Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทบทวนเนื้อหา ม.1 สาร

ทบทวนเนื้อหา ม.1 สาร

Published by sareewan2005, 2021-09-30 04:44:51

Description: ทบทวนเนื้อหา ม.1 สาร

Search

Read the Text Version

ทบทวนเรื่องความรู้พืน้ ฐานเกย่ี วกบั สาร สมบตั ิ และการเปลย่ี นแปลง สาร คือ เนื้อของสสารทแ่ี สดงสมบตั แิ ละ องค์ประกอบของสสารชนิดน้ันๆ สสาร คือ สิ่งทมี่ มี วลต้องการทอี่ ยู่ และ สามารถสัมผสั ได้ (ส่ิงต่างๆ ทอี่ ยู่รอบตวั เรา ) เปิ ดสมุดกนั นะคะ

สมบตั ิทางเคมี ( Chemistry Properties ) เป็นสมบตั ิของสารที่เกี่ยวขอ้ งกบั องคป์ ระกอบภายในของสารที่แสดง ออกมาใหเ้ ห็นเม่ือมีการเปลี่ยนแปลงทางเคมีหรือการเกิดปฏิกิริยา เคมี โดยจะมีสารใหม่เกิดข้ึน ซ่ึงสารใหม่ที่เกิดข้ึนจะมีสมบตั ิแตกต่างไป จากเดิม เช่น การเป็นสนิม การติดไฟ การเน่าของผกั ผลไม้ เป็นตน้ สมบตั ิทางกายภาพ เป็ นการเปล่ียนแปลงท่ีสามารถสั งเกตได้ โดย ท่ีไม่ มีการ เปลี่ยนแปลงองค์ประกอบภายในของสสาร แต่เกิดการจัดเรียงตัวของ อนุภาคใหม่เท่าน้ัน ดังรูปท่ี 1 การเปลี่ยนสถานะของน้า โดยเมื่อน้าแข็ง ได้รับความร้อนจะหลอมเหลวกลายเป็ นน้าในรูปของเหลว และเม่ือได้รับ ความร้ อนต่ อไปอีกสามารถเปลี่ยนเป็ นไอน้าได้ โดย ท่ีไม่ มีการ เปลย่ี นแปลงองค์ประกอบภายในของนา้ แต่อย่างใด

หน่วยทเ่ี ลก็ ทสี่ ุดของสารในทางเคมี คือ อะตอม อะตอม เมื่อรวมกนั จะกลายเป็ นโมเลกลุ โมเลกลุ สามารถเป็ นได้ท้งั ธาตุ และสารประกอบ ท้งั ธาตุและสารประกอบถือเป็ นหน่วยย่อยของ สารบริสุทธ์ิ ซ่ึงจดั เป็ นสารเนื้อเดยี วชนิดหน่ึง สารบริสุทธ์ิ คือ สารเนื้อเดียวทมี่ จี ุดเดือดและจุดหลอมเหลวคงที่ เช่น นา้ มี จุดเดือด 100 องศาเซลเซียส (ขณะทนี่ า้ เดือดวดั อุณหภูมิได้ 100 องศา เซลเซียส) สารบริสุทธ์ิ จาแนกเป็ น 2 ประเภท ดงั นี้

สารไม่บริสุทธ์ิ เป็ นสารเน้ือเดียวที่ประกอบดว้ ยสารบริสุทธ์ิต้งั แต่ 2 ชนิด ข้ึนไปดว้ ยอตั ราส่วนท่ีไม่แน่นอน ไม่มีปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึน สารท่ีเกิดใหม่ จะมีสมบัติไม่คงที่ข้ึนอยู่กับปริ มาณของสารบริ สุ ทธ์ิ ที่นามาผสม กนั ไดแ้ ก่ สารละลาย คอลลอยด์ สารเนื้อเดยี ว ( Homogeneous Substance ) หมายถึง สารที่มีลกั ษณะของเนื้อสารผสมกลมกลืนกนั เป็ นเนื้อเดียว และมี อัตราส่ วนของผสมเท่ากัน ถ้านาส่ วนใดส่ วนหน่ึงของสารเนื้อเดียวไป ทดสอบจะมีสมบัติเหมือนกันทุกประการ เช่น น้ากล่ันและเกลือแกง เป็ น สารเนื้อเดียว เมื่อนาเกลือแกงใส่ในน้าแล้วคนให้ละลายจะได้สารละลาย น้าเกลือ ซึ่งเป็ นสารเนื้อเดียวที่มีอัตราส่วนของน้าและเกลือแกงเหมือนกัน ทุกส่ วน

สารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย ถ้าจาแนกสารโดยใช้ขนาดของอนุภาคสารเป็ นเกณฑ์จะแบ่งสารออกเป็ น 3 กลุ่ม คือ สมบัติ สารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย ใหญ่กว่า 10-4 เซนติเมตร ขนาดของอนุภาค เลก็ กว่า 10 - 10-7 - 10-4 เซนติเมตร 7 เซนตเิ มตร สามารถมองเห็นได้ด้วยตา เปล่า การมองเห็นอนุภาคของสาร ไม่สามารถมองเห็น สามารถมองเห็นผ่าน องค์ประกอบ แม้ผ่านกล้อง กล้องจุลทรรศน์ ตกตะกอน จุลทรรศน์ อเิ ลก็ ตรอน อเิ ลก็ ตรอน การตกตะกอน ไม่ตกตะกอน ไม่ตกตะกอน การละลายของอนุภาค ละลาย ละลาย ไม่ละลาย การผ่านเย่ือเซลโลเฟน การผ่านรูกระดาษกรอง อนุภาคผ่านเยื่อเซล อนุภาคผ่านเยื่อเซล อนุภาคผ่านเยื่อเซลโลเฟน โลเฟนได้ โลเฟนไม่ได้ ไม่ได้ อนุภาคผ่านรู อนุภาคผ่านรูกระดาษ อนุภาคไม่สามารถผ่านรู กระดาษกรองได้ กรองได้ กระดาษกรองได้

คอลลอยด์ทพี่ บในชีวติ ประจาวนั มหี ลายชนิด บางชนิดสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ เช่น นา้ กะทิ นา้ สลดั นา้ สบู่ และ ผงซักฟอก เป็ นต้น คอลลอยด์บางชนิดคมอลี ลกั ลษอณยดะท์ เหพ่ี นบใียนวชหวี นติ ปืดรเะพจราวาะันอมนี ุภาคของคอลลอยด์ถูก ของเหลวดงึ ดูดไว้อหยล่าางยแชขนง็ ิดแบรางงชเมน่ือิดทสาามใาหร้เถยนน็ าหไปรใืชอ้ระเหยส่วนทเ่ี ป็ น ของเหลวออกไปบ้าปงรจะโะยเชขน้ม์ เขช้น่นนมา้ากกะจทนิ นเาก้ สือลบดั มนีสา้ สถบาู่นและะเป็ นของแขง็ เช่น แยม กาว วุ้น เจลลแี ผคลงอะซลแกั ลฟปออ้งยกเปดเีบป์ย็นากงตชน้ นิด มีลกั ษณะเหนียว สารแขวนลอย ( Suspหeนnืดsiเoพnรา)ะอนภุ าคของคอลลอยดถ์ กู เแมหปขอน็ นวงึ่งตนเทหค้นลเี่ือ็นปอ็อสนยนาอตรุภยัวเู่ในากนคลื้อสขาผางอสรดงมเ้สวขเขบเนปยทยาออาื้้อี็นยรตม่ีงงงผหกชแเาขีจหสรขเนนปะลอืม็งิดเวาลรขอเหดะด่ชาม้อเไขงึ่นนหขกดดอ่ึงนย้แม้ดูงหเสมยามไอว่ราวมไ่ือนืนดกออ้ ตกุภ้ยจทหโ้าดงันา่า่เีลวปทยคงเาก็แนงิ้วใยือหขไนขุ้ชวบ็งอญนเ้แจมงจก่รกิดะเสีลหงาวตลถลรล่เากอามกีแวต1นยลร่อือ0กะะอะทอ-เกรแง4ากปะปอใเไ็เนซหจชปนง้ ่นา้นแยตลอนเิะมยา้ ส่แูใตนาปรมส้งาสดารราบิถมอแนกาี ยรชา้ กถโนสคิดาลรนท่ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook