและมีสมาธิแน่วแน่ หนกั แนน่ อนั จะช่วยใหห้ ลับสนทิ ความคดิ แจม่ ใส ความจาดีและมสี ตปิ ัญญาเฉียบแหลม

หลักธรรม คติธรรมท่เี ก่ียวเน่ืองกบั วนั สำคญั ทำงศำสนำ ขอ้ ควรปฏิบตั ขิ องพุทธศำสนิกชนในวนั ธรรมสวนะ ๑. แตง่ กายให้เหมาะสมกบั กาลเทศะ ไม่น่งุ สนั้ เกนิ ไปและไม่ยาวจนร่มุ รา่ ม ๒. เตรยี มของใสบ่ าตรในตอนเช้า หรอื ถา้ ไมพ่ ร้อมกเ็ ตรียมตวั ไปฟงั เทศนท์ วี่ ดั ๓. ทาใจให้เป็นกศุ ล ไม่กงั วลเร่ืองใด ๆ ให้ตดั เรอื่ งยงุ่ ๆ ทางครอบครัวออกกอ่ น ๔. นง่ั ประนมมือตง้ั ใจฟัง ส่งใจไปตามเนอ้ื หาธรรมะในพระธรรมเทศนา ๕. ถา้ มีความสงสัยประการใด ไมค่ วรถามในขณะน้นั ให้พระท่านลงจากอาสนะกอ่ นจงึ ถาม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook