Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สานพลัง ฉ.111 พย

สานพลัง ฉ.111 พย

Published by BangOn Srisermsub, 2019-11-26 01:19:54

Description: สานพลัง ฉ.111 พย

Search

Read the Text Version

สานพลังเดือนพฤศจิกายน๒๕๖๒ สานพลังปัญญา สร้างสรรค์นโยบายสาธารณะ “ชมุ ชนเปน็ ศูนย์กลาง” หนนุ ระบบการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล ปีท่ี ๑๐ ฉบับที่ ๑๑๑ เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ www.nationalhealth.or.th

๐๒ สเรือ่านงเพด่นลปังระจำ�คอลัมน์ ๑๒ ๓ Right to Health คุยกับเลขา “สทิ ธกิ ารตายดี” ตามธรรมชาติ คนละเรื่องกับ “การณุ ยฆาต” เจาะลกึ ประเด็นการใช้ยาอยา่ งสมเหตผุ ล ๑๔ ๔ นโยบาย by สาธารณะ เกาะตดิ คสช. สองขา...ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คร้ังที่ ๑๒ บอรด์ สขุ ภาพฯ เหน็ ชอบเรง่ ยกระดับ ระบบบรจิ าคและปลูกถา่ ยอวัยวะ ๑๖ ๖ เลา่ ใหล้ กึ แกะรอยโลก นมโรงเรียน (ตอน ๑) สังคมเหงาๆ เราต้องชว่ ยกัน ๑๘ ๗ สานสิบทิศ เรอ่ื งเล่าชาวยุทธ • สร้างบ้านแปงเมอื ง คือ เรือ่ งของสาธารณะ HIA & การสรา้ งสขุ ภาวะชมุ ชน • ถอดบทเรยี นการประเมนิ ผลกระทบดา้ นสขุ ภาพ • สดุ ยอดของประธานและเลขานกุ าร กขป. ๘& การพฒั นาเมืองในพน้ื ท่ี EEC • เวทีรับฟังความคิด “มาตรการท�ำ ให้สังคมไทยไรแ้ รใ่ ยหนิ ” เรื่องจากปก ๑๙ “ชมุ ชนเป็นศนู ยก์ ลาง” คลปิ ด!ี ทตี่ อ้ งดู หนนุ ระบบการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล ปฏิบัติการ ลุก ปลุก เปล่ยี น ๑๑ “ชุมชนปลอดพาราควอต จ.ล�ำ พนู ” เร่อื งเลา่ จากพนื้ ที่ จดุ เรม่ิ ต้น “สังคมสขุ ภาวะ” ณ บงึ ละหาน

๐๓เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ คุยกับเลขาธิการ คสช. สวัสดีครบั เพือ่ นสมาชกิ นิตยสารสานพลงั นพ.ประทีป ธนกิจเจรญิ เสนอให้ทุกหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง อาทิ นิตยสารสานพลัง ฉบับน้ีถือเป็นฉบับปฐมฤกษ์ที่ กระทรวงสาธารณสุข โรงพยาบาลรัฐ สถานบรกิ ารสุขภาพ แปลงโฉมมาจาก นสพ.สานพลัง เพื่อให้เน้ือหาเข้มข้น ขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ฯลฯ ด�ำเนินการและ ครอบคลุมมากข้ึนและปรับรูปเล่มให้ง่ายกับการหยิบอ่าน สนับสนุนให้อาสาสมัครสาธารณสขุ ผู้น�ำชุมชน หรือองค์กร รวมถงึ จดั ท�ำเปน็ อิเล็กทรอนิกสใ์ ห้ง่ายกับการติดตามดว้ ย ต่างๆ ในชุมชน ฯลฯ ออกแบบระบบสขุ ภาพชมุ ชน และขบั เมื่อพูดถึงงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คร้ังที่ ๑๒ เคลื่อนการใช้ยาอย่างสมเหตุผล รวมถึงการใช้กลไกคณะ ภายใต้ธีมงาน “ก้าวทันการเปล่ียนแปลง...สู่การพัฒนา กรรมการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ ระดบั อำ� เภอ หรอื คณะกรรมการ สังคมสุขภาวะ” มีระเบียบวาระหนึ่งคือ “การจัดการเชิง อ่นื ในระดับเขต จังหวดั อ�ำเภอ ตำ� บลและหมู่บ้าน หรอื ระบบสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล โดยชุมชนเป็น การใช้ธรรมนูญสุขภาพเปน็ เคร่ืองมือขับเคลื่อน ศูนย์กลาง” ซ่ึงผมจะขอบอกเล่าถึงความเป็นมา กรอบ เสนอใหอ้ งคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ กรงุ เทพมหานคร แนวคิดและข้อเสนอ ในฉบับนี้ก่อนระเบียบวาระอ่ืน ด้วย และเมืองพัทยา ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สนับสนุน มีเนื้อท่จี �ำกัด ชุมชนตน้ แบบให้มีระบบการเฝ้าระวัง เตอื นภยั และมคี วาม เนอ่ื งจากมผี ลการศกึ ษาวา่ ดว้ ยสาเหตทุ มี่ กี ารใชย้ า สามารถในการดูแลตนเองเบ้ืองต้นเมื่อเจ็บป่วย รวมทั้ง ไมส่ มเหตุผล ไดแ้ ก่ สนบั สนนุ การขยายชมุ ชนตน้ แบบใหเ้ พม่ิ ขน้ึ จดั กจิ กรรมการ ๑. ประชาชนซอื้ ยาปฏชิ วี นะใชเ้ องเพ่ือรักษาโรคท่ี เรียนการสอน การสื่อสารเพื่อให้มีความรอบรู้และความ ไมจ่ �ำเปน็ ตระหนักของประชาชนต่อการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล ๒. ผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่มีการใช้ยาในปริมาณท่ีสูง และสุดท้ายเสนอให้มีหน่วยงานระดับประเทศที่มี กว่าประชากรกลุ่มอ่ืนและผู้ป่วยสูงอายุมีโอกาสได้รับยา ภารกิจเฉพาะในการจัดการเชิงระบบเพื่อส่งเสริมการใช้ยา ซ�้ำซ้อนสูงกวา่ ผปู้ ่วยท่วั ไป อยา่ งสมเหตผุ ล ในทกุ ระดบั ๓. ผู้ป่วยกลุ่มโรคไม่ติดต่อเร้ือรัง พบปัญหายา เปน็ ไงครบั เรอื่ งการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล นติ ยสาร เหลือใช้เน่ืองจากแพทย์ส่ังจ่ายเกินจ�ำเป็น ไม่มีระบบการ สานพลงั ฉบับหน้า จะพาเพอ่ื นสมาชกิ และผ้อู ่านไปเจาะลึก ตดิ ตามการใชย้ า ตลอดจนปญั หาการไมร่ ว่ มมอื ในการใชย้ า ระเบยี บวาระอนื่ ๆ โดยเฉพาะเรอื่ ง “วถิ เี พศภาวะ: เสรมิ พลงั ๔. ปัญหายาสเตียรอยด์ปลอมปนในผลิตภัณฑ์ สุขภาวะครอบครัว” ซ่ึงเป็นหนึ่งในปัญหาส�ำคัญของ สขุ ภาพและยาไม่เหมาะสมในชมุ ชน จดั เปน็ ๑ ใน ๕ อนั ดับ ประเทศในขณะนี.้ ...ขอบคุณครบั แรกของสินค้าไมป่ ลอดภยั ในประเทศไทย ๕. แหลง่ บรกิ ารสขุ ภาพปฐมภมู ิ เชน่ คลนิ กิ รา้ นยา และ โรงพยาบาลส่งเสริมสขุ ภาพต�ำบล อาจมสี ว่ นท�ำให้เกดิ การใชย้ าไมส่ มเหตผุ ลในชมุ ชน รวมถงึ ปฏกิ ริ ยิ าไมพ่ งึ ประสงค์ ๖. การใชย้ าในหนว่ ยงานทไ่ี มไ่ ดม้ ภี ารกจิ หลกั เกยี่ ว กบั การสาธารณสขุ เช่น ทัณฑสถาน วดั โรงเรยี น และศูนย์ พัฒนาเดก็ วยั กอ่ นเรยี น กลา่ วโดยสรปุ แมว้ า่ ประชาชนจะไปใชบ้ รกิ ารจาก โรงพยาบาลมากข้ึนและการซื้อยากินเองลดลง แต่กลับ พบว่าประชาชนกว่าคร่ึงหนึ่งยังได้รับผลกระทบจากการ ใชย้ าที่ไม่ปลอดภัยและเกิดปญั หาการใช้ยาในบา้ น ท้ังท่ี สามารถป้องกันได้ จึงเป็นเหตุให้ต้องน�ำเข้าสู่ การพจิ ารณาของสมชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาติ โดยมขี อ้ เสนอเพอ่ื สรปุ เปน็ มติและขบั เคลอ่ื นตอ่ ดงั น้ี

๐๔ สานพลัง เกาะติด คสช. หนึบหนับ บอรด์ สุขภาพฯ เห็นชอบเรง่ ยกระดับ ระบบบริจาคและปลูกถ่ายอวยั วะ ประเทศไทยเริ่มมีการปลูกถ่ายอวัยวะคร้ังแรก สองมติ คิ อื มติ แิ รก การตงั้ คณะท�ำงานเพอ่ื จดั ท�ำแนวทางและ ต้ังแต่ปี ๒๕๑๕ จนถึงปัจจุบัน สามารถช่วยเหลือผู้ป่วยให้ พัฒนานโยบายตามที่เสนอมา อาจจะเร็วแต่ก็ต้องค�ำนึงถึง กลบั มามคี ณุ ภาพชวี ติ ทดี่ ขี น้ึ กวา่ ๑๐,๐๐๐ คน ซง่ึ การพฒั นา ความรอบคอบและการมีส่วนร่วมของหน่วยงานที่เก่ียวข้อง นโยบายและระบบการรับบริจาคอวัยวะ นับเป็นเรื่องที่ หรอื มติ ทิ สี่ อง การพฒั นาขอ้ เสนอเปน็ นโยบายสาธารณะดา้ น สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของ พ.ร.บ.สุขภาพแห่งชาติ สุขภาพของประเทศ โดยอาจน�ำเข้าสู่การประชุมสมัชชา พ.ศ. ๒๕๕๐ ตามบทบาทของคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ สขุ ภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๓ หรอื จัดสมัชชาสุขภาพเฉพาะ (คสช.) คอื “จดั ใหม้ ี หรอื สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ กี ระบวนการ ประเด็น เพื่อให้เรื่องน้ีผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของทุก พัฒนานโยบายและยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพเพื่อให้เกิดการ ภาคส่วนและสามารถเสนอต่อคณะรัฐมนตรีเพื่อมอบหมาย ดำ� เนนิ งานอยา่ งต่อเนอ่ื ง และมีสว่ นร่วมจากทกุ ฝ่าย” ใหเ้ กดิ ผลทางปฏิบตั ิของหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวขอ้ งต่อไป สมาคมปลูกถ่ายอวัยวะแห่งประเทศไทย และ ด้านกรรมการผู้แทนภาคเอกชนท่านอื่นๆ ได้แก่ ศูนย์รับบริจาคอวัยวะ สภากาชาดไทย ซ่ึงเป็นหน่วยงาน ศ.เกียรติคุณ พญ.สยมพร ศิรินาวิน ก็ได้แสดงความเห็น หลักและหนว่ ยงานท่ีเกีย่ วขอ้ ง ไดจ้ ดั ท�ำขอ้ เสนอการพัฒนา สนับสนุนและแนะน�ำเพิ่มเติม ว่าควรมีเวทีท่ีมองภาพรวม นโยบายและระบบรับบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะของ จากทกุ ภาคสว่ นเพราะอาจท�ำใหเ้ หน็ ทง้ั ความส�ำคญั ประโยชน์ ประเทศไทย โดย นพ.สรุ สหี ์ พรอ้ มมลู และ พ.อ.นพ.อดสิ รณ์ รวมถงึ คา่ ใชจ้ า่ ย และขอ้ ควรพจิ ารณาอนื่ ๆ ดว้ ย เชน่ เดยี วกบั ล�ำเพาพงศ์ เป็นผู้น�ำเสนอข้อมูลในที่ประชมุ คสช. ครงั้ ที่ นายนพภา พนั ธเ์ุ พง็ ทส่ี นบั สนนุ โครงการนเี้ ปน็ อยา่ งมากแต่ ๔/๒๕๖๒ เมอ่ื วนั ท่ี ๑๖ ตลุ าคม ทผ่ี า่ นมา ทม่ี ี นายอนุทิน ควรมเี วทแี ลกเปลยี่ นความเหน็ ทกี่ วา้ งขวางกวา่ นี้ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ชาญวีรกุล รองนายกรัฐมนตรี ในฐานะประธานกรรมการ แนวทางท่ีเป็นประโยชน์สูงสุดกับประเทศ นางกัลยทรรศน์ สุขภาพแห่งชาติ เป็นประธานเปิดการประชุม พร้อมกล่าว ตงิ้ หวงั กลา่ ววา่ ในฐานะประชาชนคนหนงึ่ อยากเหน็ เรอ่ื งน้ี ตอ้ นรับ นพ.ประทปี ธนกจิ เจรญิ เลขาธกิ าร คสช. คนใหม่ พัฒนาเป็นระบบมากข้ึนและลดความเหลอื่ มลำ�้ ในการเขา้ ถงึ ก่อนท่ีจะมอบหมายให้ นายสาธิต ปิตุเตชะ รัฐมนตรีช่วย บริการ ส่วน นายกิติเมศวร์ รุ่งธนิเกียรติ กรรมการจาก ว่าการกระทรวงสาธารณสุข ท�ำหน้าที่เป็นประธานในที่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด กล่าวว่า ปัจจุบันแม้มีผู้บริจาค ประชุมแทนเนื่องจากติดภารกิจส�ำคญั อวัยวะมากข้นึ แตป่ ระเด็นส�ำคัญอยู่ที่ทีมงานรองรบั จึงต้อง กรรมการหลายทา่ นไดอ้ ภปิ รายและมขี อ้ เสนอแนะ สร้างทีมงานทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาคด�ำเนินการควบคู่ ต่อกระบวนการนโยบายเพิ่มเติม โดย นพ.ณรงค์ศักดิ์ ไปด้วยกันเพ่ือรองรับระบบการบริจาคและปลูกถ่ายอวัยวะ องั คะสวุ พลา กรรมการจากผแู้ ทนองคก์ รภาคเอกชน เสนอ ตลอดกระบวนการ แนะวา่ ขอ้ เสนอดงั กลา่ วอาจพจิ ารณาแนวทางการพฒั นาได้

๐๕เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ประชุม คสช. ครั้งที่ ๔/๒๕๖๒ ขณะที่ นพ.ศักดิ์ชัย กาญจนวัฒนา เลขาธิการ ข้อเสนอผ่านสมัชชาสุขภาพเฉพาะประเด็นหรือระดับชาติ ส�ำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ กล่าวว่า ระบบ ก็สามารถพจิ ารณาร่วมกันต่อไปได้ บริการสุขภาพของประเทศไทยนับว่ามีศักยภาพในเร่ืองน้ี ในชว่ งทา้ ยทป่ี ระชมุ ฯ ไดม้ มี ตเิ หน็ ชอบในหลกั การ และควรต้องมีกรรมการด�ำเนินการร่วมกับหน่วยงานท่ี ของข้อเสนอการพัฒนานโยบายและระบบรับบริจาคและ เกี่ยวข้องในหลายๆ เรื่อง เพ่ือรองรับระบบดังกล่าว เช่น ปลูกถ่ายอวยั วะของประเทศไทย โดย นายสาธติ ปิตเุ ตชะ ระบบข้อมูลข่าวสาร ระบบการแพทย์ฉุกเฉิน และการ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข กล่าวท้ิงท้ายว่า ติดตามผล ฯลฯ นพ.ศภุ กิจ ศิริลักษณ์ รองปลัดกระทรวง ไมว่ า่ จะด�ำเนนิ การอะไรกต็ าม หวั ใจส�ำคญั ตอ้ งปพู น้ื สอ่ื สาร สาธารณสุข กลา่ วเสริมว่า ขอ้ เสนอของสมาคมฯ ครั้งนี้ ท่ี ให้ประชาชนเข้าใจ เพื่อให้การด�ำเนินงานมีประสิทธิภาพ ชดั เจนคอื การมกี ลไกคณะท�ำงานเฉพาะและใหม้ รี ายงานผล และเกดิ ประโยชน์สูงสดุ เป็นระยะ สว่ นขอ้ เสนอของกรรมการหลายทา่ นคือเสนอให้

๐๖ สานพลงั ฝรั่งแช่อิ่ม แกะรอยโลก ภาพโดย Jose Antonio Alba จาก Pixabay สังคมเหงาๆ เราตอ้ งชว่ ยกนั ปัจจุบันประเทศญี่ปุ่นก้าวเข้าสู่สังคมสูงวัยระดับ รวมถึงสนับสนุนให้ผู้สูงอายุท�ำกิจกรรมอาสาสมัครรูปแบบ สดุ ยอด หรอื “Super-Aging Society” ด้วยมผี สู้ งู อายใุ น ตา่ งๆ นอกจากน้ี กลมุ่ องคก์ รทไ่ี มใ่ ชอ่ งคก์ รของรฐั หรอื NGO วัยเกนิ ๖๕ ปี ถงึ รอ้ ยละ ๒๘ และคาดวา่ ในอกี ๓๐ ปีขา้ ง (Non-governmental organization) ได้จัดกิจกรรมเยยี่ ม หนา้ จะมพี ่งุ สงู ถงึ ร้อยละ ๔๐ ของคนทง้ั ประเทศ !!! เดินตามเตน็ ท์ของคนไร้บา้ นเพอ่ื ดวู ่าเจบ็ ปว่ ยหรือไม่ และมี เมื่อผู้เขียนได้มีโอกาสไปดูงาน “คนไร้บ้าน” ณ การพูดคุยเพ่ือคลายเหงา แต่หากผู้สูงอายุท่ีไม่ต้องการพูด เมืองนาโกยา่ ประเทศญี่ปุน่ พบว่า สง่ิ ท่ีน่ากงั วลคือ ความ คุยกับใครก็จะมีการติดป้ายนัดหมายเวลาเพ่ือพูดคุยกับ เปน็ อยขู่ องคนไรบ้ า้ นทเี่ ปน็ ผสู้ งู อายใุ นอนาคตจะด�ำเนนิ ชวี ติ แพทย์อาสาแทน ตอ่ ไปอยา่ งไร ขณะเดยี วกนั กย็ ังมอี กี ปัญหาท่กี �ำลงั กอ่ ตวั ข้นึ กลบั มาทปี่ ระเทศไทย ซง่ึ ก�ำลงั กา้ วเขา้ สสู่ งั คมสงู วยั ก็คือ “ความเหงา” ในผ้สู งู อายุทม่ี บี า้ นและไรบ้ า้ น แลว้ เชน่ กนั หลายหนว่ ยงานพยายามคดิ คน้ นโยบายมาตรการ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หานร้ี ฐั บาลทอ้ งถนิ่ หลายแหง่ ในญป่ี นุ่ วิธกี ารเพือ่ รบั มอื ในเรอื่ งน้ี มีแนวคดิ ที่จะพัฒนากลมุ่ /ชมรม ได้พยายามจัดเทศกาลให้คนสูงวัยออกมาพบปะพูดคุยท�ำ ผู้สูงอายุเพ่ือรับมือกับมิติด้านจิตใจ หรือกิจกรรมเย่ียมไข้ท่ี กิจกรรมอาสาสมัคร เช่น อาหารกลางวัน โดยตั้งกลุ่มท�ำ ชว่ ยใหก้ �ำลงั ใจแกผ่ สู้ งู อายุ แตไ่ มว่ า่ อยา่ งไร “โลกของเรากำ� ลงั อาหารกลางวนั เพอื่ จ�ำหนา่ ยใหค้ นในชมุ ชนและผสู้ งู อายดุ ว้ ยกนั สงู วยั ” ขน้ึ ทกุ วนั เราเองในฐานะมนษุ ยโ์ ลกกจ็ �ำเปน็ ตอ้ งชว่ ย มีการจัดรถรับส่งฟรีเพื่อพาผู้สูงวัยไปซ้ือของตามห้างร้าน กนั ในทุกดา้ นท่ที �ำได้ เพ่ือให้เปน็ สังคมสูงวยั หวั ใจแข็งแรง

๐๗เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เรื่องเล่าชาวยุทธ ทรงพล ตุละทา HIA & การสรา้ งสุขภาวะชมุ ชน & การพัฒนาเมอื งในพื้นที่ EEC ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก หรอื Eastern Economic Corridor: EEC เปน็ โครงการธงน�ำของ ประเทศ ทม่ี เี ปา้ หมายใหเ้ กดิ การพฒั นาพนื้ ทภ่ี าคตะวนั ออกอยา่ งยง่ั ยนื นโยบายนมี้ คี วามส�ำคญั ตอ่ การพฒั นา ประเทศ เพราะไม่เพียงเป็นพ้ืนท่ีพัฒนาอุตสาหกรรม แหล่งขนส่งและระบายสินค้าท้ังทางบก ทางอากาศ ทางน�้ำ แต่ยังเปน็ ศูนย์กลางสขุ ภาพนานาชาติ (Medical hub) ของประเทศอีกดว้ ย ด้วยเหตนุ ี้ EEC จงึ เป็น อีกโจทย์ทา้ ทายของการพฒั นาว่าจะค�ำนึงถึงเศรษฐกจิ สังคม ส่งิ แวดล้อม และสุขภาพหรือไม่ แมว้ า่ ในกฎหมาย EEC ก�ำหนดใหม้ คี ณะกรรมการนโยบายการพฒั นาระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก เป็นกลไกมนี ายกรฐั มนตรีเป็นประธาน และตวั แทนจากกระทรวงต่างๆ ทีเ่ ก่ยี วข้อง รวมถึงมหี น่วยงานอน่ื ๆ เช่น สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ขณะเดียวกันภาคประชาชนในพื้นที่ได้ร่วมกันวิเคราะห์ สถานการณ์ EEC และมขี ้อเสนอตอ่ รูปแบบการอยู่ร่วมกันระหวา่ งประชาชนในพน้ื ท่ภี ายใตก้ ารพัฒนา EEC ไว้ดงั นี้ ๑. วิถีปากปล่อง คอื รูปแบบวถิ ชี วี ิตในปจั จบุ ัน แต่มีแนวโนม้ ทีจ่ ะเขา้ สู่ระบบอตุ สาหกรรมและระบบ ทนุ นยิ มแบบน�ำเขา้ มากยง่ิ ขนึ้ ๒. วถิ ที นุ กา้ วหนา้ คอื รปู แบบของระบบทนุ ทตี่ อ้ งปรบั ตวั เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ว่ ม กบั ชมุ ชนและทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ ม ๓. วถิ ไี ทสรา้ งสรรค์ เปน็ วถิ ที เี่ ปดิ โอกาสใหป้ ระชาชนไดเ้ ขา้ มารว่ มพฒั นา สรา้ งสรรคบ์ า้ นเมอื งของตนเองตามบรบิ ทของวฒั นธรรมและทรพั ยากรสงิ่ แวดลอ้ มภายใตก้ ารพฒั นาทยี่ งั่ ยนื ท้ังน้ี สิ่งท่ีภาคประชาชนเห็นว่ารูปแบบที่ประชาชนจะอยู่ร่วมกับ EEC ได้ดีที่สุดคือ แนวคิด “วิถีไทสร้างสรรค์” โดยได้เสนอต่อคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก เพื่อให้มีการ จัดต้ังกลไกท่ีร่วมกนั ออกแบบในลกั ษณะการเปน็ ห้นุ ส่วนการพัฒนาทั้งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชา สงั คม นอกจากน้ี เครอ่ื งมือการประเมินผลกระทบดา้ นสุขภาพ หรอื HIA (Health Impact Assessment) ก เ็ ปน็ อกี เครือ่ งมือทภี่ าคประชาชนคาดหวงั วา่ จะช่วยใหเ้ กดิ การหาทางออกรว่ มกันของทุกฝา่ ย จากการประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA Forum) เรื่อง “การสรา้ งสขุ ภาวะของชมุ ชนและการพฒั นาเมอื งในการพฒั นาพนื้ ทเ่ี ศรษฐกจิ พเิ ศษภาคตะวนั ออก” เมอื่ วนั ท่ี ๑๕ ตลุ าคม ทผี่ า่ นมา ไดม้ กี ารอภปิ รายถงึ บทบาทของ HIA วา่ เปน็ เครอื่ งมอื ทจี่ ะท�ำใหเ้ กดิ กระบวนการปอ้ งกนั และลดผลกระทบจากโครงการเปน็ เครอ่ื งมอื เชงิ นโยบาย ซง่ึ ตอ้ งมกี ารพฒั นาชดุ ขอ้ มลู สขุ ภาพและสงิ่ แวดลอ้ ม ท่ีเป็นข้อมูลพ้ืนฐาน (Baseline data) ที่เป็นปัจจุบันส�ำหรับใช้ติดตามความเปลี่ยนแปลงในอนาคต เช่น ค่าสารเคมใี นเลอื ด คุณภาพน�ำ้ อากาศ ซึ่งแนวคิดดงั กล่าวต้องท�ำการประเมินผลกระทบดา้ นสขุ ภาพเชิงรุก และคงต้องติดตามกันต่อไปว่า ทา้ ยทส่ี ุดแล้วผลจะออกมาเป็นอย่างไร? ภาพจาก https://www.eeco.or.th/

๐๘ สานพลัง กองบรรณาธิการ เรื่องจากปก “ชุมชนเป็นศนู ย์กลาง”หนนุ ระบบการใช้ยาอยา่ งสมเหตุผล ทราบหรือไม่ว่า งบประมาณค่าใช้จ่ายด้านยาของประเทศไทยมีอัตราการเติบโต ร้อยละ ๗ - ๘ ต่อปี คิดเป็นสัดส่วน ประมาณรอ้ ยละ ๔๑ ของคา่ ใชจ้ า่ ยดา้ นสขุ ภาพโดยรวม สงู กวา่ ประเทศทพี่ ฒั นาแลว้ ทมี่ คี า่ ใชจ้ า่ ยดา้ นยาตอ่ คา่ ใชจ้ า่ ยดา้ น สุขภาพร้อยละ ๑๐ - ๒๐ เทา่ นั้น แต่ท่ีนา่ วติ กกวา่ นน้ั กค็ ือ สาเหตกุ ารใช้ยาอยา่ งไม่เหมาะสมที่เพิ่มขึน้ นั้นเกิดจากการใช้ เกนิ ความจ�ำเป็น และกระบวนการตลาดท่ีขาดจรยิ ธรรม ผลกั ดนั ใช้ยาอย่างสมเหตผุ ล ผศ.ภญ.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ประธานคณะ ท�ำงานเฉพาะประเด็นฯ ในระเบยี บวาระน้กี ลา่ วว่า นโยบาย ท้งั นี้ ทผ่ี า่ นมาประเด็นท่ีเกยี่ วขอ้ งกบั การใช้ยาเคย การวางระบบการใชย้ าทเ่ี หมาะสมของประเทศไดด้ �ำเนนิ การ เปน็ มตสิ มัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครงั้ ที่ ๑ ครง้ั ที่ ๗ และครัง้ ท่ี มาได้ระดับหนึ่ง ด้วยทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องต่างตระหนักถึง ๘ มาแล้ว และในสมชั ชาสุขภาพแหง่ ชาติ ครั้งท่ี ๑๒ กไ็ ด้ อันตรายจากการใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม และแนวทางการ ถูกบรรจุเป็นระเบยี บวาระ “การจดั การเชิงระบบส่ปู ระเทศ ด�ำเนินงานต่อไปคือ ทุกฝ่ายที่เก่ียวข้อง อาทิ ระบบหลัก ใชย้ าอย่างสมเหตุผล โดยชมุ ชนเปน็ ศูนยก์ ลาง” ซง่ึ เปน็ หนึง่ ประกนั สุขภาพทเี่ ก่ียวข้อง ผู้ให้บริการท้ังภาครฐั และเอกชน ในส๑่ี ระเบยี บวาระทจ่ี ะเขา้ สกู่ ารพจิ ารณาของสมชั ชาสขุ ภาพ เจา้ ของพน้ื ที่ และภาคประชาชน จะตอ้ งท�ำงานทม่ี เี ปา้ หมาย แห่งชาติคร้ังน้ีด้วย ร่วมกันคอื “คนไทยปลอดภยั จากการใช้ยา” โดยเฉพาะการ สร้างชุมชนต้นแบบ ให้ประชาชนเป็นศูนย์กลางขับเคลื่อน ระบบการใช้ยาอย่างสมเหตุผล สร้างการรับรู้และเข้าถึงใน ทกุ ระดบั เพื่อใหเ้ กดิ การดูแลตวั เองอย่างเหมาะสม ผศ.ภญ.นิยดา เกียรติยิง่ อังศลุ ี “เรื่องใช้ยาสมเหตุสมผล พูดกันมานานแล้ว ทั้ง ในระดับองค์การอนามัยโลก และในระดับประเทศ แม้ จะมีความพยายามด�ำเนินการ แต่ด้วยนโยบายภาพใหญ่ ท้ังประเทศยังไม่ชัดเจน เน่ืองด้วยสภาพปัญหาในชุมชน ที่มหี ลายเร่อื ง รวมถงึ ด้านการให้บริการ ส่ือโฆษณาชวนเช่ือ ท่ีก่อให้เกิดความเข้าใจผิด ฉะนั้น หากมีการเสนอ เปน็ เชงิ นโยบาย และมกี ารจดั การเชงิ ระบบ โดยใหป้ ระชาชน เป็นศูนย์กลางจึงน่าจะเป็นแนวทางท่ีดี” ผศ.ภญ.นิยดา กลา่ ว ท่ีผ่านมา กระทรวงสาธารณสุข ได้ท�ำโครงการ Rational Drug Use (RDU) Hospital โดยมโี รงพยาบาล ศิริราชเป็นแห่งแรกท่ีเข้าร่วมโครงการ เป็นการส่งเสริม การด�ำเนินงานอย่างเป็นระบบเพื่อให้เกิดการใช้ยาอย่าง สมเหตุสมผล คือการใช้ยาถูกข้อบ่งชี้ เหมาะสม เพียงพอ ๑.ประกอบดว้ ย ๑. ทบทวนมตสิ มัชชาสุขภาพแห่งชาติ มาตรการท�ำใหส้ งั คมไทยไร้แร่ใยหนิ ๒. วถิ ีเพศภาวะ: เสริมพลงั สุขภาวะครอบครวั ๓. รวมพลงั ชุมชนต้านมะเรง็ และ ๔. การจดั การเชิงระบบส่ปู ระเทศใชย้ าอย่างสมเหตุผล โดยชมุ ชนเป็นศนู ยก์ ลาง

๐๙เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ ปลอดภัย คุ้มค่า นอกจากน้ี ได้เชิญชวนให้โรงพยาบาล ยาซำ้� ซอ้ นจนเกดิ ผลขา้ งเคยี งจากการใชย้ ารว่ มกนั หลายชนดิ ต่างๆ เข้าร่วมโครงการ โดยจัดให้มีการแลกเปล่ียนความรู้ และท�ำใหโ้ รคมคี วามรนุ แรงมากข้ึน การน�ำเสนอผลด�ำเนินงานของแต่ละโรงพยาบาล รวมทั้ง อยา่ งไรกต็ าม สถานการณ์การใช้ยาไมเ่ หมาะสมดี กระตุ้นให้บุคลากรทางการแพทย์น�ำข้อประเด็นที่เป็น ขึน้ ตามล�ำดับ โดยในสว่ นของเภสชั กรร้านขายยา มีระเบียบ ตวั ช้วี ัดของโครงการฯ มาใชด้ แู ลผูป้ ว่ ย เพ่อื ให้เกิดการใชย้ า ใหเ้ ภสชั กรตอ้ งซกั ประวตั ขิ องผปู้ ว่ ยใหล้ ะเอยี ดถถี่ ว้ นมากขนึ้ สมเหตผุ ลมากขน้ึ ซึ่งช่วยคัดกรองได้ระดับหน่ึงแต่ก็ต้องรณรงค์อย่างต่อเนื่อง ผศ.ภญ.นยิ ดา กลา่ ววา่ ในสว่ นโครงการทก่ี ระทรวง รวมถงึ รณรงคใ์ หผ้ ปู้ ว่ ยตระหนกั รใู้ นการใชย้ า รบั รจู้ ากแหลง่ สาธารณสุขได้ด�ำเนินการไปน้ันก็ควรขยายผล แต่สิ่งส�ำคัญ ขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ งหาเภสชั กรทป่ี รกึ ษาประจ�ำครอบครวั ในสว่ นของ คอื การหนนุ ระบบเพ่ือให้ชุมชนเปน็ ศูนยก์ ลางของการใชย้ า เภสัชกรรมชมุ ชน ไดร้ ว่ มกบั กรงุ เทพมหานครใหร้ า้ นขายยา อย่างสมเหตุผล ซ่ึงคณะท�ำงานฯ ได้ก�ำหนดค�ำจ�ำกัดความ เข้าร่วมในการให้ข้อมูลแก่ประชาชน การคัดกรองสุขภาพ ชุมชนในหลายมิติ เพื่อให้ครอบคลุมประชาชนทุกกลุ่ม ประชาชน การเสริมสร้างสุขภาพ และให้ข้อมูลการใช้ยา อย่างแท้จริง ท้ังเชิงพ้ืนท่ี เชิงประเด็นความสนใจร่วม อยา่ งถกู ตอ้ งในลกั ษณะเปน็ ทปี่ รกึ ษา ซง่ึ ขณะนมี้ รี า้ นขายยา รวมไปถึงกลุ่มคนที่มีวิถีชีวิตเกี่ยวพันซึ่งติดต่อเชื่อมโยงกัน กว่า 100 แห่งที่เข้าร่วมโครงการ และมีแนวโน้มเพ่ิมข้ึน อย่างต่อเน่ือง ประกอบอาชีพเดียวกัน หรือมีวัตถุประสงค์ อย่างต่อเน่อื ง ร่วมกัน ซง่ึ จะเป็นจุดเรม่ิ ต้นในการสร้างชุมชนต้นแบบ RDU “แนวทางทด่ี ที สี่ ดุ คอื การสรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจให้ ทีป่ ระสบความส�ำเร็จ ประชาชน รว่ มกนั ใหข้ อ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมคี วามรใู้ น “เป้าหมายในการด�ำเนินการคร้ังนี้ คือ เพื่อให้ เรอ่ื งการใชย้ าทเ่ี หมาะสมดว้ ยตวั เอง” ภญ.ดร.ศิรริ ตั นก์ ลา่ ว ประชาชนใชย้ าสมเหตสุ มผล ทำ� ใหเ้ กดิ ความมนั่ คงมสี ขุ ภาพ ที่ดีข้ึนโดยรวม สามารถดูแลตัวเองเบื้องต้นได้ด้วย ภญ.ดร.ศิริรัตน์ ตันปิชาติ มีความรอบรู้ไม่หลงเชอ่ื โฆษณา เป็นการสรา้ งความเขม้ แข็ง ด้วยตัวเอง ส่ิงน้ีจะเป็นการดูแลรักษาสุขภาพท่ียั่งยืน มากกวา่ ” ผศ.ภญ.นยิ ดา กล่าว เร่งสรา้ งความเข้าใจท่ีถูกตอ้ งให้ประชาชน ภญ.ดร.ศริ ริ ตั น์ ตนั ปชิ าติ นายกสมาคมเภสชั กรรม ชุมชน (ประเทศไทย) หนึ่งในผู้ผลักดันการใช้ยาอย่างสม เหตุผล กล่าววา่ การใชย้ าอยา่ งไม่สมเหตผุ ลของประชาชน เกิดจากหลายสาเหตุ อาทิ การรับรู้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ต่างๆ จากเพ่อื นบา้ น คนในชมุ ชนท่กี ลา่ วอ้างว่าใชแ้ ลว้ ได้ผล การรับยาเป็นของฝากจากคนรู้จัก ท่ีส�ำคัญคือส่ือโฆษณา ต่างๆ ท้ังวิทยุชุมชน และส่ือสังคมออนไลน์ท่ีมีจ�ำนวนมาก ล้วนเปน็ โฆษณาชวนเชอ่ื เป็นต้น ขณะเดยี วกนั ประชาชนกแ็ สวงหายารกั ษาโรคจาก แหลง่ ตา่ งๆ ด้วยความหวงั วา่ จะหายจากโรค โดยเฉพาะผทู้ ่ี เป็นโรคเร้อื รัง เชน่ เบาหวาน ความดัน มีความเขา้ ใจผดิ คดิ วา่ หากรบั ประทานยาตอ่ เนอื่ งจะมผี ลตอ่ รา่ งกาย จงึ สบื เสาะ ยารกั ษาโรคเอง หรอื หายาทดแทน เป็นตน้ ท�ำใหเ้ กิดการใช้

๑๐ สานพลงั “แนวทางทีด่ ที ี่สุด คอื การสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ประชาชนร่วมกนั ให้ข้อมลู ทีถ่ ูกตอ้ ง เพ่อื ให้ประชาชนมคี วามรู้ในเรอ่ื งการใชย้ าท่ีเหมาะสมด้วยตวั เอง” นายธนพล ดอกแก้ว กระตุ้นภาครฐั หนนุ ต้นแบบการเรยี นรภู้ าคประชาชน ด้านเครือข่ายผู้ป่วยโดยนายกสมาคมเพ่ือนโรคไต แห่งประเทศไทย นายธนพล ดอกแก้ว กล่าวว่า ปัจจุบัน ไดด้ �ำเนนิ การรณรงคก์ ารใชย้ าอยา่ งถกู ตอ้ งทง้ั ในระดบั ชมุ ชน หนว่ ยงานบรกิ าร และระดบั จงั หวดั มาอยา่ งตอ่ เนอื่ งเปน็ เวลา กวา่ ๑๐ ปี แตจ่ �ำนวนของสอื่ โฆษณาชวนเชอ่ื ทวเี พมิ่ ขน้ึ อยา่ ง มากมาย ส่งผลให้สถานการณ์ปัญหาไม่คล่ีคลายลง ดังน้ัน รัฐบาลควรจัดการกับสื่อโฆษณาชวนเช่ืออย่างเด็ดขาด รวมทั้งตอ้ งด�ำเนินการอยา่ งจรงิ จงั และต่อเนือ่ ง ส�ำหรบั รปู แบบการท�ำงานของเครอื ขา่ ยผปู้ ว่ ยไดใ้ ช้ โมเดลประชาชนเป็นศูนย์กลาง โดยลงพื้นที่เข้าไปพูดคุยกับ ประชาชนเกย่ี วกับปญั หาด้านสุขภาพต่างๆ รวมทั้งจัดอบรม ให้ความรู้อย่างต่อเน่ือง แต่ด้วยงบประมาณที่จ�ำกัดท�ำให้ไม่ สามารถขยายโครงการได้มากนัก จึงอยากให้ภาครัฐเข้ามา สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาต้นแบบการเรียนรู้ของ ประชาชนในเร่ืองการใชย้ าท่ีเหมาะสม “การแก้ปัญหาต้องให้ประชาชนร่วมคิด ร่วมท�ำ ร่วมพัฒนาและออกแบบแนวทางแก้ปัญหา เพื่อความเป็น เจา้ ของร่วมและเดนิ ไปดว้ ยกัน เร่มิ ท่ีบา้ น ชุมชน ก่อนขยาย ไประดบั ตำ� บล อำ� เภอ จงั หวดั จงึ จะสามารถแกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ ง ย่ังยืน” นายธนพลกล่าว “ยา” หน่ึงในปัจจัยส่ีส�ำคัญต่อการด�ำรงชีิวิต แต่ถ้าใชผ้ ดิ วิธีกม็ โี ทษถงึ ชิีวติ เช่นกนั

๑๑เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ เรเื่อรงื่อเงลเ่าลจ่าาจกาพกื้นพที่ื้นที่ สนพ. อีสาน สนพ. อีสาน จุดเร่ิมต้น “สังคมสุขภาวะ” ณ บึงละหาน บึงละหาน เป็นทะเลสาบน้�ำจืดท่ีมีขนาดใหญ่เป็น อันดับ ๔ ของประเทศไทย มีเนื้อที่ ๑๘,๑๘๑ ไร่ (๒๙.๐๘ ตารางกิโลเมตร) ครอบคลุมพ้ืนท่ี ๔ ต�ำบลในอ�ำเภอจัตุรัส จงั หวัดชยั ภมู ิ ได้แก่ ต�ำบลละหาน ต�ำบลหนองบัวใหญ่ ต�ำบล ลุ่มน�้ำชีต�ำบลหนองบัวบาน อุดมไปด้วยแหล่งทรัพยากร ธรรมชาตอิ ันอดุ มสมบูรณ์ มีทั้งพนั ธุ์ไม้นำ้� ๗๕ ชนิด พนั ธ์ุปลา ๓๑ ชนดิ พนั ธน์ุ ก ๕๓ ชนดิ (ทะเบยี นพน้ื ทชี่ มุ่ นำ้� จากสำ� นกั งาน นโยบายและแผนส่ิงแวดล้อม) จนได้รับการขึ้นทะเบียนเป็น พน้ื ทชี่ มุ่ นำ�้ ทมี่ คี วามส�ำคญั ระดบั นานาชาตแิ ละระดบั ประเทศ หน่วยงานภาครัฐท่ีเกี่ยวข้องต่างออกมาตรการ คมุ้ ครองอนรุ กั ษพ์ น้ื ทด่ี งั กลา่ ว เชน่ ไมใ่ หจ้ บั สตั วน์ ำ�้ ในบางชว่ งฤดู ห้ามใช้วัสดุบางประเภท ห้ามล่าและท�ำลายรังนก ส่วนฝ่าย ปกครองกต็ อ้ งการพฒั นาเปน็ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว เปน็ แหลง่ พกั นำ�้ ในฤดูน�้ำหลากและเก็บกักน้�ำในฤดูแล้ง ขณะเดียวกัน ประชาชนทมี่ ีวิถชี ีวติ ยดึ โยงอยกู่ บั บึงละหาน หาอยูห่ ากินเพอื่ การด�ำรงชีพ กม็ ีความกงั วลว่า เม่ือประกาศเปน็ พืน้ ท่ีหา้ มล่า สัตวป์ า่ จะท�ำใหก้ ระทบต่อการด�ำรงชพี เมือ่ ตา่ งฝา่ ย ต่างเหตุ ต่างผล ท�ำอยา่ งไรจึงจะหา จดุ รว่ ม เพ่ือให้เกดิ ประโยชน์รว่ มกนั และลดความขัดแย้งท่ี อาจเกดิ ข้ึนในอนาคตได้ ส�ำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) ได้ สนับสนุนการจัดเวทีรับฟังข้อห่วงกังวลจากทุกภาคส่วน ณ บริเวณศาลเจ้าพ่อหาญค�ำ ต�ำบลละหาน โดยมีแกนน�ำเครือ ข่ายสมัชชาสุขภาพจังหวัดชัยภูมิ ท�ำหน้าท่ีอ�ำนวยการ เชิญ ชวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน ประกอบด้วย เจ้าคณะ ต�ำบลละหาน เขต ๒ นายอ�ำเภอ นายกองค์การบริหารสว่ น ต�ำบล ชาวบา้ นในพนื้ ที่ ต�ำรวจ หวั หนา้ เขตหา้ มลา่ สตั วป์ า่ เขา้ มาร่วมพูดคุยกัน แมว้ า่ การพดู คยุ ในครง้ั แรกนี้ ทปี่ ระชมุ จะไมไ่ ดพ้ ดู ถงึ กระบวนการสร้างนโยบายแบบมีส่วนร่วมผ่านเครื่องมือ “ธรรมนญู สขุ ภาพพนื้ ท”ี่ ทน่ี า่ จะเปน็ คำ� ตอบสำ� หรบั การแกไ้ ข ปญั หา ซงึ่ มหี ลกั สำ� คญั วา่ “ธรรมนญู สขุ ภาพพน้ื ท่ี เปน็ ขอ้ ตกลง

๑๒ สานพลัง ร่วมในการก�ำหนดทิศทางหรือแนวปฏิบัติอันจะน�ำไป สู่สุขภาวะของชุมชน โดยชุมชนสามารถจัดท�ำธรรมนูญ สุขภาพพ้ืนท่ีตามความสมัครใจและตามความพร้อมของ ชุมชน ทั้งนี้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและรัฐควรให้การ สนบั สนนุ และเข้ามามสี ว่ นรว่ ม” แตป่ รากฏการณท์ ่เี กดิ ขึน้ ณ บริเวณศาลเจ้าพ่อหาญค�ำ กลับท�ำให้ทุกภาคส่วนได้มีโอกาส พูดคุยกันอย่างเปิดใจสู่การสร้างโอกาสให้เกิดการพัฒนา นโยบายสาธารณะแบบมสี ่วนร่วมกนั ต่อไป ท้ายท่ีสุดแล้ว ไม่ว่ากระบวนการพัฒนา “ธรรมนูญ สขุ ภาพ” จะใช้เวลาการเดนิ ทางกว่าจะถึงปลายทางอีกไกลแค่ ไหน...แตต่ อนนี้ จดุ เรมิ่ ตน้ ของ “สงั คมสขุ ภาวะ” ไดเ้ กดิ ขนึ้ แลว้ ณ บึงละหาน โอ้โห! ทงุ่ บวั แดง “บงึ ละหาน” งาม...เงยี บ...เรยี บงา่ ย หากใครก�ำลังมองหาสถานที่พักผ่อน หยอ่ นใจแบบคลู ๆ สดู กลน่ิ ไอธรรมชาตอิ ยา่ งเตม็ ปอด ก็ต้องที่นี่เลย “ทุ่งบัวแดง บึงละหาน” แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรในจังหวัดชัยภูมิ ท่ีมี ความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศ ทั้งบัวแดง พนั ธป์ุ ลา สตั วน์ ำ�้ จดื รวมถงึ นกนานาชนดิ อาศยั อยจู่ �ำนวนมาก ผสมผสานกบั วถิ ชี วี ติ ของชาวบา้ น แบบพงึ่ พาอาศัยกนั ไดอ้ ยา่ งลงตัว ในชว่ งเดอื นมกราคม-มถิ นุ ายน ทว่ั ทงั้ บึงจะเต็มไปด้วยบัวแดงที่ออกดอกบานสะพรั่ง ทอดยาวสุดลูกหูลูกตา หลังด่ืมด่�ำกับธรรมชาติ ก็พักเติมพลังกับอาหารหลากเมนูท้องถิ่นท่ีชาวบ้านปรุงเตรียม คอยต้อนรบั นกั ทอ่ งเทยี่ ว เชน่ ตม้ ย�ำปลาเนอ้ื ออ่ น ไมว่ า่ จะเปน็ ปลาคงั ปลากด ลาบปลาตอง หนงั ปลากรายทอด กรอบ ปลากรายแห้งรมควนั ทอดมนั ปลากราย และอกี สารพดั เมนทู ่รี สชาติไม่ด้อยไปกวา่ กนั ทุ่งบัวแดง “บึงละหาน” เป็นอีกจุดท่ีต้องปักหมุดของแหล่งท่องเที่ยวท่ีมีความงาม...เงียบ...เรียบง่าย ประทบั ใจไมร่ ้ลู ืม

๑๓เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ Right To Health พิสิษฐ์ ศรีอัคคโภคิน “สคิทนธลกิะเารรอื่ ตงากยบั ดก”ี ารตกาามรธณุ รยรมฆชาตาติ ช่วงตน้ ปีที่ผ่านมาปรากฏขา่ วใหญใ่ นหนา้ สื่อไทยแทบทุกฉบบั ถึงหนมุ่ ไทยซึ่งปว่ ยเป็นโรคเน้อื งอกในสมอง ได้ เดินทางไปย่ืนขอกระท�ำการการุณยฆาตท่ีประเทศสวิสเซอร์แลนด์ ซึ่งข่าวดังกล่าวนี้เองเป็นเหตุให้ค�ำ “การุณยฆาต” ตกเป็นท่ีสนใจของสื่อและคนไทยจ�ำนวนมาก และเกิดประเด็นถกเถียงที่ส่อให้เกิดความสับสน เข้าใจผิดคิดว่า การณุ ยฆาต และ การท�ำหนงั สอื แสดงเจตนาไมป่ ระสงค์จะรับบริการสาธารณสุข ตามมาตรา ๑๒ แหง่ พระราชบัญญตั ิ สุขภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ หรือ “สิทธิการตายด”ี ตามธรรมชาติ เป็นเรอ่ื งเดยี วกัน แตค่ วามจริง “ไมใ่ ช่” มาตรา ๑๒ แหง่ พระราชบญั ญตั สิ ขุ ภาพแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐ มเี จตนาใหม้ สี ทิ ธขิ์ อปฏเิ สธการรกั ษาพยาบาล บางอยา่ ง เชน่ การใช้เคร่ืองช่วยหายใจ การล้างไต หรือการใช้เคร่ืองมือทางการแพทย์อื่นๆ ที่ไม่สามารถท�ำให้ผู้ป่วย หายขาดจากโรคได้ แต่เป็นเพียงแค่การย้ือความตายออกไป และเลือกขอรับการรักษาพยาบาลแบบประคับประคอง (Palliative Care) เพอ่ื ขอตายตามธรรมชาตโิ ดยปราศจากการยอ้ื ชวี ติ หรอื การเรง่ การตาย ซง่ึ แพทย์ พยาบาลทด่ี �ำเนนิ การ จะไดร้ บั ความคมุ้ ครองทางกฎหมาย ยกตวั อยา่ ง เชน่ นาย ก. ปว่ ยเปน็ มะเรง็ ระยะสดุ ทา้ ยและไดท้ �ำหนงั สอื แสดงเจตนา ปฎิเสธการรักษาไว้ ขณะเดียวกันตามหลักจริยธรรม แพทย์ต้องช่วยชีวิตผู้ป่วยให้ถึงท่ีสุด หนังสือแสดงเจตนาจึง เปรียบเสมือนเครือ่ งมอื ทที่ �ำใหผ้ ู้ปว่ ยและแพทย์มาพบกนั เพือ่ วางแผนการดูแลรักษาในระยะทา้ ยร่วมกนั สว่ นเรอ่ื งการณุ ยฆาต คอื การกระท�ำโดยเจตนาเพอ่ื ยตุ ชิ วี ติ ตามความประสงคข์ องผปู้ ว่ ยระยะทา้ ย มเี ปา้ หมาย เพอื่ บรรเทาหรอื หลกี เลยี่ งความทรมานของผปู้ ว่ ย ซง่ึ ในประเทศไทยท�ำไมไ่ ดเ้ พราะผดิ ทงั้ กฎหมายและจรยิ ธรรมทางการ แพทย์ แตใ่ นบางประเทศ เชน่ สวิสเซอร์แลนด์ เบลเยีย่ ม เนเธอร์แลนด์ บางรฐั ในสหรัฐอเมรกิ า สามารถกระท�ำได้อย่าง ถกู กฎหมาย แต่กต็ อ้ งผา่ นขั้นตอนและการทดสอบต่างๆ ตามทีก่ �ำหนดไว้ ดงั น้ัน การรับรองสทิ ธขิ องประชาชนในการท�ำหนงั สอื แสดงเจตนาไมป่ ระสงค์จะรับการรกั ษาพยาบาลทีเ่ ป็น ไปเพียงเพื่อยอื้ การตายในช่วงวาระสดุ ทา้ ยของชีวิต ตามมาตรา ๑๒ จึงมคี วามแตกต่างจากเร่อื งการณุ ยฆาต ท่เี ปน็ ไป เพื่อยุติชีวติ ตามความประสงค์ของผปู้ ว่ ยระยะทา้ ยอย่างชดั เจน...

๑๔ สานพลงั นโยบาย by สาธารณะ วันวิสา แสงทิม สองขา...ในงานสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครง้ั ท่ี ๑๒ ปีนี้ คณะกรรมการจดั สมชั ชาสุขภาพแหง่ ชาติ (คจ.สช.) ก�ำหนดจัดประชมุ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คร้ังที่ ๑๒ พ.ศ. ๒๕๖๒ ระหวา่ งวันท่ี ๑๘ - ๒๐ ธนั วาคม ณ ศนู ย์ประชุมวายุภักษ์ ศนู ยร์ าชการแจ้งวฒั นะ ซ่ึงมีประเดน็ หลัก คือ “กา้ วทนั การเปลีย่ นแปลง...สูก่ ารพัฒนาสงั คมสขุ ภาวะ” และเพ่อื ใหก้ ารจดั ประชุมสมชั ชาสุขภาพแหง่ ชาติ เปน็ พน้ื ที่ แห่งการแลกเปล่ียนเรียนรู้ การพัฒนาและขับเคล่ือนนโยบายสาธารณะที่เป็นรูปธรรม จึงได้จัดให้มีการประชุมแบบคู่ ขนานระหว่าง ขาข้ึน (การประชุมพิจารณาหาฉันทมติต่อระเบียบวาระการประชุม หรือการข้ึนรูปนโยบายสาธารณะ) และ ขาเคลอื่ น (การขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะใหเ้ กิดผล) ขาข้ึน คจ.สช. ได้ประกาศร่างระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติปีน้ีมี ๔ เรื่อง ได้แก่ 1) ทบทวนมตสิ มชั ชาสขุ ภาพแหง่ ชาติ มาตรการทำ� ให้ 2) วิถเี พศภาวะ : เสริมพลงั สขุ ภาวะครอบครัว ท่มี ่งุ ให้ สังคมไทยไร้แร่ใยหิน ซ่ึงเคยเป็นมติสมัชชาสุขภาพแห่ง เกิดการใช้กรอบแนวคิด และการด�ำเนินการที่เรียกว่า ชาติ เม่ือปี ๒๕๕๓ ที่น�ำกลับมาทบทวนกันใหม่ให้ “วิถีเพศภาวะ” ไปเสริมพลังครอบครัว โดยท�ำให้เกิด สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อให้สังคมไทย ความตระหนักรู้ถึงละเอียดอ่อนทางเพศภาวะ ด้วยการ ยกเลกิ การใชแ้ รใ่ ยหนิ ในทส่ี ดุ โดยการสรา้ งความเขม้ แขง็ ใช้กระบวนการร้ือแนวคิดที่ท�ำให้เกิดความไม่เสมอภาค ของทอ้ งถน่ิ และชมุ ชนยกเลกิ การใชแ้ รใ่ ยหนิ สง่ เสรมิ การ และไม่เป็นธรรมทางเพศ สร้างแนวคิดและวิธีการใหม่ท่ี ใช้สารทดแทนท่ีปลอดภัยต่อสุขภาพ รวมท้ังเผยแพร่ ใช้พลังความเสมอภาคและเป็นธรรมทางเพศของทั้ง ความรู้ พฒั นาระบบเฝ้าระวงั และติดตามกลุม่ เส่ียง และ ผหู้ ญงิ ผชู้ าย และผหู้ ลากหลายทางเพศ เพอื่ ใหค้ รอบครวั การวิจัย มสี ขุ ภาวะ ความมน่ั คง และสงบสุข

๑๕เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ 3) รวมพลงั ชมุ ชนตา้ นมะเรง็ เปน็ การรวมพลงั ชมุ ชนดว้ ย 4) การจัดการเชิงระบบสู่ประเทศใช้ยาอย่างสมเหตุผล กลไกการมีสว่ นรว่ มทุกภาคสว่ น เพอื่ ขับเคล่อื นสังคมไทย โดยชมุ ชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง มงุ่ จดั การระบบยาโดยชมุ ชนเปน็ ให้มคี วามเขา้ ใจและตระหนกั รเู้ กย่ี วกบั โรคมะเร็ง โดยการ ศูนย์กลาง เพ่ือให้ประชาชนปลอดภัยจากการใช้ยา มี พัฒนาพนื้ ท่ีตน้ แบบ การพฒั นาระบบจัดการ การรณรงค์ คุณภาพชีวิตที่ดี และสามารถพ่ึงตนเองด้านสุขภาพ โดย และเผยแพรข่ อ้ มลู ขา่ วสารทถี่ กู ตอ้ ง อนั จะน�ำไปสกู่ ารปรบั สรา้ งการมสี ว่ นรว่ มของชมุ ชน หนว่ ยงานรฐั และเอกชน ใน เปลยี่ นพฤตกิ รรมเส่ียง การปอ้ งกนั และการรกั ษาทีเ่ หมาะ การออกแบบระบบสุขภาพชุมชน มีระบบการเฝ้าระวัง สมมีมาตรฐาน และระบบการบริหารจัดการอย่างเป็นรูป เตอื นภยั การสรา้ งความรอบรดู้ า้ นการใชย้ าอยา่ งสมเหตผุ ล ธรรมและยงั่ ยืน และมคี วามสามารถในการดแู ลตนเองเบอื้ งตน้ เมอื่ เจบ็ ปว่ ย ขาเคลื่อน การขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะให้ผลิดอกออกผล ซึ่งในงานสมัชชาสุขภาพฯ คร้ังน้ีจะมี การแลกเปลี่ยนเรยี นร้กู ารขับเคล่อื นและน�ำเสนอรปู ธรรมของการขบั เคล่อื นมตสิ มชั ชาสุขภาพฯ ที่ผา่ นมา หรือมติทม่ี ี การขับเคล่ือนยังไมช่ ดั เจนให้มกี ารน�ำมาหารือให้เกดิ ความชัดเจนย่ิงขึ้น และให้ไดข้ ้อเสนอแนะหรือแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ เพื่อไปต่อยอดขยายผล รวมถึงแนวทางการด�ำเนินงานในระยะต่อไป โดยคณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตาม การด�ำเนินงานตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (คมส.) และคณะอนุกรรมการฯ ได้คัดเลือกประเด็นที่น่าสนใจ มาน�ำเสนอในหอ้ งประชมุ ๓ และ ๔ ประกอบด้วย ๖ ประเด็นไฮไลท์ ได้แก่ • มติวกิ ฤตการณเ์ ชอ้ื แบคทีเรียดอื้ ยาและการจดั การปญั หาแบบบูรณาการ • มติการจดั การปัญหาการฆ่าตัวตาย (สุขใจ...ไมค่ ดิ สน้ั ) • มติสานพลังปราบยงุ ลายโดยใชพ้ ืน้ ทเี่ ปน็ ฐาน ประเด็นกลมุ่ • มตผิ ลกระทบจากสอ่ื ออนไลนต์ อ่ เด็กและเยาวชนและครอบครัว • กลมุ่ มตกิ ารจดั การพน้ื ที่สาธารณะชุมชนและเมอื งเพือ่ สุขภาวะ • สานพลงั การพัฒนาและขับเคลือ่ นนโยบายสาธารณะเช่อื มโยง กลไกและประเด็น : ชาติ-จังหวัด-พน้ื ที่ จะเห็นว่าประเด็นของท้ังสองขาในงานคร้ังนี้ เป็นเรื่องที่น่าสนใจ มีท้ังเรื่องเชิงนโยบายและเรื่องใกล้ตัวที่ ต้องอาศัยพลังความร่วมมืออย่างแข็งขันจากเครือข่ายและสมาชิกสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในการก่อรูปพัฒนา นโยบายสาธารณะและน�ำไปขับเคลือ่ นให้เกดิ เปน็ รูปธรรมต่อไป

๑๖ สานพลัง นายแพทย์วิชัย โชควิวัฒน เล่าให้ลึก นมโรงเรียน (ตอน ๑) ภาพคนส่งนมยามเช้า ในกรุงลอนดอน ตุลาคม ๒๘๘๓ https://www.wsj.com/articles/milk-review-food-history-worth-nursing-1525731680 นมโรงเรียนในประเทศองั กฤษ มีมาตง้ั แต่ช่วงหลัง ต้ังแต่ก่อนสงครามโลกคร้ังท่ี ๒ มีรายงานการ สงครามโลกครัง้ ที่ ๑ เริม่ จากรัฐสภาไดต้ ราพระราชบัญญตั ิ ตรวจสอบของ จอหน์ บอยด์ ออร์ร์ เร่อื ง “อาหาร สุขภาพ การศึกษา พ.ศ. ๒๔๔๙ ให้อ�ำนาจคณะกรรมการการศกึ ษา และรายได”้ ตีพิมพ์เมือ่ พ.ศ. ๒๔๘๐ สรุปวา่ มีความเชอื่ ม ท้องถิ่น จัดหาอาหารฟรีให้แก่เด็กนักเรียน ซึ่งต่อมาได้เร่ิม โยงระหว่าง “รายไดต้ ำ�่ ทุพโภชนาการ และผลการเรยี นที่ ใหน้ มโรงเรยี นฟรี เมอื่ พ.ศ. ๒๔๖๔ และใหม้ าอย่างตอ่ เนือ่ ง แย่” หลังสงครามพรรคแรงงานชนะเลือกตั้งถล่มทลาย แม้ในช่วงสงครามโลกครง้ั ที่ ๒ ท่ีกรงุ ลอนดอนถูกถล่มหนกั นายกรัฐมนตรี คลเี มนต์ แอตลี แตง่ ตั้ง เอลเลน วลิ คนิ สนั ดว้ ยระเบิดจากเยอรมนี ภาพชายสวมเสอื้ คลุมขาวหิ้วนมไป เป็นรัฐมนตรีการศึกษา ซ่ึงเป็นรัฐมนตรีหญิงคนแรกใน ส่งยามเช้าท่ามกลางซากสลักหักพังของอาคารจากแรง ประวัติศาสตร์ของอังกฤษ เอลเลนเป็นนักรณรงค์ต่อต้าน ระเบิดเมื่อค�่ำคืนที่ผ่านมา นับเป็นภาพที่ประทับใจกับผู้คน ความยากจนมาก่อน และสามารถผลักดันให้รัฐสภาออก จ�ำนวนมาก วินสตนั เชอร์ชลิ นายกรัฐมนตรอี ังกฤษ กล่าว “พ.ร.บ.นมโรงเรยี น” ส�ำเร็จเม่ือ พ.ศ. ๒๔๘๙ ก�ำหนดให้ ปราศรยั บอกฮติ เลอรว์ า่ “คณุ ทำ� สง่ิ ทเ่ี ลวรา้ ยทส่ี ดุ – และเรา เด็กนกั เรยี นอายุตำ่� กว่า ๑๘ ปที ุกคนไดด้ ืม่ นม วนั ละ ๑/๓ จะทำ� สิ่งทด่ี ที สี่ ุด” (You do your worst – and we will ไปนต์ ( ๑ ไปนต์ = ๐.๔๗ ลติ ร) do our best)

๑๗เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ จนกระท่งั พ.ศ. ๒๕๑๑ รฐั บาล ฮาโรลด์ วลิ สนั แม้รัฐบาลกลางจะตัดงบนมโรงเรียน แต่รัฐบาล จากพรรคแรงงานเช่นกัน เร่ิมลดนมฟรีในนักเรียนมัธยม ทอ้ งถน่ิ จ�ำนวนมากยงั คงนโยบายนต้ี อ่ ไป จนถงึ ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ต่อมาใน พ.ศ. ๒๕๑๔ มาร์กาเร็ต แทตเชอร์ ซึ่งขณะน้ัน สหภาพยุโรปมีนโยบายสนับสนุนนมโรงเรียนเพิ่มขึ้นและ เปน็ รฐั มนตรีศึกษา ตัดนมฟรจี ากเด็กท่ีอายุเกิน ๗ ปที กุ คน พ.ร.บ. การศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๒๓ ขององั กฤษเองก็สนบั สนนุ ท�ำให้แทตเชอร์ ถูกตั้งฉายาว่า “แทตเชอร์ คนฉกนม” นมโรงเรยี นเพม่ิ ขน้ึ โดยเฉพาะในเดก็ จากครอบครวั รายไดน้ อ้ ย (Thatcher, Thatcher, milk snatcher) ตอ่ มาเมอ่ื มกี าร ปัจจุบันเด็กก่อนวัยเรียนอายุ ๕ ปี ลงมาทุกคนในสหราช เสนอปริญญากิตติมศักด์ิแก่แทตเชอร์ในมหาวิทยาลัย อาณาจักร จะได้นมฟรีทุกวันจากสถานดูแลเด็กที่ได้รับ ออกซฟอรด์ คณะกรรมการปฏเิ สธเพราะ “เธอเรงิ รา่ เมอ่ื ทงิ้ การรับรองส�ำหรับนักเรียนประถมและมัธยมจากครอบครัว นมจากปากเด็กไร้เดยี งสา” ผู้มีรายได้น้อย จะได้รับนมจากการสนับสนุนงบประมาณ บางสว่ นโดยนโยบายเรอ่ื งนมี้ กี ารแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงมาอยา่ ง ตอ่ เนือ่ ง...(อ่านตอนจบ ฉบับหนา้ ) https://www.youtube.com/watch?v=cRBGfYVOELk วนิ สตนั เชอรช์ ลิ นายกรฐั มนตรอี งั กฤษ ขณะกลา่ วปราศรยั บอกฮติ เลอรว์ า่ “คณุ ทำ� สงิ่ ทเี่ ลวรา้ ยทสี่ ดุ และเราจะทำ� สงิ่ ทดี่ ที ส่ี ดุ ” (You do your worst and we will do our best)

๑๘ สานพลงั สานสิบทิศ กองบรรณาธิการ สร้างบา้ นแปงเมอื ง คือ เร่อื งของสาธารณะ ถอดบทเรียนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ วนั ท่ี ๒๐ - ๒๑ ตลุ าคม ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล เว ที ส มั ช ช า ร่วมกับภาคีเครือข่ายภาคประชาชนภาคอสี าน จัดประชุมหารือ สุ ข ภ า พ จั ง ห วั ด ความกา้ วหน้าและถอดบทเรยี นการขับเคล่อื นกลไกกระบวนการ พะเยา เป็นงานที่ ความร่วมมือการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ หลายหน่วยงาน ๒๕๖๒ ครั้งท่ี ๑ ภายใต้การสนับสนุนคณะกรรมการสุขภาพ และหลากเครอื ขา่ ย แห่งชาติ เพ่ือส่งเสริมให้ภาคประชาชนได้เรียนรู้กระบวนการ มารว่ มกันทบทวน CHIA (Community Health Impact Assessment) ทั้งน้ี ขบั เคลอื่ นนโยบาย บรรยากาศภายเป็นไปอย่างคึกคักด้วยชุดข้อมูลเชิงลึก สาธารณะของจังหวัดอย่างต่อเน่ือง ส�ำหรับปีน้ีมีฐานข่ายใหญ่ ของชาวบ้านที่ได้รับผลกระทบจากการสร้างโรงงานยางพารา จาก ๗๑ สภาองค์กรชุมชน เป็นภาคีหลักที่เคลื่อนงาน โรงไฟฟ้าชีวมวล น้�ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม นอกจากนี้ ในระดบั พนื้ ท่ี ครมู กุ ดา อนิ ตะ๊ สาร ประธานสมชั ชาสขุ ภาพจงั หวดั ยงั ไดแ้ ลกเปลย่ี นเพอื่ พฒั นาเปน็ ข้อเสนอในการแก้ไขปญั หา กลา่ ววา่ ปนี ใ้ี ชแ้ นวคดิ “ฅนพะเยา สรา้ งบา้ นแปงเมอื ง ใหอ้ ยเู่ ยน็ เป็นสุขอยา่ งยง่ั ยนื ” บนฐานงาน ๓ ประเดน็ รว่ ม คอื การจดั การ ทรพั ยากรโดยชุมชน เกษตรอาหารปลอดภัย และพัฒนาการเด็ก นอกจากนี้ ยังได้รับเกียรติจาก นายวุฒิชัย เสาวโกมุท รองผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พะเยา มารว่ มเตมิ เตม็ และรบั ขอ้ เสนอแนะ ไปผลักดนั ให้กับหนว่ ยงานในจงั หวดั หนุนเสรมิ ตอ่ ไป สดุ ยอดของประธานและเลขานุการ กขป. นายศกั ดเิ์ จรญิ ภวภตู านนท์ นายสุทธนิ นั ท์ บญุ มี เมอ่ื ไมน่ านน้ี ส�ำนกั งานคณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.) โดย สนพ. และ สวน. ไดร้ บั หนา้ ทเ่ี ปน็ facilitators ในการสมั มนาเพอื่ สรปุ บทเรยี นการด�ำเนนิ งานใน รอบ ๓ ปี ของ กขป.เขต ๗ งานนท้ี มี สช. ไดเ้ หน็ ความมงุ่ มน่ั ตงั้ ใจเกนิ รอ้ ยของประธาน และเลขานกุ าร กขป.เขต ๗ คอื อดตี ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั นายสทุ ธนิ นั ท์ บญุ มี และ นายศกั ดเิ์ จรญิ ภวภตู านนท์ เพราะทง้ั ๒ ทา่ น อยรู่ ว่ มเวทโี ดยตลอดทง้ั ๒ วนั ๑ คนื เลย ทเี ดยี ว ทงั้ ยงั ท�ำหนา้ ทแี่ ชร์ เชอื่ มและเชยี รท์ มี ท�ำงานทกุ ทมี ใน กขป.เขต ๗ ใหร้ ว่ มกนั ท�ำงาน อยา่ งใกลช้ ดิ ไรร้ อยตอ่ ถอื เปน็ สดุ ยอดประธานและเลขานกุ าร กขป. โดยแท้ เวทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ “มาตรการทำ� ใหส้ งั คมไทยไรแ้ รใ่ ยหนิ ” วันท่ี ๓๐ กันยายน ๒๕๖๒ ที่ผ่านมา ณ ส�ำนักงานคณะ กรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ ไดจ้ ดั เวทรี บั ฟงั ความคดิ เหน็ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ น เสยี ต่อประเดน็ “การทบทวนมตสิ มชั ชาสขุ ภาพแห่งชาติ มาตรการ ท�ำให้สังคมไทยไร้แร่ใยหิน” มีตัวแทนจากเครือข่ายผู้บริโภค เครือข่ายแรงงาน บริษัทหา้ งรา้ น ส�ำนักงานคณะกรรมการคมุ้ ครอง ผบู้ รโิ ภค สมาคมสถาปนกิ สภาวศิ วกร กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวง สาธารณสุข กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ฯลฯ มาร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น งานน้ีต้องขอปรบมือรัวๆ ให้กับ อ.เฉลิมชัย ชัยกิตติภรณ์ ท่ีท�ำหน้าท่ีประธานการประชุมได้อย่างดีเยี่ยม ท�ำให้การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย หลังจากน้ี คณะท�ำงานฯ จะน�ำข้อเสนอท่ีได้ไปพิจารณาเพื่อปรับปรุงก่อนน�ำเข้าสู่การประชุมสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ คร้ังที่ ๑๒ โปรดตดิ ตามกันต่อไป

๑๙เดือน พฤศจิกายน ๒๕๖๒ คลิปดี! ที่ต้องดู Eye View สวัสดคี รบั “คลิปด!ี ท่ตี อ้ งด”ู เปน็ คอลัมนใ์ หมข่ องนิตยสารสานพลัง ฉะนนั้ กอ่ นอืน่ ขอฝากเนือ้ ฝากตัวกนั หนอ่ ย (อิอิ) ผมนาย Eye View จะท�ำหนา้ ท่เี ป็นกระบอกเสยี งประกาศคลิปด!ี คลิปเด็ด! คลิปโดน! ของส�ำนักงาน คณะกรรมการสขุ ภาพแหง่ ชาติ (สช.) มาใหค้ ณุ ผอู้ า่ นไดต้ ดิ ตามกนั หรอื ใครมคี ลปิ ดๆี อะไรกแ็ นะน�ำกนั มาไดเ้ ลยครบั เม่อื เรว็ ๆ นี้ เราคงได้ยนิ ข่าวใหญ่ “แบน” ๓ สารเคมเี กษตรอนั ตราย ไดแ้ ก่ “พาราควอต – ไกลโฟเซต – คลอร์ไพริฟอส” ไมร่ ้วู า่ ใครเห็นดว้ ยหรอื ไมเ่ ห็นดว้ ยนะครับ แตผ่ มขอพาท่านล่องเหนอื ไปที่ หมูบ่ ้านหว้ ยโป่งสามคั คี จงั หวดั ล�ำพนู ตน้ แบบของชมุ ชนปลอดพาราควอต ชาวบา้ นทน่ี ม่ี มี ตริ ว่ มกนั ในชมุ ชน ไมใ่ ชส้ ารเคมที างการเกษตรและ ห้ามติดป้ายโฆษณาสินค้าท่ีเป็นสารเคมีทางการเกษตรอย่างเด็ดขาด ย�้ำ!!! เด็ดขาดครับ โอ้มายก๊อด! แล้วพวกเขา ท�ำกนั อย่างไร ไมค่ วรพลาดนะครา้ บ ตดิ ตามได้ในรายการปฏิบตั กิ าร ลกุ ปลุก เปลยี่ น เฟส 3 ตอน ชมุ ชนปลอด พาราควอต จ.ลำ� พนู ทาง Youtube : Healthstation official คลิปชุมชนปลอดพาราควอต จ.ล�ำพูน

สานพลงั นติ ยสารสานพลัง “สานพลงั ปญั ญา สรา้ งสรรคน์ โยบายสาธารณะ” รายเดือน เจ้าของ สำ�นกั งานคณะกรรมการสุขภาพแหง่ ชาติ (สช.) ท่ีปรกึ ษา นพ.ประทีป ธนกิจเจริญ บรรณาธกิ ารผู้พิมพ์โฆษณา พัชรา อุบลสวัสดิ์ บรรณาธกิ ารอำ�นวยการ นพ.ปรีดา แต้อารกั ษ์ บรรณาธกิ ารบริหาร อรพรรณ ศรสี ุขวฒั นา บรรณาธกิ าร บริษัท แก่นสาระ จำ�กดั กองบรรณาธกิ าร ขนิษฐา แซ่เอี้ยว แคทรียา การาม ทรงพล ตลุ ะทา นภนิ ทร ศริ ิไทย นันญณฏั ฐ ถงุ ปัญญา บณั ฑิต มน่ั คง ยวุ ลักษณ์ เหมะวบิ ลูุ ย์ ท่อี ยู่ สำ�นกั งานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ ชน้ั ๓ อาคารสุขภาพแหง่ ชาติ ๘๘/๓๙ หมู่ ๔ ถ.ติวานนท์ ๑๔ ต.ตลาดขวญั อ.เมอื ง จ.นนทบรุ ี ๑๑๐๐๐ โทรศัพท์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๐ แฟกซ์ ๐ ๒๘๓๒ ๙๐๐๑ อเี มล์ : [email protected] เวบ็ ไซต์ : www.nationalhealth.or.th ติดต่อกองบรรณาธกิ าร บรษิ ัท แกน่ สาระ จำ�กัด ๑๕/๔ หมู่ ๓ ต.บางกระทึก อ.สามพราน จ.นครปฐม ๗๓๒๑๐ โทรศัพท์ ๐๘ ๖๗๕๖ ๓๒๑๖, ๐ ๒๔๐๘ ๙๕๙๑


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook