Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตรท้องถิ่น การทอผ้า ภัทรชนก

หลักสูตรท้องถิ่น การทอผ้า ภัทรชนก

Published by ภัทรชนก อิทธิรักษ์, 2021-02-28 06:41:15

Description: หลักสูตรท้องถิ่น การทอผ้า ภัทรชนก

Search

Read the Text Version

เร่อื ง การทอผา้ ย้อมสธี รรมชาติ (ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น) อาเภอสนั ตสิ ขุ จังหวดั น่าน ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 โรงเรยี นบา้ นโปง่ คา สานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษานา่ น เขต 1

หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน เร่ือง การทอผา้ ยอ้ มสีธรรมชาติ (ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ) กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๖ จัดทาโดย นางสาวภัทรชนก อทิ ธิรกั ษ์ รหสั นิสิต ๖๑๑๐๕๐๑๐๐๘๒ สาขาวชิ าการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ เสนอ ผศ.กิตติชยั สุธาสโิ นบล หลักสตู รเล่มนเี้ ป็นส่วนหนึ่งของรายวชิ าสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม สาหรบั ครปู ระถมศึกษา ๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓ มหาวิทยาลยั ศรนี ครินทรวิโรฒ

คานา หลักสูตรสถานศึกษาเล่มนี้ เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษารายวิชา ป๔๓๔๑ สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมสาหรับครูประถม ๒ ซึ่งจัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาให้รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรของ สถานศึกษา ตามกระบวนการและหลักการที่ได้ศกึ ษา และมกี ารดาเนินการจัดทาหลกั สตู รสถานศึกษาโดยใช้ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช ๒๕๕๑ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) เป็นแกนหลักเพ่ือ กาหนดการจัดทาโครงสร้างและสาระหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศึกษา ผู้จดั ทาได้ เลือกศกึ ษาคอื โรงเรียนบ้านโปง่ คา สังกัดสานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาน่าน เขต ๑ ซ่ึงมีเนื้อหา สาระเกี่ยวกบั การทอผา้ ยอ้ มสีธรรมชาติ ถือเปน็ ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ ของอาเภอสันติสุข จงั หวัดน่าน โดยให้ผู้เรยี น ได้ศึกษาเรียนรู้และเห็นความสาคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นในชมุ ชนตนเอง ผ่านการเรียนรโู้ ดยการปฏบิ ัติ และ ผ้เู รยี นสามารถนาไปประยกุ ต์ให้เขา้ กับหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งได้ ผู้จัดทาต้องขอขอบคุณ ผู้ช่วยศาสตราจารย์กิตติชัย สุธาสิโนบล และผู้ที่มีส่วนให้คาปรึกษาและให้ ขอ้ มลู ในการทาหลกั สูตรเลม่ นใี้ หม้ ีความสมบูรณ์ ใช้เป็นแนวทางให้แกผ่ ู้ทีส่ นใจ และศกึ ษาเกี่ยวกับการพัฒนา หลักสูตร อันจะเป็นพืน้ ฐานสาคญั ในการพัฒนาหลกั สูตรไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและเกิดประโยชนส์ ูงสุดใหแ้ ก่ผเู้ รยี น ผ้จู ัดทา

สารบญั หน้า เร่ือง ก ข คานา ๑ สารบญั ขอ้ มลู พน้ื ฐานของสถานศึกษา ๑ ๑ ชอื่ โรงเรียน ๑ ตราสญั ลักษณ์โรงเรียน ประวัตโิ รงเรยี นบา้ นโปง่ คา ๑ ๒ ท่ตี ้งั และอาณาเขต ๒ ข้อมลู ของหลกั สตู ร ๓ ความนา ๓ ๓ วสิ ัยทัศนโ์ รงเรียน พันธกจิ ๓ เป้าประสงค์หลกั ๔ ๔ สมรรถนะสาคญั ของผู้เรียน คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ๕ สภาพชมุ ชนโรงเรยี นบา้ นโปง่ คา ๗ ๘ หลักสตู รทอ้ งถิน่ เรอื่ ง การทอผา้ ยอ้ มสธี รรมชาติ คาอธิบายรายวิชา ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๖ ๑o โครงสร้างรายวิชา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑๔ ภาคผนวก อา้ งองิ

ข้อมลู พืน้ ฐานของสถานศึกษา ๑ ชอ่ื โรงเรยี น (ภาษาไทย) โรงเรียนบ้านโปง่ คา (ภาษาองั กฤษ) Banpongkom School (อกั ษรยอ่ ) ป.ค. ตราสัญลกั ษณโ์ รงเรียน ประวตั ิโรงเรยี นบ้านโปง่ คา โรงเรียนบ้านโป่งคา ตาบลดู่พงษ์ อาเภอสันติสุข จังหวัดน่าน ได้เริ่มก่อตั้งเมื่อวันที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๑๕ โดยการนาของผู้ใหญส่ ุวรรณ จันอน้ พรอ้ มราษฎร ๒ หมู่บา้ น คือ หมู่ที่ ๕ บ้านโป่งคา และหมู่ ท่ี ๗ บ้านต้นผึ้ง ร่วมกันสร้างอาคารชั่วคราวขึ้น เปิดทาการสอนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถึงช้ัน ประถมศึกษาปีที่ ๔ โดยมีนายบัว ยาเภา ดารงตาแหน่งครูใหญ่ ปัจจุบัน โรงเรยี นบ้านโป่งคา มีนักเรียน ทั้งสิ้น ๗๕ คน ทตี่ ้ังและอาณาเขต ปัจจุบันโรงเรยี นบา้ นโปง่ คา ต้งั อยู่บา้ นเลขที่ ๑๙๗ หมทู่ ่ี ๕ ตาบลดู่พงษ์ อาเภอสันตสิ ุข จังหวัดน่าน ซึง่ อยหู่ า่ งจากตวั อาเภอสันตสิ ขุ ประมาณ ๕ กโิ ลเมตร และห่างจากตวั อาเภอเมืองประมาณ ๔๕ กโิ ลเมตร มี อาณาเขตตดิ กับบ้านฮ้วยไฮ บา้ นพวงพะยอม บา้ นต้นผึ้งและบ้านน้าโซง้

ข้อมูลของหลักสตู ร ๒ ความนา กระทรวงศกึ ษาธกิ ารได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรแู้ ละตวั ชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตรใ์ นกลมุ่ สาระการเรยี นรูส้ ังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ตามคาส่งั กระทรวงศึกษาธิการ ท่ี สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ ลงวันที่ ๗ สงิ หาคม ๒๕๖๐ และคาสั่งสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ที่ ๓๐/๒๕๖๑ ลงวนั ท่ี ๕ มกราคม ๒๕๖๑ ใหเ้ ปลีย่ นแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีคาส่ังให้โรงเรียนดาเนินการใช้หลักสูตรในปี การศึกษา ๒๕๖๑ โดยให้ใช้ในช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๑ , ๔ และ ม.๑ ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๑ เป็นตน้ มา ให้ เป็นหลักสตู รแกนกลางของประเทศ โดยกาหนดจุดหมาย และมาตรฐานการเรยี นรูเ้ ป็นเป้าหมายและกรอบ ทศิ ทางในการพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รียนมีพัฒนาการเต็มตามศกั ยภาพ มีคณุ ภาพและมีทักษะการเรยี นรู้ในศตวรรษ ที่ ๒๑ เพอ่ื ให้สอดคล้องกบั นโยบายและเปา้ หมายของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน โรงเรียนบ้านโป่งคา จึงได้ทาการปรับปรุงหลักสูตรโรงเรียนบ้านโป่งคา พุทธศักราช ๒๕๖๑ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ และได้จัดทาหลักสูตรทอ้ งถิ่น เพื่อนาไปใช้ ประโยชน์และเปน็ กรอบในการวางแผนและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาและจดั การเรยี นการสอน โดยมี เป้าหมายในการพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี น ให้มกี ระบวนการนาหลกั สตู รไปสกู่ ารปฏบิ ัติ โดยมีการกาหนดวิสัยทศั น์ จดุ หมาย สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวดั โครงสรา้ ง เวลาเรียน ตลอดจนเกณฑ์การวัดประเมินผลให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้ โรงเรียนสามารถกาหนดทิศทางในการจัดทาหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดบั ตามความพร้อมและ จดุ เนน้ โดยมกี รอบแกนกลางเป็นแนวทางท่ีชดั เจนเพ่ือตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ ๔.๐ มีความพร้อมในการ กา้ วสูส่ งั คมคุณภาพ มคี วามรอู้ ย่างแทจ้ ริง และมที กั ษะในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวดั ทก่ี าหนดไว้ในเอกสารนี้ ช่วยทาให้หน่วยงานทเี่ กี่ยวข้อง ในทุกระดับ เห็นผลคาดหวังท่ีต้องการในการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนท่ีชัดเจนตลอดแนว ซึ่งจะสามารถช่วยให้ หน่วยงานท่ีเก่ียวขอ้ งในระดับท้องถ่นิ และสถานศึกษาร่วมกันพัฒนาหลักสูตรได้อย่างมั่นใจ ทาให้การจัดทา หลกั สูตรในระดับสถานศกึ ษามีคุณภาพและมคี วามเป็นเอกภาพย่ิงข้นึ อีกท้งั ยงั ชว่ ยให้เกดิ ความชัดเจนเรอื่ งการ วัดและประเมินผลการเรียนรู้ และช่วยแก้ปัญหาการเทียบโอนระหว่างสถานศึกษา ดังนั้นในการพัฒนา หลักสตู รในทุกระดบั ตงั้ แต่ระดับชาติจนกระท่ังถึงสถานศึกษา จะตอ้ งสะท้อนคุณภาพตามมาตรฐานการเรยี นรู้ และตวั ช้วี ัดท่กี าหนดไว้ในหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน รวมทง้ั เป็นกรอบทิศทางในการจดั การศึกษา ทกุ รูปแบบ และครอบคลุมผูเ้ รียนทุกกลุ่มเป้าหมายในระดบั การศึกษาขัน้ พื้นฐาน การจัดหลักสูตรท้องถิ่นจะประสบความสาเร็จตามเป้าหมายที่คาดหวังได้ ทุกฝ่าย ที่เกี่ยวข้องทั้ง ระดบั ชาติ ชมุ ชน ครอบครัว และบุคคลต้องรว่ มรบั ผิดชอบ โดยรว่ มกันทางานอยา่ งเปน็ ระบบ และตอ่ เน่ือง ในการวางแผน ดาเนินการ ส่งเสริมสนับสนนุ ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแก้ไข เพื่อพัฒนาเยาวชนของชาติ ไปสู่คณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ่กี าหนดไว้

๓ วิสัยทศั นโ์ รงเรียน โรงเรียนบา้ นโปง่ คา จดั การศกึ ษาให้กับผูเ้ รยี นให้มคี ุณภาพและตามศกั ยภาพของนกั เรียน มคี ุณธรรม นาความรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง และมคี ณุ ภาพตามมาตรฐานกา้ วทันวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อเตรยี มความพรอ้ มเข้าสปู่ ระชาคมอาเซียนภายใตก้ ารมสี ว่ นร่วมของชุมชนและท้องถนิ่ พนั ธกิจ ๑. พัฒนาผเู้ รยี นใหม้ คี ุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานการศกึ ษา ๒. พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามรู้ สามารถปฏบิ ัตงิ านได้อย่างมีประสิทธภิ าพ ๓. ส่งเสรมิ และสนบั สนุนการนาส่อื เทคโนโลยี ภูมปิ ัญญาท้องถนิ่ และแหลง่ เรยี นรูม้ าใชใ้ นการจดั การเรยี น การสอน ๔. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพ ระบบการบริหารจดั การโรงเรยี นโดยใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ๕. ปดิ โอกาสใหช้ มุ ชนมสี ่วนรว่ มในการจัดการศกึ ษา ๖. นอ้ มนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ในสถานศกึ ษา เป้าประสงค์หลัก ๑. ผ้เู รยี นทุกคนมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความรู้ ความสามารถและทกั ษะตามมาตรฐานวชิ าชพี ๓. โรงเรียน มสี ่ือ นวัตกรรม เทคโนโลยี ทันสมัยมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน ๔. โรงเรยี นมรี ะบบการบรหิ ารจดั การท่ีมปี ระสทิ ธภิ าพ ๕. ชมุ ชนมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษาและผเู้ รยี นเหน็ คณุ ค่าและรว่ มสบื สานเอกลกั ษณ์ วฒั นธรรมและ ภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ๖. โรงเรยี นมกี ารบรหิ ารจัดการและจดั การเรียนการสอน โดยยดึ หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ้ าษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลด ปัญหาความขดั แยง้ ต่าง ๆ การเลอื กรับหรอื ไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลกั เหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการ เลอื กใชว้ ธิ กี ารสอื่ สาร ท่มี ีประสทิ ธภิ าพโดยคานงึ ถึงผลกระทบทมี่ ตี ่อตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสงั เคราะห์ การคิด อย่าง สรา้ งสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคดิ เปน็ ระบบ เพอ่ื นาไปสกู่ ารสรา้ งองค์ความรู้หรือสารสนเทศ เพือ่ การตดั สนิ ใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ ที่เผชญิ ได้ อยา่ งถกู ต้องเหมาะสมบนพืน้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมลู สารสนเทศ เข้าใจความสมั พันธแ์ ละการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหา และมกี ารตัดสนิ ใจท่มี ปี ระสิทธภิ าพโดยคานึงถงึ ผลกระทบท่เี กดิ ข้นึ ต่อตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔ ๔. ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน การ ดาเนนิ ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนือ่ ง การทางาน และการอยู่ร่วมกันในสังคม ดว้ ยการสรา้ งเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดรี ะหว่างบคุ คล การจัดการปัญหาและความขัดแยง้ ต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึง ประสงค์ที่สง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผอู้ น่ื ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลอื ก และใช้ เทคโนโลยีด้านตา่ ง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ญั หาอย่างสรา้ งสรรค์ ถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต ๓. มวี ินัย ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รกั ความเปน็ ไทย ๘. มีจิตสาธารณะ สภาพชมุ ชนโรงเรียนบา้ นโปง่ คา โรงเรียนบ้านโปง่ คา ได้เร่ิมก่อตงั้ เมือ่ วนั ที่ ๑ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๑๕ โดยการนาของผ้ใู หญ่สุวรรณ จัน อน้ พร้อมราษฎร ๒ หมู่บ้าน คือ หมู่ท่ี ๕ บ้านโป่งคา และหมู่ที่ ๗ บ้านต้นผึ้ง อยหู่ ่างจากตัวอาเภอสันติ สุข ประมาณ ๕ กิโลเมตร และห่างจากตัวอาเภอเมืองประมาณ ๔๕ กิโลเมตร จัดการศึกษาระดับ ประถมศึกษา จานวนนกั เรียนทง้ั หมด ๗๕ คน นักเรียนที่มาโรงเรียนนี้ส่วนใหญ่เป็นนักเรียนที่อยู่ในชุมชน และบริเวณใกล้เคียง ผู้ปกครองมีฐานะ ยากจน และส่วนใหญ่จะมอี าชพี เกษตรกรรมหรือรบั จ้างท่ัวไป แตผ่ ู้ปกครองให้ความร่วมมือกับทางโรงเรียน เป็นอยา่ งดี การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ ถือเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นท่ีสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ ซ่ึงตอนแรกมีการ ดาเนินงานแบบต่างคนตา่ งทา แต่ต่อมาก็ได้รับการเอารัดเอาเปรียบจากกลุม่ พ่อค้า จึงเกิดการรวมกลุ่มกนั ขึ้น และมแี นวทางในการสร้างผลิตภณั ฑ์รูปแบบใหมข่ ึ้น จากการยอ้ มผ้าสีสังเคราะห์มาเปน็ การยอ้ มผา้ สธี รรมชาติ และทางโรงเรียนได้เหน็ ถงึ คณุ ค่าและความสาคัญของการทอผา้ จึงไดจ้ ัดทาหลักสูตรทอ้ งถิ่น เร่ือง การทอผ้า ยอ้ มสีธรรมชาติ ขึ้นเพ่ือฝึกให้สอดคล้องกับแนวพระราชดาริ อีกท้ังนักเรียนได้ปฏิบัตจิ ริงในเรื่องการทางาน การจัดการ เห็นคุณค่าและมเี จตคตทิ ี่ดีตอ่ งาน ตลอดจนรู้จักการนาส่ิงทมี่ ีอยู่ในท้องถน่ิ มาเพม่ิ คณุ ค่า เพม่ิ รายได้ นักเรียนได้ออกแบบ ตามจนิ ตนาการ ผเู้ รยี นรู้จกั พ่งึ ตนเอง ดารงชีวติ อยู่ในสงั คมได้อย่างมคี วามสุข ตามหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๕

หลักสตู รทอ้ งถิ่น เร่ือง การทอผา้ ยอ้ มสีธรรมชาติ (ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ) อาเภอสันตสิ ุข จงั หวัดนา่ น หลักการและเหตผุ ล อาชพี และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินท่อี ย่ใู นชมุ ชน ถอื เป็นภมู ปิ ญั ญาท่ีมีการสืบทอดจากรนุ่ สรู่ ุ่น มีการถา่ ยทอด จากบุคคลในครอบครัว ชมุ ชน และสังคม โดยมผี ู้สูงอายุทาหนา้ ทีเ่ ปน็ สอ่ื กลางของการถ่ายทอดความรู้ตา่ งๆ ซ่ึง สามารถเข้ามามบี ทบาทในการจดั การศึกษาและพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ตามความเหมาะสมของโรงเรียน เพื่อเน้นให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการดารงชีวิตในครอบครัว มีทักษะในการทางานและการ ประกอบอาชีพ ดังนั้น จึงได้ตระหนักและเหน็ ความสาคัญของการทอผ้าซึ่งถือเป็นภูมิปัญญาท้องถ่นิ ของชุมชน จึงได้ จัดตั้งทาหลักสูตรการทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ (ภูมิปัญญาท้องถิ่น) อาเภอสันติสุข จังหวัดน่าน โดยมีกิจกรรม ต่างๆ ทีน่ ักเรยี นสามารถทาได้ โดยมีวิทยากรและครคู อยช่วยเหลอื นอกจากน้ี นกั เรียนยังได้เรียนรแู้ ละมที ักษะ ในการทากิจกรรมและสามารถนาผลงานไปจาหน่าย เพอ่ื เพม่ิ รายได้ใหน้ กั เรียนในขณะท่ีกาลงั เรียนอยู่ และยัง สามารถนาความร้ไู ปเป็นแนวทางในการประกอบอาชพี ไดใ้ นอนาคตได้ ทอผ้ายอ้ มสธี รรมชาติ พฒั นาตามแนวคดิ จากสตรียอ้ มผ้าชุมชนโปง่ คาได้มีอาชพี เสรมิ ทส่ี ืบตอ่ มาจากบรรพบุรุษ และมกี าร ดาเนินการแบบตา่ งคนตา่ งทา แตต่ ่อมาไดร้ ับการเอารัดเอาเปรยี บจากกลุ่มพอ่ คา้ จงึ เกิดการรวมกลุ่มกนั ขน้ึ และมีแนวทางในการผลิตภัณฑ์รปู แบบใหมข่ ้นึ จากการย้อมผา้ สสี ังเคราะห์มาเป็นการย้อมผ้าสีธรรมชาติ จุดมุ่งหมาย ๑. เพอ่ื ให้นกั เรียนมีความรูค้ วามเขา้ ใจเร่ืองการทอผา้ จากสธี รรมชาติ ๒. เพื่อใหน้ กั เรียนสามารถทอผ้าจากสธี รรมชาติได้ ๓. เพอื่ ให้นกั เรียนสามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่นได้ ๔. เพื่อให้นกั เรยี นมคี วามภาคภมู ิใจในภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ินของตนเอง ส่ือและแหลง่ การเรยี นรู้ ๑. วทิ ยากรทอ้ งถนิ่ (แหลง่ เรียนรปู้ ระเภทบุคคล) ๒. เอกสาร ตาราเรยี นเกยี่ วกบั การทอผา้ ยอ้ มสธี รรมชาติ ๓. ใบความรู้ ๔. ศูนย์การเรยี นรผู้ ้าทอย้อมสธี รรมชาติในชุมชน

๖ เน้ือหาหลักสตู ร หน่วยท่ี ๑ ประวตั ิความเป็นมาและความสาคัญของการทอผ้า หน่วยที่ ๒ วตั ถดุ ิบจากธรรมชาติ หนว่ ยที่ ๓ การทอผ้า หน่วยที่ ๔ การออกแบบสร้างสรรคผ์ ลติ ภัณฑ์ หนว่ ยท่ี ๕การแปรรปู ผ้าทอเป็นผลติ ภัณฑ์ การวัดและการประเมนิ ผล การวดั และการประเมนิ ผลระหว่างเรยี นและหลงั เรียนตามจดุ มงุ่ หมายทก่ี าหนด โดยเนน้ ให้ครอบคลมุ ทง้ั ด้านความรู้และทักษะการปฏบิ ัติงานของนกั เรียน ดังนี้ ๑. การสงั เกตพฤตกิ รรมของผเู้ รยี น ๒. ผลงานของผู้เรียน ๓. การสอบถาม/การสมั ภาษณ์ ประโยชนท์ ค่ี าดวา่ จะได้รบั ๑. ผเู้ รยี นมีความรเู้ กีย่ วกับการทอผ้าย้อมสธี รรมชาติซงึ่ ถือเป็นภูมิปัญญาของคนในชมุ ชน ๒. ผู้เรยี นเกิดความคิดสร้างสรรคใ์ นการสรา้ งสรรค์ชน้ิ งาน ๓. นักเรยี นสามารถนาไปประกอบเป็นอาชีพได้ เพอ่ื เปน็ การสง่ เสรมิ ประสบการณด์ า้ นอาชพี ใหแ้ ก่ นักเรียน ๔. เพอื่ สง่ เสรมิ สนบั สนุนผเู้ รียนใหร้ จู้ กั อนรุ ักษ์อาชพี และภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่นิ ในชุมชุน ๕. ผู้เรยี นมที กั ษะในการร่วมกันทางานเปน็ กลมุ่ และรู้จกั หาวิธกี ารแกป้ ญั หาในการทางาน

๗ คาอธบิ ายรายวชิ า รหัสวิชา ส๑๖๒๐๑ การทอผ้ายอ้ มสีธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ชนั้ ประถมศึกษาปีที่ ๖ เวลา ๔๐ ช่ัวโมง/ปี ศึกษาความรู้เก่ียวกับประวัติความเป็นมาของการทอผ้า การย้อมสี การปั่นฝ้าย การหาวัสดุจาก ธรรมชาติเพอ่ื นามาเปน็ สใี นการย้อม การทอผ้า การออกแบบผลติ ภณั ฑ์ การแปรรปู ผ้าทอเป็นชิ้นงาน รวมไป ถงึ การจาหน่ายสนิ คา้ โดยใช้กระบวนการทางานอย่างเป็นระบบ การสืบค้นหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชน เห็น ความสาคัญและประโยชน์ของการทางานแล้วนามาวิเคราะห์ วางแผน ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการ แสวงหาความรูด้ ้วยวิธีการทีห่ ลากหลายผา่ นการลงมือปฏิบตั ิ เพือ่ ให้เกดิ ความรู้ ความเข้าใจในภูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ ของตนเองซ่งึ ถอื เป็นสิง่ ที่ควรอนรุ กั ษ์และถ่ายทอด ให้คงอยู่ตอ่ ไป รวมไปถงึ เกดิ ความภาคภมู ใิ จในตนเอง เกิดทกั ษะ มคี วามรับผดิ ชอบ มงุ่ มัน่ ในการทางาน พึง่ พา ตนเองโดยยึดหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ผลการเรยี นรู้ ๑. บอกประวตั ิความเปน็ มาของการทอผา้ ย้อมสธี รรมชาติไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ ง ๒. สามารถบอกวัสดุธรรมชาตทิ ่ีนามาย้อมสีได้ ๓. สามารถทอผ้าออกมาได้อย่างถูกตอ้ ง ๔. ออกแบบสร้างสรรค์งานของตนเองจากผา้ ทอได้ ๕. เห็นความสาคญั ของการทอผา้ อนรุ กั ษ์อาชพี และภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ในชุมชนุ ๖. สามารถนาผ้าทอมาประยุกต์สร้างสรรคเ์ ป็นชนิ้ งานได้ รวม ๖ ผลการเรียนรู้

๘ โครงสรา้ งหลักสูตรท้องถ่ิน กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม เวลา ๔๐ ชั่วโมง หนว่ ย การ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ สาระสาคญั เวลา (ช่วั โมง) เรยี นรู้ที่ ๑ ประวตั ิความเปน็ มา ๑.บอกประวัติความ การทอผ้า ถือเป็นอาชีพและ ๗ และความสาคัญของ เปน็ มาของการทอผ้า ภูมิปัญญาท้องถิ่นของคน การทอผ้า ย้อมสีธรรมชาติได้ ชุมชน ซึ่งได้รับการสืบทอด อยา่ งถูกต้อง ต่อมาจากบรรพบุรุษในอดีต ๒.เห็นความสาคัญ แต่เกิดการเอารัดเอาเปรียบ ข อ ง ก า ร ท อ ผ้ า จากพ่อคา้ คนกลาง ปัจจบุ นั จึง อนุรักษ์อาชพี และภูมิ เกดิ การรวมกล่มุ กันของคนใน ปั ญ ญ า ท้ อ ง ถิ่ น ใ น ชุมชน และรวมไปถึงการนา ชุมชุน ผ้ า ท อ ม า อ อ ก แ บ บ เ ป็ น ผลิตภณั ฑ์ ๒ วตั ถดุ บิ จาก ๑ .ส า ม า ร ถ บ อ ก ก า ร ย้ อ ม สี ผ้ า ท อ ด้ ว ย สี ๘ ธรรมชาติ วัตถดุ บิ จากธรรมชาติ ธรรมชาติ เป็นการแสวงหา ท่นี ามาย้อมสไี ด้ วัตถุดิบที่เป็นธรรมชาติจากป่า แ ล ะ จ า ก ส มุ น ไ พ ร พื้ น บ้ า น พบว่า วัตถุดิบในธรรมชาติ เช่น ต้นไม้ ใบหญ้า หากมีรส ฝาดจะสามารถนามาย้อมผ้า ได้ ทาให้สีติดผ้าทนนาน ด้วย ความเชื่อที่สืบทอดกันมาจาก บรรพบรุ ุษรนุ่ ปยู่ ่าตายายจงึ ทา ใ ห้ เ กิ ด ค ว า ม มั่ น ใ จ ว่ า สี ธรรมชาตสิ ามารถย้อมสีผ้าให้ ติดทนนานโดยไม่มีสารเคมี เป็นพิษเจือปน อีกท้ังยังช่วย ในการรักษาโรคให้กับคนใน ชุมชนได้อีกด้วย เช่น ต้นหู กวาง นอกจากจะได้สีเขียว อ่อนในการย้อมผ้าแล้ว ใบหู ก ว า ง ที่ ต้ ม แ ล้ ว ยั ง ส า ม า ร ถ นามารับประทานเป็นยาแก้ โรคกระเพาะได้อีกดว้ ย

หนว่ ย การ ชอ่ื หนว่ ยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสาคญั เวลา (ชว่ั โมง) เรียนรทู้ ี่ ๓ การทอผ้า ๑ .ส า ม า ร ถ ท อ ผ้ า การทอผ้าน้ันต้องอาศัยฝีมือ ๑๒ ออกมาเป็นช้ินงานได้ และความรคู้ วามชานาญของผู้ อย่างถูกตอ้ ง ทอเป็นอย่างมาก เป็นงาน ศิ ล ป ะ ที่ มี อ ยู่ เ พี ย ง ช้ิ น เ ดี ย ว เ พ ร า ะ แ ต่ ล ะ ค น ที่ ท า แ ต่ ล ะ ขั้นตอน จะมีความแตกต่างกัน ๔ การออกแบบ ๑ .อ อ ก แ บ บ การสร้างสรรค์ถือเป็นทักษะท่ี ๕ สร้างสรรค์ สร้างสรรค์งานของ สาคัญทักษะหนึ่งของผู้เรียน ผลติ ภัณฑ์ ตนเองจากผา้ ทอได้ ซึ่งจะ ช่วย ให้ผู้เ รียน ได้ใ ช้ ความ คิดจิ นตน ากา รขอ ง ตนเองให้ออกมาเป็นช้ินงาน โดยสามารถออกแบบได้อย่าง หลากหลาย ๕ การแปรรปู ผา้ ทอ ๑.สามารถนาผ้าทอ ผลิตภัณฑ์การแปรรูปจากผ้า ๘ เป็นผลติ ภัณฑ์ ม า ป ร ะ ยุ ก ต์ ทอนอกจากจะนามาตัดเย็บ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ เ ป็ น แล้วยังสามารถแปรรูปเป็น ชนิ้ งานได้ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้ เช่น ผ้า พัน คอ ก ระ เป๋ าดิ นส อ ผ้าเช็ดหน้า กล่องใส่กระดาษ ช า ร ะ ก ล่ อ ง ใ ส่ ข อ ง เอน กปร ะสง ค์ กล่อ งใ ส่ เคร่ืองประดับ กระเป๋าใส่มือ ถือ ผ้าปูโต๊ะ เป็นต้น รวม ๔o ช่วั โมง

๑o ภาคผนวก ๑๑

ใบหกู วาง ใบฮอ้ ม การย้อมสฝี า้ ยจากสีธรรมชาติ

๑๒ การตากฝ้ายทย่ี ้อมสเี สรจ็ แล้ว การทอผ้าดว้ ยหูก

๑๓ ตวั อย่างผา้ ทอยอ้ มสธี รรมชาติ

๑๔ อ้างอิง ประชาคมวจิ ยั . แหล่งเรยี นร้ผู ้าทอยอ้ มสธี รรมชาติตน้ แบบ. สบื คน้ เมอ่ื ๑๘ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖๔, จาก http://rescom.trf.or.th/display/keydefault.aspx?id_colum=3063 สมคิด (พระครสู ุจณิ นันทกจิ )จารณธมโม. (๒๕๔๖). กระบวนการพัฒนาผ้าฝ้ายยอ้ มสีธรรมชาติ กลมุ่ สตรี ทอผา้ ย้อมสธี รรมชาติบ้านโปง่ คา จังหวดั นา่ น. สืบค้นเมื่อ ๑๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๔, จาก http://www.tnrr.in.th/?page=result_search&record_id=60928


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook