Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฉบับNEW

โครงการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฉบับNEW

Published by FolkKung Css, 2022-11-10 12:51:51

Description: โครงการ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ฉบับNEW

Search

Read the Text Version

ค�ำนำ� ปจั จุบันเทคโนโลยมี กี ารพัฒนารูปแบบมากขนึ้ มเี ทคโนโลยดี ้าน ฮาร์ดแวรท์ ี่ทนั สมยั ผูค้ นสว่ นมากยังไมร่ ู้จัก CPU เพราะคนสว่ น ใหญเ่ อาเวลาไปทำ� งานส่วนตัว ไม่ค่อยมเี วลาอ่านหนังสือเพราะวา่ หนังสือนั้นพกพาล�ำบากและยังมีราคาแพงหนังสือบางเล่มก็มี ปัญหา เช่น ใช้ค�ำศพั ทผ์ ดิ ช�ำรดุ ง่าย ดแู ลรักษายาก เปน็ ต้น โปรแกรม Adobe InDesign สามารถสรา้ งหนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ได้ เผยแพร่ ความรเู้ กยี่ วกบั CPU แถมยังมคี วามสะดวกในการใชง้ าน เราเลยจดั ทำ� หนังสืออิเล็กทรอนิกส์น้ีข้ึนมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและ ดาวน์โหลดเน้ือหาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนน้ั คณะผจู้ ัดทำ� จงึ ไดจ้ ดั ทำ� หนงั สืออิเลก็ ทรอนกิ ส์ เรอื่ ง หนว่ ยประมวลผลกลางของคอมพวิ เตอร์ (CPU) โดยใช้ Adobe InDesign CC 2019 เปน็ สว่ นหนึง่ ในการออกแบบ เพ่อื ใหค้ นได้ ร้จู กั กบั หนว่ ยประมวลผลกลาง (CPU) มากขึ้น และให้เหน็ ถงึ ประสทิ ธภิ าพ พรอ้ มนำ� ไปศกึ ษาพฒั นาใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ นอนาคต

สารบัญ ความหมายของ หนว่ ยประมวลผลกลางคอมพิวเตอร์ เพม่ิ เตมิ วดิ ีโอแนะน�ำการเลอื กซ้อื ความสำ� คญั ของ หน่วยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ ความเป็นมาของ หน่วยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ การใช้งาน หน่วยประมวลผลกลางคอมพิวเตอร์ องคป์ ระกอบของ หนว่ ยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ ประเภทของ หน่วยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ การดแู ลรกั ษา หนว่ ยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์

ความหมายของ หนว่ ยประ หนว่ ยประมวลผลกลาง เรียกอีกอย่างว่า CPU คอื สว่ นทที่ ำ� หนา้ ทป่ี ฏบิ ตั ติ ามคำ� สงั่ ทร่ี บั มาจากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู และควบคมุ การปฏบิ ตั งิ านของเครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ อปุ กรณห์ ลกั ในการประมวลผลก ลาง เชน่ การคำ� นวณ เปรยี บเทยี บ การเรยี งลำ� ดบั การจดั กลมุ่ การจดั ทำ� รายงานเปน็ ตน้ หนว่ ยประมวลผลกลางจงึ เปรยี บเสมอื นสมองของคอมพวิ เตอร์ ทสี่ ามารถคดิ วเิ คราะหเ์ พอื่ หาผลลพั ธห์ รอื สารสนเทศทตี่ อ้ งการได้ ซพี ยี ขู อง เครอื่ งคอมพวิ เตอรใ์ นระดบั ซพี ยี จู ะถกู บรรจใุ นชปิ ทเ่ี รยี กวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ ซีพียูท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงานและประมวลผลข้อมูลที่ได้รับจาก อปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู (input device) ตามคำ� สง่ั ตา่ ง ๆ ในโปรแกรมทเี่ ตรยี มไว้ และสง่ ตอ่ ไปยงั อปุ กรณแ์ สดงผล (output device) เพอ่ื ใหส้ ามารถเกบ็ หรอื อา่ นผลลพั ธไ์ ด้ ถา้ ซพี ยี ยู งิ่ มคี วามเรว็ มากจะยงิ่ ประมวลผลไดเ้ รว็ ขน้ึ ความเรว็ ของซพี ยี จู ะถกู ควบคมุ โดยสญั ญาณนาฬกิ า ซงึ่ เปน็ ตวั ใหจ้ งั หวะการทำ� งาน เหมอื นกบั จงั หวะของการเลน่ ดนตรี หนว่ ยวดั ความเรว็ ของสญั ญาณนาฬกิ าดงั กลา่ วเรยี กวา่ เฮริ ต์ (Hertz : Hz) ซงึ่ เทยี บเทา่ กบั 1 ครงั้ ตอ่ วนิ าที

ะมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยส่วน ส�ำคัญ 2 ส่วน คือ หน่วยควบคมุ (Control Unit) ทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ การทำ� งานของ อปุ กรณต์ ่าง ๆ ในระบบทงั้ หมด ให้ท�ำงาน อย่างถกู ต้อง หน่วยคำ� นวณ (Arithmetic Logic Unit) ทำ� หน้าท่ีประมวลผลข้อมลู ทาง คณิตศาสตร์และทางตรรกะ เช่น การ คำ� นวณทางคณติ ศาสตร์ - การกระทำ� ทางตรรกะ (AND , OR) - การเปรยี บเทยี บ เชน่ การเปรียบ เทยี บคา่ ของข้อมูล 2 ตัวว่ามีคา่ เทา่ กนั มากกว่า หรือนอ้ ยกวา่ ไมว่ า่ ข้อมลู จะเป็น ตวั เลข หรอื ตัวอกั ษรกส้ ามารถเปรียบ เทียบได้ - การเลื่อนขอ้ มลู (Shift) - การเพมิ่ และ การลด (Increment and Decrement)

หน่วยประมวลผลกลางจะทำ� งานเปน็ 4 ขน้ั ตอน โดยขนั้ ตอนที่ 1-2 จะใช้หนว่ ยควบคมุ ในการดำ� เนินงาน สว่ นข้ัน ตอนท่ี 3-4 จะใชห้ นว่ ยค�ำนวณและตรรกะในการดำ� เนนิ งาน ข้นั ตอนที่ 1 หน่วยควบคมุ เขา้ ถงึ ข้อมลู และคัดแยกค�ำสงั่ จาก หน่วยความจำ� ขัน้ ตอนที่ 2 ค�ำส่ังถูกตีความ เพอื่ ใหค้ อมพวิ เตอร์รวู้ า่ จะต้อง ท�ำงานอะไร แลว้ เลือกข้อมลู ทต่ี ้องใชใ้ นการประมวลผล แล้ว ก�ำหนดตำ� แหน่งของค�ำสั่งถดั ไป ข้นั ตอนที่ 3 ปฏิบัตติ ามคำ� สงั่ ท่ตี ีความได้ ทง้ั การค�ำนวณทาง คณิตศาสตรแ์ ละการเปรียบเทยี บ ขัน้ ตอนที่ 4 เกบ็ ผลลัพธท์ ่ีประมวลผลได้ไว้ในหนว่ ยความจำ� หลกั สาระนา่ รู้ ไมโครโพรเซสเซอร์ มีลกั ษณะเป็นชปิ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ปจั จุบนั นยิ ม สร้างจากซิลิคอนเน่อื งจากมีคุณสมบตั ิช่วยสง่ เสริมการท�ำงาน

เพมิ่ เตมิ วดี โี อ แนะน�ำการเลอื กซอื้ CPU youtube iHAVECPU https://www.youtube.com/watch?v=n1CivRU6IHU&t=3s

ความสำ� คญั ของ หนว่ ยปร ความส�ำคัญของหน่วยประมวลผลกลาง คอื หวั ใจหลักของคอมพวิ เตอร์ ทีท่ ำ� หน้าทใี่ นการคำ� ควณ และ ควบคมุ การท�ำงานอ่นื ๆ ในระบบ ลักษณะของซีพยี ู ความเร็วของซีพยี ู รปเจเปปุ่นำ�รน็น็นเะพวชกวนง้นิอนจเบสมทรว่ดาหียนก้วมลถยขางึทนจยะรา3ลามด.้า1นีทเนลซรลตก็ าสิ า้ัวมนเนตาตซตกอวัิสวั รอเภป์ตยารอา่ยะรงใก์เเนลชอก็น่บกๆซนั ีพยี ู CกซบาีพPิตรUมียคามู ำ�จกีหนะจนวทะ่วณ�ำสยงาเาทรมนียใี่าชกอรใ้วยถน่าู่ททกี่�ำบ3างิตร2าบน(บอBไิตดกitเ้ข)(รBน็วถiาt้าปด)จจัข�ำจอนบุงวันน มีหนว่ ยวัดเป็น เมกะเฮรติ ซ์ (MHz = MegaHertz) ถา้ คา่ ตวั เลขยิ่งสงู แสดงว่ายงิ่ มีความเร็วมาก ปจั จุบันความเร็วของซพี ยี ู สามารถทำ� งาน ได้ถงึ ระดับ กกิ ะเฮริตซ์ (GHz = Gigahertz) โดยมีความเร็วระหวา่ ง 2-3 GHz ในการเลือกใชซ้ พี ียู ผจู้ �ำหน่ายจะบอกไว้ว่า เครอื่ งร่นุ นมี้ ี ความเรว็ เทา่ ไหร่ เชน่ Pentium IV 2.8 GHz หมายความวา่ เปน็ CPU รนุ่ เพนเทยี มโฟว์ มคี วามเรว็ ในการทำ� งานท่ี 2.8 กกิ ะเฮรติ ซ์

ระมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ ร่นุ ซีพยี ู โดยทั่วไปมผี ูผ้ ลติ ซีพียหู ลักๆ คือ บริษทั Intel, AMD, Cyrix โดยบริษัท Intel เป็นผูน้ �ำในการผลิตรายใหญ่ทส่ี ุดของโลก หนว่ ยประมวลผลกลางหรอื CPU เปน็ ฮารด์ แวรช์ ิ้นหนึง่ ที่ท�ำให้ คอมพิวเตอร์ของคุณมปี ฏสิ มั พนั ธ์กับแอปพลเิ คชนั และโปรแกรมต่าง ๆ ทต่ี ดิ ตงั้ ไว้ CPU จะตคี วามคำ� สัง่ ของโปรแกรมและสรา้ งผลลัพธ์ตามท่ี คณุ ทำ� อนิ เทอรเ์ ฟซ โปรเซสเซอรน์ น้ั ประกอบด้วยฮาร์ดแวร์ทีท่ ำ� งานร่วมกันเพอ่ื ส่งข้อมูลให้ คอมพวิ เตอร์ของคุณสามารถทำ� งานใหเ้ สรจ็ ตามทค่ี ุณต้องการได้เมอ่ื คณุ เปดิ แอปพลิเคชันหรือ เปลย่ี นแปลง แก้ไขไฟล์ ไม่วา่ การประมวล ผลจะรวดเร็ว หรือเชื่องช้าจนน่าหงุดหงิด ทั้งหมดนีส้ ง่ ผลต่อ ประสบการณ์การใช้คอมพิวเตอรข์ องคณุ ไดอ้ ย่างมากมาย ความเร็วประมวลผลคอร์และสญั ญาณนาฬกิ า ของโปรเซสเซอรค์ ือตัวบ่งช้ี วา่ จะรับขอ้ มูลได้มากนอ้ ยเพยี งใดในคราวหน่งึ และคอมพวิ เตอรข์ องคุณจะ ประมวลผลข้อมูลไดอ้ ยา่ งรวดเร็วเพียงใด ความเร็วท่เี ปน็ ผลมาจากการ ท�ำงานรว่ มกันระหวา่ งความเรว็ ประมวลผลคอร์ และ ความเร็วสญั ญาณ นาฬิกาของคอมพิวเตอร์น้นั ถอื ว่าเปน็ ความเรว็ ในการประมวลผล

ความเปน็ มาของ หนว่ ยปร ผลิตมาจากบรษิ ทั Advanced Micro Device (AMD) เปน็ ซพี ยี ูที่สร้างชอ่ื และท�ำใหท้ กุ คนรูจ้ ัก AMD อยา่ งกวา้ งขวางมาจากรุ่น K5 ทอี่ อกมาชนกบั ซพี ยี ูของ intel ในรนุ่ Pentium หลังจากนัน้ ซพี ยี ู AMD กอ็ อกรนุ่ ต่างๆทีม่ คี วามสามารถเทียบเทา่ กบั ซีพยี จู ากอนิ เทล แต่ ราคาของซีพียู AMD จะถูกกวา่ ทำ� ใหซ้ ีพยี ู AMD เปน็ ทสี่ นใจของหลาย คนในเวลานน้ั หลังจากนน้ั AMD ได้มุ่งเน้นพฒั นาซพี ยี ใู ห้มคี วามสามารถ เทียบเท่ากับซพี ียจู ากค่าย Intel โดยออกมาซีพียูมาอกี หลายรนุ่ ดังนี้ K5 ,K6, K6-2,Sharptooth (K6-III), K6-2+, K6-III+, K7 / Athlon , Argon ,Thunderbird (Athlon), Palomino(Athlon), Thoroughbred (Athlon) ,Barton (Athlon), Spitfire (Duron), Duron, Morgan(Duron), Appoloosa (Duron) ,Mustang, SledgeHammer, ClawHammer และซพี ยี ูรนุ่ ล่าสุดและได้รบั ความนิยมอยา่ งมากก็คือ AMD FX-8350

ระมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ CPU นั้นมีมาอยา่ งยาวนานตงั้ แตเ่ รม่ิ มกี ารผลติ ซพี ยี ู ชอื่ ของ ซีพยี ู Intel อยู่ในอันดบั ตน้ ๆ ซึ่งอนิ เทลพัฒนาซพี ียู 8086 , 8088 และ ซีพียใู นตะกูล 80 x 86 มาอย่างตอ่ เนอื่ งจนกระทั่งมาถงึ Celeron Pentium II และ Celeron Pentium III ซ่งึ 2 รนุ่ น้เี ปน็ รุน่ ท่ีได้ สรา้ ง ช่อื ใหก้ ับอนิ เทลเปน็ อย่างมาก มกี ารพัฒนา Pentinum 4 ขนึ้ มารอง รบั การทำ� งานของคอมพิวเตอรใ์ หใ้ ช้งานได้หลากหลายขึ้นการพฒั นา ซพี ยี ขู องอนิ เทลไมไ่ ดห้ ยดุ เพยี งแค่ Pentium 4 เทา่ นนั้ เพราะหลงั จากนนั้ ไมน่ าน อินเทลก็ไดเ้ ปดิ ตวั ซพี ียูทีท่ �ำงานไดเ้ ร็วกว่าซพี ยี รู นุ่ เก่า ๆทีผ่ ่าน มาด้วยการเปดิ ตัวซีพยี ูรุ่น Core 2 Duoและ Core 2 Extreme หรอื ท่ี เรารจู้ กั ในช่อื วา่ Dual-Core โดยรนุ่ ล่าสุดของ intel จะเป็น รุน่ อนิ เทล คอร์ (Intel Core) รุน่ นีไ้ ดม้ กี ารพัฒนามาต้ังแตค่ อร์ i3 ,คอร์ i5, คอร์ i7 และคอร์ i7 เอกซ์ตรีม (Corei7 Extreme )

Intel 80286 (1982) ในปี ค.ศ. 1982 อนิ เทลก็ไดผ้ ลติ ซพี ียรู ่นุ 80286 ท่มี คี วามเรว็ เพยี งแค่ 6 เมกิเฮิรตช์ ซึ่งบัสของ 80286 เป็นแบบ 16 บิตภายในมี ทรานซิลเตอร์บรรจุอยูป่ ระมาณ 130,000 ตัว จึงเป็นเหตใุ ห้เกดิ ความ รอ้ นสงู ในขณะทำ� งาน ดังน้นั จึงตอ้ งมีการตดิ ต้ังพัดลมและแผ่นระบาย ความรอ้ น ( Heat Sink ) ผลติ ออกมาเมอื่ ปี ค.ศ. 1985 ด้วย ความเร็ว 16 เมกะเฮริ ตซ์ เป็นซีพยี ทู ่มี ี ขนาดของบสั ขอ้ มลู 16บติ แต่มีขดี ความ สามารถและความเร็วสูงกว่า 80826 มี ทรานซสิ เตอรภ์ ายใน 250,000 ตัว สถาปัตยกรรมภายในเป็นระบบประมวลผลแบบ 32 บิต แต่ สถาปตั ยกรรมภายนอกที่ใช้ในการเชื่อมต่อกบั ดาต้าบัสเพื่อรบั – ส่ง ข้อมูลจะเปน็ แบบ 16 บติ โดย 80386 SX มคี วามเรว็ ตงั้ แต่ 16 , 50, 25 , และ 33 เมกะเฮิรตซ์

Intel 80486SX/ 80486 DX (1989-1994) ซพี ยี รู ่นุ 80486 มคี วามเรว็ ตัง้ แต่ 20 , 25 , และ 33 เมกะเฮิรตซ์ ทำ� งานแบบ 32 บิต และมแี คช ภายใน (Intel Cache) ทำ� สามารถ ทำ� งานไดเ้ รว็ กว่ารนุ่ 80386 ทจี่ ำ� นวนของสัญญาณนาฬกิ า เทา่ กัน โดยในรนุ่ 80486 SX ยังไมม่ ี Math Coprocessรวมอยู่ในซีพยี ู ตอ่ มา ทางอินเทลก็ได้ออกเครือ่ งรนุ่ 80486 DX มีความเรว็ ต้งั แต่ 50 , 66 , 100 เมกะเฮริ ตซ์ เปน็ ซีพยี ทู ่ีมขี ีดความ สามารถสูงขน้ึ ท้งั ดา้ นความเร็วในการ คำ� นวณและเทคโนโลยโี ดยการรวม เอา Math Coprocessor และ แคช มารวมอยูใ่ นชปิ เดียวกันกับซพี ียู

อินเทลเพนเทียม Intel Pentium (1993-1998) ในช่วงแรกไดผ้ ลติ ออกมาทค่ี วามเรว็ 60 และ 66 เมกะเฮิรตซ์ อกี ไม่ นานนักอนิ เทลกไ็ ด้ ผลิตความเรว็ สูงข้ึนอีกเปน็ 75 และ 90 เมกเิ ฮริ ตซ์ ซึ่งมีสถาปัตยกรรมทีแ่ ตกตา่ งจากรุ่นแรกๆ และยังสามารถพัฒนา ความเรว็ ไปไดอ้ ีกคอื 100 , 13 , 150 และ 166 เมกะเฮริ ตซ์ เปน็ ซพี ียทู ่ี มขี ดี ความสามารถสูงขนั้ ทง้ั ทางดา้ นความเร็วและเทคโนโลยี มีแคช ภายในมากข้นึ และมี ความสามารถในการ ท�ำงานกบั เลขทศนยิ มไดด้ ขี น้ึ

PENTIUM II Pentium ll เป็นซพี ียูทปี่ ระกอบไปด้วยเทคโนโลยีของ Pentium Pro ผนวกเข้ากบั เทคโนโลยี MMX ท่ใี ช้สถาปัตยกรรมการ ท�ำงานแบบใหม่ที่เรียกวา่ “Single InstructionMultipleData (SIMD)” ซงึ่ ได้มีการปรบั โครงสร้างสถาปัตยกรรมภายในซปิ ถงึ 70 จุด เพ่ือเร่ง ความเร็วในการ ทำ� งานแบบ 64 บิต และยงั มกี ารเพม่ิ ชุดคำ� สง่ั เขา้ ไปอีก 70 คำ� สง่ั เพ่ือเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการประมวลผลงานดา้ น 3 มิต

PENTIUM III ซพี ยี เู พนเทยี มทรเี ปน็ ซพี ยี ทู ไี่ ดท้ ำ� การเพม่ิ ชดุ คำ� สงั่ Streaming SIMD Extension :SSE เขา้ ไป70 คำ� สง่ั ซงึ่ มหี นา้ ทเี่ รง่ ความเรว็ ใหก้ บั การประมวลผลขอ้ มลู ทเ่ี ปน็ ภาพ 3 มติ ิ พรอ้ มกบั การเปลย่ี นหนว่ ยความ จำ� แคชระดบั สองใหเ้ รว็ ขน้ึ คอื จาก5.5 ns มาเปน็ 4 ns ซงึ่ ในรนุ่ แรกนใ้ี ช้ ชอื่ รหสั วา่ แคทไม Katmaiและยงั คงใชเ้ ทคโนโลยซี พี ยี ู แบบ Slot 1 เชน่ เดยี วกบั เพนเทยี มทู ตอ่ มาทางอนิ เทลไดผ้ ลติ ซพี ยี เู พนเทยี ม ทรอี อกมาใหมค่ อื Coppermine

PENTIUM 4 เพนเทยี มโฟร์ Pentium 4 เปน็ รนุ่ ทคี่ อ่ นขา้ งจะมคี วามเรว็ ผดิ จากท่ี คาดไว้ และมCี ache นอ้ ย อยา่ งไรกด็ ี ชปิ ชดุ นกี้ ไ็ ดร้ บั การพฒั นาขนึ้ อยา่ ง มาก ไมว่ า่ จะเปน็ สถาปตั ยกรรมการ ออกแบบทใี่ หมท่ งั้ หมด ระบบไปป์ ไลน์ 20 ขนั้ ตอ่ มาไดช้ อื่ อยา่ งไมเ่ ปน็ ทางการวา่ Intel Pentium Proces- sor ทจี่ ะมาแทนทPี่ enti- um III จะออกสตู่ ลาด ดว้ ยความเรว็ เรมิ่ ตน้ ท่ี 1.4 GHz 1.5 GHz ภายใต้ สถาปตั ยกรรมใหมล่ า่ สดุ ทชี่ อ่ื Intel NetBurst micro - architec- tureนอกจากน้ี ยงั ไดเ้ พมิ่ ชดุ คำ� สง่ั ใหม่ SSE 2 เขา้ ไปอกี 144 ชดุ คำ� สง่ั

การใชง้ าน หนว่ ยประมว การใชง้ านหนว่ ยประมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ ใช้หลกั การเก็บค�ำสัง่ ไว้ท่ีหนว่ ยความจ�ำซพี ยี ใู หอ้ า่ นค�ำสัง่ จากหนว่ ย ความจำ� มาแปล ความหมาย และกระท�ำตามเรยี งกันไปทลี ะคำ� ส่ัง หนา้ ทหี่ ลกั ของซพี ยี ู คอื ควบคมุ การทำ� งานของคอมพวิ เตอรท์ งั้ ระบบ ตลอด กลไกการท�ำงานของซพี ยี ู มคี วามสลับซบั ซ้อน ผ้พู ฒั นาซีพยี ูได้ สรา้ งกลไกใหท้ �ำงานได้ดขี น้ึ โดยแบง่ การท�ำงาน เป็นส่วน ๆ มกี าร ท�ำงานแบบขนาน และทำ� งานเหล่ือมกันเพอ่ื ให้ท�ำงานไดเ้ รว็ ขึ้น

วลผลกลางคอมพวิ เตอร์ ข้นั ตอนการท�ำงานของ CPU Fetch - นำ� ค�ำส่ังจากหนว่ ยความจำ� หลกั มาเก็บไว้ที่ CPU. Decode - แปลรหัสคำ� ส่งั Excute - ปฏิบตั ติ ามค�ำส่ังที่แปลแล้ว ค�ำสง่ั ของ CPU ประกอบด้วย Opcode และ Operand Opcode : ระบุประเภทของการประมวลผล Operand : ระบุขอ้ มูลทน่ี �ำมาประมวล

องคป์ ระกอบของ หนว่ ยปร หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit ; CPU) หน่วยประมวลผลกลาง เปรยี บไดก้ ับสมองของคอมพิวเตอร์ เป็น สว่ นทส่ี ำ� คัญท่ีสุด ท�ำหนา้ ทเี่ ป็นศนู ย์กลางการประมวลผลและควบคมุ ระบบตา่ ง ๆ ของคอมพวิ เตอร์ ใหท้ กุ หนว่ ยทำ� งานสอดคลอ้ งสมั พนั ธก์ นั ประกอบดว้ ยส่วนประกอบหลกั 4 สว่ น คือ 1) หน่วยควบคมุ CU (Control Unit) 2) หนว่ ยคำ� นวณทางคณิตศาสตร์ และ ตรรกะ ALU (Arithmetic & Logical unit) 3) รจี สิ เตอรต์ ่าง ๆ (Register sets) 4) หน่วยเชื่อมต่อภายใน CPU (Internal bus)

ระมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ หน่วยควบคมุ CU (Control Unit) ท�ำหน้าทส่ี รา้ ง และ สง่ สญั ญาณไปควบคุมการทำ� งานของสว่ นประกอบต่าง ๆ ในระบบที่ เรยี กว่า Control Bus หนว่ ยตรรกะ ALU (Arithmetic & Logical Unit) ทำ� หน้าท่ีการค�ำนวณผล หรอื เปรียบเทยี บแล้วจึงสง่ ผลลพั ธเ์ ก็บไวใ้ น Register ซ่งึ ทำ� หนา้ ท่เี กบ็ และ ถา่ ยทอดข้อมูลคำ� สัง่ รีจสิ เตอร์ (Register) เป็นสว่ นประกอบทีส่ ำ� คญั มากในการท�ำ โปรแกรม โดยท�ำหน้าทีเ่ ก็บข้อมูลส�ำหรับการทำ� งานต่าง ๆ ใน CPU เปน็ หน่วยความจ�ำใช้เก็บขอ้ มลู ชั่วคราวขณะทท่ี �ำการประมวลผล หน่วยทเี่ ชือ่ มตอ่ ภายใน CPU (Internal bus) ท�ำหนา้ ทีเ่ ชอ่ื มต่อ หนว่ ยตา่ ง ๆ ภายใน CPU ให้สามารถท�ำงานร่วมกันได้ โดยสญั ญาณ ต่าง ๆ ทีอ่ ย่ภู ายใน CPU ใหส้ ามารถเดนิ ทางไปยงั ส่วนย่อยต่าง ๆ ตามเส้นทางทเ่ี รียกวา่ บัส Bus

ประเภทของ หนว่ ยประม 1. CPU Atom CPU Atom คอื ซพี ียู ขนาดเล็กท่สี ุดใน Intel เป็น ซพี ยี ทู ่ีเหมาะสำ� หรบั ใชง้ าน ทว่ั ไป เชน่ พมิ พ์งาน สง่ อเี มล์ เลน่ เว็บ หรือ ดหู นงั 1080p มัก จะนยิ มใช้โน็ตบุค๊ หรอื แทบ็ เลต็ เป็นส่วนใหญ่ ขอ้ ดี คือ มีราคา ถกู ประหยดั ใชพ้ ลังงานน้อย ข้อ เสยี คือ ไม่เหมาะกับการใช้งาน หนกั ๆ อยา่ งเล่นเกม หรือ ท�ำงานดา้ นกราฟกิ

มวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ 2. CPU Core M CPU Core M คอื ซีพยี ขู นาดเลก็ เชน่ เดยี ว กับ Atom แต่เปน็ รุ่นระดับสูง มี ประสทิ ธภิ าพมากพอควร และ ใช้พลังงานน้อยเหมอื นกัน โดย ความแรงของซพี ยี นู ้นั จะอยใู่ น ระดับก่งึ กลางระหว่าง Core i3 - i5 เหมาะสำ� หรบั ใชง้ านบนโน็ ตบุ๊คไฮบรดิ ตัวกลางสงู ไปจนถึง ตัวบนสุด

3. CPU Broadwell CPU Broadwell คือ ซพี ยี ู Gen 5 ใหม่ล่าสุดท่ีมีขายอยู่ ตอนนเ้ี หมาะใช้งานแบบหนัก ๆ เพราะมปี ระสิทธภิ าพในการ ประมวลผลไดอ้ ยา่ งดเี ย่ียม โดย CPU Broadwell รุ่นนน้ี น้ั ไดม้ า พร้อมกับการพฒั นากราฟิกทีด่ ีขน้ึ กวา่ เดิม แตใ่ ช้นอ้ ยลงท�ำให้ ประหยดั พลังงานขึ้น เมอ่ื เทยี บกับ CPU อยา่ ง Haswell (Gen 4) นั้นเอง

CPU CPU ทเ่ี พือ่ นๆหลายคนตา่ งเรยี กกนั จนตดิ ปาก จริงๆแลว้ คำ� ย่อของ CPU มาจากค�ำวา่ Central Processing Unit ท่มี ีความหมายตาม ตัววา่ หน่วยประมวลผลกลาง. โดยหน้าทหี่ ลกั ของ CPU นั้นคอื การ ควบคุมการท�ำงานของของสมาร์ทโฟนทง้ั ระบบ ท้งั ในส่วนของการ ประมวลผลประสทิ ธภิ าพและความเรว็ ในการท�ำงาน โดยความเร็ว และประสทิ ธิภาพของ CPU น้ันจะขึ้นอย่กู ับปจั จัยหลกั

รนุ่ ของสถาปัตยกรรม CPU โดยทัว่ ไปแล้ว การเลือกซอ้ื สมาร์ทโฟนของคนส่วนใหญต่ ่างไม่มใี คร ใหค้ วามส�ำคญั กบั ชนดิ ของ CPU ทเ่ี ลือกนำ� มาใสก่ นั สกั เทา่ ไหร่ โดย Arm-Cortex ผอู้ อกแบบสถาปตั ยกรรม CPU น้นั ไดม้ กี ารแบง่ สถา ปตั ออกแบบแตล่ ะระดับเพ่อื ให้ผผู้ ลติ ตา่ งเลอื กนำ� มาใช้ในการผลิตให้ เข้ากับการใชง้ านตามท่ตี ้องการไดง้ า่ ยมากยิง่ ขึน้ ซ่งึ เปน็ ต้นก�ำเนิด กอ่ นจะมาเปน็ Apple A Chips, Qualcomm Snapdragon, MTK Helio, Samsung Exynos และ Huawei Kirin กนั ทกุ วันน้ีให้เราได้ ใช้งานกันอยา่ งสบายใจนนั่ เอง. จากการดกู ราฟการออกแบบแล้วนน้ั จะทำ� ใหเ้ ราได้ทราบว่า ตัวเลขท่รี ะบคุ วามสามารถของ CPU แตล่ ะ ตัวน้นั กค็ อื ซีรยี่ ์เลขด้านหนา้ เชน่ Arm-Cortex A7… นั้นคือชพิ ประมวลผลระดับบน, Arm-Cortex A5… คอื ชพิ ประมวลผลระดบั กลาง และ Arm-Coretex A3.. ชิพประมวลผลระดบั ล่าง.

ขนาดของ CPU เม่ือพดู ถึงขนาดของการผลติ หน่วยประมวลผล บางคนอาจเข้าใจว่า ย่งิ เล็กมันยิ่งชา้ หรือปลา่ วนะ ? เพราะยิ่งใหญย่ งิ่ มพี น้ื ท่กี ารวางส่ิงของ ได้เพมิ่ มากขน้ึ แตใ่ นความเป็นจรงิ แล้วมีอยูว่ า่ การที่ชิพประมวลผลนนั้ มีขนาดท่ีเลก็ ลงเร่ือยๆนนั้ หมายความวา่ เทคโนโลยีในการผลิตท่ีเล็ก มากเทา่ ไหรก่ ็ย่ิงใส่จำ� นวนของชิพไดม้ ากขน้ึ ในพ้ืนท่เี ท่าเดิม ท�ำให้การ ใชพ้ ลงั งานและความร้อนนั้นลดลง แถมยังไดป้ ระสิทธิภาพการท�ำงาน ทด่ี ีมากข้ึนยกตัวอย่างเช่น Qualcomm Snapdragon 652 (Arm- Cortex A72) และ Qualcomm Snapdragon 630 (Arm Cortex A53) ที่เห็นภาพไดง้ า่ ยสดุ ในปัจจบุ นั นีเ้ น่ืองจากมีบางแบรนด์เลอื กนำ� ชพิ เกา่ มาใช้. โดยผลทจ่ี ะได้มานน้ั คือ Qualcomm Snapdragon 652 นน้ั สามารถท�ำงานในส่วนการใช้งานจำ� พวกประสทิ ธิภาพทหี่ นัก กว่าไดร้ วดเร็วกว่า Snapdragon 630 แต่ต้องแลกมาด้วยการใช้ พลังงานที่มากกว่าเนอ่ื งจาก ขนาดของหนว่ ยประมวลผลทใี่ หญก่ ว่านัน่ เอง

API ท่รี องรบั การรองรบั API มาตรฐานของ เทคโนโลยีกราฟฟคิ ท่ีมปี ระสิทธภิ าพใน ปจั จุบันนถี้ ือเป็นเรือ่ งส�ำคญั อีกอย่าง หนง่ึ ในการใชง้ านดา้ นกราฟฟิคใหล้ นื่ ไหลเลยกว็ ่าได้ (ส�ำหรบั มอื ถือมผี ลตอน เล่นเกมเป็นอยา่ งมาก.) และยิง่ มกี าร พัฒนาเวอรช์ นั่ ใหมข่ น้ึ เรื่อยๆนน้ั ยง่ิ ท�ำใหข้ ้อจำ� กัดของการท�ำงานในส่วนที่ ดอ้ ยของแต่ละ API นัน้ ลดลง และผลท่ี ได้คอื การทำ� งานของกราฟฟคิ ทลี่ นื่ ไหล มากขนึ้ กวา่ เวอรช์ นั่ เกา่ .

สมรรถณะของ GPU ต่อวินาที (GFLOPS) GFLOPS ( Giga FLoating point Operations Per Second) คอื หนว่ ยวัดสมรรถนะความแรงของการด์ จอในเวลา 1 วนิ าที. โดย การทำ� งานของ GFLOPS นั้นจะทำ� งานเป็นหน่วยวดั สมรรถนะในการ ทำ� งานของตัวการ์ดจอ ฟล็อปสจ์ ะนบั จำ� นวนชุดคำ� สง่ั ในการประมวล ผลจำ� นวนจดุ ลอยตัว (Floating Point) ท่ีสามารถทำ� ได้ใน 1 วนิ าท.ี

การดแู ลรกั ษา หนว่ ยประม CPU (Central Processing Unit) เป็นหนว่ ย ประมวลผล นับเปน็ หัวใจของคอมพวิ เตอร์ ทำ� หนา้ ท่ีประมวลผลตา่ ง ๆ ตามท่ีโปรแกรมไว้ โดยปกติซพี ียเู ปน็ อุปกรณ์/ชิน้ ส่วนที่เสียหายยากมาก จากการใชง้ านปกติ ซึ่งซพี ยี อู าจจะทำ� งานไดน้ านมากจนเราเลกิ ใช้ เคร่ืองไปเลย แต่ถ้าเราโชคร้ายโดยถกู ผผู้ ลติ น�ำซีพยี ูทมี ีความเร็วตำ�่ มา หลอกขายวา่ เป็นซพี ยี คู วามเร็วสูง (CPU Remark) หรือทำ� การ PUSH ใหซ้ ีพยี ูท�ำงานเรว็ กว่าความเรว็ ท่กี ำ� หนดให้ ท�ำให้อายุการใช้งานของ ซีพยี ูสน้ั ลงกวา่ ปกติ อกี สาเหตุหนง่ึ ทีท่ ำ� ใหอ้ ายุการใชง้ านซีพียูส้ันลงกค็ ือ พัดลมระบายอากาศ (Ventilation Fan) ทต่ี ดิ ตงั้ อย่ทู ช่ี ุดจ่ายไฟฟา้ (Power Supply) ของคอมพิวเตอร์เสยี ท�ำใหซ้ ีพยี ูต้องทำ� งานทค่ี วาม รอ้ นสูงตลอดเวลา

ะมวลผลกลางคอมพวิ เตอร์ การดูแลรักษาซีพียู จงึ ต้องทำ� ใหพ้ ัดลมระบายอากาศ และชุดจา่ ย ไฟฟา้ มกี ารทำ� งานท่ีปกตอิ ยู่เสมอ การตรวจเช็คอุปกรณด์ งั กลา่ วท�ำได้ งา่ ย ๆ โดยการสงั เกตว่า มกี ารท�ำงานปกติหรือไม่ มีเสยี งผิดปกติขณะ ทำ� งานหรอื ไม่ โดยอปุ กรณ์ทง้ั สองสามารถเสอ่ื มลงไดต้ ามระยะเวลาใช้ งาน โดยทว่ั ไปหากซีพียูต้องท�ำงานในอณุ หภมู ิทีร่ อ้ นมาก ซพี ยี ูจะหยดุ ทำ� งานเพ่อื ป้องกนั ความเสยี หาย อาจท�ำให้เกดิ อาการเครื่อง คอมพิวเตอรใ์ ชไ้ ปซักครู่ แลว้ ดับไปเองบอ่ ย ๆ (สาเหตสุ ่วนหน่ึงมาจาก ไวรสั คอมพวิ เตอร์ หรือซีพียรู ้อนจนเกนิ ไป) เพม่ิ เติม : การดแู ลรักษาซพี ยี ู ใหส้ งั เกตการทำ� งานของพดั ลม หากผิดปกติ ซีพยี ูอาจร้อนและเส่อื มได้ โดยท่ัวไปซพี ยี ูทีร่ อ้ นจัดจะหยดุ ท�ำงาน เพ่ือปอ้ งกนั ความเสียหาย และจะทำ� ใหค้ อมพวิ เตอรด์ บั เอง อัตโนมตั ิ เพ่อื ปอ้ งกนั ปัญหาทงั้ หลายเหล่าน้ี ควรหมั่นเชค็ ดูซีพียแู ละ ทำ� ความสะอาดกันดว้ ย

วธิ ีทําความสะอาดซีพียู 1. เมอื่ เปิดซงิ ค์ได้แล้ว นำ� อะไรก็ไดม้ าดักใบพดั ลมไว้เพ่ือปอ้ งกนั ใบพดั ลมแลว้ น�ำแปรงขนน่มุ ๆ มาขัดทำ� ความสะอาดฝุ่นออกให้ หมดทุกซอกทกุ มุม หรอื อาจจะใชไ้ ดรเ์ ป่าผมเป่า ควรใช้ผ้าปดิ จมกู เพือ่ ปอ้ งกนั ฝนุ่ ละออง 2. ใช้ผา้ สะอาดชุบน�้ำหมาด ๆ คอ่ ย ๆ เชด็ ใบพัดลมไปทีละนิดใหส้ ะอาด 3. เม่ือทำ� ความสะอาดพดั ลมและซิงคเ์ สร็จ น้�ำผ้ามาเชด็ ตัวซีพยี ทู ี่ อยบู่ นเมนบอรด์ ให้สะอาด เน้นตรงช่วงต่อระหวา่ งซิงค์กับซพี ียู จะมี รอยคลา้ ย ๆ คราบลิขวิด 4. จากนั้นก็ทำ� การทาซิลโิ คนบนตัวซีพยี ูทีอ่ ยบู่ นเมนบอรด์ ควรทาซิ ลิโคนให้สังเกตรอยตอ่ ซงิ ค์ หากเปน็ วงกลมใหท้ าเปน็ จดุ กลม ๆ หรือ ถา้ หากเป็นรปู สี่เหลยี่ มให้ทาเปน็ รปู กากบาท ไม่แนะนำ� ให้ทาเยอะ เกินไป เพราะถ้าหากประกอบซงิ คจ์ ะทำ� ให้ซลิ โิ คนกระจายได้ 5. ประกอบซงิ ค์ สังเกตดูขาลอ็ กใหแ้ นน่ ทสี่ �ำคัญอยา่ ลืมเสยี บปลัก๊ เพราะจะท�ำให้พัดลมไม่ท�ำงาน ซพี ยี มู ีความร้อนและอาจจะพังได้




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook