Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SD REPORT 2017_THAI_PDF

SD REPORT 2017_THAI_PDF

Published by katamart.yu, 2020-06-29 02:57:45

Description: SD REPORT 2017_THAI_PDF

Search

Read the Text Version

• กจิ กรรมสำนสมั พนั ธใ์ นเทศกำลตำ่ งๆ โดยมเี จตนารมณ์ ใหค้ วามสา� คญั ตอ่ การดแู ลสมาชกิ หรอื ผอู้ ยอู่ าศยั ในโครงการศภุ าลยั ทุกโครงการ ตลอดจนผู้อยอู่ าศยั ขา้ งเคยี ง ดงั จะเหน็ ไดจ้ ากกจิ กรรมต่างๆที่จัดใหแ้ ก่สมาชิกศภุ าลัย • รว่ มเสรมิ สรำ้ งสมั พนั ธภำพของครอบครวั ใหแ้ ขง็ แกรง่ ปลกู ฝงั ความกตญั ญกู ตเวทแี ดบ่ พุ การที จี่ ะชว่ ยใหล้ กู มคี วามกตญั ญตู อ่ พระในบา้ นดีย่งิ ขนึ้ ครอบครัวมคี วามอบอนุ่ เพม่ิ ข้ึน เพือ่ ส่งผลต่อการพฒั นาจิตส�านึกทด่ี ีต่อครอบครัวและนา� ไปสพู่ ื้นฐานท่ดี ี ตอ่ สงั คมโดยรวม โดยไดจ้ ดั กจิ กรรมเจรญิ สติ สมาธิ ใหส้ มาชกิ เขา้ รว่ มเปน็ ประจา� ทกุ ปี • วำรสำร “สำนสำยใย” บรษิ ทั ฯ จดั ใหม้ ชี อ่ งทางการสอ่ื สาร การแจง้ ขา่ วสารตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ โดยมงุ่ หวงั ใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื รว่ มใจ ในการปฎบิ ตั ติ า่ งๆ รวมตลอดถงึ การอยอู่ าศยั รว่ มกนั อยา่ งเปน็ สขุ ตลอดจนการใหค้ วามรตู้ า่ งๆ ซงึ่ จะชว่ ยใหผ้ พู้ กั อาศยั ในโครงการมคี วามรสู้ กึ อบอนุ่ ไดร้ บั รขู้ า่ วสารตา่ งๆ ทวั่ กนั • จดั ตง้ั นติ บิ คุ คลหมบู่ ำ้ นจดั สรร “นติ บิ คุ คลหมบู่ า้ นจดั สรร” เรมิ่ มบี ทบาทมากขนึ้ ในสงั คมไทย เพราะการอยรู่ ว่ มกนั ในชมุ ชน/สงั คม หมู่บ้านจัดสรรย่อมต้องมีการดูแล ภายหลังที่ผู้ประกอบการได้ดูแลตามระยะเวลาที่กฏหมายก�าหนดแล้ว เพื่อให้สมาชิก ไดท้ ราบถงึ แนวทางและประโยชนข์ องการมนี ติ บิ คุ คลฯ บรษิ ทั ฯ ไดใ้ หก้ ารสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ชว่ ยเหลอื เพอ่ื ใหโ้ ครงการศภุ าลยั สามารถบรหิ ารจดั การตามทสี่ มาชกิ สว่ นใหญพ่ งึ ประสงค์ ด้ำนกำรให้ขอ้ มูลโฆษณำและประชำสมั พนั ธ์ท่ีถกู ต้อง ชดั เจน บรษิ ัท ศุภาลยั จ�ากัด (มหาชน) ใหค้ วามส�าคัญเป็นอย่างยงิ่ ในการท�าสือ่ โฆษณาและประชาสัมพันธ์ เพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ใน ดา้ นการใหข้ อ้ มลู ผลติ ภณั ฑ์ ทถี่ กู ตอ้ งตรงกบั ความเปน็ จรงิ สามารถตรวจสอบได้ เพอ่ื ความเปน็ ธรรมตอ่ ผบู้ รโิ ภค ดงั น้ี 1. ข้อควำมเก่ียวกับสินค้ำที่ใช้ในกำรโฆษณำและประชำสัมพันธ์ บริษัทฯ มีการใช้ข้อความโฆษณาที่ท�าให้ผู้บริโภคเข้าใจใน รายละเอียดของสินค้าอย่างครบถ้วน ไม่ว่าจะเป็น ชื่อสินค้า รูปแบบสินค้า (บ้านเด่ียว ทาวน์โฮม บ้านรุ่นใหม่ และ คอนโดมเิ นียม) ท�าเลทต่ี ้งั ราคา เบอร์โทรศพั ท์ เว็บไซด์ และภาพสินค้าประกอบในงานโฆษณา โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ข้อความ ใน Legal Line โดยบริษัทฯ ให้ความสา� คญั กบั ความครบถว้ นและถูกตอ้ งตามพระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองผู้บรโิ ภค พ.ศ. 2522 2. ภำพประกอบในกำรโฆษณำและประชำสัมพนั ธ์ บรษิ ทั ฯ มนี โยบายเน้นการใช้ภาพบ้านเดยี่ ว ทาวนโ์ ฮม บ้านรุ่นใหม่ และ คอนโดมิเนียม ที่ถ่ายจากโครงการจริงมาประกอบการโฆษณาทุกรูปแบบ เพ่ือให้ผู้บริโภคสามารถเห็นสินค้าของจริงท่ี ชัดเจน แตใ่ นกรณที ีส่ ินคา้ จริงยงั สรา้ งไม่เสร็จ กจ็ ะออกแบบในลกั ษณะภาพจา� ลองโครงการท่ใี กล้เคียงกบั สินค้าจริง โดยจะ ใสค่ า� วา่ “ภาพจา� ลองโครงการ” ทกุ คร้งั เพื่อใหผ้ บู้ ริโภคเขา้ ใจอย่างถูกตอ้ ง 3. กำรโฆษณำในสื่อโทรทัศน์ จะมกี ารควบคมุ โดยคณะกรรมการตรวจพิจารณาการโฆษณาทางวทิ ยุและโทรทศั น์ ซ่ึงทกุ ครัง้ ท่ี บริษัทฯ ท�าภาพยนตร์โฆษณาฯ หรือ VTR เพ่ือออกอากาศในรายการทางโทรทัศน์ทั้ง Free TV , Cable TV และ Digital TV จะต้องมีการส่งตัวอย่างภาพยนตรโ์ ฆษณาฯ หรอื VTR ที่ผลติ ขน้ึ พร้อมเอกสารยนื ยนั ไปยงั คณะกรรมการตรวจพิจารณา การโฆษณาทางวิทยุและโทรทัศน์ เพ่ือท�าการตรวจสอบ (Censor) ว่าโฆษณาฯ ดังกล่าวมีข้อมูลท่ีชัดเจน ไม่กล่าวอ้าง เกินจรงิ ซ่งึ เมอ่ื คณะกรรมการพจิ ารณาอนุมัตเิ รยี บร้อยแล้ว บรษิ ทั ฯ จึงจะนา� โฆษณานั้นไปสง่ ไปยงั สถานีโทรทัศนเ์ พ่ือออก อากาศ 4. ข้อควำมเก่ียวกับโปรโมช่ัน / เง่ือนไขพิเศษเพื่อสนับสนุนกำรขำย ในกรณีที่บริษัทฯ มีการมอบสิทธิพิเศษให้แก่ลูกค้าใน รูปแบบการจัดโปรโมชั่น ขอ้ ความที่ลงในโฆษณาฯ จะเขยี นรายละเอียดเกี่ยวกบั ส่วนลดและของแถมอย่างชัดเจน และมี การระบวุ ันเรม่ิ ตน้ และสนิ้ สดุ ของการรบั สทิ ธพิ ิเศษดังกลา่ ว เพ่อื สร้างความเข้าใจทต่ี รงกบั ระหว่างบรษิ ัทฯ และลูกค้า 100 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

ดำ้ นกำรดูแลควำมปลอดภยั ของลกู คำ้ และกำรชว่ ยเหลอื อำ� นวยควำมสะดวกในโครงกำร 1. กำรใชร้ ะบบ Access Card Control และตดิ ตง้ั กลอ้ ง CCTV จบั ภำพปำ้ ยทะเบยี นรถ เพอื่ ลดเหตรุ า้ ยทสี่ ามารถเกดิ ขนึ้ ได้ และเฝา้ ระวงั ความปลอดภยั ของบคุ คลและสถานที่ รวมทงั้ ใชเ้ ปน็ หลกั ฐานในการดา� เนนิ คดี หรอื เปน็ หลกั ฐานปอ้ งกนั การกลา่ วหา กรณเี กดิ เหตกุ ารณไ์ มค่ าดคดิ 2. กำรใชป้ ระตทู ำงเขำ้ -ออกโครงกำร แบบบำนเลอ่ื นแทนกำรใชไ้ มก้ ระดก เพอ่ื ปอ้ งกนั การเขา้ โครงการโดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต และ ชว่ ยลดหรอื ปอ้ งกนั ความเสยี่ งทจี่ ะเกดิ เหตกุ ารณโ์ จรกรรม 3. มรี ะบบปอ้ งกนั อคั คภี ยั Smoke & Heat Detector Fire Alarm และเจำ้ หนำ้ ทร่ี กั ษำควำมปลอดภยั ตลอด 24 ชว่ั โมง เพอื่ เพม่ิ ความปลอดภยั ใหก้ บั ลกู คา้ ทอ่ี ยอู่ าศยั ภายในโครงการ 4. กำรจดั เตรยี มและสง่ มอบอปุ กรณเ์ สรมิ กรณฉี กุ เฉนิ ใหก้ บั นติ บิ คุ คลอำคำรชดุ เชน่ เปลสนาม รถเขน็ ผปู้ ว่ ย และชดุ ผจญเพลงิ เพอ่ื ชว่ ยเคลอ่ื นยา้ ยผปู้ ว่ ยและรองรบั กรณฉี กุ เฉนิ ด้ำนกำรบ�ำรงุ รกั ษำเชิงปอ้ งกัน หลงั จากทมี่ กี ารสง่ มอบสว่ นกลางใหน้ ติ บิ คุ คลอาคารชดุ แตล่ ะโครงการบรหิ ารงาน บรษิ ทั ฯ จะจดั สง่ ทมี สา� รวจไปตรวจสอบและ บา� รงุ รกั ษาความสมบรู ณข์ องเครอ่ื งจกั ร เพอื่ เปน็ การเตรยี มความพรอ้ มของเครอ่ื งจกั รทเี่ กยี่ วกบั ระบบความปลอดภยั พรอ้ มทงั้ สอน วิธกี ารดแู ลเครอื่ งจักรให้แก่นติ ิบุคคลอาคารชุด ทุกๆ 6 เดือน 1 ปี และ 2 ปี เพื่อให้กระบวนการบา� รงุ รกั ษาดแู ลเคร่ืองจักรภายใน โครงการอาคารเป็นไปอย่างราบร่ืน และเกิดการส่งมอบสินค้าและบริการที่ดี ต่อเนื่องไปยังลูกค้า ซึ่งจะได้รับการอ�านวย ความสะดวกตอ่ ไป เพรำะเรำคอื ครอบครัวศภุ ำลัย บรษิ ทั ฯ ภาคภมู ใิ จเปน็ อยา่ งยง่ิ ทไ่ี ดส้ รา้ งสรรค์ “บำ้ นทดี่ ”ี สสู่ งั คมไทย และตระหนกั ดวี า่ ทกุ กา� ลงั ใจสา� คญั จาก “ครอบครวั ศภุ ำลยั ” จะเปน็ แรงผลกั ดนั ใหเ้ รามงุ่ มนั่ พฒั นาผลงานใหด้ ยี ง่ิ ขนึ้ แกล่ กู คา้ ของเราตลอดไป รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 101

คณุ วจิ ารณ์ พว่ งมหา และครอบครวั “ “ โครงการศภุ าลยั การเ์ ดน้ วลิ ล์ ศรนี ครนิ ทร์ - บางนา “ “ ปจั จยั หลกั ซอื้ บา้ นของผม คอื ชอ่ื เสยี ง วสั ดแุ ละแบบบา้ น ทา� เลทตี่ งั้ แหลง่ ชมุ ชนท่ีมคี ณุ ภาพ ราคาท่ีสมเหตสุ มผล บา้ นศุภาลยั คือองคป์ ระกอบ ท่ีคิดไว้แตแ่ รก ตอบโจทยต์ รงความต้องการ และมาเตมิ เต็มความสุขของผม และครอบครวั เปน็ อยา่ งดี คุณธนายุ โคสุวรรณ และครอบครัว โครงการศภุ าลยั พรมี า วลิ ล่า พหลโยธนิ 50 “ความสขุ ของครอบครวั เปน็ สง่ิ สา� คญั การเลอื กบา้ นทด่ี ี จงึ เปน็ สง่ิ ทส่ี า� คญั สา� หรบั ครอบครวั ผม...โครงการ ศภุ าลยั มจี ดุ เดน่ เรอื่ งทา� เล ขนาดพน้ื ท่ี ราคา การออกแบบที่ประหยัดพลังงาน และสังคมคุณภาพ ท�าให้เป็นเหตผุ ลเลอื ก โครงการของศภุ าลยั รศ.ดร. สทิ ธชิ ยั แกว้ เกอ้ื กลู โครงการศภุ าลยั การเ์ ดน้ วลิ ล์ ประชาอทุ ศิ – สขุ สวสั ดิ์ “ โครงการของศุภาลยั บา้ นท่ตี อบโจทย์การใชช้ วี ิตและเปน็ จดุ เรมิ่ ตน้ ทที่ �าให้ ขยับขยายชวี ิตครอบครัว ในฐานะบ้านเพือ่ การพักผ่อนอย่างเต็มรูปแบบ เดินทางสะดวก การบรกิ ารดี และราคาสมเหตสุ มผล 102 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

มิติ สิ่งแวดลอม รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 103

การจดั การส่ิงแวดลอ้ ม การพฒั นาโครงการทอ่ี ยอู่ าศยั นนั้ จา� เปน็ ตอ้ งใชท้ รพั ยากรในการกอ่ สรา้ งจา� นวนมาก ไมว่ า่ จะเปน็ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง ทรพั ยากรนา้� การใชป้ ระโยชนจ์ ากทดี่ นิ การขนสง่ รวมถงึ ผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและชมุ ชมุ บรเิ วณโครงการกอ่ สรา้ ง บรษิ ทั ฯ จงึ ใหค้ วามส�าคัญ กับการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม เพ่ือสร้างสมดุลของการพัฒนาธุรกิจ และลดผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมผ่านนโยบายว่าด้วย ความรับผิดชอบต่อชุมชน สังคม และส่ิงแวดล้อม (นโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืน) ต้ังแต่กระบวนการจัดหาที่ดินในการพฒั นา โครงการ การก่อสร้างโครงการ ทั้งระหวา่ งก่อสรา้ งและหลงั การกอ่ สรา้ ง เพอ่ื ให้มนั่ ใจในแนวทางการดา� เนินงานของบรษิ ัท บรษิ ทั ฯ มคี วามมงุ่ มนั่ ทจี่ ะพฒั นาโครงการใหม้ คี ณุ ภาพทด่ี ี โดยกอ่ นเรม่ิ กอ่ สรา้ งโครงการ บรษิ ทั ฯ จะจดั ทา� รายงานการวเิ คราะห์ ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม (Environmental Impact Assessment: EIA) เพือ่ วเิ คราะหผ์ ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทัง้ ทางบวกและทางลบ ของการด�าเนินโครงการพัฒนา ท่ีจะมีผลต่อส่ิงแวดล้อมในทุกๆ ด้าน ทั้งทางทรัพยากรธรรมชาติ ทางเศรษฐกิจ และสังคม เพอ่ื จะไดห้ าทางปอ้ งกนั ผลกระทบในทางลบทอี่ าจเกดิ ขนึ้ ใหเ้ กดิ นอ้ ยทส่ี ดุ และการวเิ คราะหผ์ ลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มจะชว่ ยลดคา่ ใชจ้ า่ ย ในการแกไ้ ขปญั หาทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ภายหลงั ดา� เนนิ โครงการไปแลว้ โดยองคป์ ระกอบของรายงานการวเิ คราะหผ์ ลกระทบสง่ิ แวดล้อม (Environmental Impact Assessment: EIA) ครอบคลุมสงิ่ แวดลอ้ ม 4 ด้าน ดังน้ี ทรพั ยากรสง่ิ แวดล้อม ทรพั ยากรสิ่งแวดลอ้ ม ทางกายภาพ ทางชวี ภาพ อกงาครป์ วริเสคะ่ิงกรแาอวะบดหขล์ผออ้ลงมกรารยะงทาบน คณุ ค่าการใช้ประโยชน์ คุณคา่ ต่อคณุ ภาพชวี ิต ของมนุษย์ 104 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

1. ทรัพยากรสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ โดยท�าการศึกษาถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ สภาพภูมิประเทศ การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ คณุ ภาพอากาศ ระดบั เสยี งและความสน่ั สะเทอื น คณุ ภาพนา้� 2. ทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ โดยทา� การศกึ ษาถงึ การเปลยี่ นแปลงในดา้ นตา่ งๆ ทมี่ ตี อ่ ระบบนเิ วศน์ ไดแ้ ก่ ปา่ ไม้ สตั วป์ า่ สตั วน์ า�้ 3. คณุ คา่ การใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ โดยทา� การศกึ ษาถงึ การใชป้ ระโยชนจ์ ากทรพั ยากรกายภาพ และชวี ภาพของมนษุ ย์ ไดแ้ ก่ การใช้ประโยชน์ที่ดินให้เป็นไปตามกฎระเบียบและผังเมืองในพื้นท่ีนั้นๆ การคมนาคมและการจราจร ระบบสาธารณูปโภค การระบายนา้� การจดั การมลู ฝอย 4. คุณค่าต่อคุณภาพชีวิต โดยท�าการศึกษาถึงผลกระทบท่ีจะเกิดต่อมนุษย์ ชุมชน ระบบเศรษฐกิจ การประกอบอาชีพ การมี ส่วนรว่ มของประชาชน วฒั นธรรมประเพณี ความเชอื่ คา่ นยิ ม รวมถงึ ทศั นยี ภาพ คณุ คา่ ความสวยงาม โดยทกุ โครงการทบี่ รษิ ทั ฯ ทา� การกอ่ สรา้ ง มกี ารจดั ทา� รายงานการวเิ คราะหผ์ ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ตามทสี่ า� นกั งานนโยบาย และแผนทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และสา� นกั วเิ คราะหผ์ ลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มกา� หนด โดยมขี อบเขตในการดา� เนนิ การ ดงั นี้ 1. จดั ทา� รายละเอียดโครงการ โดยศึกษาจากข้อมูลการออกแบบโครงการเป็นส�าคญั ซง่ึ มกี ารระบุประเภท ขนาด ท่ีตั้งโครงการ ลักษณะกจิ กรรม องค์ประกอบตา่ งๆ ในโครงการ รายละเอียดระบบสาธารณปู โภคและสาธารณูปการต่างๆ เชน่ การใช้น�า้ การระบายน�้า การบ�าบดั นา้� เสียและสิ่งปฏกิ ูล การจดั การมลู ฝอย ระบบปอ้ งกันและระงับอัคคภี ัย และการจัดพน้ื ที่สเี ขียวใน โครงการ เปน็ ตน้ 2. การศึกษาข้อมูลสภาพแวดล้อมปัจจุบันบริเวณพ้ืนท่ีใกล้เคียงโครงการ โดยครอบคลุมถึงส่ิงแวดล้อมทั้ง 4 ด้าน คือ ทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ ทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ คณุ คา่ การใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ และคณุ คา่ คณุ ภาพชีวติ โดยท�าการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากรายงานการศึกษา และ/หรือ การส�ารวจเพ่ือท�าการศึกษาสภาพแวดล้อม ในปัจจุบัน 3. การประเมินผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม โดยท�าข้อมูลและกิจกรรมของโครงการ ประกอบกบั สภาพแวดลอ้ มปจั จุบันบรเิ วณท่ตี ั้ง โครงการและพ้ืนท่ีใกล้เคียง มาศึกษาผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นท้ังในช่วงการก่อสร้างและหลังการก่อสร้างโครงการ ทั้งผลกระทบในเชงิ บวกและเชิงลบ 4. การก�าหนดมาตรการป้องกัน แก้ไข และลดผลกระทบสิ่งแวดล้อม และมาตรการติดตามตรวจสอบคุณภาพส่ิงแวดล้อม ที่เหมาะสม รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 105

ขั้นตอนการจัดทา� รายงานวเิ คราะหผ์ ลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม (EIA) กบั โครงการที่อย่อู าศยั โครงการทอี่ ยูอาศยั ใหม EIA ทํารายงาน EIA ใหม EIA EIA 6เดือน ใชเทจเ ําาวรขลาอายทงงโาํ าคนร6งEเกดIาAอื รน เรยิม่ืน่ ขขาอยEPIAREแตSยAงั LไมEเ รไปมิ่ พกอรสอรมากงบั EIA -- ไEมIAไ ดไอ มนผญุ าานตกอ สรา ง ตผรลวกสจรสําะนอทกับบวรสิเาคง่ิ ยรแงาวาะดนหลEอIมA --- ไเEปดIAดใ บขผอาานยนญรุ ะาหตวกาอ งสกราารงกอ สรา ง โครงสกราา รงทเสอ่ี ยร็จูอ าศัย --- โสโดดรนนา รรงผะองงิดบัเแรกบียาบนรกดอาสนรสาิ่งงแวดลอ ม - ชดเชยคา เสยี หายผซู อ้ื -ผเู สยี หาย 106 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

ประโยชนข์ องการทา� รายงานการวเิ คราะหผ์ ลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม (Environmental Impact Assessment: EIA) มดี งั น้ี • เพอ่ื สามารถใชใ้ นการวางแผนงานดา้ นสงิ่ แวดลอ้ มไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ • เพอ่ื พจิ ารณาผลกระทบตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและความรนุ แรง อนั เกดิ จากการพฒั นาโครงการ • เพอ่ื ใหบ้ รษิ ทั ฯ สามารถกา� หนดมาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขผลกระทบทอี่ าจเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม และใชใ้ นการคาดการณ์ ประเดน็ ปญั หาดา้ นสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง • ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู สนบั สนนุ การตดั สนิ ใจในการลงทนุ เพอื่ จดั การสง่ิ แวดลอ้ ม การดา� เนนิ งานกอ่ สรา้ งในแตล่ ะโครงการ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม และทรพั ยากรอน่ื ๆ ทง้ั ในระยะก่อสรา้ ง โครงการ และหลงั การกอ่ สรา้ งโครงการ ดงั น้ี • ชว่ งการกอ่ สรา้ งโครงการ : เปน็ ชว่ งเวลาทช่ี มุ ชนผอู้ ยอู่ าศยั โดยรอบโครงการมคี วามเปน็ กงั วลวา่ การกอ่ สรา้ งโครงการ จะ กอ่ ใหเ้ กดิ มลพษิ ตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม อาทเิ ชน่ มลพษิ ทางอากาศ ฝนุ่ ละออง เสยี งดงั การสน่ั สะเทอื น นา้� เสยี ขยะ รวมถงึ ความไมป่ ลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ จากการกอ่ สรา้ งโครงการ • หลงั การกอ่ สรา้ งโครงการ : การอยอู่ าศยั ของลกู คา้ ของโครงการ อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบดา้ นการคมนาคมและการจราจร การบดบงั ทศั นยี ภาพตอ่ พนื้ ทข่ี า้ งเคยี ง ปญั หาคณุ ภาพนา�้ ในแหลง่ นา้� สาธารณะ และปญั หาขยะมลู ฝอย ทงั้ นี้ เพอื่ เปน็ การ ปอ้ งกนั ผลกระทบทอ่ี าจเกดิ ขนึ้ บรษิ ทั ฯ ไดก้ า� หนดมาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ซงึ่ บรษิ ทั ฯ และผรู้ บั เหมา ไดย้ ดึ ถอื ปฏบิ ตั อิ ยา่ งเครง่ ครดั รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 107

สรุปมาตรการปอ้ งกนั และแก้ไขผลกระทบส่ิงแวดลอ้ มของ บริษัท ศภุ าลยั จา� กดั (มหาชน) - ชว่ งการกอ่ สรา้ งโครงการ - องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 1. ทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ มทางกายภาพ 1) กอ่ สรา้ งอาคารใหเ้ ปน็ ไปตามแบบของโครงการ 1) วศิ วกรควบคมุ งานและตรวจสอบ และกฎหมายทเี่ กยี่ วขอ้ ง การก่อสร้างให้เปน็ ไปตามแบบทีไ่ ด้ 1.1 สภาพภมู ปิ ระเทศ 2) จัดระเบียบพ้ืนที่ก่อสร้างและกองเก็บวัสดุ รบั อนญุ าต การกอ่ สรา้ งจะมกี ารขดุ ดนิ เพอื่ วาง ให้เปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ย 2) จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการ ระบบสาธารณูปโภคใต้ดิน และปรับ 3) จดั ใหม้ รี ั้วทึบ สงู ประมาณ 3 เมตร และร้วั ก่อสร้างและการจัดระเบียบพื้นท่ี ระดับพื้นท่ีให้สูงจากเดิมซ่ึงท�าให้ ผา้ ใบ สงู ประมาณ 3 เมตร หรอื รว้ั โลหะทบึ ชนดิ กอ่ สรา้ งใหม้ คี วามเป็นระเบียบ สภาพภมู ปิ ระเทศเปลย่ี นแปลงเพยี ง สะท้อนเสียง (Metal Sheet) โดยรอบพ้ืนที่ เรียบร้อยตลอดระยะเวลากอ่ สรา้ ง เลก็ นอ้ ย กอ่ สรา้ ง ดา้ นหนา้ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ทางเขา้ ออกพน้ื ทโี่ ครงการ จัดท�าเป็นประตูผ้าใบทึบที่สามารถปิดเปิดได้ หรอื วธิ กี ารอนื่ ทเี่ หมาะสม 1.2 การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ 1) หลกี เลยี่ งการทา� ฐานราก และการวางสาธารณปู โภค - จัดเจ้าหน้าที่ตรวจสอบการกอง ใต้ดินในช่วงฤดูฝนหรือวันท่ีฝนตก เพื่อลด เก็บดิน ไม่ให้ส่งผลกระทบต่อพื้นที่ ก า ร ก ่ อ ส ร ้ า ง จ ะ มี ก า ร ขุ ด ดิ น ผลกระทบทเี่ กดิ จากการชะหนา้ ดนิ โดยนา�้ ฝน ข้างเคียง และป้องกันไม่ให้เศษดิน เพื่อวางระบบสาธารณูปโภคใต้ดิน 2) การขดุ ดนิ ทา� ฐานรากและวางระบบสาธารณปู โภค ทรายชะลา้ งลงสทู่ อ่ ระบายนา้� โดยมี และทา� ฐานรากอาคาร โดยดนิ ทข่ี ดุ มา ใต้ดินต้องมีการท�า Sheet Pile ตามมาตรฐาน การตรวจสอบเป็นระยะตลอดช่วง ทั้งหมดจะใช้ในการปรับถมและ วิศวกรรม เพ่อื ป้องกันการพังทลายหรอื การทรุด การกอ่ สรา้ ง ปรับภูมิสถาปัตย์ของพ้ืนท่ี อย่างไร ตวั ของดนิ ก็ตามกองดินท่ีขุดไว้เพื่อรอการใช้ 3) ดนิ ทข่ี ดุ ไดจ้ ากงานเสาเขม็ และฐานราก จะกอง ประโยชน์ อาจส่งผลกระทบให้ เกบ็ ไวภ้ ายในพนื้ ทโี่ ครงการ เพอื่ ใชใ้ นการปรบั ระดบั เกดิ การพงั ทลายของดนิ หรอื การทรดุ ของพนื้ ทแ่ี ละปรบั สภาพภมู สิ ถาปตั ยข์ องโครงการ ตวั ของดนิ โดยเฉพาะหากการกอ่ สรา้ ง 4) การจดั ทา� ระบบระบายนา�้ ฝนรอบพนื้ ทโี่ ครงการ ดา� เนนิ การในชว่ งฤดฝู น โดยมีบ่อตกตะกอนก่อนระบายออกสู่ท่อระบาย สาธารณะ เพื่อป้องกันการชะล้างของดินทราย ออกนอกพนื้ ทก่ี อ่ สรา้ ง 108 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 1.3 คณุ ภาพอากาศ การขนสง่ 1) วิศวกรโครงการ และผู้ควบคุม 1) ฉดี พรมนา้� บรเิ วณพน้ื ทกี่ อ่ สรา้ งและทางเขา้ -ออก กจิ กรรมกอ่ สรา้ ง จะตอ้ งไม่เกนิ พื้นท่ีก่อสร้าง อย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง เวลาเช้า งานกอ่ สรา้ งตรวจสอบการดา� เนนิ งาน มาตรฐานฝุ่นละอองในบรรยากาศที่ และเย็น หรือเพิ่มความถ่ีตามความเหมาะสม ของผู้รับเหมาก่อสร้างให้ปฏิบัติ กา� หนดไว้ 0.330 มลิ ลกิ รมั /ลกู บาศกเ์ มตร และจัดให้มบี รเิ วณส�าหรบั ลา้ งท�าความสะอาด ตามมาตรการลดผลกระทบด้าน แตล่ มจะมผี ลทา� ใหเ้ กดิ การแพรก่ ระจาย ลอ้ รถก่อนออกจากพน้ื ท่กี อ่ สรา้ ง ฝุ่นละออง ท้ังจากการก่อสร้าง ของฝุ่นละอองจากพ้ืนท่ีก่อสร้าง 2) รถบรรทุกวัสดุก่อสร้างต้องมีส่ิงปิดคลุม หรือ การจัดการเศษวสั ดแุ ละการขนสง่ และการขนสง่ วสั ดมุ ายงั พนื้ ทโี่ ครงการ ผูกมัดในส่วนบรรทุกเพือ่ ปอ้ งกนั การฟ้งุ กระจาย อยา่ งเคร่งครัด มีส่วนให้เกดิ การฟุง้ กระจายของฝนุ่ หรอื การตกหล่นของวสั ดุ 2) มีบริการรับฟังความคิดเห็น ละอองจากวัสดุทบี่ รรทกุ และการขบั 3) ท�าถนนชวั่ คราวเพือ่ หลกี เลย่ี งการปแู ผน่ เหล็ก การรับฟังเร่ืองร้องเรียนจากผู้อยู่ รถขนส่งวสั ดุ ซ่ึงจะส่งผลกระทบต่อ เพอ่ื ลดเสียงดงั และป้องกนั การกระแทกของรถ อาศยั ใกล้เคียงเพ่ือรับทราบปัญหา คุณภาพอากาศ ก่อให้เกิดความ ขนสง่ วสั ดุก่อสรา้ ง และด�าเนินการแก้ไขต่อไป เดอื ดรอ้ นรา� คาญ และยงั สง่ ผลกระทบ 4) จัดให้มีพนักงานท�าความสะอาดบริเวณทาง 3) ตรวจวัดคุณภาพอากาศใน ต่อสุขภาพอนามัยของผู้อยู่อาศัยใน เข้า-ออกพน้ื ทโ่ี ครงการเปน็ ประจา� ทุกวนั บรรยากาศพารามิเตอร์วัด คือ พืน้ ทใ่ี กลเ้ คยี ง 5) มีการจัดระเบียบรถขนส่งวัสดุก่อสร้างต่างๆ ปริมาณฝุ่นละอองรวม(TSP) ฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM-10) ไม่ให้จอดรถรอบถนนสาธารณะ ความเรว็ ลมและทศิ ทางลม เปน็ ระยะ กิจกรรมการกอ่ สร้าง ตลอดระยะเวลากอ่ สร้าง 1) การกอ่ สรา้ ง รอื้ ถอน สว่ นของอาคารทอี่ ยเู่ หนอื ระดบั พน้ื ดนิ เกนิ 10 เมตร ตอ้ งควบคมุ การใชผ้ า้ ใบ หรือวัสดุอ่ืนท่ีคล้ายกันก้ัน โดยยึดติดกับน่ังร้าน ด้านนอก มีความสูงไม่น้อยกว่าความสูงของ อาคารท่ีด�าเนินการ และมีการรักษาให้อยู่ใน สภาพดีตลอดระยะเวลาการก่อสรา้ ง 2) จดั ใหม้ ปี ลอ่ งชวั่ คราวหรอื วธิ กี ารอน่ื ทเ่ี หมาะสม ส�าหรับท้ิงส่ิงของหรือวัสดุก่อสร้าง และป้องกัน ฝ่นุ ละอองอันเกดิ จากการกอ่ สรา้ ง 3) จดั ทา� รว้ั ชวั่ คราว ซงึ่ มลี กั ษณะทบึ และแขง็ แรง สูงประมาณ 3 เมตรและรั้วผ้าใบ สูงประมาณ 3 เมตร ปิดกั้นตามแนวเขตที่ติดต่อกับพื้นที่ ข้างเคียง 4) การเจาะ การตดั การขดั ผวิ วสั ดทุ ก่ี อ่ ใหเ้ กดิ ฝนุ่ โดยใชเ้ ครอื่ งจกั รหรอื เครอื่ งยนต์ ตอ้ งฉดี นา้� หรอื สารเคมีบนผิวอย่างต่อเนื่อง เว้นแต่มีการติดต้ัง อปุ กรณท์ แ่ี ยกฝนุ่ หรอื กรองฝนุ่ ไวแ้ ลว้ รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 109

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 5) การผสมคอนกรตี หรอื การกระทา� ใดๆ ทกี่ อ่ ให้ เกิดมลภาวะทางอากาศต้องจัดท�าในห้องท่ีมี หลังคา และมผี นงั ปิดดา้ นขา้ งอกี 3 ด้าน หรอื ใน พนื้ ทม่ี ผี า้ คลมุ หรอื กระทา� ดว้ ยวธิ กี ารอนื่ ทเี่ หมาะสม วสั ดแุ ละการจัดการกองวสั ดุและเศษวัสดุ ท่เี หลือใช้ 1) การกองเก็บวสั ดุก่อสรา้ ง ตอ้ งกระทา� ภายใน พ้ืนที่ก่อสร้างของโครงการเท่าน้ัน โดยจัดให้มี อาคารสา� หรบั เกบ็ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง ในสว่ นทเี่ กบ็ กลาง แจ้งต้องมกี ารปดิ คลุม หรือควบคมุ ไมใ่ หเ้ กิดการ ฟุ้งกระจาย 2) การขนย้ายวัสดุใดๆ ที่ก่อให้เกิดฝุ่น ต้องฉีด พรมด้วยน�า้ กอ่ นการขนย้าย การดา� เนนิ การกบั เศษวัสดทุ เี่ หลอื ใช้ 1) เศษวสั ดเุ หลอื ใชจ้ ากการกอ่ สรา้ ง ตอ้ งจดั พนื้ ที่ ส�าหรับกองเก็บไว้ภายในพื้นท่ีก่อสร้างของ โครงการเทา่ นนั้ โดยจดั วางใหเ้ รยี บรอ้ ย ไมก่ ดี ขวาง ทางเดนิ รวมทง้ั ปดิ คลมุ เศษวสั ดดุ งั กลา่ วดว้ ยผา้ คลมุ หรอื ใชว้ สั ดอุ นื่ ใดปดิ คลมุ ใหม้ ดิ ชดิ ทงั้ ดา้ นบนและ ดา้ นขา้ งทง้ั 3 ดา้ น 2) มีการคัดแยกเศษวสั ดเุ พื่อนา� ไปใช้ในการปรบั ถนนของโครงการ 3) การขนย้ายเศษวัสดุก่อสร้างและขยะมูลฝอย ออกจากพื้นที่ก่อสร้างจะด�าเนินการอย่างน้อย สปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั หากยงั ไมพ่ รอ้ มทจี่ ะขนยา้ ยตอ้ ง จัดให้มีถังหรือภาชนะรองรับที่เหมาะสมอย่าง เพียงพอ ปดิ มิดชิด รวมทง้ั ทา� ความสะอาดพ้ืนท่ี วางถงั อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 110 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 1.4 ระดบั เสยี งและความสนั่ สะเทอื น 1) จดั ทา� รว้ั ชว่ั คราวซงึ่ เปน็ รว้ั ทบึ หรอื รวั้ โลหะทบึ 1) ตดิ ตามตรวจสอบการดา� เนนิ งาน กจิ กรรมกอ่ สรา้ งทา� ใหเ้ กดิ เสยี งดงั ชนดิ สะทอ้ นเสยี ง (Metal Sheet) สงู ไมน่ อ้ ยกวา่ ของผรู้ บั เหมาใหป้ ฏบิ ตั ติ ามมาตรการ และความสั่นสะเทือน ซึ่งเกดิ ขนึ้ จาก 3 เมตร รอบพื้นท่ี (ส่วนที่เหนือข้ึนไปให้ขึงด้วย ป้องกนั และลดระดับเสยี งในพืน้ ที่ การท�างานของเครือ่ งจักรเครอ่ื งยนต์ ผา้ ใบทบึ สงู ประมาณ 3 เมตร) ก่อสรา้ งอย่างเคร่งครัด 2) จัดส่วนบริการรับฟังความคิด ท่ีใช้ในการก่อสร้าง โดยอาจส่ง 2) การกอ่ สรา้ งฐานรากของอาคารใหใ้ ชเ้ สาเขม็ เจาะ เห็นการรับฟังเร่ืองร้องเรียน และ ผลกระทบตอ่ ผพู้ กั อาศยั ทอ่ี ยใู่ กลเ้ คียง เพอื่ ลดผลกระทบดา้ นเสยี งและความสนั่ สะเทอื น การติดตามสอบถามผู้อยู่อาศัย 3) การผสมคอนกรีต หรือการกระท�าใดๆ ใกลเ้ คยี ง ถงึ ผลกระทบ เพอื่ รบั ทราบ ท่ีก่อเสยี งดงั ตอ้ งจดั ทา� ในหอ้ งทม่ี หี ลงั คา และมี ปัญหาและการดา� เนินการแกไ้ ข ผนังปิดด้านข้างอีก 3 ด้าน หรือในพ้ืนท่ีท่ีมี 3) ตรวจวดั ความสน่ั สะเทอื นบรเิ วณ ผ้าคลุม หรอื ดว้ ยวิธีการอื่นท่เี หมาะสม ใกลเ้ คียง โดยตรวจวดั 1 ครั้ง ใน 4) การกอ่ สรา้ งใหเ้ กดิ เสยี งดงั และความสน่ั สะเทอื น วันเริ่มงานเสาเข็ม หลังจากน้ัน ใหด้ า� เนนิ การในวนั จนั ทร-์ เสาร์ เวลา 8.00-17.00 น. ตรวจวัดทกุ 1 เดือน (หยุดวันอาทติ ย์และวนั หยุดนกั ขตั ฤกษ์สา� คญั ) ในกรณีที่ต้องมีการท�างานเกินเวลาท่ีก�าหนด ให้แจง้ กา� หนดการใหช้ มุ ชนใกลเ้ คยี งไดร้ บั ทราบ ลว่ งหนา้ 5) การทา� งานในวนั อาทติ ยใ์ หเ้ ปน็ งานเบาหรอื งาน ที่จ�าเป็นต้องท�าต่อเน่ืองท่ีไม่มีเสียงดังรบกวน เชน่ งานทา� ความสะอาด และการตรวจสอบงาน ของผรู้ บั เหมา เปน็ ตน้ 6) บ�ารุงรักษาเครื่องจักรอุปกรณ์ที่ใช้ในการ กอ่ สรา้ งใหอ้ ยใู่ นสภาพดอี ยเู่ สมอ เพอ่ื ลดการเกดิ เสียงดังจากการเสียดสีของเครื่องจักร หรือ การกระทบกระแทกของชนิ้ สว่ นอปุ กรณ์ 7) มีการก้ันห้องภายในโครงการเพ่ือใช้ส�าหรับ กจิ กรรมการกอ่ สรา้ งทอี่ าจกอ่ ใหเ้ กดิ ผลกระทบ ดา้ นเสยี งอยา่ งรนุ แรง เชน่ การ ตดั เจยี ร ไส และกลงึ เปน็ ตน้ 8) จดั ใหม้ ชี อ่ งทางในการรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น มขี น้ั ตอน ในการแกป้ ญั หารอ้ งเรยี น และแจง้ ผลการดา� เนนิ การใหก้ บั ผรู้ อ้ งเรยี น 9) มีมาตรการชดเชยความเสียหายทีเ่ กดิ จากการ ก่อสร้างโครงการและจัดให้มีทีมงานซ่อมแซม ฉกุ เฉนิ (ใหบ้ รกิ ารฟร)ี รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 111

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 1.5 คณุ ภาพนา้� 1) ควบคมุ คนงานไมใ่ หม้ กี ารทงิ้ ขยะมลู ฝอยลงสทู่ ่อ - ติดตามตรวจสอบคุณภาพน้�า รวบรวมนา้� เสียเขา้ สูร่ ะบบบา� บดั หรอื ทางระบายน�้า กอ่ นระบายสทู่ อ่ ระบายนา�้ สาธารณะ น�้าเสียส�าเร็จรูป และบ�าบัดจนได้ 2) การเก็บกองดินให้จัดบริเวณเฉพาะ มีคัน เดือนละ 1 คร้ัง ตลอดระยะเวลา มาตรฐานนา้� ทง้ิ กอ่ นระบายลงสรู่ ะบบ ล้อมรอบหรือมกี ารปิดคลมุ กอ่ สร้าง ระบายน้�าสาธารณะ ส่วนน้�าทิ้งจาก 3) เมอ่ื กอ่ สรา้ งระบบระบายนา้� หลกั ของโครงการ การกอ่ สร้าง ในช่วงแรกจะปล่อยซึม แล้ว น�้าเสียจากกิจกรรมก่อสร้างให้ระบายลงสู่ ลงดิน และเมื่อวางระบบระบาย ระบบระบายน้�าหลักของโครงการซ่ึงจะมีบ่อพัก น้�าหลัก จึงใช้ระบบระบายน�้าหลัก น�้าเป็นระยะๆ มีการดักขยะก่อนระบายลงสู่ ซง่ึ จะผา่ นการตกตะกอนก่อนระบาย ระบบระบายนา้� สาธารณะซงึ่ จะไม่ส่งผลกระทบ ลงสู่ระบบระบายน�้าสาธารณะ เพ่มิ เตมิ ตอ่ คณุ ภาพน้า� ผลกระทบต่อคุณภาพน�้าจึงอยู่ใน 4) จัดให้มีห้องน�้าห้องส้วมเพียงพอส�าหรับคน ระดบั ตา�่ หรอื ไมส่ ง่ ผลกระทบ งานในพนื้ ทก่ี ่อสรา้ งพร้อมการบา� บัดนา�้ เสียท่ีเกดิ ขึ้นจากห้องน�้าห้องส้วมดังกล่าวก่อนที่จะระบาย ลงสู่ระบบระบายน้�าสาธารณะ 2. ทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ ด�าเนนิ การให้เปน็ ไปตามมาตรการดา้ นคณุ ภาพ - น�้าและมาตรการด้านขยะมูลฝอยเพ่ือไม่ให้ ของเสยี จากการกอ่ สร้างมีผลกระทบตอ่ คุณภาพ ส่งิ แวดล้อม 3. คณุ คา่ การใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ 3.1 การใช้ประโยชนท์ ่ดี นิ ใหเ้ ปน็ ไป 1) การก่อสร้างอาคารให้เป็นไปตามแบบ และ -วิศวกรและผู้ควบคุมงานก่อสร้าง ตามกฎระเบยี บและผงั เมืองน้นั ๆ เป็นไปตามข้อก�าหนดของผังเมือง รวมถึง ควบคุมดูแลให้การก่อสร้างอาคาร กฎหมายอื่นๆท่ีเกี่ยวข้อง เป็นไปตามแบบและข้อก�าหนด 2) จดั กจิ กรรมการกอ่ สรา้ งใหอ้ ยภู่ ายในขอบเขตพน้ื ท่ี ที่เกี่ยวข้อง โดยให้อยู่ภายในพื้นท่ี ก่อสร้าง โดยไม่ลุกล้�าท่ีดินสาธารณะ หรือที่ดิน ก่อสร้าง ไม่ลุกล�้าท่ีดินสาธารณะ หรือท่ีดินบุคคลอ่ืน บคุ คลอนื่ 112 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 3.2 การคมนาคมและการจราจร 1) หลีกเลี่ยงการขนส่งวัสดุก่อสร้างในช่วงเวลา - เรง่ ดว่ น (07.00-09.00 น.) พจิ ารณาจากคา่ V/C Ratio วา่ มี 2) ควบคุมน้�าหนักของรถบรรทุกวัสดุก่อสร้าง ผลกระทบมากหรอื ไม่ ไม่ใหเ้ กนิ ขอ้ กา� หนดหรอื ความสามารถของถนนท่ี รองรับ และเม่ือเข้าเขตชุมชน ให้ใช้ความเร็ว ตามทกี่ ฎหมายกา� หนด 3) จดั ระเบยี บการขนสง่ วสั ดกุ อ่ สรา้ ง ไมใ่ หม้ กี าร จอดรถรอภายนอกโครงการ 4) กา� หนดระเบยี บการขนสง่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ กระทา� อย่างระมดั ระวัง ไม่ใหม้ ีเศษวัสดุใดๆตกหลน่ บน เสน้ ทางสาธารณะ รวมถงึ มกี ารปรบั ปรงุ เสน้ ทาง เข้า-ออก ให้อยู่ในสภาพดีตลอดระยะเวลา ก่อสร้าง 5) จัดเจ้าหน้าที่อ�านวยการจราจรบริเวณทาง เขา้ -ออกพน้ื ทก่ี อ่ สรา้ ง เพอื่ ลดปญั หาการกดี ขวาง เส้นทางจราจร โดยเฉพาะในช่วงเวลาเร่งด่วน 6) อบรมคนขบั รถและเจา้ หนา้ ทคี่ วบคมุ การจราจร เพอื่ ชว่ ยอา� นวยการจราจรไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 7) ตดิ ตง้ั ปา้ ยสญั ญาณจราจรตา่ งๆ อาทิ ปา้ ยชะลอ ความเรว็ เขตกอ่ สรา้ ง เปน็ ตน้ ทง้ั ในพนื้ ทก่ี อ่ สรา้ ง และเม่ือเข้าใกล้บริเวณทางเข้าสู่พ้ืนที่ก่อสร้าง จัดให้มีป้ายช่ือโครงการ และแสดงลูกศร ทิศทางเขา้ อยา่ งชัดเจน 8) ประสานงาน ท�าความเข้าใจกับผู้พักอาศัย บริเวณใกล้เคียง พร้อมท้ังให้หมายเลขโทรศัพท์ ตดิ ตอ่ กลับ 9) บรหิ ารจดั การการนา� รถปนู เขา้ มาเทในชว่ งฐานราก โดยกา� หนดจา� นวนของรถให้เหมาะสม เพื่อไม่ให้ รถมาจอดรอมากเกินความจ�าเป็น ท้ังน้ี ตอ้ งดา� เนนิ การในชว่ งวนั หยดุ และ/หรอื หลกี เลยี่ ง ชว่ งเวลาเรง่ ดว่ น (7.00-9.00 น.) รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 113

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ ม 3.3 ระบบสาธารณปู โภค ไฟฟ้า 1) จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีดูแลตรวจสอบ 1) การใช้ไฟฟ้าภายในพ้ืนที่ก่อสร้าง ต้องเป็นไป อปุ กรณไ์ ฟฟา้ ตา่ งๆ ในพน้ื ทกี่ อ่ สร้าง ความตอ้ งการใชไ้ ฟฟา้ ในระหวา่ ง ตามกฎเกณฑ์และการอนุญาตของการไฟฟ้า ให้อยใู่ นสภาพดี ก่อสร้าง เช่น การใช้เพื่อการเชื่อม นครหลวง / การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 2) ดูแลอุปกรณ์ในระบบประปา และงานตัดโลหะ ซงึ่ มีปริมาณการใช้ 2) การติดตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ ภายในพ้ืนท่ี ไม่ให้เกิดการช�ารุด ร่ัวไหล พร้อม ไมม่ ากนกั และใชใ้ นบางชว่ งของการ ก่อสร้างต้องถูกต้องตามมาตรฐาน มีการรณรงค์ ท้ังแจ้งรายการช�ารดุ แก่เจา้ หนา้ ท่ี กอ่ สรา้ งเทา่ นน้ั จงึ ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด เช่น ปิดไฟหรือ เพ่อื ด�าเนินการแกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ น การใชไ้ ฟฟา้ ของชมุ ชน ซงึ่ จะรบั ไฟฟา้ เคร่ืองใช้ไฟฟ้าเมื่อเลิกใช้งาน โดยตอ่ ผา่ นมิเตอร์ไฟฟา้ ช่ัวคราวจาก 3) จดั ใหม้ ชี า่ งเทคนคิ ไฟฟา้ ควบคมุ การปฏบิ ตั งิ าน การไฟฟา้ นครหลวง / การไฟฟา้ สว่ น ภมู ภิ าค น้�าใช้ สา� หรบั ปรมิ าณการใชน้ า้� ของคนงาน 1) จัดให้มีการส�ารองน้�าใช้อย่างเพียงพอ จะให้การประปานครหลวงหรือ โดยขออนุญาตติดต้ังมิเตอร์น้�าประปาช่ัวคราว การประปาภูมิภาค มาติดต้ังมิเตอร์ จากการประปานครหลวงหรอื การประปาภูมิภาค ชว่ั คราว เพื่อมิให้มีการแย่งน�้าใช้จากชุมชนหรือพื้นท่ี ใกล้เคียง 2) จัดหาน�้าด่ืมให้เพียงพอกับความต้องการของ คนงานก่อสร้าง 3) รณรงค์ / ก�ากับดูแลให้คนงานใช้น้�าอย่าง ประหยัด ไม่เปิดน�้าท้ิงไว้หรือปล่อยให้เกิดการ รั่วไหลโดยมิได้มีการน�าไปใช้ประโยชน์ 3.4 การระบายนา้� 1) ดินที่ขุดในพื้นที่ก่อสร้าง ระหว่างรอการใช้ - เม่อื กอ่ สรา้ งระบบระบายน้�าแล้ว ประโยชน์ ต้องให้มีพ้ืนที่กองโดยเฉพาะ อยู่ห่าง เสรจ็ ใหใ้ ช้ในการระบายน้า� และ ในชว่ งแรกนา้� เสยี จากการกอ่ สรา้ ง จากพ้ืนท่ีข้างเคียงและท่อระบายน้�า เพ่ือมิให้ จัดเจ้าหน้าท่ีติดตามตรวจสอบ และนา้� ฝนจะปลอ่ ยใหซ้ มึ ลงดนิ ตอ่ เมอื่ เกิดการชะล้างลงสู่ทางระบายน้�า ระบบระบายน�้าในพื้นท่ีก่อสร้าง กอ่ สรา้ งระบบทอ่ ระบายนา�้ จงึ จะระบาย 2) ดูแลไม่ให้เศษวัสดุที่เหลือจากการก่อสร้าง เมื่อพบการอุดตันต้องด�าเนินการ ลงสู่ระบบระบายน�้าหลัก ซึ่งจะผ่าน หรือท่ีติดค้างมากับรถขนส่งวัสดุ ตกลงบนถนน ขุดลอกหรือท�าความสะอาด บอ่ ตกตะกอน และตะแกรงกรองขยะ ทางระบายน้�า หรือท่ีสาธารณะใดๆ อันจะ ก่อนระบายลงสู่ระบบระบายน�้า กีดขวางการระบายน�้าเดิมของชุมชน สาธารณะ ทงั้ นก้ี ารกอ่ สรา้ งจะกระท�า 3) ก่อสร้างระบบสาธารณูปการท่ีส�าคัญก่อนใน ภายในพื้นท่ีก่อสร้างเท่าน้ัน จึงไม่ ระยะแรก ได้แก่ ระบบระบายน้�าหลัก โดยจัดให้ กีดขวางทางระบายนา้� เดมิ ของชมุ ชน มีบ่อพักน�้าเป็นระยะๆ และตะแกรงกรองขยะ เพ่ือให้สามารถควบคุมจัดการระบายน้�าจาก พ้ืนท่ีก่อสร้างได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ 114 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 3.5 การจดั การมลู ฝอย 1) จัดให้มีถังขยะแบบฝาปิดมิดชิด ต้ังวางไว้ - จดั เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบความสะอาด ตามจุดต่างๆของพื้นที่ก่อสร้างเพ่ือให้สะดวก และความเปน็ ระเบยี บเรยี บรอ้ ยของ มลู ฝอยทเี่ กดิ จากคนงาน ผรู้ บั เหมา ต่อการใช้งานและจัดเตรียมให้เพียงพอกับ พน้ื ทกี่ อ่ สรา้ ง พน้ื ทกี่ องเกบ็ วสั ดุ โดย จะจัดให้มีถังขยะตั้งไว้บริเวณพ้ืนที่ ปริมาณขยะที่เกิดจากคนงาน เฉพาะบริเวณจุดพักขยะ ไม่ปล่อย กอ่ สรา้ ง แยกประเภทเปน็ ถงั ขยะเปยี ก 2) การเก็บกองเศษวัสดุจะต้องมีพื้นท่ีส�าหรับ ให้มีขยะตกค้างและมีการท�าความ และถงั ขยะแหง้ โดยในแตล่ ะวนั จะจดั จัดเก็บเฉพาะ เป็นระเบียบ มีการกันขอบเขต สะอาดพ้ืนท่ีเป็นประจ�าเพ่ือไม่ให้ ใหม้ คี นงานรบั ผดิ ชอบในการจดั เกบ็ ใหช้ ดั เจน หรอื มกี ารปิดคลมุ ตามความเหมาะสม เปน็ แหลง่ เชอ้ื โรค เพอ่ื รอรถเกบ็ ขนมลู ฝอยเขา้ มาทา� การ 3) จดั ให้มีการขนย้ายเศษวัสดกุ ่อสร้าง ขยะออก เ ก็ บ ข น แ ล ะ น� า ไ ป ก� า จั ด ต ่ อ ไ ป จากพื้นที่ก่อสร้างสัปดาห์ละ 1 ครั้ง หากยังไม่ เศษวสั ดจุ ากการกอ่ สรา้ ง เชน่ เศษไม้ พร้อมทจี่ ะขนย้ายเศษวสั ดดุ งั กล่าวจะตอ้ งมีการ เศษอฐิ เศษปนู และเศษเหลก็ เปน็ ตน้ ปิดคลมุ อย่างมดิ ชิด เพ่อื ปอ้ งกนั ไมใ่ หเ้ ป็นแหล่ง อาจกอ่ ใหเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตรุ ะหวา่ งปฏบิ ตั ิ เพาะพนั ธุแ์ มลงและสัตวน์ �าโรค งานหรือเป็นแหล่งเพาะพันธ์ของ 4) เศษวัสดุก่อสร้างที่เหลือจากการใช้ประโยชน์ สัตวน์ า� โรคตา่ งๆ หากสามารถจดั การ ให้ขายให้กับผูร้ บั ซ้อื สว่ นทไ่ี ม่สามารถขายหรอื ใช้ เศษวสั ดทุ ี่เกิดขึ้นได้ ผลกระทบจาก ประโยชน์ได้ ต้องก�ากับดูแลผู้รับเหมาให้ติดต่อ มูลฝอยและเศษวัสดุก่อสร้าง ท่ีเกิด ส�านักงานหรือเทศบาล เข้ามาท�าการจัดเก็บ จากการกอ่ สรา้ งโครงการจะอยใู่ น เป็นประจา� สม่�าเสมอ ระดบั ตา�่ 4. คณุ คา่ ตอ่ คุณภาพชีวิต 4.1 สังคมและเศรษฐกิจ 1) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการเพอ่ื ลดผลกระทบจากการ - จดั สว่ นบรกิ ารรบั ฟงั ความคดิ เหน็ กอ่ สรา้ งอย่างเคร่งครดั ตลอดระยะเวลาก่อสรา้ ง การรับฟังเร่ืองร้องเรียน และการ ระหวา่ งกอ่ สรา้ งจะมคี นงานกอ่ สรา้ ง เช่น มาตรการด้านคุณภาพอากาศ เสียงดัง ตดิ ตามสอบถามผอู้ ยอู่ าศยั ใกลเ้ คยี ง จา� นวนมาก ซงึ่ จะจงู ใจใหผ้ คู้ า้ ขายใน ความสนั่ สะเทอื น การระบายน้�า และการจราจร ถึงผลกระทบเพื่อรับทราบปัญหา พื้นท่ีใกล้เคียงเข้ามาขายสินค้าหรือ เปน็ ตน้ และดา� เนนิ การแกไ้ ขตอ่ ไป อาหารบริเวณใกล้เคียงพ้ืนทก่ี อ่ สร้าง 2) การก่อสร้างท่ีก่อให้เกิดเสียงดังและความส่ัน เปน็ การกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การใชจ้ า่ ยและ เปน็ การกระจายรายไดส้ ชู่ มุ ชน ซง่ึ ถอื สะเทอื น ใหด้ า� เนนิ การในวนั จนั ทร-์ วนั เสาร์ เวลา เปน็ ผลกระทบทางดา้ นบวก 8.00-17.00 น. (หยุดวันอาทิตย์และวันหยุด ระยะกอ่ สรา้ ง จากการสอบถามกลมุ่ นักขัตฤกษส์ า� คญั ) ในกรณที ตี่ อ้ งมกี ารทา� งานเกนิ ตัวอย่างส่วนใหญ่มีความกังวลใน เวลาทกี่ า� หนด ใหแ้ จง้ กา� หนดการใหช้ มุ ชนใกลเ้ คยี ง ปัญหาการจราจรหนาแน่นมากข้ึน ไดร้ บั ทราบลว่ งหนา้ การเปลี่ยนแปลงการด�าเนินชีวิต 3) จัดใหม้ หี อ้ งสา� หรับทา� งานทกี่ อ่ ผลกระทบดา้ น ความเดอื ดรอ้ นจากเสยี งดงั ฝนุ่ ละออง เสยี งอยา่ งรนุ แรง เชน่ การตดั การเจยี ร การไส ในระยะกอ่ สรา้ ง ปญั หาอาชญากรรม เพอ่ื ปอ้ งกนั เสยี ง และยาเสพตดิ มากขน้ึ 4) การท�างานในวันอาทิตย์ให้เป็นงานเบาหรือ งานทจี่ า� เปน็ ตอ้ งทา� ตอ่ เนอ่ื งทไี่ มม่ เี สยี งดงั รบกวน เชน่ งานทา� ความสะอาด และการตรวจสอบงาน ของผรู้ บั เหมา เปน็ ตน้ รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 115

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ ม 5) ก�าหนดระเบียบปฏิบัติ ข้อบังคับให้คนงาน ก่อสร้างยึดถอื และปฏบิ ตั ติ าม และมกี ารควบคมุ ดูแลอย่างเคร่งครัด ในกรณีท่ีมีการฝ่าฝืนต้องมี การลงโทษ 6) จัดท�าทะเบียนประวัติคนงานพร้อมรูปถ่าย และให้คนงานติดบัตรประจ�าตัวตลอดเวลาการ ปฏบิ ตั งิ าน 7) ไมใ่ ชแ้ รงงานตา่ งชาตทิ ผี่ ดิ กฎหมาย 8) ตดิ ตงั้ ปา้ ยสญั ลกั ษณช์ ว่ั คราว อาทิ ปา้ ยชะลอ ความเร็ว เขตก่อสร้าง เป็นต้น บริเวณพ้ืนที่ ก่อสร้าง และเมื่อเข้าใกล้ทางเข้าสู่พ้ืนที่ก่อสร้าง พรอ้ มทงั้ จดั ใหม้ ปี า้ ยชอ่ื โครงการ และแสดงลกู ศร ทศิ ทางเขา้ อยา่ งชดั เจน 9) จัดให้มีชอ่ งทางในการรับฟังความคดิ เหน็ หรือ รอ้ งเรยี นในกรณที อ่ี าจไดร้ บั ผลกระทบจากการ กอ่ สรา้ ง เชน่ ตดิ ตงั้ กลอ่ งรบั ความคดิ เหน็ มหี มายเลข โทรศพั ทส์ า� หรบั ตดิ ตอ่ 10) ผู้รับเหมาต้องมีมาตรการด้านชุมชนสัมพันธ์ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและลดความวติ กกงั วลของ ผทู้ อ่ี ยอู่ าศยั ขา้ งเคยี ง เชน่ ประสานงานทา� ความ เขา้ ใจหรอื แจง้ ใหท้ ราบแผนการกอ่ สรา้ งทอ่ี าจมี ผลกระทบ การเยย่ี มเยอื นเพอื่ นบา้ นเพอ่ื สอบถาม ถงึ ผลกระทบทอี่ าจไดร้ บั พรอ้ มทงั้ แกไ้ ขปญั หาและ แจง้ ผลการแกไ้ ขปญั หาตามเรอ่ื งรอ้ งเรยี น เปน็ ตน้ 11) จัดให้มีทีมงานซ่อมบ�ารุงฉุกเฉินในกรณี ท่กี ารก่อสรา้ งกอ่ ให้เกิดความเสยี หายต่อทรพั ยส์ นิ ของผอู้ ยอู่ าศยั ขา้ งเคยี ง (ใหบ้ รกิ ารฟร)ี 116 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

สรปุ มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ขผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มของ บรษิ ทั ศภุ าลยั จา� กดั (มหาชน) - หลงั การกอ่ สรา้ งโครงการ - องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข มาตรการติดตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบส่ิงแวดล้อม ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม 1. ทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ้ มทางกายภาพ 1.1 สภาพภมู ปิ ระเทศ กอ่ สรา้ งโครงการใหเ้ ปน็ ไปตามแบบทไี่ ดร้ บั อนญุ าต - การกอ่ สรา้ งโครงการไดป้ รบั ระดบั โดยมคี วามสงู ของอาคาร พนื้ ทใี่ ชส้ อย คา่ FAR และ - ของพื้นท่ีให้สูงข้ึน มีผลท�าให้สภาพ คา่ OSR เปน็ ไปตามกฎหมาย - ภูมิประเทศเปล่ียนแปลงไปเล็กนอ้ ย อย่างไรก็ตาม ลักษณะกิจกรรมยังมี ความสอดคลอ้ งกับพ้ืนท่ีใกลเ้ คยี ง 1.2 การชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ปลกู ตน้ ไมแ้ ละหญา้ คลมุ ดนิ ในบรเิ วณพนื้ ทว่ี า่ งของ พื้นที่โครงการจะเป็นอาคารพัก โครงการ ท่ีมิได้มีการปูราดพ้ืนผิว เพ่ือลดการ อาศัย ถนน และพ้ืนที่สีเขียว ท�าให้ ชะลา้ งพงั ทลายของหนา้ ดนิ พื้นที่ปกคลุมผิวดินมากข้ึน เป็นผล ใหก้ ารชะลา้ งพงั ทลายของดนิ ลดลง 1.3 คณุ ภาพอากาศ 1) ดแู ลถนนหรอื ทางเขา้ -ออก ภายในโครงการให้ การจราจรภายในโครงการอาจ มีสภาพดีไม่ช�ารุดและสะอาด เพื่อป้องกัน ก่อใหเ้ กดิ มลพษิ ทางอากาศ ซึง่ ไดแ้ ก่ การกระจายตัวของฝนุ่ เมือ่ มีการใชถ้ นน ฝุ่นละออง นอกจากน้ี ยังมีก๊าซ 2) ปลกู ตน้ ไมแ้ ละจดั พน้ื ทสี่ เี ขยี วในพน้ื ทโี่ ครงการ คาร์บอนมอนอกไซด์ (CO) ทีร่ ะบาย เพอ่ื เป็นแนวกันฝ่นุ ละออง จากรถยนต์ ท้ังน้ีจะต้องประเมิน 3) จา� กดั ความเรว็ รถทวี่ ง่ิ ในโครงการไมเ่ กนิ 30 กม./ชม. ปรมิ าณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และขอความร่วมมือให้ดับเคร่ืองยนต์ เม่ือต้อง (CO) จากรถยนต์ จอดรออยู่ในโครงการเปน็ เวลานาน 4) ออกแบบอาคารทจ่ี อดรถใหม้ ีความสงู ระหวา่ ง ชนั้ 2.55-3.65 เมตร เพอ่ื ใหเ้ กดิ การระบายอากาศ ได้ตามธรรมชาติอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.4 ระดบั เสยี งและความสนั่ สะเทอื น 1) ควบคมุ ความเรว็ ของรถภายในโครงการ โดย - ติดป้ายจ�ากัดความเร็วหรือท�าถนนเนิน ป้องกัน การพกั อาศัยและกิจกรรมภายใน การใชค้ วามเรว็ และมปี า้ ยขอความรว่ มมอื งดการ โครงการจะไมส่ ง่ ผลกระทบดา้ นระดบั ใช้เสียงแตรรถและการเร่งเคร่ืองยนต์ท่ีก่อให้ เสยี งและความสนั่ สะเทอื น เนอื่ งจาก เกิดเสยี งรบกวน เปน็ การอยอู่ าศยั ตามปกติ และคาดวา่ 2) ปลูกต้นไม้และจัดพ้ืนที่สีเขียวภายในพ้ืนท่ี ภายในโครงการจะมเี พยี งรถยนตส์ ว่ น โครงการและตามแนวเขตรวั้ เปน็ แนวกันชนลด บคุ คลเทา่ นนั้ ไมม่ กี ารใชร้ ถบรรทกุ หนกั ผลกระทบดา้ นเสยี ง รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 117

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกันและแก้ไข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบส่งิ แวดล้อม 1.5 คณุ ภาพนา้� /นา้� เสยี 1) นา้� เสยี ทเ่ี กดิ จากกจิ กรรมการพกั อาศยั ในโครงการ 1) ตดิ ตามตรวจสอบและจดั ทา� บนั ทกึ ทง้ั หมดตอ้ งผา่ นการบา� บดั ดว้ ยระบบบา� บดั นา้� เสยี แบบ การทา� งาน การตรวจสอบ และการ นา�้ เสยี เกดิ จากกจิ กรรมการอปุ โภค Activated Sludge จนมคี า่ อยใู่ นเกณฑม์ าตรฐาน ซ่อมบ�ารุง ระบบบ�าบัดน้�าเสียหรือ ภายในโครงการ จะมกี ารบา� บดั นา้� เสยี กอ่ นทจ่ี ะระบายลงสทู่ อ่ ระบายนา้� สาธารณะ การกา� หนดการดแู ลรกั ษาของระบบ ดว้ ยระบบบา� บดั น�า้ เสียของโครงการ 2) น้�าเสียจากห้องครัวต้องผ่านการดักไขมันโดย ตลอดระยะเวลาดา� เนนิ การ จนได้มาตรฐานน�้าท้ิง โดยน้�าเสียที่ บอ่ ดกั ไขมนั กอ่ นสง่ ไปยงั ระบบบา� บดั นา�้ เสยี โครงการ 2) ตดิ ตามตรวจสอบการทา� งานของ บา� บดั สว่ นหนงึ่ จะถกู นา� มาใชป้ ระโยชน์ 3) นา�้ เสยี จากหอ้ งพกั ขยะตอ้ งผา่ นการบา� บดั กอ่ น ปั๊มระบบท่อส่งน้�า สภาพท่ัวไปของ ในการรดน�้าตน้ ไม้ของโครงการ และ ระบายลงสรู่ ะบบระบายนา�้ สาธารณะ ถงั เกบ็ นา้� เพอื่ ปอ้ งกนั การชา� รดุ และ ที่เหลือจะรวบรวมผ่านบ่อดักขยะ 4) เฝา้ ระวงั การเพมิ่ ขนึ้ ของปรมิ าณกากไขมนั และ การร่ัวไหลของน้�าแก่ผู้มีหน้าท่ี กอ่ นระบายลงสทู่ อ่ ระบายนา้� สาธารณะ มีการจัดการโดยการตักกากไขมันทุก 1 สัปดาห์ รบั ผิดชอบเพ่อื ด�าเนินการแกไ้ ขโดย หรอื อาจเพมิ่ ความถต่ี ามปรมิ าณกากทเี่ พม่ิ ขนึ้ นา� ไป เรง่ ดว่ น ตลอดระยะเวลาดา� เนนิ การ ตากแดดเพอ่ื ลดปรมิ าตร และนา� ใสถ่ งุ พลาสตกิ ดา� 3) บนั ทกึ การตรวจสอบปรมิ าณการ มัดปากถุงให้แน่น น�าไปพักในห้องพักขยะรวม ใช้น้�าทุกเดือน ซ่ึงสามารถบอกถึง เพ่อื รอการเกบ็ ขนโดยเทศบาล ประสิทธิผลของมาตรการด้านการ 5) เฝ้าระวังการเพิ่มขึ้นของกากตะกอนส่วนเกิน ประหยดั การใชน้ า�้ และบอกถงึ ความ และสบู ออกจากระบบทกุ 30 วนั หรือเพมิ่ ความถ่ี ผิดปกติ กรณีที่อาจเกิดการรั่วไหล ตามปรมิ าณท่ีเพมิ่ ขึ้น จากทอ่ ใตด้ นิ 6) จดั ใหม้ เี จา้ หนา้ ทปี่ ระจา� หรอื จดั จา้ งบรษิ ทั เอกชน 4) จดั ใหม้ กี ารตรวจสอบคณุ ภาพนา�้ เพอื่ ดแู ลรกั ษาระบบบา� บดั นา�้ เสยี ระบบปม๊ั สบู นา้� กอ่ นบา� บดั และหลงั การบา� บดั อยา่ ง และระบบระบายน�้าภายในพ้ืนท่ีโครงการให้ น้อยเดือนละ 1 คร้ัง ตลอดระยะ สามารถท�างานไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ เวลาดา� เนนิ การ 1.6 การระบายอากาศและความรอ้ น 1) จัดให้มีพ้ืนท่ีสีเขียวภายในโครงการตามแบบ - ภูมิสถาปัตย์ โดยปลูกไม้ยืนต้นและดูแลพื้นที่ - ในการกา� หนดแบบแปลนการกอ่ สรา้ ง สีเขียวภายในโครงการให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์ มกี ารเวน้ ระยะรน่ ระยะหา่ ง ซง่ึ เปน็ ตลอดเวลา เพ่อื ลดความรอ้ น มาตรการลดผลกระทบต้ังแต่แรก 2) ก�าหนดความเร็วของรถท่ีวิ่งภายในโครงการ แต่อาจมผี ลกระทบจากการใชเ้ ครอ่ื ง และห้ามรถยนต์ที่จอดในพื้นท่ีโครงการติด ปรบั อากาศของผพู้ กั อาศยั นอกจากนี้ เครื่องยนต์ท้ิงไว้หากต้องจอดรอเป็นเวลานาน การจราจรในโครงการอาจทา� ใหเ้ กดิ การ ระบายความรอ้ นสบู่ รรยากาศไดเ้ ชน่ กนั 1.7 การบดบงั แสงและทศิ ทางลม 1) โครงการได้ออกแบบตัวอาคารให้มีระยะห่าง และระยะรน่ ตามแบบทไี่ ดร้ บั อนญุ าตและมากกว่า การออกแบบและวางผังอาคาร ท่ีกฎหมายกา� หนด ซึ่งการเวน้ ชว่ งระยะถอยร่นนี้ โครงการ อาจมผี ลใหเ้ กดิ การบดบงั แสง เป็นการชว่ ยการระบายอากาศและลดผลกระทบ และทิศทางลมในบางเวลาหรือ จากการบดบงั ลมของตวั อาคารได้ บางฤดกู าล โดยทศิ ทางและระยะเงาท่ี 2) แจง้ ใหผ้ พู้ กั อาศยั อยใู่ นระยะประมาณ 300 เมตร พาดผา่ นฤดรู อ้ นและฤดหู นาว การทอด จากทต่ี งั้ โครงการ ทไ่ี ดร้ บั ผลกระทบจากการบดบงั ผา่ นเงาของตวั โครงการ เปน็ ตน้ แสงหรอื ลม สามารถแจง้ เจา้ ของโครงการไดต้ ง้ั แต่ การก่อสร้างอาคารแลว้ เสรจ็ จนถงึ ภายหลังการ จดั ตัง้ นติ ิบคุ คลแลว้ เป็นเวลา 1 ปี 3) สา� หรับกรณที ี่พิสจู น์ไดว้ า่ การบดบังแสงของ อาคารโครงการกอ่ ให้เกดิ ผลกระทบ โครงการจะ จดั ใหม้ ีการชดเชยตามความเหมาะสม 118 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการป้องกันและแกไ้ ข มาตรการติดตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทสี่ า� คญั ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม 2. ทรพั ยากรสง่ิ แวดลอ้ มทางชวี ภาพ - - แลว้ แตก่ รณเี ชน่ สภาพพน้ื ทก่ี อ่ น - ด�าเนินโครงการเป็นพื้นท่ีว่างเปล่า - ถูกทิ้งรกร้าง การพัฒนาโครงการจึง ไมส่ ง่ ผลกระทบตอ่ ทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ ม ทางชวี ภาพ 3. คณุ คา่ การใชป้ ระโยชนข์ องมนษุ ย์ 3.1 การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ กอ่ สรา้ งโครงการใหเ้ ปน็ ไปตามขอ้ กา� หนดผงั เมอื ง ตรวจสอบการใช้ประโยชน์ และกฎหมายอน่ื ๆทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ท่ีดินตาม ข้อก�าหนดผังเมือง และ กฎหมายอน่ื ๆทเี่ กยี่ วขอ้ ง 3.2 การคมนาคมและการจราจร 1) เปดิ ทางเขา้ -ออก ตามมาตรฐานกรมทางหลวง 2) ปาดมุมทางเท้าให้กว้างข้ึนเพ่ือสะดวกในการ เมื่อเปิดด�าเนินโครงการ จะมี เลย้ี วรถเขา้ โครงการ ปริมาณรถเพ่ิมขึ้น อาจมีผลกระทบ 3) จัดให้มีป้ายบอกเส้นทางการจราจรภายใน ตอ่ ปรมิ าณการจราจรบนถนนโครงขา่ ย โครงการอยา่ งชดั เจน ใกลเ้ คยี งสง่ ผลใหค้ า่ V/C Ratio สงู ข้นึ 4) จัดให้มีป้ายเตือนผู้ใช้รถภายในโครงการให้ ระมดั ระวงั การเกดิ อบุ ตั ิเหตุ 5) จัดให้มีเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยดูแล อ�านวยความสะดวกในการจัดระเบียบที่จอดรถ การจราจร ตลอด 24 ชว่ั โมง 6) ตดิ ตงั้ จดุ รบั แลกบตั รเขา้ -ออก โครงการไวบ้ รเิ วณ ด้านในพนื้ ที่โครงการ หา่ งจากรมิ ถนนสาธารณะ ให้มากที่สุด เพ่ือไม่ให้เกิดปัญหารถท้ายแถว กดี ขวางเส้นทางจราจรภายนอก 7) จัดให้มีสัญญาณไฟเรียกรถแท็กซ่ีเข้ามารับ ผู้โดยสารภายในโครงการ 8) จดั ใหม้ จี า� นวนทจ่ี อดรถอยา่ งเพยี งพอไมต่ า่� กวา่ กฎหมายก�าหนด 9) ประชาสัมพันธ์ให้ผู้พักอาศัยใช้รถด้วยความ ระมดั ระวงั โดยเฉพาะการเขา้ -ออกโครงการ และ รณรงคใ์ หใ้ ชบ้ ริการรถขนส่งมวลชนสาธารณะ รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 119

มาตรการป้องกันและแก้ไข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ มาตรการติดตามตรวจสอบ ผลกระทบส่งิ แวดล้อม ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสงิ่ แวดล้อม 3.3 ระบบสาธารณปู โภค ไฟฟา้ ความตอ้ งการใชส้ าธารณปู โภคของ 1) ก�าหนดมาตรการ การใช้ไฟฟ้าอย่างประหยัด 1) จัดให้มีเจ้าหน้าท่ีคอยดูแลตรวจ โครงการ ไดแ้ ก่ นา�้ ใชแ้ ละไฟฟา้ ซง่ึ มี ตง้ั แตเ่ รมิ่ ตน้ โครงการ ออกแบบการตดิ ตงั้ หลอดไฟ สอบอปุ กรณไ์ ฟฟา้ ตา่ งๆในโครงการ ปรมิ าณการใชท้ คี่ อ่ นขา้ งมากและตอ้ ง โคมไฟ ซึ่งเป็นลักษณะประหยัดพลังงาน เช่น ให้อยู่ในสภาพดี หากมีการช�ารุด รับจากหน่วยงานบริการสาธารณะ หลอดผอม หลอดตะเกียบ เป็นต้น เสยี หาย ตอ้ งรบี ดา� เนนิ การซอ่ มแซม อาจจะสง่ ผลกระทบตอ่ การใชข้ องผใู้ ช้ 2) มมี าตรการเสริม ท่นี า� มาใช้ประหยัดพลังงาน แกไ้ ขโดยเรว็ เดมิ ทอ่ี ยใู่ กลเ้ คยี งโครงการ เช่น การควบคุมการปิดไฟแสงสว่างที่ไม่จ�าเป็น 2) จดั เจา้ หนา้ ทด่ี แู ลตรวจสอบอปุ กรณ์ การออกแบบให้สามารถใช้ประโยชน์จากแสง ในระบบประปาไม่ให้เกิดการช�ารุด อาทติ ยใ์ นส่วนตา่ งๆให้มากท่ีสุด รั่วไหล และแจ้งรายการช�ารุดแก่ 3) มกี ารรณรงค์ สง่ เสรมิ ใหผ้ พู้ กั อาศยั มคี วามเขา้ ใจ ผู้ดูแลโครงการ เพื่อด�าเนินการ ในวิธีและประโยชน์จากการประหยัดพลังงาน แกไ้ ขโดยเรง่ ดว่ น มมี าตรการจงู ใจต่างๆ 3) บนั ทกึ ปรมิ าณการใชน้ า�้ รายเดอื น 4) ติดตั้งไฟฟา้ ส�ารองส�าหรับใชง้ านกรณีฉกุ เฉนิ เพื่อตรวจสอบประสิทธิผลของ 5) มีการออกแบบอาคารและติดตั้งวัสดุอุปกรณ์ มาตรการดา้ นการประหยดั นา้� ภายในอาคาร เพ่ือส่งเสรมิ อนุรกั ษ์พลังงาน นา�้ ใช้ 1) ภายในโครงการจัดใหม้ กี ารสา� รองน�า้ ใช้ (รวม น�้าดับเพลิง) เพือ่ มใิ ห้เกดิ ผลกระทบ ในกรณที ีผ่ ู้ พกั อาศยั มกี ารใชน้ า�้ พรอ้ มๆ กนั จา� นวนมาก 2) ตรวจสอบระบบทอ่ สง่ นา้� ปม๊ั นา้� และถงั เกบ็ นา�้ ใหอ้ ยใู่ นสภาพดี ไมช่ า� รดุ หากมกี ารแจง้ เหตุ ตอ้ ง รบี ดา� เนนิ การซอ่ มแซมแกไ้ ขโดยเรว็ 3) รณรงค์ให้มีการใช้น้�าอย่างประหยัด ในส่วน ของผพู้ กั อาศยั และสา� หรบั โครงการควรนา� นา�้ ทง้ิ ทผี่ า่ นการบา� บดั แลว้ มาใชป้ ระโยชน์ เพอ่ื เปน็ รปู แบบของการใชน้ า้� อยา่ งประหยดั 3.4 การอนรุ กั ษพ์ ลงั งาน โครงการมมี าตรการควบคมุ ดแู ล และอนุรักษ์พลังงาน ทั้งในส่วนของผู้ อยอู่ าศยั และสว่ นของโครงการอยา่ งชดั เจน 1. ระบบสาธารณปู โภคและ โครงการ - สาธารณปู การ 1) พนื้ ทใ่ี ชส้ อยหลกั ทง้ั หมดไดร้ บั แสงจากธรรมชาติ หรอื มชี อ่ งแสงไมต่ า�่ กวา่ 15% ของพน้ื ทน่ี นั้ 2) มพี นื้ ทใ่ี ชส้ อยหลกั มากกวา่ 90% มชี อ่ งระบาย อากาศทง้ั 2 ดา้ น 3) ใช้หลอดประหยัดพลังงาน และ/หรือ หลอด ฟลอู อเรสเซนต์ 100% 4) จัดพนักงานเดินตรวจและปิดไฟบริเวณท่ี ไม่จา� เปน็ (เชน่ รปภ.) 5) ติดสต๊ิกเกอร์และขอความร่วมมือให้ใช้บันได แทนลฟิ ต์ เมอ่ื ขน้ึ ลงไมเ่ กนิ 2 ชน้ั สา� รวจและซอ่ ม วาลว์ นา�้ และทอ่ นา้� ไมใ่ หม้ รี อยรว่ั มรี ะบบนา� นา้� ทง้ิ กลบั มาใชใ้ หม่ เชน่ นา� กลบั มารดนา�้ ตน้ ไม้ 120 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกันและแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสิ่งแวดล้อม ผลกระทบส่ิงแวดล้อม ผอู้ ยอู่ าศยั - 2. ระบบปรบั อากาศ 1) เลือกซ้ือเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน และมี ฉลากแสดงประสทิ ธภิ าพเบอร์ 5 2) ปิดเคร่ืองใช้ไฟฟ้าในห้องทุกครั้งเมื่อออกจาก หอ้ งพกั 3) ถอดปล๊ักเคร่ืองใช้ไฟฟ้าหลังใช้งานเสร็จแล้ว ทกุ ครง้ั 4) วางตเู้ ยน็ ใหห้ า่ งจากผนงั อยา่ งนอ้ ย 15 เซนตเิ มตร เพอ่ื ระบายความรอ้ นไดด้ ี 5) หมนั่ ละลายนา้� แขง็ ในชอ่ งแขง็ เพอื่ ปอ้ งกนั ไมใ่ ห้ นา�้ แขง็ หนาเกนิ 5 มลิ ลเิ มตร 6) ปดิ กอ๊ กนา้� ใหส้ นทิ หลงั ใชง้ านเสรจ็ ไมเ่ ปดิ กอ๊ กนา�้ ทง้ิ ไว้ 7) ใชบ้ นั ไดแทนลฟิ ต์ เมอ่ื ขน้ึ ลงไมเ่ กนิ 2 ชน้ั 8) ดูแลต้นไม้และพ้ืนท่ีสีเขียวให้สมบูรณ์ อยตู่ ลอดเวลา โครงการ 1) ตดิ ตงั้ เครอ่ื งปรบั อากาศแบบแยกสว่ น (Spilt Type) เพ่ือเป็นการหมุนเวียนอากาศภายในพื้นที่ต่างๆ และเลือกใช้เคร่ืองปรับอากาศเบอร์ 5 และ ไม่ใช้สาร CFC 2) โครงการมีการปลูกต้นไม้รอบๆอาคาร 3) จัดจ้างพนักงานท�าความสะอาดเครื่องปรับ อากาศให้กับโครงการเป็นประจ�า ผอู้ ยู่อาศัย 1) ปดิ เครอื่ งปรบั อากาศทกุ ครงั้ ทจี่ ะไมอ่ ยใู่ นหอ้ ง 2) ต้ังอุณหภูมิเคร่ืองปรับอากาศที่ 25 องศา เซลเซยี ส 3) ทา� ความสะอาดเครอ่ื งปรบั อากาศในหอ้ งพกั ของตน 3. ระบบขนส่ง ผู้อยอู่ าศัย 1) ใชร้ ะบบขนสง่ สาธารณะใหม้ ากทสี่ ดุ 2) ดบั เครอ่ื งยนตท์ กุ ครง้ั เมอื่ ตอ้ งจอดรถนานๆ 3.5 การระบายนา้� 1) จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบระบบระบายน้�า - ติดตามตรวจสอบและซ่อมบ�ารุง และบอ่ พักน�้าของโครงการเปน็ ประจ�า เส้นท่อ บ่อพักและอุปกรณ์ต่างๆ เม่อื โครงการพฒั นาขึ้น มผี ลให้ 2) ตดิ ตามตรวจสอบการทา� งานของระบบระบาย เป็นประจ�าทุกเดือน เพื่อให้พร้อม สภาพพนื้ ทเ่ี ปลยี่ นแปลงไปเปน็ อาคาร น้�าและอปุ กรณ์ต่างๆ เปน็ ประจ�าทกุ เดอื น และ/ ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ พักอาศัย ถนน ท่ีจอดรถ และพ้ืนที่ หรอื ตามค่มู ือประจา� อุปกรณ์นั้นๆ เพือ่ ใหพ้ ร้อม พร้อมตรวจสอบระบบท่อระบาย สีเขยี ว ทา� ใหฝ้ นไหลนอง มอี ตั ราการ ใชง้ านไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ น้�าให้อยู่ในสภาพดี ไม่อุดตัน โดย ระบายเพมิ่ ขน้ึ เฉพาะในช่วงฤดูฝน รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 121

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข มาตรการติดตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม ผลกระทบสิ่งแวดลอ้ ม 3.6 การจดั การมลู ฝอย 1) จดั ใหม้ หี อ้ งพกั มลู ฝอย โดยแบง่ เปน็ หอ้ งพกั ขยะ - และหอ้ งพกั ขยะแหง้ สามารถรองรบั ปรมิ าณขยะ มูลฝอยทเ่ี กิดขึ้นจากผู้พักอาศัยใน มลู ฝอยไดไ้ มน่ อ้ ยกวา่ 3 วนั โครงการ มีท้ังส่วนท่ีเป็นขยะแห้ง 2) จัดให้มีถัง/ภาชนะรองรับขยะแบบมีฝาปิด ขยะเปยี ก และขยะอนั ตราย จา� เปน็ แยกประเภทถังขยะเปียกและถังขยะแห้ง/ ต้องมีการรวบรวมและจัดเก็บอย่าง ขยะอนั ตราย เหมาะสม เพ่ือไม่ให้เกิดเป็นผลกระ 3) ก่อนการขนย้ายมูลฝอยต้องมีการมัดปากถุง ทบกอ่ ใหเ้ กดิ กลนิ่ เหมน็ และเปน็ แหลง่ ให้แน่น ตรวจสอบไม่ให้มีการหกหรือร่ัวไหล เพาะพนั ธข์ุ องสตั วน์ า� โรค ยกใส่รถเข็น และล�าเลียงไปยังห้องพักขยะรวม ของโครงการ อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 1 ครง้ั 4) จัดให้มีเจ้าหน้าที่ตรวจสอบและดูแล ความสะอาดบริเวณห้องพักมูลฝอยทุกครั้ง ที่มีการขนย้ายมูลฝอย 5) จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายและก�าหนด ให้พนกั งานขนยา้ ยมลู ฝอยสวมใสอ่ ปุ กรณป์ อ้ งกนั อันตรายท่ีโครงการจัดไว้ให้ 6) ภายในห้องพักขยะรวมจะต้องมีรางระบายน�้า เชอ่ื มตอ่ กบั ระบบบา� บดั นา้� เสยี ของโครงการ เพอ่ื ท�าการบ�าบัดจนได้มาตรฐานน้�าท้ิงก่อนระบาย ออกสู่ท่อระบายน้�าสาธารณะ 7) มีระเบียบ ข้อตกลง และรณรงค์ ตลอดจน สรา้ งแรงจงู ใจ ใหผ้ พู้ กั อาศยั ทา� การแยกขยะมลู ฝอย และผูกมัดให้แน่น ก่อนทิ้งลงในถังขยะให้ถูก ประเภททจี่ ดั ไว้ 8) ติดตามการเข้าเก็บขนมูลฝอยของเทศบาล ให้มาด�าเนินการจดั เกบ็ อย่างสม�า่ เสมอ 122 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสง่ิ แวดลอ้ ม มาตรการป้องกันและแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบส่งิ แวดลอ้ ม ผลกระทบสิง่ แวดล้อม 4. คุณคา่ ต่อคุณภาพชวี ติ 4.1 สงั คมและเศรษฐกจิ 1) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการลดผลกระทบดา้ นคณุ ภาพ เมอ่ื เปิดด�าเนนิ การเต็มโครงการ อากาศ เสียง และการจราจรอย่างเคร่งครัด -ตดิ ตามเรอื่ งรอ้ งเรยี น ขอ้ เสนอแนะ กา� หนดกฎ ระเบยี บ ในการพกั อาศยั เพอ่ื ความ ขอ้ คดิ เหน็ จากผอู้ ยอู่ าศยั และชมุ ชน จะเกิดเป็นชุมชนท่ีมีขนาดใหญ่ใน เปน็ ระเบยี บภายในโครงการ ใกล้เคียง โดยท�าการสรุปการรับ พนื้ ทบี่ รเิ วณนี้ ทา� ใหส้ ภาวะเศรษฐกจิ 2) ประชาสมั พนั ธใ์ หผ้ ทู้ อี่ ยอู่ าศยั ในพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง เร่ืองร้องเรียนท้ังจากภายในและ การซื้อขายและการบริการในชุมชน ทราบกิจกรรมต่างๆของโครงการ หรือแจ้งเร่ือง ภายนอกโครงการทุกเดือน เพ่ือ ขยายตวั เพอื่ รองรบั ความตอ้ งการทจี่ ะ ร้องเรียน โดยใช้ช่องทางการส่ือสาร เช่น ประเมินประสทิ ธผิ ลของการปฏบิ ตั ิ เพม่ิ ขน้ึ ถอื เปน็ ผลกระทบทางดา้ นบวก การแจ้งโดยตรงที่นิติบุคคล ตามมาตรการลดผลกระทบฯ ทจี่ ะชว่ ยสนบั สนนุ และสง่ เสรมิ อาชพี คา้ ขายและการบรกิ ารของชมุ ชนทอี่ ยู่ ในพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี ง แตส่ า� หรบั ชมุ ชนทมี่ ี 3) จัดให้มีการตรวจสอบสอดส่องและดูแลการ อยู่เดิมอาจจะเกิดความวิตกกังวล เข้า-ออก เพื่อไม่ให้บุคคลภายนอกแฝงเข้ามา เกย่ี วกบั ปญั หาทจี่ ะตามมา โดยเฉพาะ โดยไม่ได้รบั อนญุ าต ปญั หาการจราจรตดิ ขดั ปญั หามลพษิ 4) จัดเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้ทั่วถึง ทางอากาศ/ฝนุ่ ละออง ปญั หาความไม่ พืน้ ทีโ่ ครงการตลอด 24 ชัว่ โมง ปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ รวมถงึ 5) ตดิ ตงั้ ปา้ ยสญั ญาณจราจร ปา้ ยเตอื นตา่ งๆ เชน่ ปญั หาการบงั แสงและทศิ ทางลม ป้ายห้ามจอด ขอความร่วมมือให้ดับเครื่องยนต์ ขณะจอดรถเปน็ ระยะเวลานาน หา้ มใชเ้ สยี งแตร โดยไมจ่ า� เปน็ เปน็ ตน้ 6) จดั ใหม้ พี นกั งานทจี่ ะดแู ลและดา� เนนิ การตา่ งๆ ในสว่ นกลาง 7) จดั ระบบการจราจรภายในโครงการเพอื่ ใหเ้ กดิ ความสะดวกในการจราจร 8) ประสานงานกับสถานีต�ารวจในพ้ืนท่ี เพื่อขอ ความรว่ มมอื ให้เจา้ หน้าที่ตรวจในพ้ืนท่โี ครงการ และพน้ื ทใ่ี กลเ้ คยี งเปน็ ประจา� 4.2 การมสี ว่ นรว่ มของประชาชน 1) จดั ใหม้ ชี อ่ งทางสา� หรบั การตดิ ตอ่ สอื่ สารหรอื รบั - ในระยะด�าเนินการ กลุ่มผู้มี ฟงั ความคดิ เหน็ จากผพู้ กั อาศยั ในโครงการและ ส่วนได้เสียมีความวิตกกังวลใน บคุ คลภายนอกทอ่ี าจไดร้ บั ผลกระทบ ปญั หาการจราจรตดิ ขดั ปญั หามลพษิ 2) ตดิ ตง้ั ปา้ ยชอ่ื โครงการพรอ้ มหมายเลขโทรศพั ท์ ทางอากาศ/ฝุ่นละออง ปัญหามลพิษ ดา้ นหนา้ โครงการและจดั ใหฝ้ า่ ยประชาสมั พนั ธเ์ ปน็ ทางเสียงและความสั่นสะเทือน ผรู้ ับฟังความคิดเหน็ ที่มตี ่อโครงการ และรับเร่ือง ปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิต รอ้ งเรยี นตา่ งๆ ทเ่ี กดิ ขนึ้ และทรัพย์สิน และปญั หาการบงั แสง 3) มีการบันทึกรายละเอียดการร้องเรียน เช่น และทศิ ทางลม ชอื่ ผรู้ อ้ งเรยี น หมายเลขโทรศพั ทต์ ดิ ตอ่ รายละเอยี ด เรอื่ งรอ้ งเรยี น และการตอบสนองหรอื การดา� เนนิ การแกไ้ ขตามเรอื่ งรอ้ งเรยี น พรอ้ มรายงานผลแกไ้ ข ใหผ้ รู้ อ้ งเรยี นทราบ รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 123

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแก้ไข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสง่ิ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบสง่ิ แวดล้อม ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 4.3 ดา้ นสขุ ภาพ - 4.3.1 การใชร้ ถ 1) จดั ให้มีพื้นทีส่ เี ขียวและมไี ม้ยนื ตน้ ซง่ึ มคี วาม สามารถดดู ซับคารบ์ อนไดออกไซด์ - ในระยะดา� เนินการ โครงการจะ 2) รณรงค์ให้รถยนตด์ ับเครือ่ งยนต์ ขณะจอดรถ - ทา� ใหป้ รมิ าณการจราจรบนถนนเพมิ่ ขนึ้ เปน็ ระยะเวลานาน อาจจะก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อสภาพ 3) ปฏิบัติตามมาตรการด้านคุณภาพอากาศ เพอื่ การจราจรบริเวณด้านหนา้ โครงการ เป็นการป้องกันฝุ่นละออง ได้แก่ ดูแลถนนใน รวมถึงอุบัติเหตุที่อาจเพ่ิมข้ึนได้ โครงการให้มีสภาพดี ไม่ช�ารุดและสะอาด นอกจากนี้ การใชร้ ถใชถ้ นนทา� ใหเ้ กดิ รวมท้ัง การปลูกต้นไม้และจัดพื้นที่สีเขียวให้ การระบายมวลสารจากเครื่องยนต์ เป็นไปตามขอ้ ก�าหนด เชน่ กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ ฝนุ่ ละออง 4) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการดา้ นมลพษิ ทางเสยี ง ได้แก่ และเขม่าควัน เป็นตน้ ซงึ่ อาจสง่ ผล การควบคุมความเร็ว และมิให้มีการเร่งเคร่ือง กระทบตอ่ สขุ ภาพได้ ถา้ มปี รมิ าณและ ของรถยนตท์ ่ีว่งิ ในโครงการ ระยะเวลาการระบายมลพษิ มาก 4.3.2 นา�้ เสยี จากโครงการ 1) มีระบบบา� บัดน้า� เสียแบบ Activated Sludge 2) ปฏิบัติตามมาตรการด้านคุณภาพน้�า โดยมี หากโครงการไมม่ กี ารบา� บดั นา้� เสยี การติดตามตรวจสอบคณุ ภาพน�า้ กอ่ นและหลงั ใหเ้ ปน็ ไปตามมาตรฐานนา้� ทงิ้ อาจกอ่ บ�าบัดเป็นประจ�าทกุ เดอื น ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ คณุ ภาพของ แหลง่ รองรบั นา้� ทงิ้ 4.3.3 มลู ฝอยจากโครงการ 1) ต้องมีการคัดแยกขยะ ได้แก่ ขยะเปียก ขยะแหง้ และขยะอนั ตราย อยา่ งชดั เจน จากนั้น มูลฝอยท่ีเกิดจากการด�าเนิน จึงรวบรวมไปไว้ท่ีห้องพักขยะแต่ละประเภท โครงการ หากไม่มีการจัดการให้ โดยใสภ่ าชนะท่เี หมาะสม ถูกตอ้ งตามหลักสุขาภบิ าล จะก่อให้ 2) ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการดา้ นการจดั การขยะมูลฝอย เกิดความสกปรก ส่งกลิ่นเหม็น เช่นจัดให้มีภาชนะรองรับให้เพียงพอ มีฝาปิด เป็นแหล่งอาหารและแหล่งเพาะ มิดชิด บริเวณห้องพักขยะรวมต้องมีการล้าง พนั ธ์ขุ องสัตว์นา� โรค ทา� ความสะอาดเปน็ ประจ�า โดยน�า้ เสยี ทีเ่ กิดจาก การล้างต้องสง่ เขา้ ระบบบา� บัดน้�าเสีย อย่างไรก็ตาม ผู้ที่อาจได้รับ 3) จัดให้มีอุปกรณ์ป้องกันด้านสุขภาพอนามัย ผลกระทบทางสุขภาพโดยตรงจะ และความปลอดภัยทีเ่ หมาะสม ส�าหรบั พนกั งาน ประกอบด้วยบุคคล 2 กลุ่ม คือ ท�าความสะอาดและเก็บรวบรวมมูลฝอย เช่น พนักงานท่ที า� หนา้ ท่เี ก็บรวบรวมขยะ ถุงมือและผา้ ปิดจมกู รวมถึงผ้ากันเปอ้ื น ของโครงการและพนักงานเก็บขน ขยะของหนว่ ยงานทอ้ งถน่ิ ผลกระทบ ทอ่ี าจได้รับ เช่น กล่นิ เหม็น เชือ้ โรค การบาดเจ็บจากสง่ิ ของมคี ม 124 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

องคป์ ระกอบทางสงิ่ แวดลอ้ ม มาตรการปอ้ งกนั และแกไ้ ข มาตรการตดิ ตามตรวจสอบ และผลกระทบสงิ่ แวดลอ้ มทส่ี า� คญั ผลกระทบส่งิ แวดล้อม ผลกระทบส่ิงแวดลอ้ ม 4.3.4 ระบบปรบั อากาศ ทา� ความสะอาดเครอ่ื งปรบั อากาศ โดยรณรงคใ์ ห้ - ผพู้ กั อาศยั ดแู ลทา� ความสะอาดเครอื่ งปรบั อากาศ ระบบปรบั อากาศทไ่ี มส่ ะอาด มกี าร ของตน รวมถึงการท�าความสะอาดเครื่องปรับ สะสมของเช้ือโรคจนเป็นแหล่งแพร่ อากาศสว่ นกลาง กระจายเชอ้ื โรค โรคทางเดนิ หายใจสู่ ผู้พักอาศัย โดยเฉพาะเด็กและผู้ป่วย ที่เป็นโรคภูมิแพ้จะมีความไวต่อการ ได้รบั ผลกระทบดงั กลา่ ว 4.4 ระบบปอ้ งกนั /ระงบั อคั คภี ยั 1) จัดให้มีระบบแจ้งเตือน ระบบป้องกัน และ 1) ตรวจสอบอปุ กรณ์ ระบบปอ้ งกนั อาคารพักอาศัยท่ีมีผู้พักอาศัย ระงบั อคั คภี ยั ไมน่ อ้ ยกวา่ ทกี่ ฎหมายกา� หนด อคั คภี ยั ทตี่ ดิ ตง้ั ในโครงการตามคมู่ อื 2) ตรวจสอบประสิทธิภาพของเครื่องมือและ ประจ�าของแต่ละอุปกรณ์ให้อยู่ใน จ�านวนมาก กิจกรรมของผู้พักอาศัย อปุ กรณด์ บั เพลงิ อยา่ งสมา�่ เสมอทกุ ๆ 3 เดอื น สภาพดีและพร้อมใช้งานอย่าง เช่น การใช้เคร่ืองใช้ไฟฟ้า การปรุง 3) ตดิ ปา้ ยแนะนา� วธิ กี ารใชอ้ ปุ กรณใ์ นการปอ้ งกนั สมา่� เสมอ อาหาร โดยไมร่ ะมดั ระวงั หรอื ประมาท อคั คภี ยั เพอื่ ใหผ้ พู้ กั อาศยั ทราบและมกี ารสาธติ วธิ ี 2) ตรวจสอบระบบจา่ ยไฟฟา้ สา� รอง อาจกอ่ ใหเ้ กดิ ปญั หาเกยี่ วกบั ระบบ การใช้งานเพื่อให้เข้าใจ สามารถใช้งานได้อย่าง ให้อยู่ในสภาพท่ีพร้อมใช้งาน โดย ไฟฟา้ หรอื อคั คภี ยั ได้ ทนั ทแี ละปลอดภยั ทา� การตรวจสอบอยา่ งนอ้ ยทกุ 3 เดอื น 4.5 ทศั นยี ภาพและสนุ ทรยี ภาพ 1) การออกแบบอาคารและสดั สว่ นการใชป้ ระโยชน์ - จัดเจ้าหน้าท่ีคอยดูแลและบ�ารุง พ้ืนที่เป็นไปตามข้อก�าหนดผังเมือง รักษาพ้ืนที่สีเขียวในโครงการให้ เม่ือก่อสร้างโครงการแล้วเสร็จ 2) จัดภูมิสถาปัตย์ให้สวยงาม โดยจัดท�าพ้ืนที่สี รม่ รน่ื สวยงามตลอดชว่ งดา� เนนิ การ ทา� ใหท้ ศั นยี ภาพของพนื้ ทเ่ี ปลย่ี นแปลง เขียวและปลูกไม้ยืนต้นให้ร่มเงา ไปและมผี ลตอ่ ทัศนียภาพของพนื้ ที่ 3) ดูแลและบ�ารุงรักษาพ้ืนท่ีสีเขียวในโครงการ ให้คงความร่มร่ืนสวยงามตลอดช่วงด�าเนินการ 4) ปลูกต้นไม้ยืนต้นตามแนวรั้วของโครงการ รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 125

การใช้ทรัพยากร บริษัทฯ แสดงเจตจ�ำนงและควำมมุ่งม่ันในกำรด�ำเนินกำรด้ำนกำรอนุรักษ์พลังงำน โดยได้ก�ำหนดนโยบำยอนุรักษ์พลังงำน ตำมวัตถุประสงค์และเป้ำหมำยกำรอนุรักษ์พลังงำน ซึ่งสอดคล้องกับสถำนภำพ กำรใช้พลังงำนและเหมำะสมกับอำคำร รวมถึงบริษัทฯ มีกำรก�ำหนดแผนงำนระยะเวลำภำยใน 4 ปี (พ.ศ 2561 - 2564) จะต้องก้ำวสู่อำคำรประหยัดพลังงำน โดยมี มำตรกำรกำรบริหำรจัดกำรพลังงำนไฟฟ้ำและน�้ำก่อนท�ำกำรก่อสร้ำง ระหว่ำงก่อสร้ำง และหลังกำรก่อสร้ำง เพ่ือลดผลกระทบ ด้ำนพลังงำนและสิงแวดล้อม ดงั นี้ ประกาศ เร่ือง นโยบายอนุรักษ์พลังงาน บริษัท ศุภำลัย จ�ำกัด (มหำชน) ได้ด�ำเนินบริหำรจัดกำรอำคำรเพื่อบริกำรเช่ำส�ำนักงำนและกำรพำณิชย์ พร้อมท้ัง บริกำรจอดรถยนต์ ต้ังแต่ปี พ.ศ. 2549 เนื่องจำกในภำวะปัจจุบัน ประเทศชำติก�ำลังประสบปัญหำด้ำนพลังงำน ซึ่งเป็น ปญั หำทมี่ คี วำมสำ� คญั และมผี ลกระทบตอ่ กำรดำ� รงชวี ติ ของพนกั งำนและเศรษฐกจิ ของชำตเิ ปน็ อยำ่ งมำก ดงั นนั้ ทำงบรษิ ทั ฯ จงึ ได้ด�ำเนินกำรน�ำระบบกำรจัดกำรพลังงำนมำประยุกต์ใช้ภำยในบริษัท ท้ังนี้เล็งเห็นว่ำกำรอนุรักษ์พลังงำนเป็นสิ่งส�ำคัญ และเป็นหน้ำที่ของพนักงำนทุกคนที่ต้องร่วมมือกันด�ำเนินกำรจัดกำรพลังงำนอย่ำงต่อเนื่องและให้คงอยู่ต่อไป ดังนั้น บริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดนโยบำยอนุรักษ์พลังงำน เพื่อใช้เป็นแนวทำงกำรด�ำเนินงำนด้ำนพลังงำนและเพ่ือส่งเสริม กำรใช้พลังงำนให้เกิดประสิทธิภำพและเกิดประโยชน์สูงสุด ทั้งน้ีบริษัทฯ จึงได้ก�ำหนดนโยบำยดังต่อไปน้ี 1. บรษิ ทั จะดำ� เนนิ กำรและพฒั นำระบบกำรจดั กำรพลงั งำนอยำ่ งเหมำะสม โดยกำ� หนดใหก้ ำรอนรุ กั ษพ์ ลงั งำนเปน็ สว่ นหน่ึง ของกำรด�ำเนนิ งำนของบรษิ ทั ฯ สอดคล้องกบั กฎหมำยและข้อกำ� หนดอนื่ ๆ ทเ่ี กี่ยวข้อง 2. บริษัทจะด�ำเนินกำรปรับปรุงประสิทธิภำพกำรใช้ทรัพยำกรพลังงำนขององค์กรอย่ำงต่อเน่ืองและเหมำะสมกับ ธุรกิจ เทคโนโลยที ี่ใช้ และแนวทำงกำรปฏิบตั ิทด่ี ี 3. บริษัทจะก�ำหนดแผนและเป้ำหมำยกำรอนุรักษ์พลังงำนในแต่ละปีและส่ือสำรให้พนักงำนทุกคนเข้ำใจและปฏิบัติได้ อยำ่ งถูกตอ้ ง 4. บริษัทถือว่ำกำรอนุรักษ์พลังงำนเป็นหน้ำที่ควำมรับผิดชอบของเจ้ำของ ผู้บริหำร และพนักงำนของบริษัททุกๆ ระดับ ท่ีจะใหค้ วำมรว่ มมอื ในกำรปฏิบตั ติ ำมมำตรกำรท่ีกำ� หนด ติดตำมตรวจสอบ และรำยงำนตอ่ คณะทำ� งำนด้ำน กำรจัดกำรพลังงำน 5. บรษิ ทั จะให้กำรสนบั สนนุ ทจ่ี �ำเป็น รวมถึงทรพั ยำกรด้ำนบคุ ลำกร ด้ำนงบประมำณ เวลำในกำรท�ำงำน กำรฝกึ อบรม และกำรมสี ่วนรว่ มในกำรนำ� เสนอขอ้ คดิ เห็นเพอ่ื พฒั นำงำนดำ้ นพลงั งำน 6. ผบู้ รหิ ำรและคณะทำ� งำนดำ้ นกำรจดั กำรพลงั งำนจะทบทวนและปรบั ปรงุ นโยบำย เปำ้ หมำย และแผนกำรดำ� เนนิ งำน ด้ำนพลังงำนทุกปี ประกำศ ณ วันท่ี 1 กรกฎำคม 2560 126 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

การจดั การน�า้ บริษัทฯ มมี าตรการการควบคุมการใชน้ �้าในสา� นักงานใหญแ่ ละโครงการศภุ าลัย ดังน้ี • การประชาสัมพันธ์ ใหป้ ิดกอ๊ กน้ำ� ทุกคร้งั ทไ่ี มใ่ ชง้ ำนและชว่ ยสอดส่องดูแลหลงั เลกิ งำนในอำคำรสำ� นกั งำน • การบา� บดั นา�้ เสยี โครงกำรมกี ำรตรวจวิเครำะหค์ ณุ ภำพน�้ำ เดอื นละ 1 คร้ังตลอดระยะเวลำกอ่ สร้ำง • การบา� รงุ รกั ษาระบบนา�้ ประปา และระบบบา� บดั นา้� เสยี เพอ่ื ใหม้ ปี ระสทิ ธภิ ำพในกำรทำ� งำนทด่ี อี ยเู่ สมอทง้ั อำคำรสำ� นักงำน และโครงกำรก่อสร้ำง รวมทั้งลดกำรสูญเสียน้�ำจำกควำมเสียหำยของอุปกรณ์ นอกจำกนี้ หลังจำกมีกำรจัดต้ังนิติบุคคล อำคำรชุด บริษัทฯจะจัดส่งทีมส�ำรวจไปตรวจสอบและบ�ำรุงรักษำควำมสมบูรณ์ของเคร่ืองจักรอย่ำงสม�่ำเสมอ เพ่ือเป็นกำรเตรยี มควำมพร้อมของเคร่อื งจกั รทุกๆ 6 เดอื น 1 ปี และ 2 ปี • การน�าระบบน้า� หมุนเวียนมาใช้ เพ่อื รดน�ำ้ ต้นไมใ้ นสว่ นกลำงของโครงกำร บอ่ ตรวจ คุณภำพน้�ำ ทอ่ ระบำยน้ำ� ของโครงกำร (เวลำกกั น�ำ้ 1 ช่ัวโมง) (เวลำกกั น้�ำ 15 นำท)ี บ่อพกั นำ�้ รดน้�ำขตอน้งโไคมร้ สงกว่ ำนรกลำง รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 127

• การใช้ระบบน้�าหยดในการรดน้�าต้นไม้ ช่วยประหยัดกำรใช้น�้ำมำกกว่ำระบบกำร ใหน้ ำ้� อนื่ ๆ สำมำรถควบคมุ กำรเปดิ ปดิ นำ้� ได้ ซ่ึ ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ ำ พ ก ำ ร ใ ช ้ น�้ ำ สู ง ก ว ่ ำ กำรปล่อยน�ำ้ ท่วมขงั การจดั การพลังงานไฟฟ้า บรษิ ัทฯ มีมาตรการการควบคมุ การใช้ไฟฟา้ ดงั นี้ • เปลี่ยนมาใชห้ ลอดไฟแอลอีดี (LED : Light Emitting Diode) แทนหลอดไฟแสงจนั ทรห์ รอื หลอดไฟฟลูออเรสเซนต์ ทั้งภำยในและภำยนอกโครงกำรศภุ ำลัย เชน่ ไฟทำงเดินในอำคำร ไฟในอำคำรจอดรถ ไฟส่องถนน เปน็ ตน้ เพ่อื ประหยดั พลงั งำนไฟฟ้ำ ซง่ึ หลอดไฟ LED ขนำดเล็ก กำ� ลังตำ่� มีอำยุกำรใชง้ ำนทยี่ ำวนำนท่ีสดุ (50,000-100,000 ชั่วโมง) และ ควำมรอ้ นตำ่� จงึ ช่วยลดคำ่ ไฟฟำ้ ลงได้ถึง 2 เทำ่ ของคำ่ ไฟฟำ้ จำกหลอดปกติ และไม่มสี ำรอันตรำยทม่ี ผี ลกระทบตอ่ มนษุ ย์ และส่งิ แวดล้อม ไฟส่องถนนในโครงการ ไฟทางเดนิ ในอาคาร ไฟในอาคารจอดรถ 128 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

กราฟเปรยี บเทยี บ คณุ สมบตั ิ ระหวา่ งหลอดไฟ LED กบั หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ 60000 12500 20000 4500 90 65 90 45 ประสิทธภิ ำพ ในกำรให้ อำยุกำรใชง้ ำน (ช.ม.) ค่ำกำรให้ควำมถกู ต้อง รำคำประมำณต่อ1ชุด แสงสวำ่ ง (Im/w) หลอดไฟ LED ของ(CR1%) 250W (บำท) หลอดไฟฟลูออเรสเซนส์ • แผนการบ�ารุงรักษา/ท�าความสะอาดระบบไฟฟ้าภายใน อาคาร และอุปกรณ์ใช้ไฟฟ้าอย่างสม�่าเสมอ เพื่อให้ สำมำรถทำ� งำนได้อย่ำงเต็มประสทิ ธภิ ำพ ปลอดภยั ลดกำร ใช้ไฟฟ้ำจำกกำรซ่อมแซม รวมถึงป้องกันควำมเสียหำยท่ี อำจเกดิ ขนึ้ ในระบบไฟฟ้ำและควำมสูญเสยี เชงิ ธรุ กิจ • การประชาสัมพันธ์ ให้ปิดสวิตซ์ไฟฟ้ำทุกคร้ังท่ีไม่ใช้งำน และหลงั เลิกงำนในอำคำรส�ำนักงำน รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 129

การแสดงขอมูลตามดัชนีชี้วัด GRI 4 Profile Disclosures Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals - Full Refer to Annual Report 1. Strategy and Analysis on Content : “Chairman of the Board’s Statement” 1.1 Statement from the most senior decision-maker of the organization. 36-45 Full 1.2 Description of key impacts, risk, and opportunities. 4 Full 4-9 Full 2. Organizational Profile 2.1 Name of the organization. - Full Refer to Annual Report on Content : 2.2 Primary brands, products, and/or services. “Corporate Profile” 2.3 Operational structure of the organization, including - Full Refer to Annual Report main divisions, operating companies, subsidiaries, on Content : “General and joint ventures. Information and Announcement” and 2.4 Location of organization’s headquarters. “Corporate Profile” 2.5 Number of countries where the organization - Full Refer to Annual Report operates, and names of countries with either major on Content : operations or that are specifically relevant to the “Corporate Profile” sustainability issues covered in the report. - Full Refer to Annual Report 2.6 Nature of ownership and legal form. on Content : “General Information and 2.7 Markets served (including geographic breakdown, Announcement” inside cover sectors served, and types of customers/beneficiaries). - Full Refer to Annual Report on Content : 2.8 Scale of the reporting organization. “Corporate Profile” 2.9 Significant changes during the reporting period - Full Refer to Annual Report regarding size, structure, or ownership. on Content : “Corporate Profile” 2.10 Awards received in the reporting period. - Full Refer to Annual Report on Content : “Corporate Profile” 12-19 Full 130 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals 23-25 Full 3. Report Parameters 24 Full 3.1 Reporting period (e.g., fiscal/calendar year) for 20 Full information provided. 20 Full 3.2 Date of most recent previous report (if any). 20 Full 20-25 Full 3.3 Reporting cycle (annual, biennial, etc.) 20-25 Full 3.4 Contact point for questions regarding the report or its contents. 20-25 Full 3.5 Process for defining report content. 3.6 Boundary of the report (e.g., countries, divisions, subsidiaries, leased facilities, joint ventures, suppliers). 3.7 State any specific limitations on the scope or boundary of the report 3.8 Basis for reporting on joint ventures, subsidiaries, leased facilities, outsourced operations, and other entities that can significantly affect comparability from periodto period and/or between organizations. 3.9 Data measurement techniques and the bases of 20-25 Full calculations, including assumptions and techniques underlying estimations applied to the compilation of - Full Refer to Annual Report the Indicators and other information in the report on Content : “Performance Review” 3.10 Explanation of the effect of any re-statements of information provided in earlier reports, and the reasons for such re-statement (e.g., mergers/ acquisitions, change of base years/periods, nature of business, measurement methods). 3.11 Significant changes from previous reporting 20-25 Full periods in the scope, boundary, or measurement 130 Full methods applied in the report. 27-35 Full 3.12 Table identifying the location of the Standard Disclosures in the report. 4. Governance, Commitments, and Engagement 4.1 Governance structure of the organization, including committees under the highest governance body responsible for specific tasks, such as setting strategy or organizational oversight. รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 131

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals - Full Refer to Annual Report 4.2 Indicate whether the Chair of the highest on Content : governance body is also an executive officer. “Corporate Governance” 4.3 For organizations that have a unitary board - Full Refer to Annual Report structure, state the number and gender of on Content : members of the highest governance body that “Corporate Governance” are independent and/or non-executive members. - Full Refer to Annual Report 4.4 Mechanisms for shareholders and employees on Content : to provide recommendations or direction “Corporate Governance” to the highest governance body. - Full Refer to Annual Report 4.5 Linkage between compensation for members on Content : of the highest governance body, senior managers, “Corporate Governance” and executives (including departure arrangements), and the organization’s performance (including - Full Refer to Annual Report social and environmental performance). on Content : “Corporate Governance” 4.6 Processes in place for the highest governance body to ensure conflicts of interest are avoided. - Full Refer to Annual Report on Content : 4.7 Process for determining the composition, “Corporate Governance” qualifications, and expertise of the members of the highest governance body and its committees, - Full Refer to Annual Report including any consideration of gender and other on Content : indicators of diversity. “Corporate Governance” 4.8 Internally developed statements of mission or - Full Refer to Annual Report values, codes of conduct, and principles relevant on Content : to economic, environmental, and social performance “Corporate Governance” and the status of their implementation. - Full Refer to Annual Report 4.9 Procedures of the highest governance body for on Content : overseeing the organization’s identification and “Corporate Governance” management of economic, environmental, and social performance, including relevant risks and opportunities, and adherence or compliance with internationally agreed standards, codes of conduct, and principles. 4.10 Processes for evaluating the highest governance body’s own performance, particularly with respect to economic, environmental, and social performance. 132 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals - Full Refer to Annual Report 4.11 Explanation of whether and how the on Content : precautionary approach or principle is “Corporate Governance” addressed by the organization. - Full Refer to Annual Report 4.12 Externally developed economic, environmental, and on Content : social charters, principles, or other initiatives to “Corporate Governance” which the organization subscribes or endorses. - Full Refer to Annual Report 4.13 Memberships in associations (such as industry on Content : associations) and/or national/international “Corporate Governance” advocacy organizations. 27-35 Full 4.14 List of stakeholder groups engaged by the organization. 27-35 Full 4.15 Basis for identification and selection of 27-35 Full stakeholders with whom to engage. 20-25 Full 4.16 Approaches to stakeholder engagement, 27-35 including frequency of engagement by type and by stakeholder group. 4.17 Key topics and concerns that have been raised through stakeholder engagement, and how the organization has responded to those key topics and concerns, including through its reporting. Performance Indicators Sustainable Development Goals Indicator Description Page Disclosure Note Economic - Full Refer to Annual Report on Content : EC 1 Direct economic value generated and distributed, “Corporate Governance” including revenues, operating costs, employee compensation, donations and other community - Full Refer to Annual Report investments, retained earnings, and payments to on Content : capital providers and governments. “Corporate Profile” – Internal Control and EC 2 Financial implications and other risks and Risk Management opportunities for the organization’s activities due to climate change. รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 133

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals - Full Refer to Annual Report EC 3 Coverage of the organization’s defined benefit on Content : plan obligations. “Performance Review” EC 4 Significant financial assistance received from - Full Refer to Annual Report government. on Content : “Thailand’s Economic Condition” and “Housing Market Condition” Environmental 52-62 Full Energy EN 6 Initiatives to provide energy-efficient or renewable energy based products and services, and reductions in energy requirements as a result of these initiatives. EN 7 Initiatives to reduce indirect energy consumption 52-62 Full and reductions achieved. Biodiversity 97-102 Full EN 11 Location and size of land owned, leased, managed 104-125 in, or adjacent to, protected areas and areas of 97-102 Full high biodiversity value outside protected areas. 104-125 EN 12 Description of significant impacts of activities, products, and services on biodiversity in protected areas and areas of high biodiversity value outside protected areas. EN 13 Habitats protected or restored. 104-125 Full 134 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals Effluents and Waste 104-125 Full EN 27 Extent of impact mitigation of environmental impacts of products and services. Effluents and Waste 104-125 Full EN 29 Monetary value of significant fines and total number 65 Full of non-monetary sanctions for non-compliance 66 Full with environmental laws and regulations. 66 Full Social : Labor Practices and Decent Work 64-76 Full Employment 96 Full LA 1 Total number and rates of new employee hires and 96 Full employee turnover by age group, gender and region. 96 Full LA 2 Benefits provided to full-time employees that are not provided to temporary or part-time employees, by significant locations of operation. LA 3 Return to work and retention rates after parental leave, by gender. Labor/Management Relation LA 4 Minimum notice periods regarding operational changes, including whether these are specified in collective agreements. Occupational Health and Safety LA 5 Percentage of total workforce represented in formal joint management–worker health and safety committees that help monitor and advice on occupational health and safety programs. LA 6 Type of injury and rates of injury, occupational diseases, lost days, and absenteeism, and total number of work-related fatalities, by region and by gender. LA 7 Workers with high incidence or high risk of diseases related to their occupation. รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 135

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals LA 8 Health and safety topics covered in formal 96 Full agreements with trade unions. Training and Education 92 Full LA 9 Average hours of training per year per employee 90-93 Full 92 Full by gender, and by employee category. 64-76 Full LA 10 Programs for skills management and lifelong 64-76 Full learning that support the continued employability of employees and assist them in managing career endings. LA 11 Percentage of employees receiving regular performance and career development reviews, by gender and by employee category. Deversity and Equal Opportunity LA 12 Composition of governance bodies and breakdown of employees per employee category according to gender, age group, minority group membership, and other indicators of diversity. Equal Remuneration for Women and Men LA 13 Ratio of basic salary and remuneration of women to men by employee category, by significant locations of operation. Supplier Assessment for Labor Practices 64-76 Full LA 15 Significant actual and potential negative impacts for 64-76 Full labor practices in the supply chain and actions taken. Human Rights Investment HR 1 Total number and percentage of significant investment agreements and contracts that include human rights clauses or that underwent human rights screening. 136 รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals 90-93 Full HR 2 Total hours of employee training on human rights policies or procedures concerning aspects of human rights that are relevant to operations, including the percentage of employees trained. Non-discrimination 64-76 Full HR 3 Total number of incidents of discrimination 94-96 47 Full and corrective actions taken. 64-76 Full Freedom of Association and Collective Bargaining HR 4 Operations and suppliers identified in which the 47 Full 64-76 right to exercise freedom of association and 94-96 collective bargaining may be violated or at significant risk, and measures taken to support these rights. 64-76 Full 94-96 Child Labor HR 5 Operations and suppliers identified as having significant risk for incidents of child labor, and measures taken to contribute to the effective abolition of child labor. Forced or Compulsory Labor HR 6 Operations and suppliers identified as having significant risk for incidents of forced or compulsory labor, and measures to contribute to the elimination of all forms of forced or compulsory labor. Security Practices HR 7 Percentage of security personnel trained in the organization’s human rights policies or procedures that are relevant to operations. Indigenous Right 64-76 Full 94-96 HR 8 Total number of incidents of violations involving rights of indigenous peoples and actions taken. รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560 137

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals Society Local Communities SO 1 Percentage of operations with implemented local 104-125 Full community engagement, impact assessments, and development programs. SO 2 Operations with significant actual or potential 104-125 Full negative impacts on local communities. Anti-corruption 48-50 Full SO 3 Total number and percentage of operations 48-50 Full 48-50 Full assessed for risks related to corruption and 48-50 Full the significant risks dentified. 48-50 Full SO 4 Communication and training on anti-corruption 104-125 Full policies and procedures. 52-62 Full SO 5 Confirmed incidents of corruption and actions taken. Public Policy SO 6 Total value of political contributions by country and recipient/beneficiary. Anti-competitive Behavior SO 7 Total number of legal actions for anti-competitive behavior, anti-trust, and monopoly practices and their outcomes. Compliance SO 8 Monetary value of significant fines and total number of non-monetary sanctions for non-compliance with laws and regulations. Product Responsibility Customer Health and Safety PR 1 Percentage of significant product and service categories for which health and safety impacts are assessed for improvement. 138 รายงานการพัฒนาอยางย่ังยืน 2560

Indicator Description Sustainable Page Disclosure Note Development Goals 52-62 Full PR 2 Total number of incidents of non-compliance 52-62 Full with regulations and voluntary codes concerning the health and safety impacts of products and services during their life cycle, by type of outcomes. Product and Service Labeling PR 3 Type of product and service information required by the organization’s procedures for product and service information and labeling, and percentage of significant products and service categories subject to such information requirements. Marketing Communications 97-102 Full PR 6 Sale of banned or disputed products. รายงานการพัฒนาอยางยั่งยืน 2560 139


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook