Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL โรงเรียนวัดบ้านอ่าง

SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL โรงเรียนวัดบ้านอ่าง

Published by phattharaporn bunlaue, 2021-12-10 13:34:05

Description: SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL โรงเรียนวัดบ้านอ่าง

Search

Read the Text Version

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 1 เอกสารเตรยี มความพรอ้ ม เปิดเรยี น ใหม.่ docx เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School ก มาตรการ SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้ สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เล่มน้ี จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทาง ในการปฏบิ ัติงานสาหรับเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 เพอื่ สร้างความมน่ั ใจให้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง และประชาชนทั่วไปว่า โรงเรียนวัดบ้านอ่าง (สวัสดิราษฎร์อุปถัมภ์) มีแนวทางการสร้างความ ปลอดภัยให้กับนักเรียนก่อนการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 และระหว่างที่จัดการเรียนการสอนใน สถานศึกษา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรการที่กระทรวงสาธารณสุขและกระทรวงศึกษาธิการกาหนด โรงเรียน วัดบ้านอ่าง หวังเป็นอย่างย่ิงว่า มาตรการ SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL เปิดเรียนมั่นใจ ปลอดภัยไร้ โควิด-19 ในสถานศึกษา การเตรียมการเปิดภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพรร่ ะบาด ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVD-19) เล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษา นักเรียน ครู บุคลากร ทางการศึกษา ผปู้ กครอง และหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ขอบคุณคณะทางานและผู้มีสว่ นเก่ียวข้องทุกท่านทไี่ ด้ร่วมกนั จัดทามาตรการ SANDBOX SAFETY ZONE IN SCHOOL ในการเตรียมการเปิดภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค ตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVD-19) เลม่ น้ี จนสาเรจ็ ด้วยดี โรงเรยี นวัดบา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถัมภ)์ 1 พฤศจกิ ายน 2564 เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวสั ดิราษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School ข หน้า คานา ก สารบัญ ข คารบั รองการเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียน 1 1. ข้อมูลท่วั ไปของโรงเรยี น 2 - ขอ้ มูลครูและบุคลากรทางการศึกษา 2 - ขอ้ มลู แสดงจานวนนักเรยี นและห้องเรยี น จาแนกรายช้นั และเพศ 2 - ขอ้ มูลแสดงอาคารสถานที่และพน้ื ทโ่ี ดยรอบโรงเรยี น 3 - ข้อมลู แสดงพื้นท่ี/อาคารสนับสนุนการบรกิ าร /อาคารเพื่อจัดการเรียนการสอน 3 - ข้อมลู แสดงพนื้ ท่ที เ่ี ปน็ COVID FREE ZONE/พื้นที่ปลอดภยั 4 2. ข้อมูลด้านการมสี ่วนรว่ ม 4 - แสดงการสรปุ แบบสอบถามความต้องการสมคั รใจมาเรยี นแบบต่างๆ 4 - รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐาน 5 - รายงานการประชมุ ผปู้ กครองนกั เรียน 9 - มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School สาหรบั โรงเรียนหรือสถาบันการศกึ ษา 14 ประเภทไป-กลบั ทีม่ คี วามพร้อมและผา่ นเกณฑ์การประเมิน 3. ขอ้ มูลดา้ นการประเมนิ ความพร้อมสูก่ ารปฏิบตั ิ 17 - ขอ้ มูลของโรงเรยี นทผ่ี ่านการประเมินความพร้อมผา่ น TSC+ และรายงานการติดตามการ 17 ประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID - ขอ้ มลู ของสถานท่ีแยกกักตวั ในโรงเรียน (School Isolation) สาหรับการรองรบั การดูแล 22 เบ้อื งต้นกรณี นกั เรยี น ครู หรือ บคุ ลากรในสถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด-19 หรือผล ATK เป็นบวก - รปู แบบการเรียนการสอนและมาตรการของโรงเรยี น 22 - มาตรการการควบคุมดูแลการเดินทางระหว่างบ้านกบั โรงเรียนอยา่ งเข็มข้น โดยหลีกเลีย่ ง 24 การเขา้ ไป สมั ผัสทีต่ ่างๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง - แบบบนั ทกึ การคดั กรอง ควบคมุ ดแู ลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน (Seal Route) กรณีรบั - 25 สง่ นักเรียน รถส่วนบุคคลและพาหนะโดยสารสาธารณะ (สาหรับโรงเรียนไปกลบั ) - ข้อมูลแสดงพื้นทจี่ ุดคัดกรอง (Screening Zone) 26 - ขอ้ มลู แสดงจุดรบั สง่ สงิ่ ของ/รับส่งอาหาร 26 - ขอ้ มลู แสดงจุดเสยี่ งทีจ่ าแนกนักเรยี น ครู บคุ ลากร ผูป้ กครอง และผู้มาตดิ ต่อที่เข้ามาใน 27 โรงเรยี น - ระบบและแผนการรบั ติดตามประเมินความพร้อมโดยทมี ตรวจราชการบูรณาการร่วมกนั ระหวา่ ง 27 กระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ ทั้งช่วงก่อนและระหว่างดาเนินการ เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอ่าง(สวัสดริ าษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School ค หนา้ - ข้อมูลแสดงจานวนครูผ้สู อน/บคุ ลากร/พนกั งาน จาแนกตามการไดร้ ับวัคซีนเข็ม 1-2-3 28 อยา่ งน้อย ร้อยละ 85-100 (พ้ืนท่คี วบคุมและเข้มงวดสงู สดุ ) - ข้อมลู แสดงจานวนนักเรยี นจาแนกตามการไดร้ บั วัคซนี 28 - แบบการตรวจคัดกรอง ATK ของนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ทุกคน ในวันเปดิ 29 เรยี นวนั แรกของโรงเรยี น และมีการตรวจทุก 2 สปั ดาห์ (14 วัน) สาหรับนกั เรียน ครู และ บคุ ลากรในสถานศึกษา ทุกคน จานวน 8 คร้ัง (พ้ืนทค่ี วบคุมและเข้มงวดสงู สุด) - ข้อมลู การทากจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble ในแต่ละชัน้ รวมถึงรายชอ่ื ครผู ูส้ อนที่ 30 อยใู่ น Small Bubbleในแต่ละช้ัน - การบรหิ ารจัดการดา้ นตา่ งๆ ภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือ้ ไวรัสโคโรนา 38 2019 4. ข้อมูลดา้ นการดาเนนิ การของโรงเรียน ระหวา่ ง พฤศจิกายน 2564 – เมษายน 2565 47 - ขอ้ มลู แสดงโรงเรียนทีจ่ ัดการเรยี นการสอน ได้ทั้งรปู แบบ Onsite และ/หรือ Online หรือ 47 ผสมผสาน (Hybrid) - ข้อมลู แสดงข้อมูลนักเรยี น ครู และบคุ ลากร ที่อยู่ในพ้นื ที่ Safety Zone ต้องประเมิน Thai 48 save Thai (TST) ทุกวันตามเกณฑ์พื้นท่ีควบคุมและเข้มงวดสูงสดุ - แผนเผชิญเหตุ รองรบั สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 48 - การกากับตดิ ตามและประเมนิ ผล การป้องกนั การแพรร่ ะบาดของโรคโควิด-19 ในสถานศึกษา 50 - แนวทางการปฏิบตั ติ ามมาตรการ “Sandbox Safety Zone In School” สาหรับโรงเรียน 55 ไป-กลบั - มาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น 6 มาตรการหลกั 57 - มาตรการสุขอนามัยส่วนบคุ คลอยา่ งเข้มข้น 6 มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) 63 - แบบบนั ทึกการเดินทางของนักเรียน (Timeline) ชว่ งเปดิ ภาคเรียน ปีการศึกษา 2564 65 - ข้อมลู สถานศกึ ษาปฏิบตั ิตาม 7 มาตรการเข้ม 66 - จดั ให้มี School Isolation แผนเผชิญเหตุโรงเรียนวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถมั ภ์) 68 และมีการซักซ้อมอยา่ งเครง่ ครัด แผนเผชิญเหตุ - จัดให้มกี ารควบคุมดแู ลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน (Seal Route) กรณีรถรับ-ส่งนักเรียน 70 รถสว่ นบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ สาหรบั โรงเรยี นไป-กลับ - จดั ให้มี School Pass สาหรับนกั เรียน ครู ละบุคลากรในสถานศกึ ษา 71 เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวสั ดิราษฎรอ์ ุปถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 1 คารับรองการเตรียมความพร้อมการเปดิ เรียนของโรงเรยี นในจงั หวัดจันทบรุ ี ตามหลกั เกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรือสถาบนั การศกึ ษา ตามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา 9 แหง่ พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉกุ เฉนิ พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 32) โรงเรียนวดั บ้านอ่าง(สวสั ดริ าษฎร์อปุ ถมั ภ์) อาเภอมะขาม จังหวดั จันทบุรี โดยคณะกรรมการป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จากหนว่ ยงานภายนอก  อนญุ าตให้สง่ เอกสารเพอื่ ขออนมุ ตั ิการเปดิ เรยี น ต่อ สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบรุ ี เขต 2 และคณะกรรมการควบคมุ โรคตดิ ต่อจังหวัดจนั ทบุรี  อนญุ าตใหส้ ง่ เอกสารเพ่ือขออนมุ ัติการเปิดเรียน ตอ่ สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาจนั ทบุรี เขต 2 และคณะกรรมการควบคุมโรคตดิ ตอ่ จังหวัดจนั ทบุรี แต่ต้องแกไ้ ขในประเดน็ ต่อไปน้ี ........................................................................................................................... ......................................................... ............................................................................................................................. ....................................................... ............................................................................................................................................. ....................................... ลงชอ่ื ประธานกรรมการ ลงชื่อ กรรมการ (นายวีระ พวงภ)ู่ (นางอาไพพรรณ บุญรอด) นายอาเภอมะขาม ผู้อานวยการโรงเรยี นบา้ นมะขาม รกั ษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง ลงชื่อ กรรมการ ลงชื่อ กรรมการ (นายประเสรฐิ ผลมาก) (นายจรรยา กงทพิ ย์) นายกเทศมนตรีตาบลอ่างครี ี ผู้อานวยการโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบลอา่ งครี ี ผูแ้ ทนฝา่ ยปกครอง ผแู้ ทนฝา่ ยสาธารณสขุ ลงชื่อ กรรมการ ลงชอ่ื กรรมการ (นายบรรจบ แต้มทอง) (นายนริ นั ดร์ รัตตะ) ผู้แทนผู้ปกครอง ผ้แู ทนฝา่ ยกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ลงชอ่ื กรรมการ ลงชอ่ื กรรมการ (นายบญุ ลอ้ ม เกียรตปิ ระวัติงาม) (นางภาวณิ ี วิสทุ ธริ ัตน์) ผแู้ ทนองค์กรชมุ ชน ผ้แู ทนองค์องค์กรปกครองส่วนทอ้ งถิ่น ลงชอ่ื กรรมการ (นายสมเจตน์ บญุ จันทร์) ลงช่อื กรรมการ ผูแ้ ทนศษิ ยเ์ กา่ (พระครูสจุ ิตกติ ตวิ ัฒน)์ ลงชื่อ กรรมการ ผู้แทนพระภิกษสุ งฆ์ (นายธนัชพนั ธ์ วสิ ุทธิรัตน)์ ผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ ลงชื่อ กรรมการและเลขานกุ าร (นางสาววนั เพญ็ จันทมิตร) ผแู้ ทนครู เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บ้านอ่าง(สวัสดิราษฎร์อปุ ถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 2 เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบา้ นอ่าง ตามหลกั เกณฑ์การเปิดโรงเรียนหรอื สถาบันการศกึ ษา ตามข้อกาหนดออกตามความในมาตรา 9 แห่งพระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉนิ พ.ศ. 2548 (ฉบับที่ 32) โรงเรียนบ้านวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถัมภ์) อาเภอมะขาม จังหวดั จนั ทบรุ ี สงั กดั สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาจันทบรุ ี เขต 2 สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ……………………………………………….. 1. ขอ้ มลู ทว่ั ไปของโรงเรยี น ตารางท่ี 1.1 แสดงรายชอื่ ข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ปีการศึกษา 2564 ที่ ช่ือ-นามสกุล ตาแหนง่ วุฒิสูงสุด วิชาเอก 1 นางอาไพพรรณ บญุ รอด ผ้อู านวยการโรงเรยี น ป.โท บริหารการศึกษา 2 นางวันเพ็ญ จันทมิตร ครชู านาญการพเิ ศษ ป.ตรี การประถมศึกษา 3 นางสาวแกน่ เพชร กองเกดิ ครชู านาญการ ป.โท บรหิ ารการศึกษา 4 นางสาวโกญจา นิสสยั ครูชานาญการ ป.โท ศิลปกรรม (มานุษยดรุ ยิ างควทิ ยา) 5 นางสาวกรรณาภรณ์ พฒุ ชงค์ ครชู านาญการ ป.โท บริหารการศึกษา 6 นางสาวภัทราพร บญุ เหลอื พนักงานราชการ ป.ตรี เทคโนโลยสี ารสนเทศ 7 นางสาวสุภาพร ขนุ จนั ทร์ ครพู เ่ี ล้ียงเด็กพิการ ป.ตรี การศึกษาปฐมวัย 8 นายวิศาล ทองนา้ เงนิ เจ้าหน้าที่ธรุ การ ป.ตรี รฐั ประศาสนศาสตร์ ตารางที่ 1.2 แสดงจานวนนักเรียนและห้องเรียนจาแนกรายชน้ั และเพศ ปีการศึกษา 2564 (ข้อมลู 1 พฤศจิกายน 2564) ชนั้ เรียน จานวน จานวนนักเรียน หมายเหตุ หอ้ งเรียน ชาย หญิง รวม อนบุ าล 2 6 5 11 อนบุ าล 3 1 5 5 10 รวมก่อนประถมศึกษา 1 11 10 21 ประถมศกึ ษาปีที่ 1 2 538 ประถมศกึ ษาปีที่ 2 1 12 6 18 ประถมศกึ ษาปที ่ี 3 1 549 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 1 8 7 15 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 1 4 8 12 ประถมศึกษาปีที่ 6 1 12 3 15 รวมประถมศกึ ษา 1 46 31 79 6 57 41 98 รวมท้ังหมด 8 เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวัดบ้านอ่าง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 3 แผนภาพท่ี 1 แสดงอาคารสถานที่และพ้นื ท่โี ดยรอบโรงเรียน (ผังรวมและชุมชน) แผนภาพท่ี 2 แสดงพน้ื ที่/อาคารสนบั สนุนการบริการ/อาคารเพือ่ จัดการเรียนการสอน เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 4 แผนภาพท่ี 3 แสดงพนื้ ที่ทีเ่ ป็น COVID FREE ZONE/พื้นท่ีปลอดภัย 2. ข้อมูลด้านการมสี ่วนร่วม ตารางที่ 2 แสดงการสรปุ แบบสอบถามความต้องการสมคั รใจมาเรยี นแบบตา่ งๆ ON SITE ก่คี น คิดเปน็ รอ้ ยละ จาแนกเป็นชนั้ และ ON DEMAND/ONHAND กี่คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ จาแนกเป็นช้ัน ที่ ช้นั เตม็ ON SITE ON DEMAND /ONHAND 1 อนุบาลปที ่ี 2 2 อนบุ าลปีที่ 3 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ 3 ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 4 ประถมศึกษาปีที่ 2 11 10 90.91 1 9.09 5 ประถมศกึ ษาปีที่ 3 6 ประถมศึกษาปที ี่ 4 10 8 80.00 2 20.00 7 ประถมศกึ ษาปีท่ี 5 8 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 8 5 55.56 3 44.44 รวมทั้งส้นิ 18 10 55.56 8 44.44 9 7 77.78 2 22.22 15 14 93.33 1 6.67 12 11 91.67 1 8.33 15 12 80.00 3 20.00 98 77 77.78 21 22.22 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 5 รายงานการประชุมคณะกรรมการบรหิ ารโรงเรยี น ที่เพ่ิมเติมคอื ผู้แทนฝา่ ยปกครอง/ชุมชน/สาธารณสขุ / อนามัย/และมมี ติให้ความเห็นชอบรว่ มกนั ในการจัดพ้ืนท่กี ารเรียนการสอนในรปู แบบ Sandbox Safety Zone in School ตลอดภาคเรียนท่ี 2/2564 (พฤศจกิ ายน 2564 – เมษายน 2565) เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง(สวสั ดิราษฎรอ์ ุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 6 รายงานการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน เตรียมความพรอ้ มกอ่ นเปดิ เรียน ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพร่ระบาดของโรคโควดิ -19 คร้ังที่ 3 /2564 วนั พฤหสั บดี ที่ 9 ธันวาคม 2564 ณ หอ้ งประชุมโรงเรียนวดั บ้านอ่าง (สวัสดริ าษฎรอ์ ุปถัมภ)์ เริม่ ประชุมเวลา 16.00 น. ระเบยี บวาระท่ี ๑ เรอ่ื งทป่ี ระธานแจ้งให้ท่ีประชุมทราบ ท่านบรรจบ แต้มทอง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานโรงเรียนวัดบ้านอ่าง ได้กล่าวถึง นโยบายการเปิดประเทศของนายกรัฐมนตรี ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 น้ัน ท่านได้ให้แนวทางว่าโรงเรียนจะ สามารถเปิดเรียนแบบ on-site ได้จะต้องผ่านการประเมิน Thai Stop Covid Plus สาหรับสถานศึกษาในการ เตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียน เพ่ือเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2564 จานวน 44 ข้อ และต้องนาผลการประเมินนาเสนอต่อ สบค.จงั หวดั จันทบรุ ี และอกี ปัจจัยหนึ่ง คือการฉดี วคั ซนี ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา นกั เรยี นและผปู้ กครอง และปฏิบัติตามมาตรการของ กระทรวงสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด หากโรงเรียนได้เปิดแบบ on-site ทุกคนจะต้องสวมหน้ากากอนามัยให้เป็น เรื่องปกติในการอยู่ร่วมกัน มีการล้างมือ เว้นระยะห่าง ก็จะทาให้โรงเรียนมีความปลอดภยั ส่วนตัวนายอาเภอเหน็ ด้วยกับการเปิดเรียนแบบมีเงื่อนไข และเช่ือว่าโรงเรยี นจะดาเนินไปได้อย่างปกติ หากทุกคนระมัดระวัง และมีการ ปอ้ งกนั ตนเอง ระเบียบวาระท่ี ๒ เร่ืองรับรองรายงานการประชุมคร้ังที่แลว้ ท่ีประชมุ มีมตริ ับรองรายงานการประชุมครั้งทแี่ ลว้ ระเบียบวาระที่ ๓ เรอื่ งสืบเนื่องจากการประชุมครง้ั แล้ว ไมม่ ี ระเบียบวาระที่ ๔ เรือ่ งเสนอเพ่ือทราบ 4.1 นางอาไพพรรณ บุญรอด ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านมะขาม รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการ โรงเรยี นวัดบา้ นอ่าง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถมั ภ์) ไดน้ าเสนอแนวทางเปิดเรียน Onsite ได้ ต้องผา่ น 6 มาตรการหลกั 6 มาตรการเสริม และ 7 มาตรการเขม้ งวดอยา่ งเคร่งครดั เน้นความปลอดภัยเป็นสาคญั สรุปไดด้ ังน้ี 1) ประเมินตนเองในระบบไทยสต็อปโควิดพลัส (TSC PLUS) ผ่านระดับสีเขียวและสามารถยื่น ขออนญุ าตเปิดเรียนแบบ on-site 2) ครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาต้องได้รับการฉีดวัคซีน ร้อยละ 85 3) นักเรียนและผู้ปกครองต้องได้รับการฉดี วคั ซนี ให้ได้มากทีส่ ุด 4) สถานศึกษานาผลการประเมินตนเองเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้ความ เหน็ ชอบและเสนอตอ่ คณะกรรมการโรคตดิ ต่อจังหวดั หรือ สคบ. พจิ ารณาอนุมตั ิให้เปดิ เรยี นได้ เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวัดบา้ นอา่ ง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 7 5) คณะกรรมการโรคติดต่อจังหวดั อนุมตั ิให้เปิดเรียนได้สถานศึกษาต้องปฏบิ ตั ติ าม 6 มาตรการ หลัก 6 มาตรการเสรมิ และ 7 มาตรการเข้มงวดอยา่ งเคร่งครัด 6) สถานศึกษารายงานผลการเตรียมความพร้อมก่อนเปิดภาคเรียนต่อผู้บังคับบัญชาตามลาดับ ชน้ั และกล่าวทงิ้ ท้ายว่า เราไม่สามารถกาจัดโรคโควดิ -19 ให้หมดไปได้ ดังน้ันตอ้ งเรียนรู้และใชช้ วี ิตอยู่รว่ มกับโรค ให้ได้ หากโรงเรยี นไหนพร้อมก่อน มมี าตรการป้องกันที่ดี สามารถเปดิ ทาการเรียนการสอนได้ก่อน แลว้ ค่อยทยอย เปิดตามหลังกันไปเรื่อยๆ หากมีต้นแบบ มีมาตรการท่ีเพียงพอ เราก็สามารถเปิดเรียน Onsite ได้ครบทุกโรงเรียน หากได้รับการร่วมมือกัน โดยจะมีการพิจารณาเป็นพ้ืนที่ระดับตาบลหรืออาเภอ เป็นต้น หากอาเภอใดท่ีไม่มีความ รนุ แรง โรงเรียนกส็ ามารถเปิดทาการสอนได้ เพอ่ื ประโยชน์ทีจ่ ะเกิดข้ึนกับผูเ้ รยี น 4.2 นางสาวบุศรา ภริ มย์ พยาบาลวชิ าชีพ ชานาญการ ได้ใหข้ ้อเสนอแนะเพ่ิมเติมเก่ียวกบั การจัดให้มี สถานท่ีแยกกักตัวในโรงเรียน (School Isolotion ) สาหรับรองรับการดูแลกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรใน สถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด-19 หรือผลตรวจคัดกรองหาเชื้อเป็นบวกแผนเผชิญเหตุและมีความร่วมมือกับ สถานพยาบาลเครือขา่ ยในพ้ืนที่ทด่ี ูแลอยา่ งใกลช้ ดิ คณะกรรมการรับทราบและมอบหมายให้ ครวู นั เพ็ญ จนั ทมิตร เป็นผูร้ บั ผิดชอบดาเนนิ การเพมิ่ เตมิ ในสว่ นทีย่ ังไมส่ มบรู ณ์ มตทิ ป่ี ระชมุ รบั ทราบ ระเบียบวาระที่ ๕ เร่อื งเสนอเพ่อื พจิ ารณา 5.1 คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียนวัดบ้านอ่าง (สวัสดิราษฎร์อุปถัมภ์) คณะเจ้าหน้าที่ จาก รพ.สต. อ่างคีรี ร่วมกันเสนอความเห็นถึงการเตรียมความพร้อมในการเปิดภาคเรียนที่ 2/2564 และ เพิ่มเติมบางรายการ คือ 1) การขอรับการสนับสนุน Antigen test kit หรือ ATK คือชุดตรวจการติดเช้ือโควิด-19 ท่ี สามารถทดสอบได้ในเบื้องต้น เหมาะกับผู้ที่สงสัยหรือไม่แสดงอาการติดเชอ้ื การทดสอบใชเ้ วลาไม่นานรอผลเพียง 15-30 นาที ท่ีประชุมมีมติให้ขอรับงบประมาณจากชมรมศิษย์เก่าโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวัสดิราษฎร์อุปถัมภ์) โดย รองสมเจตน์ บุญจันทร์ ผู้แทนศิษย์เก่า จะเป็นผู้ประสานงานในการจัดซื้อชุดตรวจ ATK จานวน 120 ชุด ในการตรวจวดั และเตรียมความพร้อมก่อนเปดิ เรยี น 2) คณะเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต.อ่างคีรี จะนาทีมงานเพ่ือบริการตรวจให้คณะครูนักเรียนและ บุคลากรในโรงเรยี น 3) การจัดทาแผนผจญเหตุ ของโรงเรียน ให้เพ่ิมเติมช่ือผู้ประสานงานและหมายเลขโทรศัพท์ ตามลาดบั ชัน้ เพ่ือความสะดวกในการดาเนนิ การ 4) นางสาววันเพ็ญ จันทมิตร ตัวแทนครู ได้นาเสนอแผนการจัดการเรียนการสอนของทาง โรงเรียนดังนี้ตามที่ สพฐ. กาหนดรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 5 แนวทาง สรุปมติท่ีประชุม ให้เปิด onsite ในส่วน ของการรบั ประทานอาหารกลางวัน จะใหน้ กั เรยี นรับประทานแบ่งเป็น 2 ชว่ งชน้ั เพอื่ ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการการเว้น ระยะหา่ ง ถา้ นักเรียนคนใดทไ่ี มม่ าเรยี น onsite จะตอ้ งมารบั ใบงาน หรือเรียนรู้ เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 8 มตทิ ีป่ ระชุม เหน็ ชอบในการเปดิ ภาคเรียน 2/2564 วันที่ 4 มกราคม 2565 ใชร้ ูปแบบการเรยี น แบบ Onsite มาเรยี นทโี่ รงเรียนเต็มรปู แบบ และนักเรยี นที่ไม่ได้มาเรยี นจะไดเ้ รยี นในรูปแบบ On-hand และ On- demand ระเบียบวาระที่ ๖ เร่ืองอ่นื ๆ - เลกิ ประชุมเวลา 18.00 น. ผู้ตรวจบันทกึ การประชมุ ผ้จู ดบนั ทกึ การประชมุ อาไพพรรณ บุญรอด วันเพญ็ จนั ทมิตร (นางสาวอาไพพรรณ บุญรอด) (นางสาววนั เพ็ญ จันทมิตร) เลขานุการ ผชู้ ่วยเลขานุการ ภาพการประชมุ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพนื้ ฐานและคณะครู เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 9 รายงานการประชุมผู้ปกครองนักเรียน มีมติให้ความเห็นชอบร่วมกันในการจัดพื้นท่ีการเรียนการสอนใน รูปแบบ Sandbox Safety Zone in School ตลอดภาคเรียนที่ 2/2564 (พฤศจิกายน 2564 – เมษายน 2565) เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 10 รายงานการประชมุ ผูป้ กครองนักเรียนโรงเรยี นวัดบา้ นอ่าง (สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถัมภ์) เพือ่ เตรียมความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี น ภายใตส้ ถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคโควดิ -๑๙ ครัง้ ท่ี ๑/๒๕๖๔ วันที่ ๙ เดอื น ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เวลา 13.๐๐ น. ณ โรงอาหารโรงเรียนวดั บา้ นอ่าง เริม่ ประชุมเวลา 13.00 น. ระเบียบวาระที่ 1 ประธานแจง้ ในทปี่ ระชุมทราบ นางอาไพพรรณ บุญรอด ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านมะขาม รักษาการผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านอ่าง (สวัสดิรราษฎร์อุปถัมภ์) กล่าวทักทายผู้เข้าร่วมประชุม และกล่าวถึงวัตถุประสงค์ในการจัดประชุมผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อชี้แจงการบริหารสถานการณ์ในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 และการเตรยี มความพร้อมก่อนเปดิ ภาคเรยี นที่ 2/2564 แบบ on-site (เรียนทโี่ รงเรยี น) ระเบียบวาระท่ี 2 รบั รองรายงานการประชุม รบั รอง ระเบยี บวาระที่ 3 เรือ่ งสืบเน่ือง - ระเบียบวาระที่ 4 เรอ่ื งเสนอเพอ่ื ทราบ - ระเบียบวาระที่ 5 เรอ่ื งเสนอเพ่อื พจิ ารณา 5.1 การพิจารณาให้ความเห็นชอบ ผลประเมินตนเองของสถานศึกษาในการเตรียมความพร้อมก่อน เปิด ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศึกษา 2564 เพ่อื เฝา้ ระวงั และป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 นางอาไพพรรณ บุญ รอด ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านมะขาม รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านอ่าง เลขานุการ คณะกรรมการสถานศึกษา ได้นาเสนอต่อท่ีประชุมเกี่ยวกับผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาในการเตรียม ความพร้อมก่อนเปิดภาคเรยี น เพอ่ื เฝา้ ระวงั และปอ้ งกันการแพรร่ ะบาดของโรคโควิด 19 ซึง่ ทางโรงเรยี นได้แต่งตั้ง คณะกรรมการรับผิดชอบ ดาเนนิ งานเตรยี มความพร้อมตามนโยบายและแนวปฏิบตั ิอย่างเข้มข้น พร้อมกับแจ้งต่อ ผู้ปกครอง ดังนี้ 1) กาหนดการเปิด-ปิดภาคเรียนปีการศึกษา 2564 ใช้ปฏิทินตามโรงเรียนสังกัดสานักงาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ดังน้ี ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2564 เปิดเรียนวันที่ 1๗ พฤษภาคม- 10 ตุลาคม (ปิดภาคเรียน 11-31 96]k8, 2564 ) และภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เปิดเรียนวันท่ี 1 พฤศจิกายน ๒๔๖๔ – ๓๑ มีนาคม 2565 ทางโรงเรียนใช้ระบบ on hand และ on Demand สาหรับทุก ระดับชั้น และได้เตรียมความพร้อมโดยกาหนดบทบาทหน้าที่ของฝ่ายงานต่าง ๆ ในโรงเรียนตามรายการประเมิน 6 มิติ 44 ขอ้ เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวสั ดิราษฎรอ์ ุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 11 ๕.๒ การทาแบบสอบถามความคิดเห็นผู้ปกครอง การเปิดเรียนแบบมาเรียนที่โรงเรียน โดยได้ผลการทา แบบทดสอบดังน้ี ผู้ปกครองรอ้ ยละ 77.00 เห็นด้วยกับการเปดิ เรยี น และผูป้ กครองร้อยละ ๒๓.00 ไมเ่ ห็นด้วย กบั การเปิดเรียน ๕.๓ การสารวจขอ้ มลู การฉีดวคั ซนี ของโรงเรยี นวัดบา้ นอา่ ง ดังนี้ - มคี รแู ละบุคลากรทั้งหมด ๘ คน ฉีดวัคซนี ครบ 2 เข็ม จานวน ๗ คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 87.50 ฉดี แลว้ 1 เขม็ จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 ยงั ไมฉ่ ีด จานวน 0 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.00 - นักเรยี นท่ีมีอายุ 12 ปี ข้ึนไป จานวน 12 คน ฉีดวคั ซนี ครบ 2 เขม็ จานวน 0 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.00 ฉดี แล้ว 1 เข็ม จานวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 83.33 ยังไมฉ่ ดี จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 16.67 - ผปู้ กครองและสมาชิกในครอบครวั ของนักเรยี นรวมทัง้ โรงเรยี นจานวน 387 คน กลุม่ ปกติ (อายุ 12 – 59 ปี ไมต่ ้องนับนักเรียน) มจี านวน 366 คน ฉดี วัคซีนครบ 2 เข็ม จานวน 193 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 52.73 ฉดี แลว้ 1 เข็ม จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 12.02 ยงั ไม่ฉีด จานวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 35.25 - กลมุ่ เปราะบาง (อายุ 60 ปีข้ึนไป + ผปู้ ว่ ยโรคเร้ือรงั 7 กล่มุ โรคและหญิงตั้งครรภ์เกิน 12 สปั ดาห)์ มีจานวน 21 คน ฉดี วคั ซีนครบ 2 เข็ม จานวน 16 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 76.19 ฉดี แล้ว 1 เขม็ จานวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 9.52 ยังไม่ฉดี จานวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.29 ๕.๔ ด้านการประเมินความพร้อมดา้ นโรงเรยี นและสถานศึกษา ๕.๔.๑ สถานศึกษาผา่ นการประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus และ รายงานการติดตามการประเมินผลผ่าน MOECOVID ๕.๔.๒ มีการจัดสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School lsolation) สาหรับรองรับการดูแลรักษา เบ้อื งต้นกรณนี ักเรียน ครู หรือบคุ ลากรในสถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด-๑๙ หรอื ผลตรวจ ATK เปน็ บวก รวมถึงมี แผนเผชิญเหตุและมคี วามรว่ มมือกบั สถานพยาบาลเครอื ข่ายในพืน้ ท่ีทดี่ แู ลอยา่ งใกลช้ ดิ ๕.๔.๓ จัดอาคารและพืน้ ทโ่ี ดยรอบให้เป็นอาณาเขตบรเิ วณในรปู แบบ Sandbox ในโรงเรียน ดังนี้ ๑) Screening Zone) ทีเ่ หมาะสม จดั พ้นื ท่หี รอื บรเิ วณให้เปน็ จดุ คัดกรอง ทีเ่ หมาะสม จดั จุด รบั ส่งส่ิงของ จุดรบั ส่งอาหารหรอื จุดเส่ยี งอื่น เปน็ การจาแนกนักเรียน ครู บุคลากร ผู้ปกครองและผมู้ าติดต่อท่ีเข้า มาในโรงเรยี น ไมใ่ ห้ใกลช้ ดิ กับบคุ คลในโซนอ่นื รวมถงึ จดั ให้มพี ืน้ ท่ีปฏบิ ัติงานเฉพาะบุคลากรที่ไม่สามารถ เข้ามา ปฏิบัตงิ านโซนอ่ืนได้ ๒) Quarantine Zone - จัดพนื้ ท่ีหรือบริเวณให้เป็นจุดกกั กนั และสงั เกตอาการ สาหรบั นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรทีย่ งั ต้องสงั เกตอาการ เน้นการจดั กจิ กรรมแบบ Small bubble ๓) Safety Zone เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวัดบ้านอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 12 - จดั เปน็ พื้นทีป่ ลอดเช้อื ปลอดภัย สาหรับนกั เรยี น ครู และบุคลากรทปี่ ฏบิ ัติ ภารกิจ กิจกรรม แบบปลอดภัย ๕.๔.๔ ต้องมรี ะบบและแผนการรบั การตดิ ตามประเมนิ ความพร้อม โดยทมี ตรวจราชการ บูรณา การรว่ มกนั ระหวา่ งกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสขุ ท้งั ช่วงก่อนและระหว่างการดาเนินการ ๕.๕ ด้านนกั เรยี น ครู และบคุ ลากร ๕.๕.๑ ครแู ละบุคลากร ต้องได้รบั การฉีกวัคซนี ครบโดส ตงั้ แต่รอ้ ยละ ๘๕ ข้นึ ไปส่วนนกั เรยี นและ ผ้ปู กครองควรไดร้ ับวัคซนี ตามมาตรการของกระทรวงศกึ ษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ สถานศกึ ษา ท่ีอยูใ่ นพ้ืนที่ควบคมุ สงู สดุ (พนื้ ท่ีสแี ดง) และพ้นื ท่ีความคุมสูงสุดและเขม้ งวด (พนื้ ท่สี แี ดงเข้ม) ๕.๕.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาทุกคนต้องตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) กอ่ นเขา้ Quarantine Zone ๕.๕.๓ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา มีการแยกกักตัว สังเกตอาการให้ครบกาหนด ๑๔ วัน ก่อนเข้าสู่ Safety Zone (กรณีย้ายมาจาก State Quarantine ให้พิจารณาลดจานวนวันกัดตัวลงมา ตามความเหมาะสม (๗-๑๐ วัน) รวมถึงการทากิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลีกเล่ียงการทากิจกรรม ข้ามกลุ่มกนั ๕.๕.๔ ถา้ นกั เรยี น ครู และบคุ ลากรมีอาการเข้าได้ (Inclusion Criteria) กับการ ติดเช้ือโควิด หรือสัมผัสกลุ่มเสี่ยงสูงให้ดาเนินการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวิธที ่ีเหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มท่ีไม่ได้ รับวัคซีนตามเกณฑ์ พร้อมทั้งรายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสขุ ในพ้ืนที่ทันทีและปฏิบัติตามแผนเผชิญ เหตกุ รณมี ผี ลตรวจเป็นบวก ดา้ นการดาเนนิ การของโรงเรยี นหรอื สถานศึกษา : ระหว่างภาคเรยี นการศกึ ษาต้องดาเนนิ การดงั นี้ (๑) สามารถจัดการเรียนการสอน ได้ทั้งรูปแบบ on-site หรือ on hand หรือแบบผสมผสาน on Demand (๒) นักเรียน ครู และบุคลากรทุกคนต้องประเมิน Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑ์จาแนกตามเขต พน้ื ทก่ี ารแพรร่ ะบาด (๓) ให้มีการสุ่มตรวจ ATK นักเรียน ครู บุคลากรท่ีเกี่ยวข้องกับสถานศึกษา เพื่อเฝ้าระวังตามเกณฑ์ จาแนกตามเขตพน้ื ทกี่ ารแพรร่ ะบาด (๔) ปฏิบัติตามมาตรการสุขอนามัยส่วนบุคคลอย่างเข้มข้น ได้แก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสริม (SSET-CQ) (๕) ปฏิบตั ติ ามแนวทางมาตรการเข้มสาหรบั สถานศึกษาอย่างเคร่งครัด (๕.๑) สถานศึกษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการ ประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID โดยถือปฏบิ ัตอิ ยา่ งเข้มข้น ต่อเนื่อง (๕.๒) ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทากิจกรรมข้ามกลุ่มกัน และ นักเรียนในห้องเรียนขนานปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนใน ห้องเรยี นไม่นอ้ ยกวา่ ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 13 (๕.๓) จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลัก มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุง ประกอบ อาหาร หรือการส่ังซ้ืออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ที่สุขลักษณะและต้องมีระบบ ตรวจสอบทางโภชนาการก่อนนามาบริโภค (๕.๔) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมในการป้องกัน โรคโควิด-๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คุณภาพน้าอุปโภค บรโิ ภค และการจดั การขยะ (๕.๕) จัดให้มสี ถานทแ่ี ยกกกั ตัวในโรงเรยี น (School lsolation) และแผนเผชญิ เหตสุ าหรับรองรับ การดูแลรักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด-๑๙ หรือ ผลตรวจ ATK เป็นบวกโดยมีการซักซอ้ มอยา่ งเคร่งครดั (๕.๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่าง เขม้ ขน้ โดยหลีกเลย่ี งการเขา้ ไปสมั ผสั ในพ้นื ทตี่ ่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดนิ ทาง ท้ังนี้โรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษาที่ประสงค์จะขอเปิดการเรียนการสอนโดยดาเนินการตามรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ต้องจัดทาเอกสารขอเสนอโครงการเสนอต่อผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสขุ ในพ้ืนที่ (ศกึ ษาธิการจังหวดั และสาธารณสุขจังหวดั ) พจิ ารณาและเสนอตอ่ คณะกรรมการ โรคติดต่อกรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้องจัดทาแผนงานและแสดงความพร้อมการ ดาเนนิ การตามขอ้ ๒.๑-๒.๔ ใหค้ รบถ้วน ภาพการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานและคณะครู เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บ้านอ่าง(สวสั ดิราษฎรอ์ ปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 14 มาตรการ Sandbox : Safety Zone in School สาหรับโรงเรยี นหรือสถาบนั การศึกษา ประเภทไป-กลบั ท่ีมคี วามพร้อมและผ่านเกณฑ์การประเมิน (๑) ดา้ นกายภาพ : ลกั ษณะอาคารและพื้นทีโ่ ดยรอบอาคารของโรงเรียนหรอื สถาบันศึกษาประกอบดว้ ย (๑.๑) พ้ืนท่/ี อาคารสนับสนุนการบรกิ าร (๑.๒) พน้ื ที/่ อาคารเพอื่ จดั การเรยี นการสอน โดยจดั อาคารและพืน้ ท่โี ดยรอบใหเ้ ปน็ พื้นท่ี ปฏบิ ตั ิงานที่ปลอดภัย และมีพน้ื ที่ท่ีเป็น COVID free zone (๒) ดา้ นการมสี ว่ นรว่ ม : ต้องเป็นไปตามความสมัครใจของทุกฝ่าย โดยโรงเรียนท่ปี ระสงค์จะดาเนินการใน รูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ต้องจัดมีการประชุมหารือร่วมกันของคณะกรรมการสถานศึกษา ขน้ั พ้นื ฐาน ครู ผู้ปกครอง ผู้นาชุมชน และมีมตใิ ห้ความเห็นชอบร่วมกนั ในการจดั พนื้ ท่ีการเรยี นการสอนในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคการศึกษา ก่อนนาเสนอโครงการผ่านต้นสังกัดในพ้ืนที่ แล้วขอ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการโรคตดิ ต่อกรงุ เทพมหานครหรือคณะกรรมการโรคติดตอ่ จังหวัด (๓) ด้านการประเมินความพร้อมสู่การปฏิบัติ : โรงเรียนหรือสถานศึกษาต้องเตรียมการประเมินความ พรอ้ มดงั นี้ (๓.๑) โรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา ๑ สถานศึกษาผ่านการประเมินความพร้อมผ่าน Thai Stop Covid Plus และรายงาน การติดตามการประเมนิ ผลผ่าน MOECOVID ๒ มีการจัดสถานที่แยกกักตัวในโรงเรียน (School lsolation) สาหรับรองรับการดูแล รักษาเบื้องต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเช้ือโควิด-๑๙ หรือผลตรวจ ATK เป็นบวก รวมถงึ มีแผนเผชิญเหตุและมีความรว่ มมอื กบั สถานพยาบาลเครือข่ายในพนื้ ที่ทีด่ ูแลอยา่ งใกลช้ ดิ ๓ จดั อาคารและพื้นทีโ่ ดยรอบใหเ้ ปน็ อาณาเขตบริเวณในรูปแบบ Sandbox ใน โรงเรียน ดงั น้ี ๓.๑ Screening Zone ท่ีเหมาะสม จัดพื้นที่หรือบริเวณให้เป็นจุดคัดกรองท่ี เหมาะสม จดั จดุ รับสง่ ส่ิงของ จดุ รบั ส่งอาหารหรอื จุดเสี่ยงอนื่ เปน็ การจาแนกนักเรียน ครู บคุ ลากร ผูป้ กครองและ ผู้มาติดต่อท่ีเข้ามาในโรงเรียน ไม่ให้ใกล้ชิดกับบุคคลในโซนอ่ืน รวมถึงจัดให้มีพื้นท่ีปฏิบัติงานเฉพาะบุคลากรที่ไม่ สามารถ เขา้ มาปฏบิ ัติงานโซนอ่นื ได้ ๓.๒ Quarantine Zone จัดพ้ืนท่ีหรือบริเวณให้เป็นจุดกักกันและสังเกต อาการ สาหรับนักเรียน ครู และบคุ ลากรทย่ี งั ตอ้ งสังเกตอาการ เนน้ การจัดกิจกรรมแบบ Small bubble ๓.๓ Safety Zone จดั เป็นพืน้ ที่ปลอดเช้ือ ปลอดภยั สาหรับนกั เรียน ครู และบคุ ลากรทป่ี ฏบิ ตั ิ ภารกจิ กิจกรรมแบบปลอดภยั ๓.๔ ต้องมีระบบและแผนการรับการติดตามประเมินความพร้อม โดยทีมตรวจ ราชการ บูรณาการร่วมกันระหว่างกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ทั้งช่วงก่อนและระหว่างการ ดาเนนิ การ ๔. ดา้ นนกั เรยี น ครู และบุคลากร ๔.๑ ครแู ละบคุ ลากร ตอ้ งไดร้ ับการฉกี วัคซีนครบโดส ตง้ั แต่ร้อยละ ๘๕ เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบา้ นอา่ ง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 15 ขึ้นไปส่วนนักเรียนและผู้ปกครองควรได้รับวัคซนี ตามมาตรการของกระทรวงศึกษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข โดยเฉพาะ สถานศึกษาท่ีอยู่ในพ้ืนท่ีควบคุมสูงสุด (พ้ืนท่ีสีแดง) และพ้ืนท่ีความคุมสูงสุดและเข้มงวด (พื้นท่ีสีแดง เข้ม) ๔.๒ นักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษาทุกคนต้องตรวจคัดกรอง Antigen Test Kit (ATK) ก่อนเขา้ Quarantine Zone ๔.๓ นักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศึกษา มีการแยกกักตวั สังเกตอาการให้ ครบกาหนด ๑๔ วัน กอ่ นเข้าสู่ Safety Zone (กรณีย้ายมาจาก State Quarantine ให้พจิ ารณาลดจานวนวัน กดั ตัวลงมาตามความเหมาะสม (๗-๑๐ วนั ) รวมถึงการทากิจกรรมในแบบ Small Bubble และหลีกเลย่ี งการทา กิจกรรมข้ามกลุ่มกัน ๔.๔ ถ้านกั เรียน ครู และบคุ ลากรมีอาการเข้าได้ (Inclusion Criteria) กบั การตดิ เชื้อโควดิ หรอื สมั ผัสกลุ่มเส่ียงสูงใหด้ าเนินการตรวจคัดกรองหาเชื้อด้วยวธิ ีทเ่ี หมาะสม โดยเฉพาะกลุม่ ที่ไม่ได้รับวคั ซีนตามเกณฑ์ พรอ้ มทงั้ รายงานผลการตรวจกับหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่ทนั ทีและปฏบิ ัตติ ามแผน เผชญิ เหตกุ รณีมีผลตรวจเป็นบวก ดา้ นการดาเนนิ การของโรงเรยี นหรอื สถานศกึ ษา : ระหว่างภาคเรยี นการศกึ ษาต้องดาเนินการดงั น้ี (๑) สามารถจดั การเรยี นการสอน ไดท้ ั้งรปู แบบ on-site หรือ on hand หรอื แบบผสมผสาน on Demand (๒) นกั เรียน ครู และบุคลากรทุกคนต้องประเมนิ Thai Save Thai (TST) ตามเกณฑจ์ าแนกตามเขต พืน้ ท่ีการแพรร่ ะบาด (๓) ให้มีการสุ่มตรวจ ATK นกั เรยี น ครู บคุ ลากรท่ีเก่ยี วข้องกับสถานศึกษา เพื่อเฝา้ ระวังตามเกณฑ์ จาแนกตามเขตพื้นท่กี ารแพร่ระบาด (๔) ปฏบิ ัตติ ามมาตรการสุขอนามยั ส่วนบุคคลอย่างเขม้ ข้น ไดแ้ ก่ ๖ มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ ๖ มาตรการเสรมิ (SSET-CQ) (๕) ปฏบิ ตั ิตามแนวทางมาตรการเข้มสาหรบั สถานศึกษาอย่างเครง่ ครดั (๕.๑) สถานศกึ ษาประเมินความพร้อมเปิดเรียนผา่ น TSC+ และรายงานการตดิ ตามการ ประเมินผลผ่าน MOECOVID โดยถือปฏิบัตอิ ย่างเขม้ ข้น ต่อเนอ่ื ง (๕.๒) ทากิจกรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble หลีกเลี่ยงการทากิจกรรมข้ามกลุ่มกัน และ นักเรียนในห้องเรียนขนานปกติ (๖ x ๘ เมตร) ไม่เกิน ๒๕ คน หรือจัดให้เว้นระยะห่างระหว่างนักเรียนใน หอ้ งเรียนไม่น้อยกว่า ๑.๕ เมตร พิจารณาตามความเหมาะสมโดยคณะกรรมการโรคติดต่อ จังหวดั (๕.๓) จัดระบบการให้บริการอาหารสาหรับนักเรียน ครู และบุคลากรในสถานศึกษา ตามหลัก มาตรฐานสุขาภิบาลอาหารและหลักโภชนาการ อาทิเช่น การจัดซื้อจัดหาวัตถุดิบจากแหล่งอาหาร การปรุง ประกอบ อาหาร หรอื การสง่ั ซื้ออาหารตามระบบนาส่งอาหาร (Delivery) ทีส่ ุขลักษณะและต้องมีระบบตรวจสอบ ทางโภชนาการก่อนนามาบรโิ ภค (๕.๔) จัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมให้ได้ตามแนวปฏิบัติด้านอนามัยส่ิงแวดล้อมในการป้องกัน โรคโควิด-๑๙ ในสถานศึกษา ได้แก่ การระบายอากาศภายในอาคาร การทาความสะอาด คุณภาพน้าอุปโภค บริโภค และการจัดการขยะ เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวดั บ้านอ่าง(สวัสดริ าษฎร์อปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 16 (๕.๕) จดั ใหม้ ีสถานทแ่ี ยกกักตัวในโรงเรยี น (School lsolation) และแผนเผชิญเหตสุ าหรับรองรับ การดูแลรักษาเบ้ืองต้นกรณีนักเรียน ครู หรือบุคลากรในสถานศึกษามีการติดเชื้อโควิด-๑๙ หรือ ผลตรวจ ATK เปน็ บวกโดยมกี ารซักซ้อมอยา่ งเครง่ ครดั (๕.๖) ควบคุมดูแลการเดินทางกรณีมีการเข้าและออกจากสถานศึกษา (Seal Route) อย่าง เขม้ ขน้ โดยหลีกเลย่ี งการเขา้ ไปสัมผัสในพน้ื ที่ต่าง ๆ ตลอดเส้นทางการเดินทาง ทั้งนี้โรงเรียน หรือ สถาบันการศึกษาท่ีประสงค์จะขอเปิดการเรียนการสอนโดยดาเนินการตามรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ต้องจัดทาเอกสารขอเสนอโครงการเสนอต่อผู้แทนกระทรวงศึกษาธิการ และกระทรวงสาธารณสขุ ในพื้นที่ (ศึกษาธิการจงั หวดั และสาธารณสุขจงั หวดั ) พิจารณาและเสนอต่อคณะกรรมการ โรคติดต่อกรุงเทพมหานครหรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด โดยต้องจัดทาแผนงานและแสดงความพร้อมการ ดาเนนิ การตามข้อ ๒.๑-๒.๔ ให้ครบถว้ น แนวปฏบิ ัตดิ ้านอนามยั ส่ิงแวดล้อมในการป้องกันโรคโควิด-๑๙ ในสถานศึกษา (๑) การระบายอากาศภายในอาคาร - เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศก่อนและหลังการใช้งาน อย่างน้อย ๑๕ นาที ควรมีหน้าต่าง หรอื ชอ่ งลม อยา่ งน้อย ๒ ดา้ นของหอ้ ง ใช้อากาศภายนอกถ่ายเทเข้าสภู่ ายในอาคาร - กรณใี ชเ้ ครอื่ งปรบั อากาศ ควรระบายอากาศในอาคารก่อนและหลังการใช้งาน อยา่ งน้อย ๒ ชว่ั โมงหรอื เปดิ ประตหู น้าตา่ งระบายอากาศช่วงพกั เทีย่ งหรือช่วงที่ไม่มีการเรยี นการสอน กาหนดเวลา เปดิ -ปิด เครื่องปรับอากาศและทาความสะอาดสม่าเสมอ (๒) การทาความสะอาด -ทาความสะอาดวสั ดุสิ่งของด้วยผงซกั ฟอกหรอื นา้ ยาทาความสะอาด และล้างมอื ดว้ ยสบู่ และนา้ -ทาความสะอาดและฆา่ เช้ือโรคบนพืน้ ผวิ ทวั่ ไป อุปกรณ์สัมผัสร่วม เช่น หอ้ งนา้ หอ้ งสม้ ลกู บิด ประตู รีโมทคอนโทรล ราวบนั ได สวติ ซ์ไฟ ปุ่มกดลิฟท์ จุดนา้ ดมื่ เปน็ ตน้ ดว้ ยแอลกอฮอลล์ ๗๐ % นาน ๑๐ นาที และฆา่ เช้ือโรคบนพนื้ ผิววัสดแุ ข็ง เช่น กระเบ้ือง เซรามกิ สแตนเลส ด้วยน้ายาฟอกขาวหรอื โซเดียมโฮโปคลอไรท์ ๐.๑ % นาน ๕-๑๐ นาที อย่างน้อยวนั ละ ๒ คร้ัง และอาจเพมิ่ ความถีต่ ามความเหมาะสม โดยเฉพาะเวลาทมี่ ี ผู้ใชง้ านจานวนมาก (๓) คุณภาพนา้ อปุ โภคบรโิ ภค - ตรวจดูคุณลกั ษณะทางกายภาพ สี กลิ่น และไม่มสี ง่ิ เจือปน -ดูแลความสะอาดจุดบรกิ ารน้าดม่ื และภาชนะบรรจนุ ้าดื่มทุกวัน (ไมใ่ ชแ้ ก้วน้าดม่ื ร่วมกนั เดด็ ขาด) -ตรวจคุณภาพน้า เพ่ือหาเชื้อแบคทเี รียด้วยชุดตรวจภาคสนาม ทกุ ๖ เดือน (๔) การจดั การขยะ - มถี งั ขยะแบบมีปิด สาหรบั รองรับส่งิ ของท่ีไม่ใชแ้ ล้วประจาหอ้ งเรยี น อาคารเรยี น หรือบรเิ วณ โรงเรียนตามความเหมาะสม และมีการคดั แยก-ลดปรมิ าณขยะ ตามหลัก ๓R (Reduce Reuse Recycle) -กรณขี ยะเกดิ จากผ้สู ัมผัสเสี่ยงสงู /กกั กันตวั หรอื หน้ากากอนามยั ท่ีใช้แลว้ นาใส่ในถุง กอ่ นทง้ิ ให้ ราดด้วยแอลกอฮอล์ ๗๐% หรอื น้ายาฟอกขาว ๒ ฝา ลงในถงุ มัดปากถงุ ให้แน่น ซ้อนด้วยถงุ อีก ๑ ชั้น ปิดปากถุง ใหส้ นทิ และฉดี พ่นบริเวณปากถุงด้วยสารฆ่าเช้ือแล้วท้ิงในขยะท่ัวไป เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง(สวสั ดิราษฎร์อปุ ถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 17 มติทป่ี ระชุม ให้ความเหน็ ชอบร่วมกนั ในการจัดพ้ืนที่การเรียนการสอนในรูปแบบ Sandbox : Safety Zone in School ตลอดภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔ (ธนั วาคม ๒๕๖๔ –เมษายน ๒๕๖๕) ระเบียบวาระท่ี ๖ เรอื่ งอ่ืน ๆ 6.1 เรือ่ งการจัดกจิ กรรมวันเด็ก ประจาปี 2565 - โรงเรียนจัดกิจกรรมวันเด็ก ประจาปี 2565 ในวันศุกร์ที่ 7 มกราคม 2565 เวลา 10.00 น. ณ โรงอาหารโรงเรยี นวัดบา้ นอ่าง มีกิจกรรมคือ การจับสลากแจกของขวัญของรางวลั ใหแ้ ก่นักเรยี นที่ มาร่วมกิจกรรม - ขอรับการสนับสนุนของขวัญ ของรางวัล อาหารและเคร่ืองด่ืม สามารถแจงความประสงค์ได้ ตงั้ แต่บดั น้เี ป็นต้นไป - ขอความรว่ มมือในการบรรจุอาหาร หรอื เคร่ืองด่ืมเป็นชดุ แล้วทางโรงเรยี นจะเปน็ ผดู้ าเนนิ การ แจกเอง (เพื่อให้เปน็ ไปตามมาตรการการป้องกันโรคติดต่อเช้ือไขห้ วัดโคโรนา่ ) เลกิ ประชุมเวลา ๑5.๐๐ น. (นางสาววันเพ็ญ จนั ทมติ ร) (นางอาไพพรรณ บญุ รอด) ครโู รงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง ผู้อานวยการโรงเรียนบา้ นมะขาม ผูจ้ ดบันทึกการประชุม รักษาการในตาแหน่งผู้อานวยการโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง 3. ขอ้ มูลดา้ นการประเมนิ ความพรอ้ มสู่การปฏิบตั ิ ข้อมูลของโรงเรียนท่ผี ่านการประเมนิ ความพร้อมผ่าน TSC+ และรายงานการติดตามการประเมนิ ผลผา่ น MOECOVID เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 18 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดริ าษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 19 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดริ าษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 20 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดริ าษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 21 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดริ าษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 22 ข้อมูลของสถานที่แยกกกั ตวั ในโรงเรียน (School Isolation) สาหรับการรองรับการดูแลเบือ้ งตน้ กรณีนกั เรยี น ครู หรอื บุคลากรในสถานศึกษามกี ารติดเช้อื โควดิ -19 หรือผล ATK เปน็ บวก 1. จัดเตรียมห้องคดั กรองผู้ป่วยกรณีพบนักเรยี น /ครู /บคุ ลากรที่มีอาการน่าสงสัย หรือมคี วามเสย่ี งต่อการติดเชื้อ 2. มเี จ้าหนา้ ที่ของโรงเรยี นอยู่ประจา เพ่ือดแู ลช่วยเหลือในการปฐมพยาบาลเบื้องตน้ และประสานงาน รปู แบบการเรยี นการสอนและมาตรการของโรงเรียน ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 โรงเรียนวดั บ้านอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถัมภ)์ 1. รูปแบบการเรยี นการสอนของโรงเรียน ภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 โรงเรียนได้พิจารณาตามจานวนนักเรียนและบริบทของโรงเรียน โดยเลือกรูปแบบการจัดการเรียนการ สอนแบบผสมผสาน (Blended Learning) ได้แก่ รูปแบบ On Site ผสมผสานกับรูปแบบ On Hand , On Demand และ Online สาหรับนกั เรียนระดับชั้นอนุบาล-ประถมศึกษาปีท่ี 6 ใหเ้ รยี นที่บา้ นในรูปแบบ On Hand , On Demand และ Online ตามทคี่ รปู ระจาช้นั / ประจาวชิ ากาหนด 2. มาตรการและแนวทางการดแู ลดา้ นอนามยั นักเรยี น 1) กาหนดให้นักเรียนเตรยี มหนา้ กากอนามัยสวมมาโรงเรียน และเตรยี มสารองอีก 1 ชิ้น พกมาโรงเรียน เผอ่ื ทาหายระหว่างวนั 2) เมื่อนักเรียนมาถึงโรงเรียนนักเรียนต้องใส่หน้ากากอนามัย เดินเป็นแถวเว้นระยะห่างผ่านประตู โรงเรียนซึ่งมีคุณครูเวรประจาวันดาเนินการตรวจคัดกรองและดูแลการล้างมือด้วยเจลแอลกอฮอล์ ทุกคนก่อนเข้า เรียน ตลอดจนสงั เกตอาการและตรวจการสวมหนา้ กากอนามยั และอ่นื ๆ ใหน้ ักเรยี นกอ่ นเข้าโรงเรียน 3) จัดโต๊ะเก้าอน้ี ักเรยี นเว้นระยะหา่ ง 1 - 2 เมตร ตามมาตรการ ทุกห้องเรียน / ห้องพิเศษในโรงเรยี น เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวัดบา้ นอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 23 4) มีสัญลักษณ์การยืนเว้นระยะห่างในการเข้าแถวส่งงาน ตลอดจนห้องท่ีมีระเบียงน่ังหน้าห้องจะทา สัญลกั ษณ์หา้ มนัง่ หรอื สญั ลักษณ์เวน้ ระยะห่างตลอดแนวท่ีน่ังหน้าระเบยี งห้อง 5) มีเจลล้างมือบริการทุกอาคารเรียน โดยวางไว้หน้าทางข้ึนอาคารเรียน หน้าบันได เป็นต้น อีกทั้งครู ประจาชนั้ มแี อลกอฮอล์ทาความสะอาดในหอ้ งเรียนเปน็ ระยะ 6) จดั นักเรียนเข้าแถวในสนามพน้ื ท่ีกว้างหนา้ เสาธงและบางชน้ั เขา้ แถวหน้าอาคารเรียน โดยเข้าแถวทา กิจกรรมหน้าเสาธงตามปกติ โดยมมี าตรการเว้นระยะการเขา้ แถว 1–2 เมตร 7) คณะครูทาความสะอาดห้องเรียน โต๊ะเรียน และเก้าอี้ รวมถึงสถานที่ตา่ งๆ ในโรงเรียน ก่อนเปิดเรียน ตลอดจนมีการทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอเมื่อเปดิ เรียน 8) สง่ เสริมการใช้อุปกรณก์ ารเรยี นหรอื ของใช้ตา่ งๆ สว่ นตัว งดยืมกนั หรือใช้รว่ มกนั เว้นแต่มีความจาเปน็ โดยมกี ารล้างทาความสะอาดของใช้ตา่ งๆ หลังใชบ้ ่อยๆ 9) เนน้ ให้นักเรยี นลา้ งมือบ่อยๆ ด้วยสบู่เหลว ทง้ั ก่อนและหลังการรับประทานอาหาร หลงั การเข้าหอ้ งน้า และก่อนกลบั บ้านจนติดเป็นนสิ ัย 10) การรับประทานอาหารกลางวัน มีการแบ่งสัดส่วน แบ่งช่วงเวลาทานอาหารที่โรงอาหาร ท้ังทา สัญลกั ษณ์หา้ มนั่งบางจุดเพ่ือเว้นระยะห่างทางสังคมระหวา่ งทานอาหาร และกาหนดเวลารับประทานอาหารแต่ละ ระดับชั้นไม่ตรงกันเพอ่ื ลดความแออัดและเน้นอาหารปรุงสกุ และงดการใช้ชอ้ น แก้วนา้ หรืออืน่ ๆ ร่วมกนั 11) ทุกห้องเรียนและตามอาคารเรียน โรงอาหาร ห้องพิเศษ ได้มีการติดป้ายให้ความรู้เกี่ยวกับการดูแล ตนเองเพื่อปอ้ งกันการติดเชือ้ ไวรสั โคโรนาและมีการอบรมใหค้ วามรูน้ ักเรยี นหน้าเสาธงและในกิจกรรมโฮมรูม 12) อ่ืนๆ โรงเรียนจะดาเนนิ การตามมาตรการทีก่ าหนด เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรยี นวัดบา้ นอ่าง(สวสั ดิราษฎร์อปุ ถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 24 มาตรการการควบคมุ ดูแลการเดินทางระหวา่ งบ้านกบั โรงเรียนอยา่ งเข้มขน้ โดยหลกี เล่ียงการเข้าไป สัมผัสทีต่ ่างๆ ตลอดเสน้ ทางการเดนิ ทาง 1. กรณีนักเรยี นเดินทางระหว่างบ้านกับโรงเรียน ดว้ ยพาหนะส่วนตัว มแี ผนทีป่ ระกอบทุกคน พร้อมจุด เสย่ี ง 2. กรณนี ักเรยี นเดินทางระหว่างบา้ นกับโรงเรยี น ด้วยรถรบั สง่ ของโรงเรียน (กรณรี ถรับสง่ โรงเรียนเดียว) 3. กรณีนักเรยี นเดินทางระหว่างบา้ นกับโรงเรียน ดว้ ยรถรับสง่ ของโรงเรียน (กรณรี ถรับส่งรบั มากกว่า 1 โรงเรียน) 4. กรณีนักเรยี นเดินทางระหวา่ งบา้ นกบั โรงเรยี น ดว้ ยรถสาธารณะ ที่ ช้นั เต็ม แบบที1่ แบบที่ 2 แบบท่ี 3 แบบท่ี 4 จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ 1 อนุบาลปที ี่ 2 11 11 100 2 อนบุ าลปีท่ี 3 10 10 100 3 ประถมศกึ ษาปีที่ 1 8 8 100 4 ประถมศกึ ษาปที ่ี 2 18 18 100 5 ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 9 9 100 6 ประถมศกึ ษาปีที่ 4 15 15 100 7 ประถมศกึ ษาปีที่ 5 12 12 100 8 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 15 15 100 รวม 98 98 100 เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบา้ นอ่าง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 25 แบบบนั ทึกการคดั กรอง ควบคุมดูแลการเดินทางจากบ้านไปโรงเรยี น (Seal Route) กรณรี ับ-สง่ นกั เรยี น รถส่วนบุคคล และพาหนะโดยสารสาธารณะ (สาหรบั โรงเรยี นไป-กลับ) ช่ือ-นามสกลุ พนกั งานขับรถ นาย/นาง/นางสาว ......................................................................โทรศพั ทม์ ือถือ................................... ชอื่ -นามสกุล ผคู้ วบคมุ นกั เรยี น (ถา้ ม)ี ......................................................................................โทรศพั ทม์ ือถือ................................... เสน้ ทางเดนิ รถ จากโรงเรยี น ......................................................ถึงจุดส้ินสดุ .............................................รวมระยะทาง ........... กม. จานวนนักเรียนทัง้ หมดที่ให้บริการ/รอบ ........ คน เป็นนักเรยี นโรงเรียน ........ คน โรงเรียนอ่ืน ๆ ..........คน (ระบุช่ือโรงเรยี นอืน่ ๆ .............................................................................................................................................................................................................) คาชแ้ี จง : ใหเ้ จา้ ของรถรบั สง่ หรือพนักงานขบั รถของโรงเรียน ปฏบิ ตั ติ ามมาตรการคดั กรองโดยเครง่ ครัด ควรดาเนนิ การคดั กรอง และบนั ทึกข้อมลู ทุกวัน หากพบพนักงานขบั รถ ผคู้ วบคมุ นกั เรียน หรอื นกั เรียนมอี าการเสีย่ งใหแ้ จ้งโรงเรียนทราบทนั ที บันทกึ การคัดกรอง ประจาสัปดาห์ที่ .......... ระหวา่ งวันที่ .............................................ถงึ วันที.่ .......................................... การบันทึกผลการคัดกรอง : หากพบการปฏิบัตใิ หบ้ นั ทึกผลลงในตารางโดยใชเ้ คร่อื งหมาย  หากไมพ่ บการปฏบิ ตั ใิ ห้บนั ทึก โดยใช้เคร่อื งหมาย  และระบเุ หตุผลทชี่ ่องหมายเหตุ รายการคดั กรองการควบคมุ ดแู ลการเดนิ ทางจากบ้านไปโรงเรียน วันท/่ี เดอื น/พ.ศ. หมายเหตุ (Seal Route) 1. อณุ หภูมริ า่ งกายของพนักงานขบั รถ (บันทกึ เป็น ภาคเชา้ หน่วย : องศาเซลเซยี ส) ภาคบา่ ย 2. อุณหภูมิรา่ งกายของผคู้ วบคมุ นักเรยี น (ถา้ ม)ี (บนั ทึก ภาคเชา้ เป็นหนว่ ย : องศาเซลเซยี ส) ภาคบ่าย 3. พบการคดั กรองและตรวจวดั อุณหภมู นิ กั เรยี นกอ่ นใชบ้ รกิ าร 4. พบพนกั งานขบั รถ ผูค้ วบคุมนกั เรยี นและนกั เรียนท่ใี ช้บรกิ าร สวม หน้ากากอนามัยหรือหนา้ กากผ้าตลอดการเดินทาง 5. จดั ให้มีแอลกอฮอลช์ นิดเจล หรือน้ายาฆา่ เชอ้ื โรค ประจารถและจัด วางในบริเวณที่พบเหน็ ได้ชดั เจนหยบิ จบั ใชง้ านไดส้ ะดวกและเพียงพอ 6. มกี ารทาความสะอาดรถรับส่งก่อนและหลงั การ ภาคเช้า ให้บรกิ ารแตล่ ะรอบ และเปดิ หน้าตา่ ง และประตเู พือ่ ภาคบ่าย ถ่ายเทระบายอากาศภายในตวั รถ 7. มีการทาความสะอาดจดุ ที่มีการสมั ผสั บ่อย ๆ เชน่ ภาคเช้า รวมจับท่ีเปดิ ประตู เบาะนง่ั ทีว่ างแขน ฯลฯ ภาคบา่ ย 8. มีการลงทะเบยี นบันทึกขอ้ มลู ผใู้ ช้บริการแตล่ ะรอบ ภาคเชา้ ของนักเรียน ภาคบ่าย 9. มาตรการเพิ่มเตมิ อนื่ ๆ ของโรงเรียน (ถา้ ม)ี การจัดส่งเอกสาร : จัดส่งฝ่ายบรหิ ารงานท่ัวไป ทุกวนั ศุกร์ หากมีข้อสอบ ลงช่ือ........................................ผู้บนั ทึกการคดั กรอง (........................................) ถามหรือประสานงานเร่งดว่ น โทร.039-480782 เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 26 แผนภาพที่ 4 แสดงพน้ื ท่ีจดุ คัดกรอง (Screening Zone) แผนภาพที่ 5 แสดงจุดรบั สง่ สิง่ ของ/รบั ส่งเอกสาร เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บ้านอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 27 แผนภาพท่ี 6 แสดงจุดเสี่ยงทจ่ี าแนกนักเรียน ครู บคุ ลากร ผปู้ กครอง และผู้มาติดต่อที่เข้ามาในโรงเรียน ระบบและแผนการรบั ตดิ ตามประเมนิ ความพรอ้ ม โดยทมี ตรวจราชการบรู ณาการรว่ มกันระหว่าง กระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกระทรวงสาธารณสุข ทง้ั ช่วงกอ่ นและระหว่างดาเนนิ การ เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บ้านอา่ ง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 28 ตารางท่ี 3 แสดงจานวนครผู สู้ อน/บุคลากร/พนกั งาน จาแนกตามการได้รับวคั ซีนเขม็ 1-2-3 อย่างน้อยรอ้ ยละ 85-100 (พนื้ ท่ีควบคมุ และเขม้ งวด) ท่ี ชอ่ื – นามสกลุ ฉีดเข็มท่ี 1 ฉดี เข็มที่ 2 ฉดี เข็มท่ี 3 ยังไมฉ่ ดี สาเหตุ - - - 1. นางสาวอาไพพรรณ บุญรอด 02/07/64 01/10/64 - - - - - - 2. นางวันเพ็ญ จนั ทมติ ร 26/08/64 16/09/64 - - - - - - 3. นางสาวแก่นเพชร กองเกิด 02/07/64 01/10/64 - - - - - - 4. นางสาวโกญจา นสิ สัย 02/07/64 01/10/64 - - - 5 นางสาวกรรณาภรณ์ พฒุ ชงค์ 02/07/64 01/10/64 6. นางสาวภัทราพร บญุ เหลือ 02/07/64 01/10/64 7. นางสาวสุภาพร ขนุ จนั ทร์ 30/06/64 15/09/64 8. นายวศิ าล ทองนา้ เงิน 29/11/64 - สรุป จานวนครแู ละบุคลากร 8 คน ฉีดวคั ซนี 2 เข็ม จานวน 7 คน คดิ เป็นร้อยละ 87.50 ฉีดวคั ซนี 1 เขม็ จานวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.50 (ขอ้ มูล ณ วนั ท่ี 20 พฤศจิกายน 2564) ตารางท่ี 4 แสดงจานวนนักเรียน จาแนกตามการไดร้ บั วัคซีนเข็ม 1-2-3 ที่ ช่ือ - สกุล ชน้ั ฉีดเขม็ ที่ 1 ฉดี เข็มท่ี 2 ยังไมฉ่ ีด สาเหตุ 1 เดก็ ชายชนกนั ต์ ธรรมสมิ มา ป.6 16/11/64 2 เดก็ ชายรงุ่ นรนิ ทร์ สัจจพันธ์ ป.6 16/11/64 3 เด็กชายกิตติพนั ธ์ ทองจันทร์ ป.6 16/11/64 4 เด็กชายพรี พฒั น์ หญ้าผา ป.6 16/11/64 5 เด็กชายอัทชยั หญา้ ผา ป.6 16/11/64 6 เด็กชายชนิตา ธรรมสมิ มา ป.6 16/11/64 7 เด็กหญงิ กรกมล กติ ตเิ วช ป.6 16/11/64 8 เดก็ ชายอาทิตย์ แสนทวีสขุ ป.6 2/12/64 9 เดก็ ชายชนกานต์ เสนแสนยา ป.6 3/12/64 10 เด็กชายอานนท์ นพศรี ป.4 3/12/64 11 เด็กหญงิ อาริยา ท่ัวเจริญ ป.5 12 เด็กชายทดั ทิม ป.5 นกั เรยี นช้นั ป.6 ฉดี วัคซนี 10 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 83.33 เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวัดบ้านอา่ ง(สวัสดริ าษฎรอ์ ปุ ถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 29 แบบการตรวจคดั กรอง ATK ของนักเรียน ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ทกุ คน ในวันเปดิ เรียนวนั แรกของโรงเรยี น และมกี ารตรวจในทกุ 2 สปั ดาห์ (14 วนั ) สาหรับนกั เรยี น ครู และบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ทกุ คนจานวน 8 ครั้ง (พื้นทคี่ วบคุมและเข้มงวด) ชอื่ โรงเรียนวัดบา้ นอา่ ง (สวสั ดริ าษฎรอ์ ปุ ถัมภ์) อาเภอมะขาม จังหวัดจนั ทบุรี ชนั้ ..................................................................... ท่ี ชือ่ -นามสกลุ ครัง้ ท่ี 1 เดอื น .../...../... .../...../... .../...../... .../...../... 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 หมายเหตุ ผลเปน็ ลบ ผลเปน็ บวก เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดิราษฎรอ์ ปุ ถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 30 ขอ้ มูลการจัดทากจิ กรรมร่วมกันในรูปแบบ Small Bubble ในแตล่ ะช้ัน รวมถึงรายช่ือครผู สู้ อน ทอ่ี ยใู่ น Small Bubble ในแตล่ ะชั้น (พ้นื ที่ควบคุมและเขม้ งวดสูงสดุ ) การจัดทา SMALL BUBBLE ระดบั ปฐมวัย การสร้าง Bubble มดี งั น้ี 1. กาหนดครูและเด็ก ในอตั ราสว่ น 1:10 (ควรเป็นสมาชกิ เดิมทุกวัน) ทั้งครแู ละเด็กถอื ว่าเปน็ สมาชิกชัน้ ที่ 1 และสมาชิกในครอบครัวของครพู ี่เลย้ี งและเด็กในกลุม่ ถือวา่ เป็นสมาชิกชน้ั ที่ 2 2. ทาความสะอาดรา่ งกาย เช่น อาบนา้ ล้างมือ ล้างเทา้ และ เปลีย่ นชุดทางาน ชุดเดก็ หรือสวมเสอ้ื คลมุ แขนยาวแบบเตม็ ตัว ตวั ใหม่ก่อนเข้ามาในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยทุกวนั 3. ทากิจกรรมทุกอยา่ งดว้ ยกันตลอดทั้งวัน โดยเนน้ การเว้นระยะหา่ งจากกลุ่มยอ่ ย (Bubble) อ่ืน 1-2 เมตร เช่น กิจกรรมการสรา้ งประสบการณ์ (การเรยี นร้)ู การรับประทานอาหารการทาความสะอาดร่างกายการ นอน เป็นตน้ 4. ครอบครัวของสมาชกิ ในกลุ่ม ตอ้ งปฏบิ ตั ิตนเพ่ือป้องกันเชอื้ โรคอยา่ งเครง่ ครัดตลอดเวลา โดยยดึ หลักการเวน้ ระยะห่าง การสวมหน้ากาก การล้างมือ รกั ษาความสะอาด ปราศจากความแออัด 5. สอ่ื สารแนวคดิ Thailand ECD Bubble Model ให้สมาชกิ ช้นั 1 และ 2 ทกุ คนรบั ทราบ เขา้ ใจและ รว่ มมอื กันทาอย่างเคร่งครดั เพื่อให้เกดิ ความปลอดภัยแก่ทุกคน และกาหนดเครอ่ื งมือสื่อสารเชน่ โทรศพั ท์ LINE Facebook เปน็ ต้น เพ่ือสมาชิกได้ตดิ ต่อกนั และสรา้ งปฏิสัมพนั ธท์ ี่ดตี ่อกัน 6. หากในระยะแรกทย่ี ังไม่ได้ปฏิบตั กิ ารปอ้ งกันโรคอย่างเครง่ ครดั ของสมาชิกชัน้ ที่ 1 และ 2 แนะนาให้ เว้นระยะห่างระหวา่ งบคุ คลของคร/ู ผู้ดแู ลเด็ก 1-2 เมตรไปก่อน แนวทางการจัดกิจกรรมโดยยึดหลัก Bubble Model สาหรับสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยการจัดกิจกรรมทุก ประเภทเช่น การเคารพธงชาติการรับประทานอาหาร การนอน การอาบน้า การล้างมือ การแปรงฟัน การเล่น กิจกรรม ส่งเสริมพัฒนาการ เป็นต้น ยึดหลัก เว้นระยะห่างอย่าน้อย 1-2 เมตร ควรมีพื้นที่อย่างน้อย 2 ตาราง เมตรต่อเด็กปฐมวยั 1 คน จดั พื้นท่ีเฉพาะการเรยี นรกู้ ับเดก็ เปน็ รายบุคคลท่เี น้นการเวน้ ระยะห่าง เชน่ การเรียนบน เสื่อ การใช้เส้น สัญลักษณ์แสดงขอบเขต ก้ันเขต เน้นกิจกรรมที่ให้เด็กทาบนพื้นท่ีของตนเอง จัดพ้ืนที่เฉพาะการ เรียนรกู้ ับเด็กเปน็ รายบุคคลทีเ่ น้นการเว้นระยะห่าง เชน่ การเรยี นบนเส่ือ การใช้เส้นสญั ลกั ษณ์แสดงขอบเขต ก้นั เขต จัดตารางเวลาท่ีมีการ สลับเวลามาเรียนท่ีลดจานวนเด็กในพ้ืนท่ีของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยในแต่ละวัน และ การจัดตารางเวลาในการใช้พ้ืนที่ที่ เหมาะสมกับจานวนเด็กส่งเสริมให้มีการใช้ส่ือการเรียนรู้ในระยะไกล เช่น Big Book การใช้ส่ือขนาดใหญ่ในการมองเห็น ระยะไกล การใช้จอขยายภาพ และมีการใช้ส่ือรายบุคคลกับเด็กแต่ละ คนแต่ละวันโดยมีการทาความสะอาดทุกวันใช้ วิธีการจัดกิจกรรม เพลง เกม นิทาน สื่อ ที่เน้นการเว้นระยะห่าง เกมการเล่นในระยะห่าง เช่น การโยนห่วง การเล่นส่อง กระจก การสื่อสารระยะไกลโดยใช้แก้วโทรศัพท์กระดาษ ดูแลให้เด็กรับประทานอาหารตามหลักโภชนาการที่ปรุงสุกใหม่ และสะอาด ขณะรับประทานอาหาร ให้เว้น ระยะห่างอย่างน้อย 1-2 เมตร หรือมีฉากก้ันระหว่างบุคคลอุปกรณ์ของใช้ รายบุคคลทุกประเภท เช่น การ รับประทานอาหารรายบุคคล แปรงและยาสีฟัน แก้วน้า เป็นต้น (หมายเหตุ ท้ังนี้ยาสีฟัน ควรแยกเป็นของใช้ส่วน บุคคลในกรณีที่ใช้เปน็ ของสว่ นรวม ใหค้ ร/ู ผู้ดูแลเด็กบีบยาสีฟันป้ายทปี่ ากแก้วท่ลี า้ งสะอาด หรอื แกว้ กระดาษ แลว้ ใหเ้ ดก็ ใชแ้ ปรงสฟี ันปาดไปใช้หรอื บบี ใส่ถาดเป็นจุด ๆตามขนาด ตามปริมาณทก่ี าหนด เพ่ือจะไม่ให้ แปรงสีฟนั เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บา้ นอา่ ง(สวสั ดิราษฎร์อุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 31 ของเด็กแต่ละคนสมั ผสั ปากหลอดยาสีฟัน) การจัดกิจกรรมสาหรบั เดก็ เปน็ รายบคุ คล หรอื กลุ่มย่อย จานวนเด็ก 3- 5 คน และให้มีการเวน้ ระยะระหวา่ งใหป้ รับใหเ้ ข้ากับบรบิ ทของสถานสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั ของแต่ละสังกัด โดย คานึงถึงความปลอดภัยของเด็กเปน็ หลกั กิจกรรมท่ีควรงด - การเข้าแถวตอ่ กนั แบบประชิด - กจิ กรรมทม่ี กี ารรวมกลมุ่ ทุก ประเภท เช่น การแขง่ กีฬา - กิจกรรมตามวนั สาคัญ (วันเด็ก กีฬาสฯี ลฯ) การทศั นศึกษานอกสถานที่ เป็นต้น การจดั การเด็กให้แบ่งกลมุ่ ย่อย ข้อกาหนดตาม “มาตรฐานสถานพฒั นาเด็กปฐมวัยแหง่ ชาติ” ทีเ่ กยี่ วข้อง 1) มาตรฐานดา้ นที่ 1 สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ต้องมีครู/ผดู้ แู ลเดก็ อย่างน้อย 1 คน เปน็ ผมู้ หี น้าท่ีดแู ล เดก็ ดงั นี้ (1) เด็กอายุไม่เกิน 1 ปี อัตราสว่ นครู/ผูด้ ูแลเด็กต่อเดก็ 1:3 (2) สาหรบั เด็กอายุไมเ่ กิน 2 ปี อัตราส่วนคร/ู ผู้ดแู ลเด็กตอ่ เด็ก 1:5 (3) สาหรบั เดก็ อายุไมเ่ กิน 3 ปี อตั ราสว่ นครู/ผูด้ ูแลเดก็ ตอ่ เดก็ 1:10 (4) เดก็ อายุ 3 ปีขึ้นไป อัตราส่วนครู/ผดู้ ูแลเดก็ ตอ่ เด็ก 1:15 แต่ในสถานการณก์ ารระบาดของโรคโควดิ -19 จงึ กาหนดว่า (1) เดก็ อายไุ ม่เกิน 1 ปี อตั ราส่วนครู/ผูด้ ูแลเด็กต่อเดก็ 1:3 (2) สาหรบั เดก็ อายุ 1 ปขี ึ้นไป อตั ราส่วนคร/ู ผู้ดแู ลเด็กตอ่ เดก็ 1:5 การจัดกจิ กรรมกลุ่มยอ่ ย ตอ้ งเปน็ กลมุ่ เดียวกนั ตลอดวันและทกุ วัน โดยเด็กจานวน 3-5 คน ต่อกลุ่ม 2) พื้นท่ีใช้สอยภายในอาคารต้องสะอาด และปลอดภัย มีพื้นที่สาหรับจัดกิจกรรม รับประทานอาหาร นอน และทาความสะอาดร่างกาย แยกจากห้องประกอบอาหาร ห้องส้วม และท่ีพักเด็กป่วย โดยเฉล่ีย 2 ตาราง เมตรตอ่ เดก็ จานวน 1 คน เหมอื นเดิมตาม “มาตรฐานสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวัยแหง่ ชาติ” (1) การจัดห้องทากิจกรรมย่อย ประจาวัน เช่นกรณีถ้าห้องขนาด 24 ตารางเมตร (4x6 เมตร) แบ่ง พ้ืนท่ีได้ 2 กลมุ่ โดยมจี านวนเดก็ แต่ละกลมุ่ ไม่เกิน 3-5 คน โดยมีขนาดพืน้ ที่กลุ่มละ 12 ตารางเมตร (2) การจดั หอ้ งรบั ประทานอาหาร ตอ้ งมีมาตรฐานการเวน้ ระยะห่าง 1-2 เมตร (3) การจดั ห้องนอน ต้องมีมาตรฐานการเวน้ ระยะหา่ ง 1-2 เมตร 3) กจิ กรรมที่ควรจัดหรือไมค่ วรจัดใหก้ บั เดก็ กลุ่มท่ี 1 สีเขียว เป็นกิจกรรมท่ีควรจัดเป็นกิจกรรมท่ีเว้นระยะห่างได้ ได้แก่ กิจกรรมวงกลม กิจกรรม เสรี เช่น มุมบลอ็ ก รอ้ ยเชอื ก มมุ หนงั สือ มมุ วิทยาศาสตร์ โดยเนน้ เปน็ รายบุคคล กจิ กรรมสร้างสรรคเ์ ชน่ กิจกรรม งานประดิษฐ์ที่สามารถแยกอุปกรณ์เป็นรายบุคคลกิจกรรมเสริมประสบการณ์ เช่น กิจกรรมเล่นนิทาน เกม การศึกษาภายในกลมุ่ เชน่ เกมจับคู่ เกมแยกประเภท เกมจัดหมวดหมู่ เกมตอ่ ตามแบบ เกมต่อโดมิโน กลุม่ ที่ 2 สีเหลือง กจิ กรรมทคี่ วรจดั แตต่ อ้ งมอี ปุ กรณส์ ่วนบคุ คล เปน็ กิจกรรมทีเ่ วน้ ระยะหา่ งได้ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมสรา้ งสรรค์ เช่น ป้นั ดนิ น้ามนั /แปง้ โดว์ กิจกรรมศิลปะ วาดรปู ระบายสี (แยกสี หรอื เครอ่ื งเขยี นรายบคุ คล) กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เช่น กิจกรรมบทบาทสมมุติ กิจกรรมกลางแจ้ง กิจกรรมที่สามารถเว้นระยะและ ควบคมุ การใช้อุปกรณ์ เครอื่ งเล่นสนาม ระหว่างกลุ่มได้ (มีการฆ่าเช้อื ก่อนกลมุ่ ใหมเ่ ขา้ มาทากิจกรรม) กลุ่มที่ 3 สีแดง กิจกรรมท่ีไม่ควรจัด เป็นกิจกรรมท่ีไม่สามารถเว้นระยะห่างได้ ได้แก่ กิจกรรม เคลื่อนไหวและจังหวะแบบรวมหมู่ เช่น กิจกรรมเต้นประกอบจังหวะ กิจกรรมดนตรี กิจกรรมเสริมประสบการณ์ เช่น กจิ กรรมทศั นศึกษานอกสถานท่ี เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บา้ นอ่าง(สวสั ดริ าษฎร์อุปถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 32 ตัวอย่างการวางผังและกาหนดสัญลักษณก์ ารนัง่ ของเดก็ ในการจัดกิจกรรมกลมุ่ ย่อย 1. กิจกรรมเสริมประสบการณห์ รือกจิ กรรมในวงกลม - แยกทนี่ ่งั โดยทาเครื่องหมายขอบเขตให้เด็ก เชน่ ตดิ สัญลักษณ์ประจาตวั - ให้เดินมานง่ั ทลี ะคนโดยเวน้ ระยะห่าง - เคลอื่ นย้ายเด็กใหน้ ้อยท่สี ุด 2. กิจกรรมกลางแจ้ง งดเล่นเคร่อื งเล่นสนามและการเล่นรว่ มกนั อ่ืนๆ เชน่ ลูกบอลเลน่ นา้ เลน่ ทราย - เปลีย่ นเปน็ การบรหิ ารร่างกายแทน โดยให้อยใู่ นท่ีซง่ึ ครูกาหนดขอบเขตไว้ เช่น เสื่อโยคะ หรือการตดิ เทปบนพ้นื เพือ่ กาหนดขอบเขต 3. กจิ กรรมเสรี - ไปหยิบของเล่นจากช้ันได้ทลี ะคนคนละ 1 อยา่ ง/ชุด - กลับมานั่งในทที่ ่คี รูกาหนดขอบเขตให้น่งั (เส่ือ/พรมเล็กๆ หรือตดิ เทปกาหนดขอบเขตที่พื้น) ทา กิจกรรมเสร็จ นาของเล่นไปไวบ้ นโตะ๊ ที่ครูกาหนดไว้สาหรบั ครทู า ความสะอาด (ไมน่ าไปเก็บท่ีเดิม) แล้วจึงไปหยิบ ของเลน่ ใหมไ่ ม่ให้เด็กเลน่ ของเลน่ ตอ่ จากเพ่ือน 4. เกมการศึกษา - จัดเกมให้เพียงพอต่อจานวนเด็ก - กาหนดขอบเขตของที่เล่น ใหเ้ วน้ ระยะหา่ งกัน - ให้เล่นแบบต่างคนต่างเล่นไม่นาเกมมาเลน่ ด้วยกัน - เล่นเสร็จแล้วนาเกมไปไว้บนโตะ๊ สาหรับให้ครทู าความสะอาด 5. กจิ กรรมเคลอ่ื นไหวและจังหวะ - เน้นการเคลือ่ นไหวอยู่กบั ท่ใี นเขตของตนเอง - เมื่อใช้เครื่องดนตรีเสรจ็ ใหค้ รนู าไปทาความสะอาดไมน่ ามาเลน่ ต่อกัน 6. กิจกรรมสรา้ งสรรค์ - ทางานศลิ ปะในท่ีของตนเอง ซง่ึ ครูกาหนดไว้ใหเ้ วน้ ระยะห่าง - ไมใ่ ช้วสั ดอุ ปุ กรณ์สี ฯลฯ ร่วมกนั - ใชเ้ สรจ็ แล้วครนู าไปไว้ท่โี ตะ๊ สาหรับทาความสะอาด สว่ นท่ี 1 เรม่ิ ตน้ จากบ้านสูส่ ถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย แนวปฏบิ ัติ 1. จัดเตรียมอุปกรณ์เคร่ืองใช้ส่วนตัวสาหรับเด็กใช้ในสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ซึ่งต้องมีการตรวจเช็คทา ความสะอาดเพ่ิมขึ้น เช่น ขวดนม หรือ กระติกน้าส่วนตัว หน้ากากอนามัยหรือหน้ากากผ้าสาหรับเด็กเพื่อเปล่ียน ระหว่างวัน อย่างน้อย 3-5 ช้ินต่อวัน ผ้าเช็ดตัว เปลี่ยนอย่างน้อย 2 ครั้งต่อสัปดาห์ ชุดเคร่ืองนอน ผ้าปูที่นอน ปลอกหมอน ผ้าห่มเปลี่ยนอย่างน้อย 2 คร้ังต่อสัปดาห์ เส้ือผ้าสะอาด 3-4 ชุดต่อวัน ถุงซิปหรือถุงสะอาดสาหรับ ใสเ่ สื้อผา้ หรือของใช้เด็กทีใ่ ช้แลว้ 2. ก่อนรับ-ส่งเด็ก ผู้ปกครอง ต้องสวมหน้ากากอนามัย/หน้ากากผ้า และล้างมือด้วยน้าสะอาดและสบู่ หรือ เจลแอลกอฮอล์ทกุ ครัง้ เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบา้ นอ่าง(สวสั ดริ าษฎร์อปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 33 หมายเหตุ : กรณีหากผู้ปกครองกังวลการติดเชื้อในช่วงการเดินทางไป-กลับ ระหว่างบ้านกับสถานพัฒนา เด็กปฐมวัยเน่ืองจากโดยสารรถสาธารณะหรือมอเตอร์ไซค์ ก็สามารถสวมเสื้อคลุม (เส้ือแจ๊คเก็ตยาว หรือเสื้อที่มี ลักษณะเสื้อกันฝนหรือแบบอื่นๆ) สวมทับเพ่ือปกปิดทั่วร่างกายเด็ก เม่ือมาถึงสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยให้ถอดเสื้อ คลุมพบั เกบ็ ไว้ในกระเปา๋ ท้งั น้คี วรหลีกเล่ยี งการสะบดั เส้อื คลมุ ดังกล่าว เพราะอาจทาให้เชอื้ โรคกระจายได้ สว่ นที่ 2 การคัดกรองบคุ ลากรของสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย (ผูบ้ ริหารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย ครู/ผูด้ แู ลเดก็ ผ้ปู ระกอบอาหาร ผู้ทาความสะอาด และบคุ ลากรที่เกีย่ วขอ้ ง) แนวทางปฏบิ ตั ิ - ผบู้ ริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ ผู้ประกอบการ ผ้ทู าความสะอาด และบคุ ลากรที่ เก่ยี วข้องทาความสะอาดร่างกาย ล้างมอื ลา้ งเท้าดว้ ยน้าสะอาดและสบูห่ รืออาบนา้ ใช้ผ้าสะอาดแยกเช็ดรายบุคคล กอ่ นเข้าดา้ นในสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั - ผู้บรหิ ารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวัย คร/ู ผดู้ แู ลเด็ก ผปู้ ระกอบอาหาร ผูท้ าความ สะอาด และบคุ ลากรที่ เกีย่ วขอ้ ง เปล่ียนเสื้อผา้ ชดุ ใหมท่ ใี่ ช้เฉพาะภายในสถานพฒั นาเด็กปฐมวยั สวมหนา้ กากอนามยั /หนา้ กากผ้า (แนะนาสวมหมวกคลุมผม) ส่วนท่ี 3 การคดั กรองเดก็ และผูป้ กครอง(ครู/ผ้ดู แู ลเด็ก รับสง่ เด็กดา้ นนอกอาคารสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั ) แนวทางปฏิบตั ิ 1. กาหนดบริเวณจดุ คัดกรองเดก็ และจดั ทาเปน็ สญั ลกั ษณ์ท่เี ห็นชดั เจนของระยะ ระหวา่ งท่ีเด็กยนื รอการ คัดกรองให้มีระยะห่างกันอย่างน้อย 1-2 เมตร 2. จัดเตรยี มอปุ กรณ์คดั กรองเดก็ ได้แก่ เคร่ืองตรวจวัดอณุ หภมู หิ รอื วัดไขส้ าหรบั เด็ก เจลแอลกอฮอลล์ า้ ง มอื เอกสารคดั กรอง ใบลงชอื่ รับส่ง แบบบนั ทกึ อุณหภูมิเด็กและผูป้ กครอง ป้ายประชาสัมพนั ธ์ข้นั ตอนการคัดกรอง 3. สาหรบั ครู/ผูด้ ูแลเดก็ ท่ีตรวจรับสง่ เดก็ ให้สวมหน้ากากอนามยั หรือหนา้ กากผ้า และสวม Face Shieldรว่ มดว้ ยเพ่ือป้องกนั ตนเอง 4. ตรวจคัดกรองเดก็ และผูป้ กครอง วดั อุณหภมู ิของท้ังเด็กและผูป้ กครอง อุณหภูมจิ ะตอ้ งไมเ่ กิน 37.5 องศาเซลเซียส ไม่มอี าการ ไอ จาม มนี ้ามูก อาการหอบเหนื่อย และสอบถามขอ้ มลู จากผู้ปกครอง เก่ยี วกบั บุคคล ในครอบครัวมีใครเดินทางมาจากพืน้ ท่ีเสีย่ งหรือถูกกักตวั ตามมาตรฐาน ของกรมควบคุมโรค หรือไมห่ ากพบว่ามี ข้อมูลเส่ยี ง จะต้องให้เดก็ หยดุ เรียนทนั ที (อาจเพ่ิมการตอบแบบสอบถามทาง App ไทยชนะ) หมายเหต:ุ โปรดตดิ ตามขา่ ว “พน้ื ที่เสยี่ ง”ท่จี ะ เปลย่ี นแปลงไปตามสถานการณก์ ารระบาดของโลกประเทศไทย และพื้นทีท่ สี่ ถานพฒั นาเด็กปฐมวยั ตงั้ อยู่ 5. ใสห่ น้ากากอนามัยหรอื หน้ากากผา้ ที่ใหม่แห้งและสะอาดใหเ้ ดก็ (สาหรบั เด็กทผ่ี า่ นการคดั กรองจาก ข้อ 4 ยกเวน้ เดก็ อายุต่ากว่า 2 ปี ไมต่ ้องใสห่ น้ากากอนามัย หรือหน้ากากผา้ ) เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บา้ นอ่าง(สวสั ดิราษฎร์อปุ ถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 34 6. ทาความสะอาดร่างกาย ล้างมือ ล้างเทา้ เด็กดว้ ยน้าสะอาดและสบู่ หรืออาบนา้ ใหเ้ ด็ก (สาหรับเดก็ ท่ี ผ่านการคัดกรองจาก ข้อ 4) แล้วใชผ้ า้ สะอาดแยกเช็ดให้แห้งเปน็ รายบคุ คล ก่อนเดนิ เข้าภายในพ้ืนทีด่ ูแลเดก็ 7. ห้ามผู้ปกครองและบคุ คลภายนอกเขา้ ภายในพื้นท่ีดแู ลเด็กส่วนที่ 4 จุดเปลี่ยนเส้อื ผ้า (คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ เปลย่ี นเส้อื ผา้ ใหเ้ ดก็ ) แนวทางปฏิบัติ 1. จัดเตรยี มพืน้ ท่ีหรอื ห้องทสี่ ะอาดผ่านการฆ่าเช้ือแลว้ ทกุ วัน สาหรบั เปล่ียนเส้ือผา้ ใหเ้ ด็ก 2. เปล่ยี นเสอ้ื ผ้าให้เด็กทผี่ ่านการคัดกรองแล้ว และนาเส้ือผา้ ชุดเดิมท่สี วมใสถ่ งุ พร้อมมัดปากถงุ ให้สนทิ และเก็บใส่ในกระเปา๋ เด็กให้เรียบรอ้ ย 3. ล้างมอื ดว้ ยนา้ สะอาดและสบหู่ รือเจลแอลกอฮอล์ทุกคร้ัง ท่เี ปลีย่ นเส้ือผา้ ให้เด็กแต่ละคน ส่วนท่ี 4 การจดั กิจกรรมดูแล พฒั นา และส่งเสรมิ การเรยี นรู้แก่เด็ก (ครู/ผูด้ ูแลเดก็ จัดเตรยี ม จัดการ) การจัดกิจกรรมดูแล พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้แก่เด็กปฐมวัยท่ีเข้ารับบริการในสถานพัฒนาเด็ก ปฐมวัยดาเนินการภายใต้หลักสตู รแกนกลางของกระทรวงศึกษาธกิ าร หลักสูตรการศึกษาปฐมวยั พ.ศ. 2560 ซ่ึง มีการจัดกิจกรรมหลัก 1 วัน ประกอบด้วย กิจกรรมเสรี กิจกรรมสร้างสรรค์ กิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ กิจกรรมเสริมประสบการณ์กจิ กรรมกลางแจ้ง และกิจกรรมเกมการศึกษา ซง่ึ สถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั ดาเนินการอยู่ แล้ว แต่ในชว่ งสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) เกดิ ขนึ้ เพื่อความปลอดภัย ของเด็กจึงต้องมีการปรับเปล่ียนวิธีการดูแล พัฒนา และส่งเสริมการเรียนรู้ “รูปแบบใหม่” แก่เด็กโดยเฉพาะการ ปรับเปลี่ยนขนาดพื้นที่การจัดกิจกรรม การจัดกลุ่มเด็ก การควบคุมเด็กกลุ่มย่อย (Bubble) การจัดการให้มีครู/ ผูด้ แู ลเด็กรายกลุ่มย่อย (Bubble) ทุกกล่มุ ตามแนวคิด Bubble ซึ่งเปน็ การดูแลตัวเองช่วงสถานการณ์การระบาด ของโรคโควิด 19 ในประเทศนิวซีแลนด์ เป็นการสร้างขอบเขตของแต่ละบุคคลที่ต้องพยายามรักษาให้เขตของ ตนเองปลอดเช้ือ และปฏิบัตติ ามคาแนะนาเพือ่ ปอ้ งกันเช้ือโรคอย่างเคร่งครัด และให้รักษาระยะหา่ งทางสังคมไม่ให้ ปฏิสมั พันธใ์ กล้ชดิ ดังน้ัน คร/ู ผู้ดแู ลเดก็ จงึ ตอ้ งเตรียมจดั การจดั กจิ กรรม ดงั นี้ แนวทางปฏิบัติ 1. จัดแบ่งพื้นท่ีสาหรับจัดกิจกรรมย่อยเป็นสัดส่วน โดยจัดให้แต่ละกลุ่มย่อย (Bubble) ร่วมทากิจกรรม กับกลุ่มเดมิ ตลอดทงั้ วนั เว้นระยะหา่ งกนั ระหวา่ งกล่มุ ระยะ 1-2 เมตร และมฉี ากหรืออุปกรณ์กนั้ ระหวา่ งกลุ่มโดย คานงึ ถงึ ความปลอดภยั ของเดก็ 2. จดั เด็กออกเปน็ กล่มุ สาหรับจดั กจิ กรรมกล่มุ ย่อย ตามช่วงอายดุ ังนี้ - เด็กอายุไมเ่ กนิ 1 ปี จานวนไมเ่ กิน 3 คน มคี ร/ู ผดู้ ูแลเด็กเฉพาะกลมุ่ ทั้งวนั 1 คน - เด็กอายุตง้ั แต่ 1 ปีข้ึนไป จานวนไมเ่ กนิ 5 คน มคี ร/ู ผู้ดูแลเด็กเฉพาะกลมุ่ ท้ังวัน 1 คน 3. ควบคุมไมใ่ ห้เด็กออกไปสกู่ ล่มุ ยอ่ ย (Bubble) อ่ืนๆ ในชว่ งจดั กิจกรรมกลมุ่ ย่อย (Bubble) 4. ทาความสะอาดส่ือท่ีใช้ประกอบการจัดกิจกรรมกลุ่มย่อย (Bubble) ทุกประเภท ทุกช้ิน ฆ่าเชื้อก่อน และหลังใช้ทุกวัน หากจาเป็นต้องใช้สื่อหมุนเวียนไปในกลุ่มย่อย (Bubble) อื่นๆ ต้องทาความสะอาดฆ่าเชื้อก่อน ทุกคร้งั เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวสั ดิราษฎร์อปุ ถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 35 5. ควบคมุ สอน แนะนาใหเ้ ด็กลา้ งมือทุกครั้งดว้ ยนา้ สะอาด สบู่ และเช็ดมือดว้ ยผ้าสะอาดแยกรายบคุ คล หลังการทากจิ กรรม รวมถงึ คร/ู ผูด้ แู ลเด็กควรลา้ งมือด้วยน้าสะอาดและสบดู่ ว้ ยเชน่ กนั สว่ นท่ี 5 การรับประทานอาหารอาหารหลัก อาหารเสรมิ (นม) และอาหารวา่ ง แนวทางปฏบิ ัติ 1. ผเู้ ตรียมอาหาร 1.1 ลา้ งมอื ด้วยน้าสะอาดและสบู่ทุกคร้งั ท่ีเตรียมอาหาร พร้อมสวมถุงมือและทค่ี ลมุ ผมตลอดเวลาใน การจดั เตรียมอาหาร 1.2 ทาความสะอาดฆ่าเชื้อภาชนะที่ใสอ่ าหารกอ่ นนามาใชท้ กุ ชน้ิ และทกุ คร้ัง 1.3 จดั โต๊ะสาหรับนัง่ ทานอาหาร โดยแบง่ กลุม่ ย่อย (Bubble) ใหม้ รี ะยะหา่ งรายบุคคล 1-2 เมตร หรือหากมีข้อจากดั เรื่องพนื้ ที่ให้ทาฉากกั้นระหวา่ งเด็ก หรือสามารถจัดเวยี นรับประทานอาหารเหล่ือมเวลาตาม ความเหมาะสม หากต้องใช้โต๊ะและเก้าอี้ชดุ เดมิ ต้องทาความสะอาด ฆา่ เชื้อ กอ่ นเด็กและครคู นใหม่เข้ามานั่งทุก ครั้ง 2. คร/ู ผดู้ แู ลเดก็ 2.1 ควบคุม สอน แนะ ให้เดก็ ลา้ งมือดว้ ยน้าสะอาดและสบู่ โดยใหม้ ีระยะห่างรายบคุ คล 1-2 เมตร ก่อนรับประทานอาหารทุกครั้ง 2.2 ควบคุม สอน แนะ ให้เด็กลา้ งมือ ลา้ งปาก และแปรงฟัน โดยใหม้ รี ะยะหา่ งรายบุคคล 1-2 เมตร หลังจากรับประทานอาหารทุกครง้ั 2.3 ฉีดพน่ น้ายาฆา่ เช้ือ หลังจากการใช้อ่างล้างมือ หรือแปรงฟัน ด้วยนา้ ยาฟอกขาวผสมน้าสะอาดตาม สัดส่วน ทส่ี ขุ ภณั ฑท์ กุ คร้ัง และระวังอยา่ ให้เด็กสมั ผสั หากน้ายายังไม่แหง้ ดี 2.4 แนะนาผู้ปกครองของเด็ก ในการนาของใช้สว่ นตัวเด็กที่ต้องเตรยี มมาใชใ้ นสถานพัฒนาเดก็ ปฐมวยั เชน่ กระติกน้า แปรงสีฟนั ยาสฟี นั เปน็ ตน้ ส่วนท่ี 6 การนอนกลางวัน(ครู/ผดู้ แู ลเด็ก) แนวทางปฏบิ ัติ 1. จดั เตรยี มพืน้ ท่นี อนใหเ้ ดก็ เปน็ รายกลุ่มย่อย (Bubble) โดยจัดใหม้ ีระยะหา่ งรายบุคคลอย่างน้อย 1-2 เมตร 2. วดั ไข้เด็กก่อนนอน หรือหลงั ต่นื นอน หากเด็กมีอุณหภูมิต้ังแต่ 37.5 องศาเซลเซยี ส ให้แยกเดก็ ไปหอ้ ง หรือมุมพยาบาล และรายงานผบู้ ริหาร พร้อมแจ้งผู้ปกครองรับเด็กทนั ที 3. จดั การแยกทีน่ อนของเดก็ ออกจากกนั กรณเี ก็บทนี่ อนของเด็กรวมกันในตู้เก็บของ ให้แยกเกบ็ ตามกลุ่ม ย่อย (Bubble) ทตี่ วั เองดแู ล และไมใ่ ชท้ ีน่ อนรว่ มกนั 4. สง่ คืนเคร่ืองนอน หมอน ผ้าหม่ ผ้าปูที่นอน แก่ผู้ปกครองให้ทาความสะอาดเป็นประจาอย่างน้อย 2 ครง้ั ต่อสปั ดาห์ เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรียนวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 36 ส่วนที่ 7 การใชห้ อ้ งนา้ และแปรงฟัน(คร/ู ผู้ดูแลเดก็ ) แนวทางปฏิบัติ 1. อาบน้า และแต่งตัวให้เด็กเป็นรายบุคคล (ครั้งละ 1 คน) โดยจัดเป็นรอบตามกลุ่มกิจกรรมย่อย (Bubble) จนครบทุกคน เส้ือผ้าใช้แล้วให้ใส่ถุงให้มัดปากถุงให้สนิท จัดเก็บในกระเป๋าให้เรียบร้อย และส่งคืน ผา้ เช็ดตวั ของเด็กใหผ้ ูป้ กครองทาความสะอาดเป็นประจาทุกวัน หรืออย่างนอ้ ย 2 ครง้ั ต่อสัปดาห์ 2. ฉีดพ่นน้ายาฆ่าเชื้อ ในสุขภัณฑ์โดยใช้น้ายาฟอกขาวผสมน้าสะอาดตามสัดส่วน ทาความสะอาด สุขภณั ฑห์ ลังจากเดก็ ขบั ถา่ ยทกุ ครงั้ และระวังอย่าใหเ้ ด็กสมั ผสั สุขภัณฑ์หากนา้ ยายังไมแ่ หง้ 3. ควบคมุ สอนและควบคมุ ให้เด็กล้างมอื ดว้ ยนา้ สะอาดและสบู่ทุกครัง้ ที่ขับถา่ ย และใชผ้ า้ สะอาดแยกเช็ด รายบุคคล หรือใช้กระดาษทิชชูและทิ้งทิชชูใช้แล้วใส่ภาชนะที่มีฝาปิดมิดชิด กรณีเด็กที่ใช้ผ้าอ้อมสาเร็จรูป เมื่อใช้ แลว้ ควรท้งิ ใสภ่ าชนะทีม่ ฝี าปดิ มิดชิด เพอ่ื ปอ้ งกนั การกระจายของเชื้อโรค 4. การจัดกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันครู/ผู้ดูแลเด็กจัดให้มีกิจกรรมการแปรงฟันหลังอาหาร กลางวันทุกวันอย่างสม่าเสมอ ควรแปรงฟันในบริเวณสาหรับแปรงฟันที่เหมาะสม เช่น ห้องน้า โดยหลีกเล่ียงการ รวมกลุ่ม และต้องเว้นระยะห่าง 1-2 เมตร ในการแปรงฟัน เพื่อป้องกันการแพร่กระจายของน้าลาย ละอองน้า หรือเชื้อโรคสู่ผู้อื่น กรณีห้องน้าแออัด ควรกาหนดให้เหล่ือมเวลาในการแปรงฟันก่อนการแปรงฟันทุกคร้ัง ให้ล้าง มือด้วยสบู่และน้าเสมอเป็นเวลาอย่างน้อย 20 วินาที หรือเจลแอลกอฮอล์ท่ีมีความเข้มข้น 70-74 % แต่หากมี ความจากดั ด้านสถานท่ี ข้อแนะนาการแปรงฟนั ทางเลือกคือการแปรงฟันทโี่ ต๊ะเรยี น ในหอ้ งเรยี น (หมายเหตุ ทัง้ น้ี ยาสีฟันควรแยกเป็นของใช้ส่วนบุคคล ในกรณีท่ีใช้เป็นของส่วนรวม ให้ครู/ผู้ดูแลเด็กบีบยาสีฟันป้ายที่ปากแก้วที่ ล้างสะอาด หรือแก้วกระดาษ แล้วให้เด็กใช้แปรงสฟี ันปาดไปใชห้ รือบีบใส่ถาดเป็นจุด ๆ ตามขนาด ตามปริมาณที่ กาหนด เพอ่ื จะไมใ่ หแ้ ปรงสฟี นั ของเดก็ แต่ละคนสมั ผสั ปากหลอดยาสีฟัน) 5. ทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม ด้วยน้ายาทาความสะอาดท่ัวไป พ้ืนห้องส้วมให้ฆ่าเช้ือโดยราดน้ายา ฟอกขาวท่ีเตรียมไว้ต้องท้ิงไว้อย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณที่รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ท่ีกดชักโครก ราว จับ ลกู บิดหรือกลอนประตูท่ีแขวนกระดาษชาระ อา่ งล้างมือ กอ๊ กน้า ท่ีวางสบู่ ผนังซอกประตดู ้วยผ้าชุบนา้ ยาฟอก ขาวท่เี ตรียมไว้หรือแอลกอฮอล์70 % หรอื ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.5 % ส่วนที่ 8 การสง่ เด็กกลับบ้านช่วงเย็น(คร/ู ผดู้ ูแลเด็ก) แนวทางปฏบิ ตั ิ 1. นาเด็กออกมารอผู้ปกครอง ณ จุดคัดกรองเด็กในช่วงเช้า (ส่วนที่ 1) และวัดอุณหภูมิของเด็กก่อน สง่ กลับให้ผู้ปกครอง และวัดอณุ หภูมิของผ้ปู กครองที่มารับเดก็ ทุกครั้ง 2. ลงช่ือส่งเด็ก และบันทึกอุณหภูมิเด็กและผู้ปกครอง ในเอกสารแบบฟอร์ม พร้อมแนะนาผู้ปกครอง หลังจากกลบั เข้าบ้านแลว้ ให้อาบนา้ ทาความสะอาดรา่ งกายทั้งเด็กและผู้ปกครองทันทีทุกคร้ัง เพือ่ ปอ้ งกันมิให้เกิด การติดเช้ือในระหว่างการเดินทางจากสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั กับบ้าน และให้หลีกเล่ียงการพาเด็กไปในพื้นท่ีเส่ียง หมั่นสังเกตตนเองบุคคลในบ้าน และเด็กอย่างสม่าเสมอว่ามีอาการผิดปกติใดๆ อาทิ มีไข้ ไอ จาม น้ามูกไหล เหน่อื ยหอบ หรือไม่ เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอา่ ง(สวสั ดิราษฎรอ์ ปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 37 3. ส่งชุดเคร่ืองนอน และผ้าเช็ดตัวของเด็กแก่ผู้ปกครองเพื่อให้ทาความสะอาดก่อนนามาใช้ทุกครั้งเป็น ประจาส่วนท่ี 9 การฆ่าเช้ือ และดูแลความสะอาด(ผู้บริหารสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย & ครู/ผู้ดูแลเด็ก) แนวทาง ปฏิบตั ผิ ู้บรหิ ารสถานพฒั นาเดก็ ปฐมวยั และครู/ผู้ดแู ลเด็ก ทาความสะอาดบรเิ วณสถานพัฒนาเด็กปฐมวยั โดยเน้น บริเวณทมี่ ีการสมั ผสั หรือใช้งานร่วมกันบ่อยครั้ง เช่น ปากกา ลูกบดิ ประตู รโี มทคอนโทรล โทรศพั ท์ ปุม่ กดลิฟท์ ซง่ึ เป็นพื้นผิวขนาดเล็ก บริเวณจุดสัมผัสของสนามเด็กเล่นท้ังภายในและภายนอกอาคาร ส่ิงของเคร่ืองใช้ ส่ือ พัฒนาการเด็กยานพาหนะ ห้องน้า ห้องส้วม ทาความสะอาดชุบน้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้หรือแอลกอฮอล์ 70 % หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5 % เช็ดทาความสะอาดและฆ่าเชื้ออย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง (ตามคาแนะนา กระทรวงสาธารณสขุ ) การจดั ทา SMALL BUBBLE ระดับประถมศกึ ษา การสรา้ ง Bubble มดี ังน้ี 1. กาหนดครูและเด็กในอตั ราสว่ น 1 : 25 (เป็นสมาชิกเดมิ ทกุ วัน) ทง้ั ครแู ละเด็กถือว่าเปน็ สมาชกิ ชัน้ ที่ 1 และสมาชิกในครอบครวั ของครแู ละเดก็ ในกลุ่มถือว่าเป็นสมาชกิ ชัน้ ที่ 2 2. ทาความสะอาดร่างกาย เช่น อาบน้า ล้างมือ ล้างเท้าและเปลี่ยนชุดทางาน ชุดเด็กหรือชุดนักเรียนตัว ใหมก่ อ่ นเข้ามาในห้องเรียน 3. ทากิจกรรมทุกอย่างด้วยกันตลอดทั้งวัน โดยเน้นการเว้นระยะห่างจากกลุ่มย่อย (Bubble) อ่ืน 1-2 เมตร เชน่ กจิ กรรมการเรียนการสอน การรับประทานอาหาร การทาความสะอาดร่างกาย 4. ครอบครัวของสมาชิกในกลุ่มต้องปฏิบัติตนเพื่อป้องกันเชื้อโรคอย่างเคร่งครัดตลอดเวลา โดยยึด หลักการเว้นระยะห่าง การสวมหนา้ กาก การล้างมอื รักษาความสะอาด ปราศจากความแออัด 5. สื่อสารแนวคิด Thailand ECD Bubble Model ให้สมาชิกช้ัน 1 และ 2 ทุกคนรับทราบ เข้าใจและ ร่วมมือกันทาอย่างเคร่งครัด เพ่ือให้เกิดความปลอดภัยแก่ทุกคน และกาหนดเครื่องมือสื่อสารเช่น โทรศัพท์ LINE Facebook เป็นต้น เพอื่ สมาชกิ ไดต้ ดิ ตอ่ กันและสร้างปฏิสมั พันธ์ท่ีดีต่อกนั 6. หากในระยะแรกท่ียังไม่ได้ปฏิบัติการป้องกันโรคอย่างเคร่งครัด ของสมาชิกช้ันที่1 และ2 แนะนาให้ เว้นระยะหา่ งระหว่างบุคคลของครู 1-2 เมตรไปก่อน เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 38 การบรหิ ารจัดการด้านต่างๆ ภายใตส้ ถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัสโคโรนา (Covid-19) 1. ดา้ นสถานท่แี ละส่ิงแวดล้อมในโรงเรียน ตรวจสอบสถานที่ ซ่อมแซม ปรับปรุง ทาความ สะอาด อาคารเรียน ห้องเรียน ตู้ โต๊ะ เก้าอี้ อุปกรณ์ การเรยี นการสอน อปุ กรณ์กีฬาเครอื่ งเด็กเล่น ห้องนา้ ห้องส้วม ห้องครัวและอุปกรณ์ โรงอาหาร สถานท่ี รับประทานอาหาร และอื่นๆ ที่ครู นักเรียน อยู่ ร่วมกัน และมพี ้นื ทีส่ มั ผัส * ตรวจสอบอ่างล้างมือให้มีเพียงพอ อยู่ในสภาพดี พรอ้ มใชง้ าน รวมถงึ สบ่ลู า้ งมือท่เี พยี งพอ 1. จัดสถานท่ีเพื่อเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เช่น การเขา้ แถว การเขา้ ควิ การจดั ท่ีน่งั เรียน การจดั ท่ีน่ัง รบั ประทานอาหาร ตามมาตรการ เวน้ ระยะห่างทาง กายภาพ (Physicial Distancing) 2. องค์การอนามัยโลก (WHO) แนะนาระยะห่างทาง สังคม (Social Distancing) หรอื ท่ปี ัจจุบันเรียกว่า ระยะห่างทางกายภาพ ถ้าอย่ใู นท่ีสาธารณะ ควรเว้น ระยะหา่ งจากผอู้ ืน่ อย่างน้อย ๑.๕ เมตร โดยเฉพาะ อย่างยิ่งผู้ท่ีไอ จาม และมีไข้ เพ่ือป้องกันการรับเช้ือ โรค 3. ตัวอย่างมาตรการระยะหา่ งปลอดภัย ✓ จดั โต๊ะเรียน โต๊ะรับประทานอาหารกลางวนั และ โตะ๊ ทางานครูใหม้ ีระยะหา่ ง ✓ ทาสัญลักษณ์เพื่อเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล เช่นจุดตรวจวัดไข้ก่อนเข้าโรงเรียน แถวรับอาหาร กลางวนั จดุ ล้างมอื เป็นตน้ ✓ เหลือ่ มเวลาพกั รับประทานอาหารกลางวัน เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบ้านอ่าง(สวัสดิราษฎร์อุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 39 สาหรับเด็กเล็กที่ยังต้องนอนกลางวัน หรือโรงเรียนใน พน้ื ที่ห่างไกลทีม่ โี รงนอน ให้รักษาระยะหา่ งระหว่างกัน อย่างน้อย 1.5 เมตร โดยไม่เอาศีรษะชนกันและแยก อุปกรณ์เครื่องใช้ เป็นของส่วนตัว ไม่ใช้ร่วมกันกรณี หากมเี ดก็ ปว่ ยให้หยุดอย่กู ับบ้าน แจ้งผู้ปกครองท่ีนักเรียนมีอาการเจ็บป่วย เช่น มีไข้ไอจาม มีน้ามูก เหน่ือยหอบ หรือกลับจากพื้นท่ี เสี่ยงและอยู่ในช่วงกักกัน ให้หยุดเรียน รวมท้ังขอ ความร่วมมือ กรณีท่ีมีคนในครอบครัวป่วยด้วยโรคติด เชื้อโควิด-19 หรือกลับจากพ้ืนที่เส่ียงและอยู่ในช่วง กักกัน ให้ปฏิบัติตัวตามคาแนะนาของเจ้าหน้าที่ สาธารณสุขอย่างเคร่งครดั 2. ด้านห้องเรยี น ห้องปฏิบตั ิการ และสถานท่ีจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนอืน่ ๆ ห้องเรียน หอ้ งเรียนรวม เชน่ ห้องคอมพวิ เตอร์ ห้องดนตรี 1. จัดโต๊ะเก้าอ้ีหรือที่นั่งให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลอย่างน้อย 1.5 เมตร ควรคานึงถึงสภาพ บริบทและขนาดพ้ืนที่ และจัดทาสัญลักษณ์แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน กรณีห้องเรียน ไม่เพียงพอในการจัดเว้น ระยะห่างระหว่างบุคคล ควรจัดให้มีการสลับวันเรียนแต่ละชั้นเรียน แบ่งจานวนนักเรียน หรือการใช้พ้ืนที่ใช้สอย บริเวณโรงเรียนตามความเหมาะสม ท้ังน้ีอาจพิจารณาวิธีปฏิบัติอื่น ตามบริบทความเหมาะสม โดยปฏิบัติตาม มาตรการเว้นระยะหา่ งทางสังคม (Social distancing) 2. การจัดนักเรียนในห้องเรียน ให้โรงเรียนจัดนักเรียนเข้าช้ันเรียน ห้องเรียนละ 20-25 คน เว้นแต่ โรงเรียนใดมขี นาดหอ้ งเรียนกว้างขวางเพยี งพอให้จัดนกั เรียนเขา้ ชนั้ เรยี นได้ไม่เกิน 30 คน 3. จัดให้มีการเหล่ือมเวลาเรียนการเรียนกลุ่มย่อยหรือวิธีปฏิบัติท่ีเหมาะสมตามบริบทสถานการณ์ และ เน้นใหน้ ักเรียนสวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ขณะเรียนตลอดเวลา 4. จัดให้มีการระบายอากาศที่ดี ให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเลี่ยงการใช้ เครื่องปรับอากาศหากจาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศ กาหนดเวลา เปิด –ปิด เครื่องปรับอากาศ เปิดประตู หนา้ ต่างระบายอากาศ ทกุ 1 ชั่วโมง และทาความสะอาดอย่างสม่าเสมอ 5. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับนักเรียนและครูใช้ประจาทุกห้องเรียนอย่าง เพยี งพอ 6. ให้มีการทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี อุปกรณ์และจุดสัมผัสเสี่ยง เช่น ลูกบิดประตู เคร่ืองเล่นของใช่ ร่วมกัน ทุกวันอย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เช้าก่อนเรียนและพักเท่ียง กรณีการย้ายห้องเรียน ต้องทาความสะอาดโต๊ะ เก้าอี้ก่อนและหลงั ใช้งานทกุ คร้งั เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวัดบ้านอ่าง(สวัสดิราษฎร์อุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 40 ห้องสมุด 1. จัดโต๊ะเก้าอี้หรือที่นั่งให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร และจัดทาสัญลักษณ์ แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน 2. จัดให้มีการระบายอากาศที่ดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หากจาเป็นต้องใช้ เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลา เปิด-ปิด เครื่องปรับอากาศ เปิดประตูหน้าต่างระบายอากาศทุก 1 ช่ัวโมงและทา ความสะอาดอยา่ งสมา่ เสมอ 3. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือ สาหรับครูบรรณารักษ์ นักเรียน และผู้ใช้บริการ บริเวณ ประตทู างเขา้ และภายในห้องสมุดอยา่ งเพยี งพอ 4. ใหม้ ีการทาความสะอาดโตะ๊ อปุ กรณ์ และจุดสมั ผสั เสี่ยง เช่น ลูกบดิ ประตู ช้ันวางหนงั สอื ทุกวนั วันละ 2 คร้ัง (เชา้ ก่อนให้บริการ พักเท่ยี ง) การจากัดจานวนคน จากัดเวลาในการเข้าใช้บริการห้องสมุด และให้นักเรียนและผู้ใช้บริการทุกคน สวมหน้ากากผา้ หรือหนา้ กากอนามัยขณะใชบ้ ริการหอ้ งสมดุ ตลอดเวลา หอ้ งประชุม หอประชมุ 1. จัดให้มีการคัดกรองตรวจวัดอุณหภมู ิร่างกายก่อนเข้าห้องประชุม หอประชุม หากพบ ผู้มีอาการไข้ ไอ มนี า้ มูก เจบ็ คอ หายใจลาบาก เหน่ือยหอบ ไมไ่ ด้กลิ่น ไม่รรู้ ส ใหแ้ ยกนักเรยี น ไว้ที่หอ้ งที่จัดเตรียมไว้ บนั ทึกรายช่ือ และอาการป่วย ประเมนิ ความเสี่ยง แจ้งผ้ปู กครองดาเนินการตามขัน้ ตอนการคดั กรอง 2. จัดโต๊ะ เก้าอี้ หรือท่ีนั่งให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล 1.5 เมตร และจัดทาสัญลักษณ์แสดง จุดตาแหน่งชดั เจน 3. ผู้เขา้ ประชุมทกุ คนสวมหนา้ กากผา้ หรอื หน้ากากอนามยั ขณะประชมุ ตลอดเวลา 4. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับผู้เข้าประชุม บริเวณทางเข้า ภายในอาคาร หอประชุม บริเวณทางเข้าด้านหน้าและด้านในของห้องประชมุ อย่างเพียงพอและทัว่ ถึง 5. งดหรือหลกี เล่ยี งการให้บรกิ ารอาหารและเครอ่ื งด่ืมภายในห้องประชมุ 6. ให้มีการทาความสะอาดโตะ๊ เกา้ อี้ อปุ กรณ์ และจุดสมั ผัสเส่ยี งรว่ ม เชน่ ลกู บดิ ประตู รีโมท อุปกรณ์ สอ่ื ก่อนและหลงั ใช้หอ้ งประชมุ ทกุ คร้ัง 7. จดั ใหม้ กี ารระบายอากาศท่ีดี ใหอ้ ากาศถ่ายเท เชน่ เปิดประตู หนา้ ตา่ ง ก่อนและหลงั ใชห้ ้องประชุมทุก คร้ัง หากจาเป็นต้องใช้เคร่ืองปรับอากาศ กาหนดเวลาเปิด -ปิดเครื่องปรับอากาศ เปิดประตู หน้าต่าง ระบาย อากาศทุก 1 ช่ัวโมง และทาความสะอาดอยา่ งสมา่ เสมอ เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวัดบา้ นอ่าง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถมั ภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 41 สถานทแ่ี ปรงฟนั โรงเรียนส่งเสริมให้มีกิจกรรมแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างถูกต้องเหมาะสม ตามสถานการณ์และ บริบทพื้นที่ หลีกเล่ียงการรวมกลุ่ม ควรจัดเว้นระยะห่างระหว่างบุคคลในการแปรงฟัน และให้มีอุปกรณ์การแปรง ฟนั ส่วนบุคคล ดงั นี้ การจดั เตรยี มวสั ดุอปุ กรณ์การแปรงฟนั และแปรงสฟี นั 1. นกั เรียนทุกคนมีแปรงสีฟันเป็นของตนเอง ห้ามใช้แปรงสีฟันและยาสีฟันรว่ มกนั 2. ทาสัญลักษณ์หรือเขียนชื่อบนแปรงสีฟันของแต่ละคน เพื่อให้รู้ว่าเป็นแปรงสีฟันของใคร ปอ้ งกนั การหยิบของผูอ้ ื่นไปใช้ 3. ควรเปล่ียนแปรงสีฟันให้นักเรียน ทุก 3 เดือน เม่ือแปรงสีฟันเส่ือมคุณภาพ โดยสังเกต ดังน้ี - บรเิ วณหวั แปรงสีฟนั มีคราบสกปรกตดิ ค้าง ลา้ งไดย้ าก - ขนแปรงสีฟันบานแสดงว่าขนแปรงเสื่อมคุณภาพใชแ้ ปรงฟันได้ไม่สะอาด และอาจกระแทก เหงือกให้เป็นแผลได้ - ยาสีฟัน ให้นักเรียนทุกคนมียาสีฟันเป็นของตนเอง และเลือกใช้ยาสีฟันผสมฟลูออไรด์ ซึ่งมี ปรมิ าณฟลูออไรด์ 1,000 – 1,500 ppm. มลิ ลกิ รัม/ลิตร) เพอื่ ป้องกันฟันผุ - แก้วน้า จัดให้นักเรียนทุกคนมีแก้วน้าส่วนตัวเป็นของตนเอง ผ้าเช็ดหน้าส่วนตัว สาหรับใช้ เช็ดทาความสะอาดบริเวณใบหนา้ ควรซกั และเปลยี่ นใหม่ทุกวัน การเก็บอุปกรณก์ ารแปรงฟนั และแปรงสีฟัน 1. เกบ็ แปรงสีฟนั ในบรเิ วณทีม่ อี ากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก ไม่อับชื้น และปลอดจากแมลง 2. จัดทาท่ีเก็บแปรงสีฟัน แก้วน้า โดยเก็บของแต่ละคนแยกจากกัน ไม่ปะปนกันเว้นให้ระยะหา่ ง เพยี งพอที่จะไม่ให้แปรงสีฟันสัมผัสกนั เพือ่ ป้องกนั การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 หอ้ งนอนเด็กเลก็ 1. ทาความสะอาดเครื่องนอน เปล่ียนผ้าปูท่ีนอน ปลอกหมอน และผ้ากันเปื้อนทุกวัน รวมถึงทาความ สะอาดอปุ กรณ์ของใช้ของเล่น ตู้เกบ็ ของสว่ นบุคคลและจดุ สมั ผัสเสย่ี งรว่ ม เป็นประจาทุกวัน 2. จดั ใหม้ พี ้นื ที่สาหรบั การเรียนรู้ของเด็กรายบุคคล เชน่ เรยี นบนเสื่อ ใช้สญั ลกั ษณ์ แทนขอบเขต รวมถึง การจดั ที่นอน สาหรบั เดก็ ตอ้ งเวน้ ระยะหา่ งระหว่างบคุ คล อย่างนอ้ ย 1.5 เมตร เอกสารเตรยี มความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวัสดิราษฎร์อปุ ถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 42 3. มแี ละใชข้ องใชส้ ่วนตวั ไม่ใช้ของใช้ร่วมกนั เชน่ ผ้ากนั เป้ือน ผา้ เช็ดหนา้ ผา้ เชด็ ตวั แก้วนา้ 4. จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครูและนักเรียน บริเวณทางเข้า และภายในห้อง อย่างเพียงพอ 5. มีการระบายอากาศที่ดี อากาศถ่ายเทสะดวก เช่น เปิดประตู หน้าต่าง หลีกเลี่ยง การใช้ เคร่ืองปรับอากาศ หากจาเป็นใช้เครื่องปรับอากาศต้องกาหนดเวลา เปิด-ปิด เคร่ืองปรับอากาศ และเปิดประตู หนา้ ตา่ ง ระบายอากาศ ทกุ 1 ชว่ั โมง และตอ้ งทาความสะอาดอยา่ งสมา่ เสมอ 6. จัดอุปกรณ์การส่งเสริมพัฒนาการเดก็ อย่างเพยี งพอ สนามเดก็ เลน่ 1. ให้มีการทาความสะอาดเคร่อื งเลน่ และอุปกรณ์การเล่นทุกวัน อย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง ทาความสะอาด ดว้ ยน้ายาทาความสะอาด 2. จัดเคร่ืองเล่น อุปกรณ์การเล่น และนักเรียนให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร และกากบั ดแู ลใหเ้ ด็กสวมหนา้ กากผา้ หรือหนา้ กากอนามยั ตลอดเวลาการเล่น 3. จากัดจานวนนักเรียน จากัดเวลาการเล่นในสนามเด็กเล่น โดยอยู่ในความควบคุมดูแล ของครูใน ชว่ งเวลาพกั เทีย่ ง และหลงั เลิกเรยี น 4. ใหล้ ้างมอื ด้วยสบูแ่ ละนา้ หรือเจลแอลกอฮอล์ ทาความสะอาดมือก่อนและหลังการเล่นทุกคร้งั ห้องสขุ า 1. จัดเตรียมอุปกรณ์ทาความสะอาดอย่างเพียงพอ ได้แก่ น้ายาทาความสะอาด หรือน้ายาฟอกขาว อุปกรณ์การตวง ถุงขยะ ถังน้า ไม้ถูพ้ืน คีมด้ามยาวสาหรับเก็บขยะ ผ้าเช็ดทาความสะอาด และอุปกรณ์ป้องกัน อันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมกับการปฏิบัติงาน เช่น ถุงมือ หน้ากากผ้า เสื้อผ้า ท่ีจะนามาเปล่ียนหลังทาความ สะอาด 2. การทาความสะอาดห้องน้า ห้องส้วม ควรทาความสะอาดอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง ด้วยน้ายาทาความ สะอาดท่ัวไป พื้นห้องส้วม ให้ฆ่าเช้ือโดยใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ (รู้จักกันในช่ือ “น้ายาฟอกขาว”) โดยนามาผสมกับนา้ เพื่อใหไ้ ด้ความเข้มขน้ 0.1 % หรอื 1,000 ส่วนในล้านส่วน หรือ เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวัดบ้านอ่าง(สวัสดริ าษฎรอ์ ุปถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 43 ผลิตภัณฑ์ฆา่ เช้อื ทม่ี สี ว่ นผสมของไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ โดยนามาผสมกับน้า เพ่ือใหไ้ ดค้ วามเข้มข้น 0.5 % หรือ 5,000 ส่วน ในล้านส่วน ราดน้ายาฆา่ เช้อื ทิง้ ไวอ้ ย่างนอ้ ย 10นาที เนน้ เช็ดบริเวณที่รองน่งั โถสว้ ม ฝาปิดโถสว้ ม ท่ี กดชักโครก สายชาระ ราวจับ ลูกบิด หรือกลอนประตู ท่ีแขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมือ ขันน้า ก๊อกน้า ท่ีวางสบู่ ผนัง ซอกประตู ดว้ ยผ้าชุบนา้ ยาฟอกขาว หรือใชแ้ อลกอฮอล์ 70 % หรือ ไฮโดรเจนเปอรอ์ อกไซด์ 0.59 % 3. หลงั ทาความสะอาด ควรซกั ผา้ เชด็ ทาความสะอาดและไม้ถูพน้ื ด้วยน้าผสมผงซกั ฟอกหรือนา้ ยาฆ่าเชื้อ แลว้ ซกั ดว้ ยน้าสะอาดอกี ครง้ั และนาไปผึ่งแดดให้แห้ง หอ้ งพกั ครู 1. จัดโต๊ะ เก้าอ้ี หรือที่น่ัง ให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร ควรคานึงถึงสภาพ บริบทและขนาดพ้ืนท่ีอาจพิจารณาใช้ฉากก้ันบนโต๊ะเรียน และจัดทาสัญลักษณ์ แสดงจุดตาแหน่งชัดเจน โดยถือ ปฏบิ ตั ิตามหลัก Social distancing อยา่ งเครง่ ครัด 2. ใหค้ รสู วมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัยตลอดเวลาทอี่ ย่ใู นโรงเรยี น 3. จัดให้มีการระบายอากาศท่ีดีให้อากาศถ่ายเท เช่น เปิดประตูหน้าต่าง หลีกเลี่ยง การใช้ เครื่องปรับอากาศหากจาเป็นต้องใช้เครื่องปรับอากาศกาหนดเวลาเปดิ – ปิด เครอ่ื งปรบั อากาศเปิดประตูหน้าต่าง ระบายอากาศทุก 1 ชัว่ โมง และทาความสะอาดอยา่ งสม่าเสมอ 4. ใหม้ ีการทาความสะอาดโตะ๊ เก้าอี้ อปุ กรณ์ และจุดสัมผัสเสยี่ ง เชน่ ลูกบดิ ประตู อปุ กรณ์ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ เปน็ ตน้ เป็นประจาทกุ วัน อยา่ งนอ้ ยวนั ละ 2 ครง้ั 5. จดั เตรียมเจลแอลกอฮอล์ใช้ทาความสะอาดมือสาหรับครแู ละผู้มาติดต่อ บรเิ วณทางเข้าดา้ นหน้าประตู และภายในห้องอย่างเพยี งพอและทวั่ ถงึ หอ้ งพยาบาล 1. จดั หาครหู รอื เจา้ หน้าท่ี เพ่อื ดูแลนกั เรียน ในกรณีทีม่ นี ักเรยี นป่วยมานอนพักรอผูป้ กครองมารบั 2. จัดให้มีพื้นที่หรือห้องแยกอย่างชัดเจน ระหว่างนักเรียนป่วยจากอาการไข้หวัดกับนักเรียนป่วยจาก สาเหตุอ่นื ๆ เพ่ือปอ้ งกันการแพร่กระจายเชื้อโรค 3. ทาความสะอาดเตยี งและอุปกรณ์ของใช้ทกุ วนั เอกสารเตรยี มความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ุปถัมภ)์

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 44 4. จดั เตรียมเจลแอลกอฮอล์ใชท้ าความสะอาดมอื บริเวณทางเข้าหนา้ ประตแู ละภายในหอ้ งพยาบาลอย่าง เพียงพอ โรงอาหาร การจัดบริการภายในโรงอาหาร การน่ังกินอาหารร่วมกันของผู้ใช้บริการ รวมถึงอาหาร ภาชนะอุปกรณ์ ตกู้ ดนา้ ดม่ื ระบบกรองนา้ และผูส้ มั ผสั อาหาร อาจเป็นแหล่งแพร่กระจายเชื้อโรค จงึ ควรมีการดแู ล เพื่อลดและการ แพรก่ ระจายเชอื้ โรค ดงั น้ี 1. หน่วยงานท่ีจัดบริการโรงอาหารกาหนดมาตรการการปฏิบัติให้สถานท่ีสะอาด ถูกสุขลักษณะ ดังนี้ - จดั ใหม้ อี ่างลา้ งมือ พรอ้ มสบู่ สาหรบั ใหบ้ ริการแกผ่ ู้เข้ามาใช้บริการโรงอาหาร บรเิ วณก่อนทางเข้าโรง อาหาร - ทุกคนท่จี ะเข้ามาในโรงอาหาร ตอ้ งสวมหน้ากากผ้าหรอื หน้ากากอนามัย - จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร ในพ้ืนท่ีต่าง ๆ เช่น ท่ีน่ังกินอาหารจุด รับอาหาร จดุ ซอื้ อาหาร จดุ รอกดนา้ ดม่ื จุดปฏบิ ตั ิงานรว่ มกนั ของผู้สมั ผัสอาหาร - จัดเหลื่อมช่วงเวลาซื้อและกนิ อาหาร เพื่อลดความแออดั พน้ื ท่ภี ายในโรงอาหาร - ทาความสะอาดสถานที่ปรุง ประกอบอาหาร พื้นที่ตั้งตู้กดน้าด่ืม และพ้ืนที่บริเวณ ท่ีน่ังกินอาหารให้ สะอาด ด้วยน้ายาทาความสะอาดหรือผงซักฟอก และจัดให้มีการฆ่าเช้ือด้วยโซเดียม ไฮโปคลอไรท์ (น้ายาฟอก ขาว) ที่มีความเข้มข้น 1,000 ส่วนในล้านส่วน (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6 % อัตราส่วน 1 ช้อนโต๊ะต่อน้า 1 ลิตร) - ทาความสะอาดโต๊ะและที่น่ังให้สะอาด สาหรับน่ังกินอาหาร ด้วยน้ายา ทาความสะอาดหรือจัดให้มี การฆ่าเชื้อด้วยแอลกอฮอล์ 70 % โดยหยดแอลกอฮอล์ลงบนผ้าสะอาด พอหมาด ๆ เช็ดไปในทิศทางเดียวกัน หลังจากผ้ใู ชบ้ รกิ ารทกุ ครั้ง - ทาความสะอาดภาชนะ อุปกรณ์ และเคร่ืองใช้ให้สะอาด ด้วยน้ายาล้างจาน และให้มีการฆ่าเช้ือด้วย การแช่ในน้าร้อน 80 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 30 วินาที หรือแช่ด้วยโซเดียมไฮโปคลอไรท์(น้ายาฟอกขาว) ท่ีมี ความเข้มข้น 100 ส่วนในล้านส่วน นาน 1 นาที (ใช้โซเดียมไฮโปคลอไรท์ 6 %อัตราส่วนคร่ึงช้อนชาต่อน้า 1 ลิตร) แล้วลา้ งน้าให้สะอาด และอบหรอื พ่งึ ให้แห้ง กอ่ นนาไปใชใ้ สอ่ าหาร - ทาความสะอาดตู้กดน้าด่ืม ภายในตู้ถังน้าเย็น อย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง และเช็ด ภายนอกตู้และ ก๊อกน้าด่ืมให้สะอาดทุกวัน และฆ่าเช้ือด้วยการแช่โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (น้ายาฟอกขาว) ท่ีมีความเข้มข้น 100 ส่วนในลา้ นสว่ น นาน 30 นาที ทกุ ครัง้ ก่อนบรรจุนา้ ใหมใ่ นกรณีที่มีเคร่ืองกรองนา้ ควรทาความสะอาดดว้ ยการล้าง ยอ้ น (Backwash) ทกุ สัปดาห์ และเปลี่ยนไสก้ รองตามระยะเวลากาหนดของผลิตภัณฑ์ และตรวจเช็คความชารุด เสยี หายของระบบไฟฟา้ ท่ีใชส้ ายดิน ตรวจเชค็ ไฟฟา้ ร่วั ตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะบรเิ วณก๊อกนา้ ท่ีถือเป็นจุดเส่ียงเพื่อ ป้องกนั ไฟฟา้ ดูดขณะใช้งาน - จัดบริการอาหาร เน้นคูปอง กันการปนเปื้อนของเช้ือโรค เช่น อาหารปรุงสาเร็จ สุกใหม่ทุกครั้ง หลีกเลี่ยงการจาหน่ายอาหารเส่ียง เช่น อาหารประเภทกะทิ หรืออาหารปรุงข้ามวัน การปกปิด อาหารปรุงสาเร็จ การใช้ภาชนะท่ีเหมาะสมกับประเภทอาหาร และจัดให้มีภาชนะอุปกรณ์สาหรับการกินอาหารอย่างเพียงพอเป็น รายบคุ คล เช่น จาน ถาดหลมุ ช้อน สอ้ ม แกว้ นา้ เปน็ ต้น - ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ภายในโรงอาหาร เช่น การสวมหน้ากากท่ีถูกวิธี ข้ันตอนการล้างมือที่ถูก ตอ้ งการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบุคคล การเลือกอาหารปรุงสุกใหมส่ ะอาด เป็นตน้ เอกสารเตรียมความพรอ้ มการเปิดเรยี นของโรงเรยี นวดั บ้านอ่าง(สวสั ดริ าษฎรอ์ ุปถัมภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 45 - กรณมี ีการใชบ้ ริการร้านอาหารจากภายนอก จัดส่งอาหารให้กับโรงเรียน ควรใหค้ รู หรือผรู้ บั ผิดชอบ ตรวจประเมินระบบสุขาภิบาลอาหารของรา้ นอาหาร โดยกาหนดข้อตกลงการจัดส่งอาหารปรงุ สกุ พร้อมกินภายใน ๒ ชั่วโมง หลังปรุงเสร็จและมกี ารปกปิดอาหาร เพ่อื ป้องกนั การปนเปือ้ นสิง่ สกปรกลงในอาหาร - พิจารณาทางเลือกให้ผู้ปกครองสามารถเตรียมอาหารกลางวัน (Lunch box) ให้นักเรียนมา รบั ประทานเอง เพ่ือป้องกันเช้อื และลดการแพรก่ ระจายเชื้อ 2. ผู้สัมผัสอาหารต้องดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคลมีการป้องกันตนเองและป้องกันการแพร่กระจายเช้อื โรค ดงั นี้ - หากมีอาการป่วย ไข้ ไอ มีน้ามูก เจ็บคอ หายใจลาบาก เหนื่อยหอบ ไม่ได้กลิ่น ไม่รู้รส ให้หยุด ปฏบิ ตั งิ านและแนะนาให้ไปพบแพทยท์ ันที - ดูแลสุขลักษณะส่วนบุคคล มีการป้องกันตนเอง แต่งกายให้สะอาด สวมใส่ผ้ากันเป้ือน และอุปกรณ์ ป้องกนั การปนเป้ือนสู่อาหารในขณะปฏิบตั ิงาน - รักษาความสะอาดของมือ ด้วยการล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้าก่อนปฏิบัติงาน และขณะเตรียม อาหารประกอบอาหาร และจาหนา่ ยอาหารรวมถงึ หลังจากการจบั เหรยี ญหรือธนบัตร หรือสัมผสั สิ่งสกปรก อาจใช้ เจลแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือรว่ มดว้ ยหลีกเลย่ี งการใช้มือสมั ผสั ใบหนา้ ตา ปาก จมูก - สวมใส่หนา้ กากผา้ หรือหน้ากากอนามยั ตลอดเวลาขณะปฏบิ ัตงิ าน - มีพฤติกรรมขณะปฏิบัติงานป้องกันการปนเป้ือนของเชื้อโรค เช่น ใช้อุปกรณ์ ในการปรุงประกอบ อาหาร เช่น เขียง มีด การหยิบจับอาหาร แยกระหว่างอาหารสุก อาหารประเภทเนื้อสัตว์สดผักและผลไม้ หลีกเล่ยี งการปรุงประกอบอาหารบนพนื้ โดยตรง - จัดเมนูอาหารที่จาหน่ายโดยเน้นอาหารปรุงสุกด้วยความร้อน โดยเฉพาะเน้ือสัตว์ ปรุงให้สุกด้วย ความร้อนไม่น้อยกว่า 70 องศาเซลเซียส หลีกเล่ียงการจาหน่ายอาหารบูดเสียง่าย เช่น อาหารประเภทกะทิ และ อาหารท่ีไมผ่ า่ นความรอ้ น เช่น ซูชิ เปน็ ตน้ - อาหารปรุงสาเร็จ จัดเก็บในภาชนะสะอาด มีการปกปิดอาหารจัดเก็บสูงจากพ้ืน ไม่น้อยกว่า 60 เซนติเมตร กรณอี าหารปรงุ สาเร็จรอการจาหนา่ ยให้นามาอ่นุ ทุก ๒ ช่วั โมง - การใช้ภาชนะบรรจุอาหารแบบใช้คร้ังเดียวทิ้งต้องสะอาดมีคุณภาพเหมาะสม กับการบรรจุอาหาร ปรุงสาเรจ็ และไมค่ วรใชโ้ ฟมบรรจอุ าหาร - ระหวา่ งการปฏบิ ัติงาน ใหม้ ีการเวน้ ระยะห่างระหวา่ งบคุ คล อย่างนอ้ ย 1.5 เมตร - ควรพิจารณาใหม้ ีระบบชาระเงนิ ออนไลนส์ าหรบั ผ้บู รโิ ภค 3. ผู้ท่ีเข้ามาใช้บริการโรงอาหารต้องดาเนินการป้องกันตนเองและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคดังนี้ - ลา้ งมือบ่อย ๆ ด้วยสบ่แู ละนา้ หรือใช้เจลแอลกอฮอล์ทาความสะอาดมือทุกครัง้ ก่อนเขา้ ไปในโรง อาหารก่อนกินอาหารภายหลังซื้ออาหารหลังจากจับเหรียญหรือธนบัตร หลังสัมผัสสิ่งสกปรก หรือหลังออกจาก หอ้ งสว้ ม - ทุกคนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่ในโรงอาหาร หรือเข้าไปในสถานท่ี จาหน่ายอาหาร - เลือกซื้ออาหารปรงุ สาเรจ็ สกุ ใหม่ หลีกเลี่ยงการกนิ อาหารประเภทเนือ้ สตั วเ์ คร่อื งในสัตวท์ ่ีปรงุ ไมส่ ุก และตรวจสอบคุณภาพของอาหารทันทีเช่น สภาพอาหาร กล่นิ ความสะอาด และความเหมาะสมของภาชนะบรรจุ มีการปกปิดอาหารมิดชิด ไมเ่ ลอะเทอะ ไม่ฉกี ขาด เป็นตน้ - ให้มีการเวน้ ระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างนอ้ ย 1.5 เมตร ในการซอ้ื อาหารขณะรออาหารนั่งกนิ เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรยี นวดั บา้ นอา่ ง(สวัสดิราษฎรอ์ ปุ ถมั ภ์)

มาตรการ Sandbox Safety Zone In School 46 อาหาร ขณะรอกดน้าดื่ม โดยการรับประทานอาหารให้นักเรียนรับประทานอาหารในบริเวณท่ีจัดให้ตามอาคาร เรียน และใหม้ ีจุดรับ-ส่งอาหาร เพอ่ื ลดการแออัดและการใช้พนื้ ท่รี ่วมกนั รถรบั - ส่งนกั เรียน 1. ทาความสะอาดรถรับนักเรียนและบริเวณจุดสัมผัสเส่ียง เช่น ราวจับ ท่ีเปิดประตูเบาะนั่ง ที่วางแขน ด้วยน้าผสม ผงซักฟอก หรือน้ายาทาความสะอาดที่มีส่วนผสมของโซเดียมไฮโปคลอไรท์(น้ายาฟอกผ้าขาว) และ ปฏิบัติตามคาแนะนาบนฉลากผลิตภัณฑ์(เช่น ผสมโซเดียมไฮโปคลอไรท์ความเข้มข้น 6 % ปริมาณ 20 มิลลิลิตร ต่อนา้ 1 ลิตร) 2. นักเรียนที่ใช้บริการรถรับนักเรียน ต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาท่ีอยู่บนรถ ลด การพูดคยุ กัน เล่นหยอกลอ้ กันรวมถึงกาหนดจดุ รับ – สง่ นกั เรยี นสาหรับผู้ปกครอง 3. ตรวจวัดอุณหภูมิร่างกายของนักเรียนก่อนขึ้นรถรบั นักเรียน หากตรวจพบอุณหภูมิร่างกายเท่ากับหรอื สงู กวา่ 37.5 องศา ไม่อนญุ าตใหข้ ึ้นรถ 4. การจัดท่ีน่ังบนรถรับนักเรียนควรจัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1.5 เมตร ท้ังน้ี ควรคานึงถึงขนาดพ้ืนที่ของรถจานวนท่ีนั่งพิจารณาตามบริบทคุณลักษณะของรถและความเหมาะสม จัดทา สัญลักษณ์แสดง จุดตาแหน่งชัดเจนโดยปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social distancing) อย่าง เครง่ ครดั 5. ก่อนและหลังให้บริการรบั นกั เรียนแต่ละรอบควรเปิดหน้าตา่ ง ประตรู ะบายอากาศ ให้อากาศถา่ ยเทได้ สะดวก 6. จดั ให้มีเจลแอลกอฮอล์สาหรบั ใช้ทาความสะอาดมอื บ่อย ๆ บนรถรับนกั เรยี น เอกสารเตรียมความพร้อมการเปิดเรียนของโรงเรียนวัดบา้ นอา่ ง(สวสั ดิราษฎร์อุปถัมภ์)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook