คํานํ า สํานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เห็นชอบใหมีการจัดกิจกรรม “การประชุมวิชาการนักเรียนหองเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ครั้งท่ี11 เพ่ือใหนักเรียนโครงการหองเรียนพิเศษวิทยาศาสตร คณิตศาสตร เทคโนโลยีและส่ิงแวดลอม ช้ันมัธยมศึกษาปที่6 ประจําปการศึกษา 2562 ไดนําเสนอผลงานโครงงานทางดานวิทยาศาสตรและ คณิตศาสตร พรอมทั้งแลกเปล่ียนองคความรูกับเพ่ือนๆ นักเรียนตางโรงเรียน จํานวน 32 แหง ไดแก โรงเรียนขอนแกนวิทยายน โ ร ง เ รี ย น กั ล ย า ณ วั ต ร โ ร ง เ รี ย น แ ก น น ค ร วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ชุ ม แ พ ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ก า ฬ สิ น ธุ พิ ท ย า ส ร ร พ โรงเรียนอนุกูลนารี โรงเรียนสารคามพิทยาคม โรงเรียนผดุงนารี โรงเรียนบรบือวิทยาคาร โรงเรียนวาปปทุม โ ร ง เ รี ย น ป ย ะ ม ห า ร า ช า ลั ย โ ร ง เ รี ย น น ค ร พ น ม วิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ศึ ก ษ า โ ร ง เ รี ย น ร อ ย เ อ็ ด วิ ท ย า ลั ย โ ร ง เ รี ย น ส ก ล ร า ช วิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ธ า ตุ น า ร า ย ณ วิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ชั ย รั ก ษ พิ ท ย า โ ร ง เ รี ย น เ ต รี ย ม อุ ด ม ศึ ก ษ า ภ า ค ต ะ วั น อ อ ก เ ฉี ย ง เ ห นื อ โ ร ง เ รี ย น อุ ด ร พิ ท ย า นุ กู ล โ ร ง เ รี ย น ส ต รี ร า ชิ นู ทิ ศ โ ร ง เ รี ย น ป ร ะ จั ก ษ ศิ ล ป า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ห น อ ง บั ว พิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ศ รี บุ ญ เ รื อ ง วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ป ทุ ม เ ท พ วิ ท ย า ค า ร โ ร ง เ รี ย น ชุ ม พ ล โ พ น พิ สั ย โ ร ง เ รี ย น เ ล ย พิ ท ย า ค ม โ ร ง เ รี ย น เ ล ย อ นุ กู ล วิ ท ย า โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติฯหนองบัวลําภู โรงเรียนศึกษาสงเคราะหธวัชบุรี โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ร อ ย เ อ็ ด แ ล ะ โ ร ง เ รี ย น เ ฉ ลิ ม พ ร ะ เ กี ย ร ติ ฯ ส ก ล น ค ร โ ด ย ก า ร แ บ ง รู ป แ บ บ การนําเสนอโครงงานออกเปน 2 กลุม ไดแก กลุมนําเสนอแบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอแบบโปสเตอร (Poster Presentation) ซึ่งจําแนกสาขาโครงงานทั้งสองกลุม ออกเปนการนําเสนอแบบปากเปลาจํานวน 7 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและสิ่งแวดลอม 7) ประเภทการนําเสนอเปนภาษาอังกฤษ การนําเสนอแบบโปสเตอรจํานวน 6 สาขา ไดแก 1) สาขาวิชาฟสิกส 2) สาขาวิชาเคมี 3) สาขาวิชาชีววิทยา 4) สาขาวิชาคณิตศาสตร 5) สาขาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร 6) สาขา วิทยาศาสตรโลกและสิ่งแวดลอม สําหรับเอกสารเลมน้ีเปนการรวบรวมบทคัดยอของโครงงานทั้งหมดในกลุมนําเสนอ แบบปากเปลา (Oral Presentation) และกลุมนําเสนอโปสเตอร(Poster Presentation) และรายละเอียดของการจัด กจิ กรรมฯ ในครั้งนี้ คณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารฉบับบนี้จะเปนประโยชนตอนักเรียน ครู คณะกรรมการตัดสินและผูเขารวม กจิ กรรม และขอขอบพระคุณผเู กีย่ วขอ งทกุ ทา นที่ไดใ หความรวมมอื สนบั สนุนการจัดกิจกรรมในครงั้ น้ี คณะผูจ ดั ทาํ 7 สิงหาคม 2562
สารบญั นาํ เสนอแบบปากเปลา หนา O_CHM 01 การศกึ ษาฤทธ์ิการตานอนุมลู อสิ ระจากใบแสงจันทร 1 O_CHM 02 แผน ฟล ม แปง มันสําปะหลัง 2 O_CHM 03 การศึกษาประสทิ ธภิ าพของแผน ฟล ม จากเคซนี ในนํ้านม 3 O_CHM 04 การแตง เตมิ สยี อ มผา จากสธี รรมชาติ 4 O_CHM 05 ฟล ม หอหมุ อาหารจากวชั พืช 5 O_CHM 06 การสงั เคราะหไ คโตซานไฮโดรเจล โดยใชกลูตารอัลดไี ฮดเ ปนสารเช่ือมขวาง 6 O_CHM 07 การศึกษาประสิทธิภาพการปองกนั หอยทากโดยใชส ารสกัดจากใบสาบแรง สาบกาและ 7 8 ใบแมงลักคา 9 O_CHM 08 การศกึ ษาปฏิกริ ยิ าการหมกั แอลกอฮอลในขา ว กข.6 และ ขา วไรซเ บอรี่ 10 O_CHM 09 การกําจัดจอกหูหนยู ักษด วยสารทดสอบชนดิ ตา งๆ 11 O_CHM 10 การศกึ ษาสมบตั บิ างประการของกาบกลว ยเพ่ือพฒั นาเปนเสอ่ื ทอจากกาบกลว ย 12 O_CHM 11 การเปรยี บเทยี บประสิทธภิ าพการลอกกาวไหม โดยใชน ้ําดางจากวัสดธุ รรมชาติ 13 O_CHM 12 ผลิตภณั ฑขจัดคราบสกปรกบนเส้ือผาจากนา้ํ มะนาว 14 O_CHM 13 การศึกษาประสทิ ธภิ าพการดูดซับโลหะหนกั ของถานซังขาวโพด 15 O_CHM 14 การสงั เคราะหอ นุภาคซิลเวอรน าโนดว ยวิธีเคมีสีเขียวโดยใชสารสกดั จากเปลอื กผลไม 16 O_CHM 15 การศึกษาปจ จัยที่ทาํ ใหส ารละลายอิเล็กโทรไลตเ ปน พลังงานแบตเตอร่ี 17 O_CHM 16 การศึกษาการสังเคราะหฟ ลม จาก CMC 18 O_CHM 17 การเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพในการทนความรอ น 19 O_CHM 18 เปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพในการดูดซับตะก่วั โดยซิลิกาจากเปลอื กขาวโพด แกลบขา ว 20 21 และชานออ ย 22 O_CHM 19 ฤทธิต์ า นอะนมุ ลู อิสระของสารสกดั โปรตีนหยาบจากดักแดไหม สายพันธุร อยเอด็ 3 23 O_CHM 20 การศกึ ษาเปรยี บเทียบอัตราสวนผสมของวสั ดดุ ูดความชนื้ ขากธรรมชาติและซลิ กิ าใน 24 25 การดดู ความช้ืนของมันฝรั่งทอดกรอบ 26 O_CHM 21 เทคนคิ การยอมสที ส่ี ามารถลดระนะเวลาการยอมดวยสารละลายเปลอื กประดู 27 O_CHM 22 ประสทิ ธภิ าพในการดูดซบั สารตะกั่วของสารสกัดจากเปลือกทับทมิ และหมาก 28 O_CHM 23 การเพ่ิมประสทิ ธิภาพโฟมโปรตีนดับเพลิงจากไมยราบยักษด วยนาโนซงิ คอ อกไซด O_CHM 24 การศึกษาฤทธิ์ในการตา นอนมุ ูลอสิ ระจากลกู หวา นาํ เสนอแบบโปสเตอร P_CHM 01 ตรวจสอบสารฟอกขาวดวยกระดาษสารสกดั จากพชื P_CHM 02 ประสทิ ธภิ าพของสารสกดั จากกระชายดาํ ตอการยับยงั้ เชื้อราในกระเทยี ม P_CHM 03 ผลของสารละลายฝก คูนและใบหูกวางตอ หอยเชอร่ี P_CHM 04 การศึกษาสียอ มผมหงอกจากใบเทียนก่ิง กากกาแฟ และดอกอญั ชัน
นําเสนอแบบโปสเตอร หนา P_CHM 05 การศึกษาการเปรยี บเทียบประสิทธภิ าพวัสดุดูดซบั จากเถา ตอซังขาวดว ยวธิ กี าร 29 30 ตกตะกอน 31 P_CHM 06 การศึกษาการบาํ บดั นํา้ จากแหลงนํ้าผิวดินทเี่ ปน นาํ้ เสียจากชมุ ชนเมอื งโดยใชพชื ลอยนาํ้ 32 P_CHM 07 การเปรยี บเทียบประสทิ ธภิ าพของกรดฟอรมิกในน้ําหมกั กลว ยนํ้าวาและมะละกอ 33 P_CHM 08 การสงั เคราะหคารบ อกซิเมทธิลเซลลูโลสจากเปลือกสมโอ 34 P_CHM 09 การศกึ ษาความเขมขน ของสารสกดั หยาบจากใบมะละกอผสมนาโนซงิ คอ อกไซด ในการ 35 36 ยบั ย้ังสาเหตุโรคของใบแหง 37 P_CHM 10 อตั ราสวนที่มีผลตอ การติดทนของสีในผา สกรีน 38 P_CHM 11 ถังดกั ไขมันดวยตวั ดดู ซบั จากฝา ย ฟางขาว และกากมะพรา ว 39 P_CHM 12 การศึกษาการเปรียบเทียบประสทิ ธภิ าพการดูดซบั โลหะหนกั ตะก่วั จากสารสกัดสมนุ ไพร 40 41 4 ชนิด 42 P_CHM 13 การหารอยลายน้วิ มือแฝงบนวัตถพุ ยานทเี่ ปนโลหะโดยใชเซลลไ ฟฟา เคมี 43 P_CHM 14 การศึกษาประสทิ ธภิ าพของแอลกอฮอลแข็งทีผ่ สมดว ยอนภุ าคนาโน 44 P_CHM 15 สบทู ํามือแบบกอ นขุน 45 P_CHM 16 การปรบั ปรุงผาดว ยซิงคออกไซดและซิลิกอลออกไซด 46 P_CHM 17 การศกึ ษาปจ จัยท่มี ผี ลตอการตดิ สใี นการยอ มคราม 47 P_CHM 18 การพัฒนาชดุ ตรวจหารอยลายนว้ิ มอื แฝงบนวตั ถพุ ้ืนผิวเปยกไมม ีรูพรนุ 48 P_CHM 19 การศึกษาหาปรมิ าณสารประกอบฟนอลรวมจากพืชสมุนไพรพืน้ บาน 49 P_CHM 20 กระดาษจากกาบกลวย 50 P_CHM 21 การชะลอการเกดิ สีนา้ํ ตาลในผลไมโดยใชส ารส 51 P_CHM 22 ซงิ คอ อกไซดจากใบเขลง 52 P_CHM 23 การสกดั เพคตนิ จากเปลือกสม 53 P_CHM 24 การศึกษาอตั ราสวนปุย ทม่ี ผี ลตอการเจริญเติบโตของพืช 54 P_CHM 25 การเปรียบเทยี บการกรอ นสนมิ ดว ยสารละลายอิเลก็ ทรอไลต 55 P_CHM 26 ดดู ซับตะก่ัวโลหะหนัก 56 P_CHM 27 การศึกษาสมบตั ิเบือ้ งตน ของพลาสติกทย่ี อ ยสลายไดทางชีวภาพ (Biodegradable 57 plastics) ทมี่ สี ว นผสมระหวา งโฟมกับเสนใยจากธรรมชาติ P_CHM 28 การสกัดฟอรมาลีนในอาหารทะเลดวยสารสกัดจากใบหญา นาง P_CHM 29 น้าํ หมึกจากธรรมชาติ P_CHM 30 การตรวจสอบปรมิ าณและฤทธ์ยิ ับยงั้ แบคทีเรยี ของสารแทนนินท่สี กดั จากพืช P_CHM 31 การเปรียบเทยี บประสทิ ธภิ าพของการลอกกาวของเสน ไหมระหวา งสารซาโปนิน P_CHM 32 การศกึ ษาประสิทธภิ าพการกาํ จดั สยี อมในหอ งปฏบิ ัติการจากเปลือกผลไม P_CHM 33 พลาสตกิ ชีวภาพขากไสคลา
หนา 1 อปุ กรณข์ น้ึ รูปถว้ ยใบไม้ ภาณุเดช วงค์สุธา1, ฐิติมา ขอสุข1, ขวญั นภา ชนะชยั 1 อาสรา คัวอกั เถงิ 2 และ กติ นุรัตน์ พฤกษชาติ2 1นักเรียนโรงเรียนศรบี ุญเรอื งวิทยาคาร, E-mail: [email protected] 2โรงเรียนศรีบุญเรืองวิทยาคาร บทคัดย่อ อปุ กรณ์ขึ้นรปู ถว้ ยใบไม้ท่ีสร้างข้ึนมีขนาด 40 x 50 x 100 ซม3 (ก x ย x ส) ประกอบด้วย ฐานวางเตาแก๊ส, แบบพิมพ์ ตัวเมยี , แบบพิมพ์ตัวผู้ และโครงสร้างยดึ แบบพมิ พต์ วั ผู้ ซึ่งมีค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งส้ิน 1,640 บาท สามารถข้ึนรูปถ้วยใบไม้จาก ใบไม้ท่ีมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางอย่างน้อย 25 ซม. ขึ้นไป ในการศึกษาครั้งนี้ได้คัดเลือกใบไม้ในท้องถ่ินมา 5 ชนิด ได้แก่ ใบทองกวาว, ใบสกั , ใบตองตงึ , ใบยอบ้าน และใบตองแห้ง พบวา่ ถว้ ยใบไม้มีรูปทรงตามแบบพมิ พ์ (เส้นผ่านศูนย์กลาง 18 ซม. ลึก 8 ซม.) ซ่งึ การขึน้ รปู ถ้วยใบไม้ทท่ี าจากใบสด (ใบทองกวาว, ใบสัก, ใบตองตึง และใบยอบ้าน) จะใช้เวลานานกว่าใบแห้ง (ใบตอง แห้ง) โดยใบสดจะมีความอ่อนตัวในช่วงแรกหลังจากข้ึนรูปมากกว่าใบแห้งแต่จะคงรูปเช่นเดียวกับใบแห้งเมื่อเวลาผ่านไป 3-5 นาที เมื่อศึกษาอัตราการผลิตถ้วยใบไม้ของอุปกรณ์ข้ึนรูปถ้วยใบไม้ พบว่า อัตราการผลิตถ้วยใบไม้จากใบตองแห้ง, ใบสัก, ใบ ทองกวาว, ใบตองตึง และใบยอบ้าน มีค่าเท่ากับ 31, 26, 24, 24 และ 20 ใบต่อช่ัวโมง ตามลาดับ โดยถ้วยใบไม้จากใบไม้ทุก ชนิดที่ข้ึนรูปมีความคงทน ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรง เมื่อตกจากที่สูงในระดับ 250 ซม. แต่ถ้วยใบไม้จากใบทองกวาวและ ใบตองตงึ มีความคงรูปสูงสุด คือสามารถรองรับน้าได้ 500 มล. โดยท่ีถ้วยไม่เกิดการร่ัวหรือฉีกขาด ในขณะท่ีถ้วยใบไม้จากใบสัก สามารถรองรับน้าได้ 300 มล. แล้วเกดิ การร่ัวทีบ่ ริเวณก้นถ้วย ซึง่ ถ้วยใบไม้จากใบยอบา้ นและใบตองแห้งสามารถรองรับน้าได้น้อย ที่สุด คือ 200 มล.และยังเกิดการรั่วแล้วฉีกขาดของถ้วยที่บริเวณก้นถ้วย เม่ือทาการศึกษาความเหนียวของถ้วยใบไม้จากใบ ทองกวาวและใบตองตึงสามารถทนแรงดึง 15 นวิ ตนั ซ่ึงเปน็ ค่าความเหนยี วสงู สุด รองลงมาคอื ใบสัก, ใบตองแห้ง และ ใบยอบ้าน ทสี่ ามารถทนแรงดึงได้ 10, 10 และ 5 นิวตัน ตามลาดับ ทั้งนี้เม่ือนามาทดสอบการรั่วซึม โดยนาถ้วยใบไม้มาใส่อาหาร 3 ชนิด ได้แก่ ขา้ วตม้ ขา้ วสวย และ น้าแข็ง พบว่าถ้วยใบไม้จากใบทองกวาว, ใบสัก และใบตองตึง สามารถบรรจุอาหารทั้ง 3 ชนิด ได้ โดยทไ่ี มม่ กี ารรวั่ ซมึ ของอาหารและคงรปู ไดต้ ลอดการใช้งาน ในขณะท่ถี ว้ ยใบไมจ้ ากใบยอบ้านและใบตองแห้งสามารถบรรจุอาหาร ทง้ั 3 ชนิด แต่พบการซึมของของเหลวจากอาหารและไม่สามารถคงรูปได้เมือ่ เวลาผา่ นไป 6 ช่วั โมงหลงั การบรรจอุ าหาร คาสาคญั : ถว้ ยจากใบไม,้ อุปกรณ์ข้ึนรปู ถ้วยจากใบไม้
หนา 2 การศึกษาผลของสารสกดั แทนนนิ ตอ่ การยบั ยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของเชื้อรา Aspergillus niger นันทิกา โสดาวิชิต1 , ศราวิณี ประจันติ1 , ภูรดา คามงคล1 กาญจนา ทองจบ2 และ หนง่ึ ฤทยั อเุ ทศ2 1 นกั เรียนโรงเรียนชมุ พลโพนพิสัย, Email : [email protected] 2 โรงเรียนชมุ พลโพนพสิ ยั บทคัดย่อ การศึกษาประสทิ ธภิ าพของสารสกัดแทนนนิ ท่ีได้จากพชื 3 ชนิด ไดแ้ ก่ เปลอื กมงั คดุ ใบพลู ใบกระถนิ ในการยบั ยั้ง เช้อื รา Aspergillus niger ซงึ่ พบในพชื ตระกลู หอม ข้าวโพด องุน่ และเคร่อื งเทศ เป็นตน้ ซ่ึงเชื้อรา Aspergillus niger สามารถสร้างสารพิษเช่น สารพษิ ochratoxin A และ fumonisin B2 และ B4 ซึ่งเป็นสารท่ีอาจเกดิ มะเร็ง การทางานผิดปกติ ของไตและทาใหร้ ะบบภูมคิ ุม้ กนั ในสัตว์ผดิ ปกติ เม่ือศึกษาประสิทธภิ าพของสารสกัดแทนนินจากพืชแต่ละชนิดในปริมาณ 40 กรมั ต่อตวั ทาละลายเอทิลแอลกอฮอล์ 60 มลิ ลลิ ติ ร ในอตั ราส่วนPDA 100 มลิ ลิลติ ร พบวา่ สารสกดั จากกระถินไม่สามารถ ยบั ยง้ั การเจรญิ เติบโตของเชอ้ื ราได้ ส่วนสารสกัดจากใบพลูสามารถยับย้งั การเจรญิ เติบโตของเชื้อรา Aspergillus niger ได้ และเม่อื ศกึ ษาประสิทธภิ าพความเขม้ ข้นท่เี หมาะสมของสารสกดั จากใบพลทู ีม่ กี ารยับย้งั ได้ดี โดยใชอ้ ัตราส่วนของ PDA 100 มิลลิลิตร ตอ่ สารสกัดจากพลู 40, 30, 20 และ 10 มลิ ลิลิตร ตามลาดับ พบว่า สารสกดั จากใบพลูมปี ระสทิ ธภิ าพในการยับยัง้ การเจรญิ เติบโตของเส้นใย (% inhibition) เป็น 90.5% , 72.6% , 68.6% และ 37.3% ตามลาดบั คาสาคัญ : สารสกดั , การยบั ย้งั การเจรญิ เติบโต , เช้ือรา Aspergillus niger , ใบพลู, เปลอื กมังคดุ , ใบกระถิน, สารพิษ ochratoxin A, สารพิษ fumonisin B2, สารพษิ fumonisin B4
หนา 3 การทดสอบประสิทธภิ าพการใชไ้ คโตซานเคลือบปุ๋ยเคมี สตู ร 15-15-15 เพอื่ ชะลอการปลดปลอ่ ยแรธ่ าตุ และการปรบั สภาพหน้าดิน บัณฑิตา สทุ ธทิ รพั ย์1 , สวรส ยงคค์ าชา1 , สภุ ัชรีญา ศรีวงศแ์ สง1 , จนั ทเนตร นะสาโร2 1นักเรยี นโรงเรียนอนุกูลนาร,ี E-mail: [email protected] 2โรงเรยี นอนุกลู นารี บทคัดย่อ ปัจจบุ นั มีการใช้ปุย๋ เคมมี ากมายสง่ ผลต่อท้ังดนิ นา้ อากาศ การใช้ปยุ๋ เคมมี ากจะท้าให้ดินเสอ่ื มคณุ ภาพ ผู้จัดการทา้ จงึ ได้ จัดทา้ โครงงานการทดสอบประสทิ ธภิ าพการใช้ไคโตซานเคลือบปุ๋ยเคมีตอ่ การปรับสภาพหน้าดิน เพื่อชะลอการปลดปลอ่ ยของปุ๋ย โดยมีวตั ถุประสงคด์ งั นี้ 1. เพอ่ื ศกึ ษาคณุ สมบัตกิ ารเคลอื บป๋ยุ ของไคโตซานจากกระดองปู 2. เพอื่ ศึกษาการละลายปยุ๋ เคมสี ตู ร 15-15-15 เขา้ กบั ไคโตซาน 3. เพอ่ื ศึกษาการชะลอการปลดปลอ่ ยป๋ยุ เคมีสตู ร 15-15-15 โดยคณุ ภาพของดนิ ไม่เส่อื มคณุ ภาพ มแี รธ่ าตุ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) โพแทสเซียม (K) และปริมาณความเปน็ กรด-เบส ท่พี อเหมาะตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของพชื ผลการทดลองพบว่า กระดองปูมีไคโตซาน สามารถใช้ไคโตซานเคลอื บป๋ยุ ทีท่ า้ จากกระดองปู มีคุณสมบตั เิ ป็นวสั ดชุ ีวภาพ (Biomaterials) ย่อยสลายตามธรรมชาตไิ ม่เกดิ ผลเสยี และปลอดภยั ตอ่ สิ่งแวดล้อม ละลายได้ในกรดออ่ น การใช้ปยุ๋ เคมตี ลอด จงึ ท้าใหด้ ินแข็ง และ แนน่ เพราะมอี นิ ทรยี วัตถุเจอื ปนอย่นู ้อย ปุย๋ ทล่ี ะลายเขา้ กับไคโตซานท่ีไดจ้ ากกระดองปูสามารถชะลอการปลดปลอ่ ยได้นานถงึ 3 วนั ในขณะทใ่ี สป่ ๋ยุ เคมีเพยี งอยา่ งเดยี วจะใชร้ ะยะเวลาในการละลายรวดเร็วกวา่ เปน็ การลดคา่ ใชจ้ า่ ยในการใสป่ ยุ๋ ดินทน่ี า้ มา วิเคราะหป์ ริมาณแรธ่ าตุ มี ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม อยู่ในระดับสงู มคี วามเป็นกรดอ่อน แต่ถา้ ใส่ปุ๋ยเคมีเพยี งอยา่ งเดียว จะมคี วามเปน็ กรดมาก ถ้าน้าปุ๋ยมาละลายเข้ากับไคโตซานจะท้าใหป้ ๋ยุ ทเี่ คลือบด้วยไคโตซานสามารถชะลอการปลดปลอ่ ยแรธ่ าตุ นา้ ธาตุทอ่ี ย่ใู นปยุ๋ มาใช้ไดม้ ากยิง่ ขนึ้ และไคโตซานสามารถปรบั สภาพดินให้เหมาะแก่การเจรญิ เตบิ โต จากการทดลองขา้ งตน้ จะเห็นว่า การเคลอื บปุ๋ยดว้ ยไคโตซานจากกระดองปู สามารถเพม่ิ ปรมิ าณไนโตรเจน(N) ฟอสฟอรัส(P) และโพแทสเซยี ม(K) และสามารถปรบั ดินที่เป็นกรดให้อยูใ่ นสภาพทีเ่ หมาะสมต่อการเจริญเตบิ โตของพืชได้ คาสาคัญ: ไคโตซาน, ปยุ๋ เคม,ี การชะลอการปลดปลอ่ ยแร่ธาตปุ ๋ยุ เคมี
หนา 4 การศึกษาความสามารถในการยบั ยง้ั เชื้อแบคทีเรียของเซลลูโลสไฮโดรเจล ท่มี นี าโนแคลเซียมคารบ์ อเนตเปน็ สารตวั เติม ธนทั ร ดวงสฤุ ทธ1์ิ , จุฬารตั น์ บญุ มาธรรม1 , รินรดา องั วราวงศ์1 กลุ ธิดา ทนี อ้ ย2 และ ณัชทตั ลมิ ปเ์ ศวต2 1นักเรียนโรงเรยี นขอนแก่นวิทยายน , Email : [email protected] 2 โรงเรยี นขอนแก่นวิทยายน บทคัดย่อ โครงงานน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพ่ือสังเคราะห์นาโนแคลเซียมคาร์บอเนตจากผงแคลเซียมคาร์บอเนต 2) เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพการยับยั้งเช้ือแบคทีเรียของนาโนแคลเซียมคาร์บอเนต 3) เพ่ือเปรียบเทียบประสิทธิภาพ การยับย้ังเช้ือแบคทีเรียของเซลลูโลสไฮโดรเจลที่มีนาโนแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นสารตัวเติมเปรี ยบเทียบกับเซลลูโลส ไฮโดรเจลในสภาวะปกติ ผลการทดลอง พบว่า นาโนแคลเซียมคาร์บอเนตมีค่าการดูดกลืนแสงสูงที่สุดอยู่ในช่วง 542, 685, 967 nm จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า อนุภาคที่นามาทดสอบมีค่าการดูดกลืนแสง (absorbance) อยู่ในช่วงเดียวกันกับนาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ดังนั้น จึงสามารถยืนยันได้ว่าอนุภาคแคลเซียมคาร์บอเนตที่สังเคราะห์ได้ มีขนาดอนุภาคเป็นนาโน เมื่อนานาโนแคลเซียมคาร์บอเนตท่ีได้มาทดสอบประสิทธิภาพการยับย้ังเช้ือแบคทีเรีย พบว่า นาโนแคลเซียมคาร์บอเนต ปริมาณ 5 กรัม มีประสิทธิภาพในการยับย้ังเชื่อแบคทีเรียได้ดีท่ีสุด โดยสามารถยับย้ังเช้ือ แบคทีเรียได้ร้อยละ 71.56 และเม่ือนานาโนแคลเซียมคาร์บอเนตที่ได้ไปผสมกับเซลลูโลสไฮโดรเจล พบว่า ไฮโดรเจลท่ีมี นาโนแคลเซียมคาร์บอเนตเป็นสารตัวเติม มีประสิทธิภาพในการยับยั้งแบคทีเรีย โดยนาโนแคลเซียมคาร์บอเนต 5 กรัม มีประสิทธิภาพในการยับย้งั เช่ือแบคทเี รียได้ดที สี่ ดุ โดยสามารถยับยง้ั เชื้อแบคทเี รยี ไดร้ ้อยละ 73.86 คาสาคญั : เซลลโู ลสไฮโดรเจล, นาโนแคลเซยี มคารบ์ อเนต, การยับย้ังเชื้อแบคทีเรยี
หนา 55 ศึกษาผลการยบั ยง้ั เชือ้ แบคทีเรยี E.coli ดว้ ยสารสกดั หยาบจากพชื แพรวประภา วุฒสิ าร1, สิรนิ ดา หนเู ผา่ 1 นายโกศล สสี ังข2์ , นายภาคภูมิ เนยี มบุญ2, นางรดา สนิ ธศุ ิร2ิ ผศ.ดร.คคนางค์ รตั นานคิ ม3 1นักเรยี นโรงเรยี นกาฬสนิ ธพ์ุ ทิ ยาสรรพ์, Email:[email protected] 2โรงเรียนกาฬสินธุพ์ ิทยาสรรพ์ 3ครทู ป่ี รกึ ษาพิเศษโครงงาน มหาวิทยาลยั กาฬสินธุ์ บทคัดยอ่ ปัญหาการปนเป้ือนของเชื้อแบคทีเรียในอาหารเป็นหน่ึงในปัญหาหลักท่ีสามารถพบได้ท่ัวโลก ปัญหาดังกล่าว ไม่เพียงส่งผลในเร่ืองการเน่าเสียของอาหาร แต่อาจนาไปสู่ปัญหาเรื่องสุขภาพของมนุษย์ได้ เช้ือ Escherichia coli (E.coli) เป็นเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของการเกิดอุจจาระร่วง ดังน้ันหากมีการปนเปื้อนของเชื้อดังกล่าวในอาหารจะทาให้เกิด ผลเสียท้ังต่ออาหารโดยตรงและต่อมนุษย์อย่างแน่นอน ดังน้ันโครงงานน้ีจึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการยับยั้งการเจริญ ของเชื้อ E.coli ด้วยสารสกัดหยาบจากใบพลูและใบรางจืดโดยวิธีรีฟลักซ์ด้วยแอลกอฮอล์ 50% จากการศึกษาการยับย้ัง การเจริญของเชอื้ E.coli ดว้ ยวิธี Agar–disc diffusion พบว่าสารสกัดหยาบจากใบพลูมีประสิทธิภาพในการยับยั้งการเจริญ ของเชื้อ E.coli ได้ดีท่ีสุด มีค่าเฉลี่ยเส้นผ่านศูนย์กลางของบริเวณยับยั้งเท่ากับ 11.337 มิลลิเมตร คิดเป็นร้อยละ 48.25 เม่ือเทียบกับยาปฏิชีวนะท่ีมีความเข้มข้น 30 µg/disc ในส่วนสารสกัดหยาบจากใบรางจืดพบว่ามีการแพร่กระจายของสาร แต่ไม่พบผลการยับย้ังการเจริญของเชื้อ E.coli จากผลการศึกษาในคร้ังน้ีแสดงให้เห็นว่าใบพลูมีสารสาคัญที่สามารถยับยั้ง การเจรญิ ของเช้ือ E.coli ได้ จึงเหมาะแก่การนาไปศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับสารต้านแบคทีเรียเพ่ือพัฒนาใช้ทดแทนยาปฏิชีวนะ หรอื สารกนั เสียในอาหารต่อไป คาสาคญั : Escherichia coli, พลู, รางจืด, สารสกดั หยาบ, ยับย้ังการเจรญิ
หหนา 6 การศกึ ษาเปรยี บเทยี บประสิทธิภาพของสารสกดั จากเปลอื กมังคุดและเปลือกกลว้ ยดบิ ในการกาจดั เช้ือรา Trichoderma spp. ในกอ้ นเห็ดนางฟ้า ชลิดา แสนสขุ 1 , วศินี โพสาราช1 , อัญชลีกร บุญรักษา1 , วยิ ะดา สริ ิอมตธรรม2 1 นกั เรยี นโรงเรียนเตรียมอุดมศกึ ษา ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ, E-mail [email protected] 2 โรงเรียนเตรยี มอดุ มศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื บทคดั ย่อ โครงงานเร่ือง การศึกษาเปรียบเทียบประสทิ ธิภาพของสารสกัดจากเปลือกมังคุดและเปลือกกล้วยดิบในการกาจัด เช้ือรา Trichoderma spp. ในก้อนเห็ดนางฟ้า มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดเปลือกมังคุดและ เปลือกกล้วยดิบในการกาจัดเช้ือรา Trichoderma spp. และหาความเข้มข้นของสารสกัดท่ีเหมาะสมในการกาจัดเช้ือรา Trichoderma spp. ในก้อนเห็ด โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 3 ขั้นตอน คือ ตอนที่ 1 สกัดสารจากเปลือกมังคุดและ เปลอื กกลว้ ยดิบ โดยวธิ กี ารสกัดแอลกอฮอล์ นาน 7 วัน จากน้ันระเหยโดยการอังบนไอนา้ แล้วนาสารสกัดเขม้ ข้นรอ้ ยละ 2 โดยปริมาตร ในอัตราส่วน (1:50) มาทดสอบกับเช้ือรา Trichoderma spp. ในจานเพาะเช้ือ ผลการทดลองพบว่า หลังจาก พ่นสารสกัดท้ัง 2 ชนิดลงบนจานเพาะเชื้อเป็นเวลา 1 วัน เช้ือรา Trichodema spp. ท่ีมีสีเขียวเปลี่ยนเป็นสีขาวและหลัง จากนั้น 3 วัน ไม่พบเช้ือรา Trichodema spp. ในจานเพาะเชื้อ ตอนที่ 2 ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารสกัดจาก เปลอื กมงั คุดและเปลอื กกลว้ ยดิบเพื่อหาความเข้มข้นทีเ่ หมาะสม ผลการทดลองพบวา่ สารสกัดจากเปลือกมังคุดความเข้มข้น ร้อยละ 4 โดยปริมาตร สามารถกาจัดเช้ือรา Trichoderma spp. ได้ดีท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 72.22 และเมื่อเปรียบเทียบผล การกาจัดเช้ือรากับสารพลายแก้วในอัตราส่วนที่เท่ากัน พบว่าสารพลายแก้วสามารถกาจัด เชื้อรา Trichoderma spp. ได้ คิดเป็นร้อยละ 77.78 ดังน้ัน สารสกัดเปลือกมังคุดมีประสิทธิภาพใกล้เคียงกับสารพลายแก้วในการกาจัดเช้ือรา Trichoderma spp. ในก้อนเหด็ นางฟ้า คาสาคญั : สารสกดั จากเปลอื กมงั คดุ , สารสกัดจากเปลือกกลว้ ยดบิ , เช้อื รา Trichoderma spp. , สารพลายแก้ว
หนา 7
หนา 8 พลาสติกชีวภาพจากเซลลโู ลสของใบออ้ ย ธารวลี ดพี รม1 , สลิตตา อปั มาทัง1, ณศปิ ภฏั ญ์ ทองปาน2 , ดารานลิ นิรงบตุ ร2 และยทุ ธศลิ ป์ ผาบเขวา2, 1นักเรยี นโรงเรยี นผดุงนารี , E-mail:[email protected] 2โรงเรียนผดุงนารี บทคัดย่อ ปัจจบุ ันพลาสติกไดเ้ ข้ามามีบทบาท และเป็นส่วนหนึง่ ในชวี ติ ประจาวันของมนุษย์ ซ่ึงการใชป้ ระโยชน์เพียงเล็กน้อย ในช่วงเวลาสนั้ ๆ ของพลาสตกิ ไดท้ าใหเ้ กดิ โทษต่อระบบนเิ วศ และชีวิตของผ้บู ริโภคอย่างตอ่ เนอ่ื งและยาวนาน คณะผจู้ ัดทาจงึ สนใจนาเซลลโู ลสจากใบออ้ ยมาผลติ เป็นพลาสติก เพ่ือเป็นการเพ่มิ มลู ค่าใหแ้ กใ่ บออ้ ยและลดการใช้พลาสติกที่ส่งผลตอ่ ภาวะ โลกร้อน วัตถุประสงค์เพ่ือผลติ พลาสติกชีวภาพจากใบอ้อยท่ีเป็นวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตร และเปรียบเทยี บประสิทธิภาพ พลาสติกชีวภาพดว้ ยระดับของความเข้มข้น 3 ระดับของกลีเซอรอล ได้แก่ ความเข้มขน้ ที่ 20% w/v, 25% w/v, 30% w/v ผลการศึกษา พบว่า 1) สามารถผลิตพลาสติกชีวภาพจากวัสดุเหลือท้ิงทางการเกษตร เป็นการนาใบอ้อยที่เหลือท้ิงทาง การเกษตรมาใช้ในการผลิตพลาสติกชีวภาพส่งผลให้วัสดุเหลือทิ้งถูกนามาใช้ประโยชน์ และเป็นการลดการเผาขยะเหลือท้ิง เหล่านี้ 2) การใช้กลีเซอรอลเป็นพลาสติกไซเซอร์ ที่ความเข้มข้น 25% w/v มีผลทาให้พลาสติกชีวภาพมีอัตราการซึมผ่าน ของน้าท่ีนอ้ ยท่สี ุด และมีการยืดตวั ได้ดี คาสาคญั : พลาสติกชวี ภาพ , เซลลูโลสจากใบอ้อย , กลีเซอรอล
หนา 9 ศึกษาประสทิ ธิภาพผงพืชในทอ้ งถนิ่ ทม่ี ผี ลตอ่ การตรวจสอบรอยลายนว้ิ มอื ปริศนา แขง็ ฤทธิ์1 ,วจี พาที1 ,วิภาวี ศรสี ะอาด1 นางกาญจนา ทองจบ2 และนางหนงึ่ ฤทยั อเุ ทศ2 1นักเรยี นโรงเรยี นชุมพลโพนพิสยั , E-mail :[email protected] 2โรงเรียนชมุ พลโพนพิสัย บทคัดย่อ การศึกษาประสิทธิภาพผงพชื ในท้องถนิ่ ที่มีผลต่อการตรวจสอบรอยลายนว้ิ มอื มีวตั ถุประสงค์เพ่อื ศึกษาประสิทธภิ าพ ของผงพืชในท้องถนิ่ ท่ีมีผลต่อการตรวจสอบรอยลายนิ้วมอื และศึกษาปริมาณของผงพืชในท้องถิน่ ท่มี ผี ลต่อการปรากฏขนึ้ ของ รอยลายนิ้วมือ โดยใช้ผงมังคดุ ผงอญั ชนั และผงใบยูคาลิปตัส ซ่ึงเป็นวตั ถุดบิ จากธรรมชาติ ในการทดลองนาผงพืชในธรรมชาติ มารอ่ นผา่ นตะแกรงทม่ี ีขนาดเดยี วกนั และนาไปทาการหารอยลายน้ิวมอื จากน้ันนามาเปรียบเทียบกบั รอยลายน้ิวมือจากผง คารบ์ อนโดยใชล้ ายน้ิวมือคนเดยี วกัน น้าหนกั มือเท่ากัน และนาผงที่มปี ระสทิ ธิภาพใกล้เคยี งกับผงคาร์บอนมากทสี่ ุดมาทาการ ทดลองโดยนามาร่อนในตะแกรงทีม่ ีความละเอียดต่างกัน 3 ขนาด โดยมี 100 เมส 250 เมส และ400 เมส เพ่อื หาขนาดฝุ่นผง ท่ีดีสดุ ในการตรวจหาลายนิ้วมือ และนาไปทดลองใช้กบั นักเรยี น 5 คนทีม่ ีรอยลายน้ิวมือต่างกัน พบว่า ผงพืชท่ีนามาศึกษาท่ีมีประสทิ ธิภาพใกล้เคียงกบั ผงคาร์บอนที่สดุ คือ ผงใบยูคาลปิ ตสั รองลงมาเปน็ ผงเปลือก มังคดุ และสดุ ทา้ ยเปน็ ผงดอกอัญชนั และในการศึกษาผงพืชขนาดต่างกันทั้งสามขนาดพบว่าขนาดของผงพืชทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ ดีท่สี ุดคอื ผงพืชทรี่ ่อนผ่านตะแกรง 400 เมส 250 เมส และ 100 เมส ตามลาดบั หมายความว่ายง่ิ ผงพืชมีขนาดเล็กก็จะทาให้ เห็นรอยลายนิ้วมือเดน่ ชดั ข้ึนเทา่ นั้น และเม่ือทดลองใช้กับนักเรียนทั้ง 5 คน พบวา่ ประสทิ ธิภาพของรอยลายนิ้วมือทีไ่ ด้ ระหว่างผงใบยคู าและผงคาร์บอนมปี ระสิทธภิ าพใกล้เคยี งกนั คาสาคัญ: ผงพชื ในท้องถน่ิ
หนา 10 / . .n1\"a�h:if\")�UllJ\"a::wh�,i'11-wu5 n,i69 (-.iuti:u'ti:ULL'Vi) LL�::,i'11�\"1ilv16\"uth,iiJ� 1 �'dViil'Ll'\\.!1:'L1�\"'t\"rn'l!lru::'dV19a1,1U'Vl1'1.1lJl,tl 'IL\"'afl,Jtl\\J'ILJ\\ LL\\..1,� (Bacterial Leaf Blight) si'n;u ii1�1i ,a�1'l!1 F11q.,,�1 .�•111 '1111\\!1,r!l' (\\;j,i �lili.,2 ,ii'1�Yl, ,.nvn2 L1.iti1U'll!J 'liw1�3 'um11111lrn111!JVlluwifmn 2lrn;ll!JVllUwifmn 'un'iff7n11tntH111!11nl]lnrnm'II 1311tl'i{11T1?1'fllU\"' C-mnll s30303/wepss nc 1h n1ic111���i'liJit\\.111�,i'1,\\j\\Jq n'IJ69 (\\1\\J�1J,i1JL1Y1) Ll<lt,i'1,miJimiutJ1,i,Hl L�a'lm�i\\'m�11U::�;(1\\J'r11\\J�8 bf'l'tl8\\JL\\JLl1'i'� (bacterial Leaf Blight) ii1,iq1.h::11��L�ar.11111ii11iuq n'tl69 (li'U�lJ�lJLIYi) f1\\J'U11L\\.IUU1il\\JU1fltlH Ll<ltL�atii'uui�'li',,wu� n'tl69 (\\1\\JfaJ,i1JL1Y1) �n.im:11U::.:ia\\JL18�8hfl'll8\\JL\\JLl\\1� LliltJ'18\\J�l vhn1Wi'l1J'V11W\\Jq nt69 (\\1\\J�1J,i1JL1Y1) LUuwuqLU.inut1'lL\\.IUtJ'lll1JU1'18H Ltlu1iuq1fo (CPSS16001) �1\\J'l\\J 360 liltln1��1\\J'l\\Jllltln ��i'l1J�\"1 13 llltln RflLU\\J18!m:: 3.61 Ll<l::�<11Jf1\\Jt1'lL\\.IUtJ1l\\l JU1Pl8H LU1Jw1JqL1Uf1\\J'V11W\\Jq n'IJ69 (\\1\\J�1J,i1JL1Y1) Ltlunu�a (CPSS16002) 360 liltln1��1u1u,ian��i'l1J�lil 6 flan fililLtluiatJ.i:: 1.67 ,nnliu ,mu� 2 ti�ntimnn, i,� l (F2lm�•.nnn1,�i'11JW\\Jq n'IJ69 (\\1\\J�1J,i1JL1Y1) f1\\J'U11L\\.lll!J1.iuu1,iaH LfltJU1L1Jalilnuq CPSS16001 �1\\J1\\J 8 UJafl ltiti�n'lum::crn.i:: 1 UJafl �1Jmi'.Ju;(una1 5 UJafl RflLU\\J11ltJi'lt 62.5 Lli'ltLW1::L1Ja(Jln\\Jq CPSS16002 �1\\J1\\J 4 UJafl tun,::cn��amuu;(una, 3 UJavi R(Ff2lL)U'1\\18J1�8C!JP<lStS71560'1081\\J�'i•311\\tJi1i\\:J:uUiJu<•lltlil'.[VljI\\iJ•i1i1tJ•u1•·ui·m�nta60X0aLn1Jat•/1,o1 �maomn\"ua'us ory,;ae <11m�t1iflt8\\J,1\\JL1\\�.l�'lltl�.u,w111n,1.,nY.1l2 ;/una, 579 UJa\\11 LliltJjjti[jiiitJ1;/1u\\'11\\J (R) 11,n��(Jl �1\\J'l\\J 428 ;(u ;;IIILU\\J1iltJi'I:: 71.69 !11\\J CPSS16002 �11J11J UJalll�1hl1.h.J�n 600 UJalil �ilmtlu,iumi, 591 UJall L1a::iiti[jiiitJ1;/11J',111J (R) 111n�4llil �11J1\\J 471 ,iu RflLUlJ 18tJa:: 79.69 918\\J� 4 RlilLftilnt11nuq�i'l1JLI\\J\\J�\\J9li::oa'IJ8�ti,::'111n,i1� 2 (Fz) �,u1u;(una,�u,ltiti�n 428 ;(u fi'f1Laanl��1\\J'l\\J 100 na ;;l'ILU\\J18Ua:: 23.36 a1u,i'11nuq�<11J CPSS16002 �,u,u;/una,�thltitl�n 440 ;(u RflLfltJntfi'�,u,u 62 naiililLU\\J11ltm:: 14.09 911)\\J� 5 n1,fi111Laani11nuq�<11JL1\\J\\J�\\J91,tQ<l'118�tlmnmi1�3 (FJ -u11wuq�<11J CPSS16001 �,u1u;/umi,�u,ltiti�n 4,006 ;/u RflLft8nLI\\J\\J�\\J91,::Q<lLlilmnunaffiuLU\\Jhf'l'll8�'luLl\\1� .in1:11U::'r11�n1tJ111Y1jjitiL1\\J\\J;;\\J;; Lia:: LD8\\11JL1Jaliliirfo,i� t,l'!LailmnuLfitJ1L1UnL1ia::na1��1\\J'l\\J 146 na R'1LU\\J 18tJa:: 3.51��1\\J'l\\J ;9 <11tJnuq a1ui11n�q�<11J CPSS16002 �1\\J1\\J'1\\Jna,�u,ltiti�n 2,726 '1\\J RfilLaanLI\\JU�\\J ,ii::Qa1fili1u11J 205 na RfilLU\\J18tJ<l:: 7.5 tM,u1u 20 <11!JW1Jq 918\\J� 6 n,ifi'filLaan-v11wuq�<1lJL1\\J\\Jau,i,::Qa 1J8�timnn,i1� 4 (F.) ,i'11v\"iuq�<11J CPSS16001 �1\\J'l\\J'1\\Jna,�u,ltiti�n 2,720 91\\J RfilL�8nLI\\J\\Ja\\Jilli::oa1filtJ LnunamilLtl\\JhPi'll8\\JL\\JLl\\1� .in1:11U::'r11�n1U.fl1'rijj�tiLI\\J\\J91\\J� Lia:: ufo\\llJUJaliljj�Llfil� f'llilL�amnuLfiU'lL1tJnL19ia::na l.i'li1\\J1\\J 30 nil R'1LU\\JlEl!Ja:: 1.1 l,i'1i1u1u 13 <11tJW\\Jq ll1\\Jt11W1Jq�<11J CPSS16002 li1u1u,'iun111�u,lti\\.J�n 3,800 91\\J RfilLaan-v11fi�<1lJL1\\J\\Ja\\JPli::na1��1\\J'l\\J 77 nil RfilLU\\J�aua:: 2.0 1,i'�1\\J1\\J 18 a,uwuq flil\\J� 7 n1ifi'lilL�an-u11nuq�<11J�\\J\\J�\\Jfli::Q<itl1;'111mi1� 5 (F5) i11nuq�<11J CPSS16001 li1u1u;/una1�u1lti\\.J�n 480 ;(u RlilLa1JnL1\\J\\J�\\Jm::na1filmnunaffiilLthJhf'l'lltl\\JL\\JLl\\1� i\\'n1:11Ut'r11�n1U.f11YljjitiL1\\J\\J;;\\J;; Lia:: LD8\\11JU-Ja(il jjaLllil� RfilLailnLO\\JLfitJ'lLltJ;LIPli'ltntl 1,i'�1\\J11J 115 na RlilLU\\J�tltJa:: 23.96 1��;1J'l\\J 1��1\\J1\\J 24 .,;tJ�\\JlS �1ufowuqr.1i,11 CPSS16002 �1u1u,i'um\\'1�u11tltl�n 980 9iu f'lfilLa1Jni11�u11l-lL1tJtJAtJill�::�11 l��1u1\\J 239 n� RlilLU\\J18tJa:: 24.39 1��1\\J1\\J 49 <11tJn\\Jq iffi1d1AqJ : n1,ai,�i,1��<11J,n1,fi(ilLaanL11.Juau,i,:: Q<l,'ll11�lul1ia'li,�Ll<I�.�,LIuntlitLfl'r1'U11L aLI;j�
หนา 11 พฤกษเคมี ฤทธติ์ า้ นจลุ ชีพและฤทธ์ิต้านอนมุ ูลอสิ ระของสารสกดั จากพาราซานโตส กฤตติกา วงศล์ า1, ชรนิ รตั น์ ตลับนาค1, จฑุ าทิพย์ กงภธู ร1, ศภุ ชยั โพธล์ิ ้อม2 1นักเรยี นโรงเรียนเลยพทิ ยาคม, E-mail : [email protected] 2ครูโรงเรยี นเลยพทิ ยาคม, E-mail : [email protected] บทคัดย่อ การศึกษาครั้งน้มี ีวัตถปุ ระสงค์เพื่อศกึ ษาพฤกษเคมคี วามสามารถในการตา้ นจุลชพี และการต้านอนุมูลอิสระของสาร สกดั หยาบจากดอกและใบพาราซานโตส โดยใช้เอทานอลเปน็ ตัวทาละลายอนิ ทรยี ใ์ นการสกดั สารโดยการแช่ เปน็ เวลา 15 วนั พบว่าสารสกัดหยาบที่ได้มาทดสอบฤทธ์ิการต้านจุลชีพกับเช้ือทดสอบ 6 สายพันธุ์ ได้แก่ Streptococcus agalectiae, Streptococcus pyogenes, Staphylococcus aureus, Escherichia coli, Pseudomonas aeruginos aแ ล ะ Vibri ocholerae ด้วยวิธี Agar well diffusion พบว่าสารสกัดหยาบจากดอกและใบพาราซานโตสมีฤทธ์ิในการต้านแบคทีเรียที่ นามาทดสอบได้3 สายพันธ์ุ ได้แก่ Streptococcus pyogenes, Streptococcus agalectiae และ Vibrio cholerae ซ่ึง สารสกัดจากดอกสามารถยับยั้งเกิดความกว้างของวงใส 20.00 ± 0.00, 11.67 ± 0.58 และ 10.67 ± 0.58 มิลลิเมตร ตามลาดับ และสารสกัดจากใบสามารถยับย้ังเกิดความกว้างของวงใส 10.33 ± 0.58, 11.00 ± 0.00 และ 9.33 ± 0.58 มลิ ลิเมตรตามลาดับ เม่อื นาสารสกัดหยาบจากดอกและพาราซานโตสไปทดสอบฤทธ์กิ ารต้านอนมุ ลู อิสระด้วยวธิ ีDPPH assay พบว่ามีค่าสารสกัดหยาบจากดอกพาราซานโตสมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระได้ดีท่ีสุด ซึ่งมีค่า IC50 เฉลี่ยเท่ากับ 24.74 ± 2.91 ไมโครกรัมต่อมิลลลิ ิตรและปริมาณสารฟีนอลิกรวมของสารสกัดหยาบจากดอกพาราซานโตสมีปริมาณเทียบเท่ากรดแกลลิค เฉล่ียเท่ากับ 215.39 ± 2.23 มิลลิกรัมสมมูลกรดแกลลิคต่อกรัมสารสกัดและพบสารพฤกษเคมีท่ีมีฤทธิ์ทางชีวภาพ ได้แก่ แทนนิน เทอร์พนี อยด์ และฟลาโวนอยด์ คาสาคัญ: พาราซานโตส; พฤษเคมี; ฤทธติ์ ้านอนมุ ูลอิสระ
หนา 12 ศึกษาเปรียบเทยี บฤทธิย์ บั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชอ้ื แบคทเี รียสาเหตุของโรคแคงเกอร์ ในมะนาวด้วยสารสกัดใบมะรมุ ใบนนุ่ และใบไผป่ ักกง่ิ กานตธ์ รี า ศรีพลลา1, โชตกิ า อรรคแสง1, พชิ ญ์ ทองอินทร์1 นางสาวพรทิพย์ ปัตตาเคนัง2 และ นางอารีวรรณ ธาตดุ 2ี 1 นกั เรยี นโรงเรียนสารคามพทิ ยาคม, E-mail: [email protected] 2 โรงเรียนสารคามพิทยาคม บทคัดย่อ จากการศกึ ษาเปรียบเทียบฤทธย์ิ ับยง้ั การเจรญิ เติบโตของเชอ้ื แบคทีเรียสาเหตขุ องโรคแคงเกอร์ในมะนาวดว้ ยสาร สกดั ใบมะรุม ใบนนุ่ และใบไผป่ กั กง่ิ เมือ่ นาเช้อื Xanthomonas axonopodis pv. Citri ทไี่ ด้จากใบมะนาวบริเวณแปลงปลูกของ เกษตรกร พบวา่ 1) เปรียบเทยี บฤทธ์ิยบั ยง้ั เชื้อแบคทีเรียด้วยสารสกดั ใบมะรมุ ใบนนุ่ และใบไผ่ปักกิ่ง พบว่า สารสกดั ใบมะรมุ มฤี ทธิ์ยับยงั้ การเจริญเติบโตของเช้ือ Xanthomonas axonopodis pv. Citri โดยมคี า่ เฉลย่ี เส้นผา่ นศนู ย์กลางของฤทธย์ิ ับย้งั เชือ้ ขนาด 19.23 มลิ ลเิ มตร สารสกดั ใบนนุ่ มีฤทธย์ิ ับย้งั การเจริญเติบโตของเชอ้ื Xanthomonas axonopodis pv. Citri โดยมี คา่ เฉล่ียเส้นผา่ นศูนยก์ ลางของฤทธย์ิ ับยั้งเช้อื ขนาด 12.22 มิลลเิ มตร สารสกัดใบไผ่ปักก่ิงมีฤทธย์ิ บั ยงั้ การเจรญิ เตบิ โตของเชือ้ Xanthomonas axonopodis pv. Citri โดยมคี ่าเฉล่ยี เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางของฤทธิย์ ับยงั้ เชอ้ื ขนาด 10.56 มิลลเิ มตร และน้า กลน่ั ไมม่ ีฤทธ์ิยบั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชื้อแบคทีเรยี จึงไมส่ ามารถระบขุ นาดของโซนใสทเี่ กดิ ข้ึนได้ 2) หาความเข้มขน้ ทน่ี อ้ ย ทสี่ ดุ ในการออกฤทธ์ิยบั ย้งั การเจรญิ เติบโตของเชือ้ แบคทเี รยี สาเหตขุ องโรคแคงเกอร์ดว้ ยสารสกดั ใบมะรมุ ทคี่ วามเข้มข้น 40% ,50%, 60% และ 70% ด้วยมาตรฐานฟังกูราน พบว่า คา่ เฉล่ียเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของฤทธิย์ ับยัง้ เช้อื Xanthomonas axonopodis pv. โดยใชส้ ารสกดั ใบมะรมุ 70 % มขี นาด 19.12 มิลลเิ มตร ซึง่ มฤี ทธิ์ยบั ยัง้ ใกลเ้ คียงคา่ เฉล่ยี เสน้ ผา่ น ศูนยก์ ลางของฤทธ์ิยบั ยง้ั เชื้อแบคทีเรียโดยใช้ ฟังกูราน เปน็ สารมาตรฐาน มขี นาด 19.31 มลิ ลิเมตร คาสาคัญ: ใบมะรุม, ใบนุน่ , ใบไผป่ กั ก่ิง, โรคแคงเกอร์
หนา 13 การยอ้ มสีโครโมโซมจากสารสกดั ธรรมชาติ สรวิศ พลชัย1 , ปนั้ ทรัพย์ คลังพระศรี1 , ปณั ณธร แสงเงนิ 1 พรรณี โสภา2 , มณฑริ า โสภาวนัส2 , 1นกั เรียนโรงเรียนร้อยเอด็ วทิ ยาลยั , E-mail : [email protected] 2โรงเรยี นรอ้ ยเอด็ วทิ ยาลยั บทคัดย่อ โครงงานการย้อมสโี ครโมโซมดว้ ยสสี กดั จากพืช มวี ตั ถุประสงค์เพือ่ ทดสอบว่าสสี กดั ท่ีสกดั จากธรรมชาติ สามารถย้อมโครโมโซมได้ เม่อื เทียบกบั สารเคมซี าฟรานิน และเพอ่ื เปรยี บเทยี บการตดิ สียอ้ มของโครโมโซมของ ปลายรากหัวหอม จากสที สี่ กัดออกมาจากพชื แตล่ ะชนดิ เปลอื กหอมแดง ขา้ วโพดม่วง ขา้ วเหนยี วดา กระเจี๊ยบ และเฟื่องฟา้ แดง อตั ราส่วน 1 : 1 และ 1 : 2 กับนา เอทานอล 70% และสารละลายไฮโดรคลอลิก 0.1% จากการนาสี ท่ีสกัดจากพืชอยา่ งเข้มข้น เพือ่ นามาย้อมตดิ สโี ครโมโซมใหเ้ ดน่ ชดั พบว่ากระเจยี๊ บท่สี กัดดว้ ยเอทานอล ในอตั ราส่วน กระเจี๊ยบ : เอทานอล 1 : 1 สามารถยอ้ มตดิ สโี ครโมโซมไดด้ ที สี่ ดุ รองลงมาคอื กระเจยี๊ บ : นา 1 : 1 , กระเจยี๊ บ : ไฮโดรคลอลกิ 1 : 1 , กระเจยี๊ บ : เอทานอล 1 : 2 , กระเจยี๊ บ : นา 1 : 2 , กระเจี๊ยบ : ไฮโดรคลอลิก 1 : 2 , หอมแดง : เอทานอล 1 : 1 , หอมแดง : นา 1 : 1 , หอมแดง : ไฮโดรคลอลิก 1 : 1 , เฟอื่ งฟา้ : ไฮโดรคลอลิก 1 : 1 , เฟือ่ งฟ้า : ไฮโดรคลอลกิ 1 : 2 , หอมแดง : นา 1 : 2 , หอมแดง : เอทานอล 1 : 2 , เฟอ่ื งฟา้ : เอทานอล 1 : 1 , หอมแดง : ไฮโดรคลอลกิ 1 : 2 , เฟอ่ื งฟา้ : นา 1 : 1 , เฟ่อื งฟา้ : นา 1 : 2 , ขา้ วเหนยี วดา : เอทานอล 1 : 1 , ข้าวเหนียวดา : เอทานอล 1 : 2 และขา้ วโพดมว่ ง : เอทานอล 1 : 1 ทังนีเนือ่ งจากในกระบวนการทส่ี กดั สีทไี่ ดจ้ ากพืช แล้วนามายอ้ มปลายรากหอมนันสามารถย้อมตดิ สีโครโมโซมได้ เกดิ จากสารในกลุ่ม แอนโทไซยานนิ และ แคโรทนี อยด์ ท่อี ยู่ในพืช ซึ่งเป็นสารทีใ่ ห้สมี ว่ งแดง สีสม้ และสนี าเงิน ซ่ึงนิยมนามาใช้ในการประกอบอาหาร เพราะให้สีท่ีชัดเจน เพราะฉะนันถา้ สารในกลมุ่ แอนโทไซยานนิ และ แคโรทนี อยด์ ในพืชมสี ที ม่ี คี วามเข้มมาก จะสง่ ผลใหส้ ามารถ ย้อมตดิ สีโครโมโซมไดเ้ ดน่ ชัดขนึ
หนา 14 การศกึ ษาเปรียบเทยี บประสิทธิภาพการกาจัดปลวกไมแ้ ห้งดว้ ย สารสกัดเมลด็ มันแกว และเมล็ดถั่วเขียว จริ ัชญา รักกุศล1, ชนาภัทร เสนาวงศ์1, ปฏิภาณ ไมตรีแพน1 อารีวรรณ ธาตุด2ี และ พรทพิ ย์ ปดั ตาเคนัง2 1นักเรียนโรงเรยี นสารคามพิทยาคม, E-mail:[email protected] 2โรงเรยี นสารคามพิทยาคม บทคัดยอ่ โครงงานเร่ืองการศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพการกาจัดปลวกไม้แห้งด้วยสารสกัดเมล็ดมันแกว และเมล็ดถั่ว เขียวมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ 1) ศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิภาพฤทธ์กิ ารกาจดั ปลวกไม้แหง้ ดว้ ยสารสกัดเมลด็ มันแกวและเมล็ดถ่ัว เขียว พบว่า สารสกัดเมล็ดมันแกวมีประสิทธิภาพการกาจัดปลวกไม้แห้งได้มากที่สุดโดยมีค่าเฉล่ียอัตราการตาย 9.67 ตัว รองลงมา คอื สารสกัดเมล็ดถัว่ เขียวมปี ระสิทธิภาพในการกาจัดปลวกไมแ้ ห้ง โดยมีคา่ เฉลีย่ อัตราการตาย 7.00 ตัว 2) ศึกษา ความเข้มข้นที่น้อยท่ีสุดในการออกฤทธิ์กาจัดปลวกไม้แห้งด้วยสารสกัดเมล็ดมันแกวที่ความเข้มข้น 30%, 50% และ 70% เมื่อเปรียบเทียบกบั สารมาตรฐาน พบวา่ สารสกดั เมลด็ มันแกวทค่ี วามเขม้ ข้น 70% มีประสิทธิภาพกาจัดปลวกไม้แห้งได้มาก ทส่ี ุด โดยมีค่าเฉลีย่ อัตราการตาย 9.67 ตวั มคี า่ ใกล้เคยี งกับสารมาตรฐานซึง่ มีคา่ เฉลีย่ อตั ราการตาย 10 ตวั คาสาคญั : ปลวกไม้แห้ง, เมลด็ มันแกว, เมลด็ ถ่วั เขยี ว
หนา 15 การศกึ ษาประสทิ ธิภาพของนา้ ยาขจัดคราบไขมันบนเตาแก๊ส พรนภา สอนสภุ าพ , พจิ ารนิ ทร์ ทาด้วง นักเรยี นโรงเรียนเลยอนุกูลวทิ ยา, Email:[email protected] โรงเรยี นเลยอนกุ ูลวทิ ยา บทคัดย่อ โครงงานน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาผลของน้ายาขจัดคราบท่ีท้าด้วยส่วนประกอบจากน้าเสาวรสในการขจัดคราบ ไขมันบนเตาแก๊ส และเพือ่ ศึกษาการแตกตวั ของไขมนั จากผลของการหยดนา้ ยาขจดั คราบไขมนั บนเตาแก๊สทีท่ ้าจากน้าเสาวรส โดยมีวิธีการคือ 1).คั้นน้าเสาวรสโดยการกรองด้วยผ้าขาวบาง 2).น้าน้าเสาวรส สูตรท่ี 1,สูตรที่ 2,สูตรท่ี 3,และสูตรท่ี 4 ตามล้าดบั ดว้ ยอัตราสว่ น (1:1:1:1) 3).คนสารทัง้ หมดใหล้ ะลายเป็นเนอ้ื เดียวกนั 4).น้าสารเมทิวลีนบลูเตรยี มไวใ้ นบกี เกอร์ 5). เตรียมสไลด์ หยดสูตรน้ายาขจัดคราบไขมันลงบนสไลด์ 6).เตรียมกล้องจุลทรรศน์ส้าหรับการส่องภายใต้กล้องจุลทรรศน์ 7). บันทึกผลการทดลอง จากผลการทดลองพบว่าจากการศึกษาผลของน้ายาขจัดคราบที่ท้าด้วยส่วนประกอบจากน้าเสาวรสใน การขจัดคราบไขมนั บนเตาแก๊ส สูตรที่ 1 (นา้ เสาวรส+เกลือ+นา้ กล่ัน) ขจัดคราบไขมันของน้ามนั พืชได้ดีที่สดุ เน่ืองจากการแตก ตัวของวงไขมันมีขนาดเลก็ และแตกตัวได้ดี รองลงมาคอื สูตรที่ 2 (น้าเสาวรส+เบกกิ้งโซดา+กล่ัน) เน่ืองจากการแตกตัวของวง ไขมันมขี นาดเลก็ ลงแต่ไมถ่ ึงกบั สลายหายไป และสูตรนา้ ยาขจดั คราบไขมันสูตรที่ 2 (น้าเสาวรส+เบกกิ้งโซดา+กลั่น) ขจดั คราบ ไขมันของน้ามันหมูได้ดีที่สดุ เน่ืองจากวงของไขมันจากน้ามนั หมมู ีขนาดเลก็ มีการแตกตัวพร้อมกับสลายไขมันได้ดี รองลงมา คือสตู รที่ 3 (นา้ เสาวรส+เบกก้ิงโซดา+น้าส้มสายชู+น้ากล่ัน) เน่ืองจากวงของไขมนั มีขนาดเล็กแตไ่ ม่ถึงกับสลายไป Keyword: นา้ ยาขจัดคราบ, น้าเสาวรส
หนา 16 การศกึ ษาอตั ราส่วนกากตะกอนหมอ้ กรอง(Filter cake)ทเ่ี หมาะสมต่อการเจรญิ เติบโต ของผกั กาดกวางตงุ้ อาทิตยา ศรีสุพรรณ1 , ดวงตะวนั วงศ์กอ่ 1 , พิยดา โฉสูงเนิน1 , อรพรรณ แสนหาส้ิว1 สุจติ รา ผลธุระ2 1นักเรยี นโรงเรยี นหนองบัวพิทยาคาร, Email:[email protected] 2โรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร บทคดั ย่อ โครงงานเรื่อง การศึกษาอตั ราสว่ นกากตะกอนหมอ้ กรอง(Filter cake)ทเ่ี หมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของผักกาด กวางตุ้ง มีวัตถุประสงค์เพ่ือ ศึกษาอัตราส่วนของกากตะกอนหม้อกรองต่อดินที่เหมาะสมในการเจริญเติบโตของผักกาด กวางตุ้งและศึกษาการเจรญิ เตบิ โตของผักกาดกวางตุ้งทีป่ ลูกด้วยตะกอนหม้อกรองต่อดินในอตั ราส่วนท่ีแตกต่างกัน โดยการ เพาะและนาต้นกล้าผักกาดกวางตุ้งท่มี ีความสูงขนาดเท่าๆกนั มาปลูกในกระถางตามอตั ราส่วนกากตะกอนขหี้ ม้อกรองต่อดิน รว่ น 3:0, 2:1, 1:1, 1:2 และ 3:0 โดยในกากตะกอนหม้อกรองนีม้ ีธาตไุ นโตรเจน กรดฟอสฟอรกิ และแร่โพแทช นอกจากนี้ยัง มีธาตุอาหารอ่ืนๆท่ีจาเป็นสาหรับการเจริญเติบโตของพืช ซ่ึงกากตะกอนหม้อกรองเป็นผลพลอยไดจ้ ากการผลติ น้าตาลของ โรงงานอุตสาหกรรมที่เป็นปัญหาดา้ นการจดั การและกาจัดในปัจจุบันทาให้ผู้ศึกษามีแนวคดิ ในการนากากตะกอนหม้อกรองที่ เหลือจากการผลติ น้าตาลนามาผสมดนิ ใช้ปลูกพืชผกั ในครวั เรอื นเพอ่ื วัดการเจริญเตบิ โตของผักกาดกวางต้งุ ลดปรมิ าณจานวน กากตะกอนหม้อกรองและลดการใช้ปุ๋ยเคมใี นการปลูกพชื ให้น้อยลง จากการศึกษาอัตราส่วนของกากตะกอนหม้อกรองท่ีเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของผักกาดกวางตุ้ง โดยใช้ อัตราสว่ นดินต่อกากตะกอนหม้อกรองคือ อัตราส่วน 3:0, 2:1, 1:1, 1:2 และ 0:3 เมอ่ื ทาการเพาะปลูกผักกาดกวางตุ้ง ปลกู ในระยะเวลา 30 วนั เร่มิ ต้นทาการเพาะปลกู วนั ที่ 2 เมษายน 2562 ถงึ วนั ท่ี 2 พฤษภาคม 2562 ทาการเก็บผลผลิตในวนั ที่ 2 พฤษภาคม 2562 เพื่อนามาวัดการเจริญเติบโตของผักกาดกวางตุ้งด้วยการวัดความสูง, จานวนใบ และน้าหนักสด, น้าหนัก แห้ง พบว่าอัตราส่วนดินต่อกากตะกอนหม้อกรอง 1: 2 มีการเจริญเติบโตของผักกาดกวางตุ้งท่ีดีท่ีสุดคือ มีความสูงเฉล่ีย 35.03 เซนติเมตร มีน้าหนักสดเฉล่ีย 52.26 กรัม มีจานวนใบเฉล่ีย 14 ใบ และมีค่าเฉลี่ยน้าหนักแห้งเท่ากับ 4.50 กรัม รองลงมาคืออัตราส่วน 2:1 มีความสูงเฉล่ีย 30.69 เซนติเมตร มีน้าหนักสดเฉลี่ย 41.4 กรัม มีจานวนใบเฉลี่ย 9 ใบ และมี ค่าเฉล่ียน้าหนักแห้งเท่ากับ 3.82 กรัม ลาดับถัดมาคืออัตราส่วน 1:1 มีความสูงเฉล่ีย 27.1 เซนติเมตร มีน้าหนักสดเฉล่ีย 39.75 กรัม มีจานวนใบเฉล่ีย 11 ใบ และมีค่าเฉล่ียน้าหนักแห้งเท่ากับ 3.50 กรัม ลาดับถัดมาคืออัตราส่วน 3:0 มีความสูง เฉล่ีย 21.93 เซนติเมตร มีน้าหนักสดเฉลี่ย 30.58 กรัม มีจานวนใบเฉลี่ย 5 ใบ และมีค่าเฉล่ียน้าหนักแหง้ เท่ากับ 2.06 กรัม และอัตราส่วนของผักกาดกวางตุ้งที่มีการเจริญเตบิ โตช้าท่ีสุดคือ 0:3 ซ่ึงมีความสูงเฉลี่ย 21.1 เซนติเมตร มีน้าหนักสดเฉล่ีย 29.95 กรัม มจี านวนใบเฉลย่ี 7 ใบ และมคี า่ เฉลี่ยนา้ หนักแหง้ เท่ากบั 2.37 กรมั
หนา 17 การเปรยี บเทียบชนิดของพันธ์ขุ ้าวเจ้าในจงั หวัดสกลนครที่ใชเ้ ปน็ สว่ นประกอบในสูตรอาหาร ตอ่ การเจริญเติบโตของเห็ดถง่ั เช่าสีทอง ภรตั ดา มาตจนิ ดา1 , ภชิ ามญชุ์ ตดิ พรม1 , เพชรตติยา โถชาลี1 กัลยา ศรีกดุ หว้า2 และ ณัฐพร จริ ะวัฒนาสมกลุ 3 1 นักเรียนโรงเรยี นธาตนุ ารายณว์ ิทยา, E-mail:[email protected] 2 โรงเรยี นธาตุนารายณ์วิทยา, 3มหาวทิ ยาลัยราชภฏั สกลนคร บทคดั ย่อ โครงงานนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการใช้พันธุ์ข้าวเจ้าในจังหวัดสกลนครที่ใช้เป็นส่วนประกอบในสูตร อาหารต่อการเจริญเตบิ โตของเหด็ ถ่ังเช่าสที อง โดยข้าวเจา้ 5 สายพันธ์ุ ได้แก่ (1) ข้าวฮางงอกไรซ์เบอร่ี (2) ข้าวหอมมะลิแดง (3) ข้าวหอมนิล (4) ข้าวฮางหอมทองสกลทวาปี (5) ข้าวสามกษัตริย์ การทดลองแบ่งออกเป็น 5 ข้ันตอน ดังนี้ 1) การเตรียมอาหารวุ้น PDA (Potato dextrose agar) จากอาหาร PDA สาเร็จรูป 2) การแยกและขยายเชื้อเห็ด 3) การผลิตเชื้อเห็ดเหลว 4) การเตรียมอาหารเพาะเล้ียงเห็ดถ่ังเช่าสีทองด้วยเมล็ดข้าว 5) การวัดการเจริญเติบโตของ เห็ดถ่ังเช่าสีทอง ผลการทดลอง พบว่า เมื่อใช้อัตราส่วนข้าวเจ้าแต่ละพันธ์ุ 40 กรัม : ส่วนผสม 267.7 กรัม (ดักแด้ไหม หรือไข่ไก่ , มันฝร่ัง , วิตามินบี 1 , ยีสต์สกัด , เปปโตน , กลูโคส , ซูโครส และดีเกลือ) ในอัตราส่วนท่ีเท่ากัน ให้ค่าเฉล่ีย น้าหนักสดและน้าหนักแห้งของดอกเห็ดถั่งเช่าสีทองท่ีแตกต่างกันในแต่ละสูตรอาหาร โดยในสูตรดักแด้ไหมท่ีใช้ข้าว เจ้าหอมมะลิแดงเป็นส่วนประกอบ ให้ผลของการเจริญเติบโตดีที่สุด คือ มีน้า หนักสดและน้าหนักแห้ง เทา่ กบั 9.49 + 0.05 กรัม และ 2.51 + 0.49 กรมั ตามลาดับ ส่วนในสูตรไขไ่ ก่ทใี่ ช้ขา้ วเจ้าหอมมะลิแดงใหผ้ ลการเจรญิ เติบโต ที่ดีที่สุดเช่นเดียวกัน คือ มีน้าหนักสดและน้าหนักแห้ง เท่ากับ 8.61 + 0.06 กรัม และ 1.41 + 0.12 กรัม ตามลาดับ ส่วนพันธ์ุข้าวเจ้าอีก 4 สายพันธ์ุ ให้ผลการเจริญเติบโตของน้าหนักสดอยู่ในช่วง 1.71 – 6.22 กรัม และน้าหนักแห้งอยู่ ในช่วง 0.24 - 1.07 กรัม ดังน้ันพันธุ์ข้าวเจ้าในจังหวัดสกลนครท่ีมีความเหมาะสมในการเพาะเล้ียงเห็ดถ่ังเช่าสีทองให้ เจรญิ เตบิ โตได้ดี คือ ข้าวเจา้ หอมมะลิแดง คาสาคัญ : พนั ธ์ุข้าวในจงั หวดั สกลนคร, การเจรญิ เติบโตของเหด็ ถ่งั เชา่ สีทอง, เห็ดถ่ังเช่าสที อง
หนา 18 ประสิทธิภาพของสารสกดั จากเมลด็ ใบ และเปลือกของน้อยหน่าทม่ี ฤี ทธ์ิในการกาจัดลกู นา้ และยบั ย้งั การ วางไข่ของยงุ ลายบ้าน จนิ ตนา วริ ักษา , พรสินี วไิ ลแก้ว , อนงค์นภา วงศ์หมากเหบ็ นักเรียนโรงเรียนกลยั าณวตรั โรงเรียนกลยั าณวตรั
หนา 19 การศกึ ษาการยับยง้ั เชอื้ แบคทีเรียบนหนังศรี ษะโดยใช้สารสกัดหยาบจากใบเทียนกง่ิ ชลธชิ า ศรวี ะวงศ์1 , ปลายฟ้า คามณ1ี , รุจิรา ภ่ทู อง1 นนั ทยิ า เจริญผล2, พสิ มัย พงษศ์ รีลา2 3ผศ.ดร.คคนางค์ รตั นานิคม 1นักเรียนโรงเรียนกาฬสินธ์ุพทิ ยาสรรพ,์ [email protected] 2โรงเรยี นกาฬสนิ ธุพ์ ทิ ยาสรรพ์ 3ครทู ีป่ รกึ ษาพเิ ศษโครงงาน บทคดั ย่อ ในสถานการณ์ที่โลกร้อนข้นึ ในปัจจบุ นั บวกกบั อณุ หภูมิทเ่ี พม่ิ ขึ้นอยา่ งต่อเนือ่ งในทกุ ๆปี ส่งผลให้เกดิ สภาวะโลกรอ้ น รวมถึงประเทศไทยท่ีอยใู่ กลเ้ สน้ ศนู ย์สตู ร ทาใหอ้ ากาศร้อนส่งผลทาให้ต่อมไขมนั ทางานหนัก ขับออกมาภายนอกมากขึน้ และมผี ล ต่อกระบวนการขับเหง่ือออกจากรา่ งกาย ส่งผลใหไ้ ขมันอดุ ตันรูขมุ ขนท่เี ป็นทางเดินของเส้นผม และไขมันส่วนเกินตกคา้ งจนเกิด การเน่าเสียทีร่ ขู มุ ขน รวมถงึ เปน็ แหลง่ เพาะเช้อื ราและแบคทเี รียบางชนดิ ซึ่งเปน็ สาเหตทุ ่ที าให้เกดิ อาการผมร่วง (Online. http://www.sawpalmettothailand.com/weather-hairs, 27 มถิ ุนายน 2562.) ตน้ เทียนกงิ่ พบมากในจงั หวัดกาฬสินธุ์ และยังมสี รรพคุณทางยา และยงั เป็นทีน่ ยิ มนาใบเทียนกิ่งมาใชใ้ นการยอ้ มผมด้วยแทนสารเคมี ผ้จู ัดทาโครงงานจงึ สนใจศึกษาการ ยับยง้ั เช้อื แบคทเี รยี บนหนงั ศรี ษะโดยใช้สารสกัดหยาบจากใบเทียนกง่ิ เปรยี บเทียบกบั ยาตามทอ้ งตลาด คือ Oxytetracycline โดย ทาการสกัดหยาบสารจากใบเทยี นก่ิงด้วยเอทานอลโดยวิธี Reflux (การสกดั แบบไหลยอ้ นกลับ) ได1้ .68 กรัม และทดสอบด้วยวธิ ี disc diffusion method พบวา่ สารสกดั ทสี่ กัดจากใบเทียนก่ิงมีฤทธิย์ บั ยงั้ แบคทีเรยี บนหนงั ศรี ษะได้ โดยค่าเฉลีย่ รวมเส้นผา่ น ศูนยก์ ลางของสารสกดั คอื 17.716 มิลลเิ มตร และค่าเฉลี่ยรวมของเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของยา Oxytetracycline คือ 21.008 มลิ ลเิ มตร คิดเปน็ 84.33% เมือเทยี บกบั ยา Oxytetracycline ใบเทยี นก่ิงมฤี ทธิ์ทส่ี ามารถยบั ยั้งแบคทเี รยี บนหนงั ศีรษะได้ ใกลเ้ คยี งกับยา Oxytetracycline คาสาคัญ: ใบของตน้ เทยี นกิง่ , เช้อื แบคทีเรีย
หนา 20 รูปแบบการเลย้ี งหนอนนกกินโฟม วชิรวุธ ตาลวงศ¹์ , จิตติมา ปะนันโต¹, สกุ ลุ ยา ตชิ ะรา¹, ปยิ ะนุช พกิ ุลสวสั ด²ิ์ และ อัมวกิ า ทวยจนั ทร์² ¹นกั เรยี นโรงเรียนวาปปี ทมุ , E-mail: [email protected] ²โรงเรียนวาปปี ทมุ บทคัดยอ่ โครงงานวทิ ยาศาสตรเ์ รือ่ ง การศึกษารูปแบบการเลีย้ งหนอนนกกนิ โฟม การทดลองนี้มีจดุ มงุ่ หมายเพอ่ื ศกึ ษา รูปแบบการเลีย้ งหนอนนกโดยโฟม และเพอ่ื ศึกษาประสทิ ธภิ าพในการกนิ โฟมของหนอน โดยจดั รูปแบบการเล้ยี งหนอนนกได้ 2 รูปแบบ คอื 1. ใหอ้ าหารวนั แรก 2 กรัม ลดลงวันละ 0.2 กรัม เพม่ิ โฟมวนั ละ 0.2 กรมั จนครบ 2 กรัม 2. ให้โฟม 2 กรมั ตลอดระยะเวลาการทดลอง 15 วัน ท้าการทดลอง 3 ซ้า จากการศึกษาจึงสรุปไดว้ ่าการเลย้ี งหนอนนกกนิ โฟมได้ดีทสี่ ดุ คือ วธิ กี ารเลยี้ งโดยวันแรกให้อาหาร 2 กรมั ลดลงวนั ละ 0.2 กรมั เพิม่ โฟมวนั ละ 0.2 กรมั จนครบ 2 กรัม สามารถกินโฟมไดเ้ ฉล่ยี 0.18 กรมั ตอ่ หนอนนก 100 ตวั คาสาคัญ: หนอนนก, โฟม
หนา 21
หนา 22
หนา 23 ประสทิ ธิภาพของจุลนิ ทรียแ์ ลก็ ติกทม่ี ผี ลต่อการยับยั้งเช้ือก่อโรค ในกลุม่ Escherichia coli(E coli) และ Salmonella ทพ่ี บได้ในอาหารหมกั พื้นบา้ น จิรภทั ร ตา่ งประโคน1 , ภัทราทพิ ย์ ศริ ธิ รรมรกั ษ์1 , นัทธห์ ทัย ศรแผลง1 กุลธดิ า ทีนอ้ ย2 และ ณชั ทตั ลิมปเ์ ศวต2 1 นักเรยี นโรงเรยี นขอนแกน่ วทิ ยายน, E-mail: [email protected] 2 โรงเรียนขอนแกน่ วทิ ยายน บทคัดยอ่ การทดสอบและเปรียบเทียบของจุลินทรีย์ในกลุ่มแล็กติกที่พบได้ในอาหารหมักประเภทแหนมและปลาส้ม เมื่อ นามายบั ยั้งจลุ ินทรียก์ ่อโรคในกลุ่ม Escherichia coli (E.coli) และ Salmonella ทพี่ บได้ในอาหารหมกั พน้ื บา้ นเชน่ การ จาก การทดลองทาให้ทราบว่า จุลินทรีย์ทพ่ี บในปลาส้มมคี วามเปด็ กรดมากกว่า หรือมีการสรา้ งกรดแลก็ ติคไดส้ งู กว่าจึงส่งผลให้มี ประสิทธิภาพในการยับยั้งเชื้อก่อโรคท้ัง 2 ชนิดได้ดีกว่า และหลังจากการนาไปเพิ่มจานวนและทาให้อยู่ในรูปหัวเชื้อแล้ว เชื้อจลุ ินทรยี ์ตวั ดใี นกลุม่ ปลาส้มน้ยี งั มีความสามารถในการยืดอายุการรกั ษาของอาหารหมักไดอ้ ีกดว้ ย คาสาคญั : แล็กติก, Escherichia coli (E.coli) , Salmonella, อาหารหมกั พืน้ บา้ น
หนา 24 การศกึ ษาผลของสารสกัดจากไข่หอยเชอรตี่ อ่ การเจริญเติบโตของไหมอีร่ี และคณุ ภาพของเสน้ ไหม ธงไท เพช็ ราชยั 1 ศุภการต์ โคตรวงค์1 กติ ตินันท์ ขันธุปัทม์1 เมฆา ดสี งคราม2 วโิ รจน์ เฉลยสขุ 2 นักเรยี นโรงเรียนสกลราชวิทยานกุ ลู , E-mail : [email protected] โรงเรียนสกลราชวิทยานกุ ูล บทคัดยอ่ หนอนไหมอรี ่ี (Samia ricini) เปน็ หนอนไหมเศรษฐกิจในประเทศไทย รังไหมซึ่งประกอบดว้ ย โปรตีนไฟโบรอิน และเซอริซีนถูกเกบ็ และปัน่ ไหมเพอื่ ใช้เสน้ ใยและตัวดกั แดเ้ ป็นอาหารท่ีมโ่ี ปรตนี สงู แต่อย่างไรก็ตามคณุ ภาพของพืชอาหาร ท่ีเล้ียงสง่ ผลต่อการเจริญเตบิ โตและคณุ ภาพของเส้นใยไหมทไ่ี ด้ การทดลองนใี้ ช้สารสกดั จากไขห่ อยเชอรซ่ี งึ่ มีโปรตีนสูงและ มีการทดลองแล้ววา่ สามารถเพมิ่ นา้ หนักของหนอนกระทูห้ อมได้ สารสกดั จากไข่หอยเชอรน่ี ้นั จึงเปรียบได้กบั อาหารเสรมิ สา้ หรับหนอนไหมอรี ีเ่ พอ่ื เรง่ การเจริญเติบโตและเพ่ิมเสน้ ใยไหม การทดลองถูกแบง่ เป็น 2 ช่วง ช่วงแรกศกึ ษาการตายของ หนอนไหมอีรเ่ี มอื่ ให้อาหาร น่ันคือใบมันส้าปะหลังท่ที าสารสกดั จากไข่หอยเชอรีใ่ นความ เขม้ ขน้ 0%, 25%, 50%, 75% และ 100% ตง้ั แตห่ นอนระยะที่ 1 – 5 ผลการทดลองพบว่าชุดที่ให้ ความเข้มขน้ 50% รอดชีวติ มากทสี่ ดุ เราจงึ ใชส้ ารสกดั จากไข่ หอยเชอรคี่ วามเขม้ ขน้ 50% น้ีในการ ทดลองท่ี 2 โดยใหใ้ บมันสา้ ปะหลงั ที่ทาดว้ ยสารสกดั ไข่หอยเชอรี่ความเขม้ ข้น 50% ในหนอนระยะที่ 1 และ 2 ท้งั หมดก่อน จากนนั้ จงึ แบ่งหนอนออกเป็น 5 กลุม่ และให้อาหารแตกตา่ งกัน 5 ชุด เหมือนเดิม (0%, 25%, 50%, 75% และ 100%) จนกระท่งั หนอนจะเขา้ ระยะดกั แด้ จากน้ัน 7 วันให้ หลังให้หนอนสร้างรังจนสมบรู ณ์ รงั ไหมจะถูกตัดเพ่อื น้าตัวดกั แด้ออกมา ทงั้ รังไหมและตัวดกั แด้จะถกู ชั่งนา้ หนัก ตวั ดกั แดจ้ ะถูกวัดปรมิ าณโปรตนี อกี ด้วย ผลการทดลองพบวา่ ชดุ ความเข้มขน้ 100% สามารถเพิม่ ปรมิ าณโปรตนี ในดกั แด้ น้าหนกั ดกั แด้ นา้ หนกั รงั ไหม และเพมิ่ แนวโนม้ การฟกั ของไข่หนอนไหมอกี ดว้ ย คุณภาพของเส้นใยไหมน้าเสน้ ไหมมาตรวจสอบคณุ ภาพของเส้นไหม โดยวัดจากขนาดของเสน้ ไหม ของเส้นไหมของ หนอนไหมทเ่ี ล้ียงดว้ ยสารละลายไข่หอยเชอรี่ คา่ เฉลยี่ เป็น 205.33 ดเี นียร์ เปน็ ระดับของเสน้ ไหมสอง หรือ ไหมสาวเลย และ เส้นไหมของหนอนไหมที่ แบบปกติ มคี ่าเฉลย่ี เป็น 262.67 ดเี นยี ร์ เปน็ ระดบั ของเสน้ ไหมสามหรอื เสน้ ไหมลืบ
หนา 25 การศกึ ษาผลของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ (ZnO) ต่อการเจริญเตบิ โตของต้นหอม ชดาภร จันทร์โพธ¹ิ์ , ธนั ยพร ทองลี¹, อาระยา ศริ ิจนั ทรา¹, ศราวธุ ลาบวั ใหญ่² ¹นักเรยี นโรงเรยี นอุดรพทิ ยานกุ ลู , E-mail: pp.cdpgmail.com ²ครโู รงเรยี นอุดรพิทยานกุ ลู บทคัดย่อ โครงงานผลของอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ต่อการเจริญเติบโตของต้นหอม ได้ศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโต ของต้นหอมที่ปลูกโดยรดน้าผสมอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ กับต้นหอมท่ีปลูกโดยวิธีทั่วไปและสมบัติของอนุภาคนาโน ซิงค์ออกไซด์ (ZnO) คณะผู้จัดท้าได้ท้าการผสมน้ากับอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ โดยแบ่งการทดลองออกเป็น 4 เงื่อนไข คือ น้าที่ไม่ผสมอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์ กับน้าที่ผสมอนุภาคนาโนซิงค์ออกไซด์จ้านวน 10 20 และ30 มิลลิกรัมในน้า 1 ลิตร ตามลา้ ดับ ผักที่ใช้ในการทดสอบคือต้นหอมและศึกษาผลการเจริญเตบิ โตโดยวัดความสงู ของลา้ ต้น ความยาวของราก จ้านวน ใบ น้าหนกั สด และน้าหนักแห้ง โดยเฉลี่ย เปน็ ระยะเวลา 2 สัปดาห์ จากผลการทดลองพบว่า ตน้ หอมที่รดด้วยนา้ ผสมอนภุ าค นาโนซิงค์ออกไซด์ 20 มิลลิกรัม มีการเจริญเติบโตมากที่สุด โดยมคี วามสูงของล้าต้นและความยาวของรากเฉล่ีย 34.62 และ 5.64 เซนติเมตรตามลา้ ดับ ในขณะที่ตน้ หอมท่ีรดดว้ ยน้าผสมอนภุ าคนาโนซิงค์ออกไซด์ปรมิ าณ 10 มลิ ลกิ รัม และต้นหอมทรี่ ด ดว้ ยนา้ บริสุทธม์ิ ีความสงู ของล้าต้นใกล้เคียงกันโดยมีคา่ ความสูงเฉล่ีย 28.24 และ 29.90 เซนติเมตรตามลา้ ดบั ส่วนความยาว เฉลีย่ ของรากคอ่ นขา้ งมคี วามแตกต่างกัน คาสาคญั : อนภุ าคนาโนซงิ คอ์ อกไซด์ (ZnO)
หนา 26 การศึกษาประสทิ ธภิ าพสารเร่งรากจากพืชในท้องถนิ่ จริ าวรรณ ประเสริฐสังข์1, พยิ ดา ตาดี1, วิภาวนี จันดี1 กาญจนา ทองจบ2 1นักเรยี นชมุ พลโพนพสิ ยั , E-mail:[email protected] 2โรงเรยี นชมุ พลโพนพิสัย บทคดั ย่อ จากการศึกษาประสทิ ธิภาพสารเรง่ รากจากพืชในท้องถ่ินในครัง้ นม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ศกึ ษาประสทิ ธภิ าพสารสกัดเร่ง รากจากพชื ผลติ ผงเรง่ รากจากพืชสามารถเร่งการงอกของรากได้ และเปรียบเทยี บการเจรญิ เตบิ โตของพชื ดว้ ยสารเรง่ ราก ที่มีฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน โดยสกัดมาจากขิง ผักโขม หวั ไชเท้า มาห่ันเปน็ ช้นิ เล็กแล้วนาไปตากแห้ง จากน้ันนามาป่ันให้ ละเอยี ด ทดลองโดยการนาผงเร่งรากท้งั 3 ชนดิ โดยนาผงขิงแบ่งเป็น 2.5,5และ7 กรัม ตามลาดบั ผสมกบั นา้ 300 มิลลิลติ ร แลว้ นาไปต้มเปน็ เวลา 3 นาที พักให้เย็น แล้วนาไปกรอง จากนัน้ นาไปรดต้นขา้ วในทกุ ๆวนั เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ทาซ้าแบบนี้ อีก 2 ชนดิ พบวา่ ต้นขา้ วท่รี ดด้วยน้าผงขิงในปริมาณ 7 กรัมตอ่ นา้ 300 มิลลลิ ิตร มีความยาวรากมากที่สุด รองลงมาคอื ต้นข้าวทร่ี ดด้วยน้าผงผักโขม และสุดท้ายคอื ตน้ ขา้ วท่ีรดด้วยน้าผงหัวไชเท้า ท่มี คี วามยาวรากน้อยท่ีสุด คาสาคญั : ฮอร์โมนจบิ เบอเรลลิน
หนา 27 การเปรยี บเทยี บการเจริญเตบิ โตของตนดาวเรืองโดยใชปุยหมักชวี ภาพจากธูปฤาษี ปยุ หมักชวี ภาพจากกากชา และปยุ เคมี กนกพชร แกนที1, บษุ มาพร มนตร1ี , เปรมกมล จันทมาต1 ,รุง ทิวา สุภกรรม2 1นักเรยี นโรงเรยี นกลั ยาณวัตร, E-mail: [email protected] 2.1โรงเรยี นกลั ยาณวตั ร บทคัดยอ การเปรียบเทียบการเจรญิ เตบิ โตของตนดาวเรืองโดยใชป ุยหมกั ชีวภาพจากธูปฤาษี ปุย หมักชวี ภาพจากกากชา และ ปุยเคมี มวี ัตถุประสงคเพ่ือเปรยี บเทียบการเจริญเตบิ โตของตนดาวเรืองโดยใชป ยุ หมกั ชีวภาพจากกากชา ปยุ หมักชีวภาพจาก ธูปฤๅษี และปยุ เคมี และเปรยี บเทยี บอัตราสวน ปุยหมกั ชีวภาพจากกากชา ธปู ฤาษี และปุย เคมี ทีม่ ผี ลตอ การเจรญิ เตบิ โตของ ตนดาวเรอื ง โดยวางแผนการทดลองแบบสมุ อยา งสมบูรณ (Completely Randomized Design:CRD) จํานวน 5 ซํา้ ประกอบดวย 8 ชดุ การทดลอง ไดแ ก T1 ไมใ ชปุยหมกั ชวี ภาพ ,T2 ปุย เคมี ,T3 ปุยหมักชวี ภาพจากกากชาสูตรที่ 1 (กากชา 1 kg) ,T4 ปยุ หมกั ชวี ภาพจากกากชาสตู รท่ี 2 (กากชา 3 kg) ,T5 ปุยหมักชีวภาพจากกากชาสตู รที่ 3 (กากชา 5 kg) ,T6 ปยุ หมกั ชวี ภาพจากธูปฤาษสี ตู รที่ 1 (ธปู ฤาษี 1 kg) ,T7 ปยุ หมกั ชีวภาพจากธปู ฤาษีสูตรท่ี 2 (ธปู ฤาษี 3 kg) ,T8 ปุย หมักชวี ภาพ จากธปู ฤาษสี ตู รที่ 3 (ธปู ฤาษี 5 kg) จากการเปรียบเทียบหาคาเฉลี่ยดานความสูงของ ความกวางของลําตน จาํ นวนการแตก แขนงก่ิง จาํ นวนดอก นา้ํ หนักดอกสด น้ําหนกั ดอกแหงของตน ดาวเรอื ง และคาของไนโตรเจน ฟอสฟอรสั โพแทสเซยี ม และ คา pH ในปยุ หมกั ชวี ภาพและปุยเคมี จากการศกึ ษาพบวา ชดุ การทดลอง T8 (ธปู ฤาษี 5 kg.) มผี ลตอ ตน ดาวเรืองดานความสงู มากทส่ี ดุ มีคาเฉลย่ี 49.43 cm. ดา นความกวางของลาํ ตน ชดุ การทดลองที่มคี าเฉลยี่ สงู สุด คอื ชุดการทดลอง T7 (ธูปฤาษี 3 kg.) และชุดการทดลอง T8 (ธปู ฤาษี 5 kg.) คา เฉล่ยี 0.7 cm. การทดลองดา นจํานวนการแตกแขนงก่ิง ชุดการทดลองทม่ี ี คา เฉล่ยี สงู สดุ คอื ชุดการทดลอง T2 (เคม)ี คาเฉลย่ี 23 กิง่ การทดลองดา นจาํ นวนดอก ชุดการทดลองที่มีคา เฉลยี่ สงู สุด คือ ชดุ การทดลอง T8 (ธูปฤาษี 5 kg.) คาเฉลี่ย 3.8 ดอก การทดลองน้ําหนกั ดอกสดและนา้ํ หนักดอกแหง ชดุ การทดลองทมี่ ี คาเฉลย่ี นาํ้ หนักดอกสดสงู สดุ คือ ชุดการทดลอง T8 (ธปู ฤาษี 5 kg.) คา เฉลีย่ ตอ ตน 8.93 g. สวนนา้ํ หนักดอกแหง ชุดการ ทดลองทมี่ ีคาเฉลยี่ น้าํ หนักดอกแหง สูงสุด คือ ชดุ การทดลอง T8 (ธูปฤาษี5 kg.) คา เฉลี่ยตอ ตน 1.46 g. เมอื่ เปรยี บเทยี บคา ปริมาณ n p k และคา pH ในปุยหมักชวี ภาพจากกากชา ธูปฤาษี และปุยเคมพี บวา เม่ือเปรยี บเทยี บคาปริมาณ npk และคา pH ในปุยแตละสตู รทั้ง 8 ชุดการทดลองโดยกอนเจือจาง พบวา ปยุ เคมมี ปี รมิ าณ npk สูงกวาปุย หมกั ชวี ภาพทุกสตู ร ซ่งึ ปยุ เคมีมคี าความสมบรู ณเ ทา กบั Too much สว นปยุ หมักชวี ภาพมีคาเทา กับ Too little และคา pH ของปยุ เคมี เทากบั 6.5 ปยุ หมกั ชีวภาพเทา กบั 7 หลงั ทําการเจือจางผลการทดลองพบวา ปยุ เคมีและปุยหมักชีวภาพทุกสตู รมีคาความสมบรู ณท ่ไี ม แตกตางกันคอื Ideal คา pH ของปุยเคมี เทากบั 6 และคา pH ของปยุ หมักชวี ภาพทกุ สตู รเทา กับ 7 ดงั นน้ั จากปยุ ทง้ั 8 ชดุ การทดลอง ปยุ หมักชวี ภาพทเ่ี หมาะสมตอ การเจรญิ เตบิ โตของตนดาวเรือง ควรเปนปุย ชวี ภาพสตู ร T8 (ธปู ฤาษี 5 kg.) และ T7 (ธปู ฤาษี 3 kg.)
หนา 28 การคัดแยกเชอื้ แบคทีเรียสร้างเซลลโู ลสจากน้าหมักชีวภาพในทอ้ งถนิ่ ทสี่ ามารถเจรญิ ได้ ในน้าท้ิงจากโรงงานผลติ เสน้ ขนมจนี ศวิ กร ดวงมลุ ล1ี ชะยานน เทยี งราช1 และ ณฐั ณิชา สุขศริ ิ1 อรรถพล พันธ์งุ าม2 1 นักเรยี นโรงเรยี นบรบือวิทยาคาร E-mail [email protected] 2 โรงเรยี นบรบอื วิทยาคาร บทคัดยอ่ การคัดแยกเชอ้ื แบคทีเรยี สรา้ งเซลลโู ลสจากนา้ หมกั ชวี ภาพในทอ้ งถนิ่ ที่สามารถเจรญิ ไดใ้ นน้าทิ้งจากโรงงานผลิต เสน้ ขนมจนี มวี ตั ถุประสงค์ เพื่อท้าการคัดแยกเชือ้ แบคทเี รียสร้างเซลลโู ลสจากน้าหมักชีวภาพในทอ้ งถนิ่ ทสี่ ามารถเจรญิ ไดใ้ น น้าทง้ิ จากโรงงานผลติ เส้นขนมจนี เพอื่ การคัดแยกเชือ้ แบคทเี รียสร้างเซลลโู ลสจากน้าหมักชวี ภาพในทอ้ งถ่นิ ให้บริสทุ ธ์ิ เพื่อ การศกึ ษาความสามารถของเช้ือแบคทีเรียทสี่ ร้างเซลลโู ลสในการเจริญในอาหารเลี้ยงเชอ้ื สูตรน้าท้งิ จากโรงงานผลติ เส้น ขนมจนี และเพอ่ื ศกึ ษาปจั จัยที่เหมาะสมต่อการผลติ เซลลโู ลสของแบคทีเรียสรา้ งเซลลโู ลสในอาหารเลี้ยงเชื้อสูตรน้าทง้ิ จาก โรงงานผลติ เสน้ ขนมจนี ทา้ การทดลองโดยคัดแยกเช้อื แบคทีเรยี สรา้ งเซลลโู ลสจากน้าหมกั ชีวภาพในท้องถิ่นจา้ นวน 5 แหลง่ ท้าการคัดแยกเชอื้ ให้บริสทุ ธิ์ด้วยวธิ ี Streak plate ในอาหารเลีย้ งเชื้อสตู ร GEY ทีผ่ สม CaCO3 แล้วนา้ เชอ้ื ที่ได้ ทดสอบความสามารถในการเจรญิ บนอาหารเล้ยี งเช้อื สตู รผสมนา้ ทง้ิ จากโรงงานผลติ เส้นขนมจนี เม่อื ได้เช้ือท่ีสามารถสรา้ ง เซลลโู ลสและสามารถเจรญิ ไดใ้ นอาหารเลี้ยงเช้ือสูตรผสมน้าทิ้งจากโรงงานผลติ เสน้ ขนมจนี แลว้ ทา้ การศกึ ษาปจั จัยทีเ่ หมาะสม ต่อการผลติ เซลลูโลสของแบคทีเรยี สร้างเซลลโู ลสในอาหารเลยี้ งเช้อื สูตรน้าท้งิ จากโรงงานผลิตเส้นขนมจนี 3 ปัจจยั ไดแ้ ก่ อตั ราส่วนของน้าตาลซูโครส คา่ pH และ ปริมาณแอมโมเนียมซลั เฟต ในอาหารเลยี้ งเชอ้ื ปรากฏผลการทดลองดงั นี้ 1. การคดั แยกแบคทีเรียสร้างเซลลูโลสจากนา้ หมักชวี ภาพ 5 แหลง่ พบการเจรญิ ของแบคทเี รยี สร้างเซลลโู ลส จ้านวน 2 แหลง่ คอื แหลง่ ท่ี 3 และ 4 2. การคัดแยกเช้ือแบคทีเรียสร้างเซลลโู ลสในอาหารเลี้ยงเชอ้ื สตู ร GEY ที่ผสม CaCO3 แบคทีเรยี ทส่ี ามารถเจรญิ ได้ คือแบคทเี รยี จากแหล่งท่ี 3 ท้าการคัดแยกได้ 3 ไอโซเลท คอื CBR 1, CBR 2 และ CBR 3 ส่วนแบคทเี รียจากแหลง่ ท่ี 4 ไม่พบการเจรญิ บนอาหารเลยี้ งเชือ้ 3. ทดสอบการเจริญของแบคทเี รยี สรา้ งเซลลโู ลสท้ัง 3 ไอโซเลท คอื CBR 1 , CBR 2 และ CBR 3 ในอาหาร เลีย้ งเช้ือสตู รผสมนา้ ทง้ิ จากโรงงานผลิตเสินขนมจนี พบว่าทง้ั 3 ไอโซเลทสามารถเจรญิ บนอาหารเลย้ี งเชื้อสตู รนา้ ทง้ิ จาก โรงงานผลติ เส้นขนมจีนได้ 4. ปจั จยั ทเ่ี หมาะสมต่อการผลติ เซลลโู ลสของแบคทีเรยี สร้างเซลลโู ลสในอาหารเลยี้ งเชือ้ สตู รน้าท้ิงจากโรงงานผลติ เสน้ ขนมจนี คอื อัตราสว่ นของน้าตาลซโู คส 10 กรัม/ลติ ร ท่ี pH เท่ากับ 4.25 และเติมแอมโมเนียมซลั เฟต 0.7 กรมั /ลติ ร คา้ ส้าคญั : แบคทเี รีย , เซลลูโลส , นา้ ทงิ้ , นา้ หมกั ชวี ภาพ , ขนมจนี
หนา 29 การเปรยี บเทียบการเรง่ รากและยอดในมันสาปะหลังโดยสารสกัดออกซนิ จากตน้ สาบแร้งสาบกา ปริฉัตร ปะหปุ ะไพ1 , ศิริยากร ป้องเศษ1 , วงศพทั ธ์ ประดบั วนั 1, ณพงศพล เครื่องพาท2ี , มณฑาทิพย์ สกลุ โพน2 1นกั เรียนโรงเรยี นผดุงนารี, E-mail: [email protected] 2โรงเรียนผดุงนารี บทคดั ย่อ ในปัจจบุ ันเกษตรกรต้องประสบกบั ปัญหาการกาจดั ตน้ สาบแรงสาบกาเป็นอยา่ งมาก เนื่องจากต้นสาบแร้งสาบกา เป็นวัชพืชที่เกษตรกรไม่ตอ้ งการ เพราะตน้ สาบแรง้ สาบกาไปแยง่ สารอาหารจากพชื ชนิดตา่ งๆและมกี ลิ่นฉนุ ทาให้เวียนศรี ษะได้ คณะผจู้ ัดทาจึงเลง็ เห็นว่าตน้ สาบแร้งสาบกาน้นั นา่ จะสามารถนามาทาให้มปี ระโยชนต์ ่อเกษตรไดม้ ากกว่า ดังนัน้ โครงงานน้จี ึงมี วตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อเปรียบเทยี บสารสกัดออกซนิ จากยอดและรากของตน้ สาบแรง้ สาบกา นา้ และสารออกซินสังเคราะหต์ าม ท้องตลาด ได้แบง่ ออกเป็น 2 ขน้ั ตอน คอื ศกึ ษาเปรียบเทียบสารสกดั ออกซินจากยอดและรากของตน้ สาบแร้งสาบกา ท่มี ผี ล ต่อการเกดิ รากและยอดของมันสาปะหลัง และศกึ ษาเปรยี บเทียบการเกดิ รากและยอดของตน้ มันสาปะหลงั เมอ่ื แช่ในนา้ สาร สกดั ออกซิน นา้ ธรรมดา และสารออกซินสังเคราะหต์ ามท้องตลาด ผลการทดลองพบวา่ 1. สารสกัดออกซนิ ส่วนรากของตน้ สาบแร้งสาบกาสามารถเรง่ รากไดค้ ่าเฉลยี่ คือ 4.16 ยาว 9.78 cm เรง่ ยอดคา่ เฉลยี่ คอื 1.41 ยาว 9.58 cm สารสกดั ออกซินส่วน ยอดของตน้ สาบแร้งสาบกาสามารถเรง่ รากได้ค่าเฉลีย่ คือ 3.75 ยาว 4.54 cm เรง่ ยอดคา่ เฉลีย่ คือ 2 ยาว 11.46 cm ออกซิน สังเคราะห์ตามทอ้ งตลาดเร่งรากคา่ เฉล่ียคือ 2.66 ยาว 6.19 cm เรง่ ยอดคา่ เฉลย่ี คอื 1.50 ยาว 11.94 cm น้าธรรมดาเรง่ ราก ค่าเฉลีย่ คือ 2.66 ยาว 8.14 cm เร่งยอดค่าเฉลีย่ คอื 1.25 ยาว 8.87 cm จากการทดลองพบว่า 1. สารสกดั ออกซินส่วนรากของต้นสาบแรง้ สาบกาเร่งราก (ตา) ได้ดีกวา่ สารสกัดออกซนิ ส่วน ยอดของต้นสาบแร้งสาบกา สารสกัดออกซินส่วนยอดของต้นสาบแร้งสาบกาเร่งยอด (ตา) ได้ดีกว่าสารสกัดออกซินส่วนราก ของต้นสาบแรง้ สาบกา 2.สารสกัดออกซินสว่ นรากของตน้ สาบแร้งสาบกาเร่งราก (ตา) ได้ดีกว่าน้า และออกซินตามท้องตลาด ออกซินสังเคราะหต์ ามท้องตลาดสามารถเร่งรากไดใ้ กลเ้ คียงกับสารสกัดออกซินส่วนรากของต้นสาบแรง้ สาบกาและน้า คาสาคัญ : สารออกซนิ , ต้นสาบแรง้ สาบกา , มนั สาปะหลงั
หนา 30
หนา 31 การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากอบเชยในการช่วยยืดอายุของขนมปงั ขวัญลสิ า ศรีจันทร์¹, อรอนงค์ ชิณศรี¹, ปร่ิมประภา ปิยะวงษ์¹, ชูเกยี รติ คุ้มเนตร² และ สวุ รรณี ผาผง² ¹นักเรียนโรงเรียนวาปปี ทมุ , E-mail: [email protected] ²โรงเรียนวาปปี ทุม บทคดั ย่อ โครงงานการศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดจากอบเชยในการช่วยยืดอายุของขนมปัง มีจุดประสงค์เพ่ือศึกษา ระยะเวลาในการชะลอการเกิดราในขนมปังของสารสกัดจากอบเชย โดยนาอบเชยไปทุบให้เป็นช้ินเลก็ ๆ เพ่ือเพ่ิมพื้นท่ีให้การ กลั่นเกิดเร็วขึ้น ติดต้ังอุปกรณ์สาหรับการกล่ันด้วยน้าร้อน นาอบเชยที่ทุบละเอียด 150 กรัม ใส่ในขวดรูปชมพู่ท่ีบรรจุน้าไว้ 300 ลูกบาศกเ์ ซนตเิ มตร แล้วปดิ ดว้ ยจุกยางทต่ี อ่ ด้วยสายยางแลว้ นาขวดรปู ชมพวู่ างบน hot plate แลว้ ให้ความรอ้ นแก่ขวด รูปชมพู่นั้น รอจนกระท่ังได้สารสกัดจากอบเชยที่ควบแน่นลงในภาชนะรองรบั แล้วบรรจุสารสกัดท่ีไดล้ งในขวดสเปรย์ จากน้ัน นาสารสกัดที่ได้ไปพรมลงในขนมปังแผ่นท่ี 2,3,4 และไม่พรมในแผ่นที่ 1 แล้วนาไปบรรจุในภาชนะเปิด จากน้ันสังเกตแล้ว บันทึกผลพบว่า สารสกัดจากอบเชยมีผลในการชะลอการเกิดราในขนมปังจริง โดยราท่ีเกิดขึ้นบนแผ่นขนมปังที่พรมด้วยสาร สกัดจากอบเชยเกิดหลังจากวันหมดอายุของขนมปัง 4 วัน ช้ากว่าขนมปังแผ่นที่ไมไ่ ด้พรมดว้ ยสารสกัดจากอบเชย 2 วัน และ ปรมิ าณราท่เี กิดขึ้นบนแผน่ ของขนมปังทพ่ี รมดว้ ยสารสกดั จากอบเชยมีนอ้ ยกว่าแผ่นท่ไี มพ่ รมด้วยสารสกดั จากอบเชย โดยเฉล่ยี 100 จุด คาสาคญั : อบเชย
หนา 32 กากน้าตาลสร้างแกส๊ ตติยา อาฆราช1, กรี ตกิ ร ไกรยะราช1, พริ ยิ าภรณ์ พิมพบ์ ึง1 จกั รี แก้วน้ำค้ำ2 และ หทยั รตั น์ นำรำษฎร์2 1นักเรยี นโรงเรียนปทมุ เทพวทิ ยำคำร, E-mail : [email protected] 2โรงเรยี นปทมุ เทพวิทยำคำร บทคดั ย่อ โครงงำนนีมีวตั ถปุ ระสงค์เพื่อ 1) ศกึ ษำปัจจัยกำรผลติ ก๊ำซชีวภำพจำกเศษอำหำรร่วมกบั กำกน้ำตำล 2) เปรียบเทยี บ ปรมิ ำตรของก๊ำซชีวภำพท่ีเกิดจำกกำรหมกั เศษอำหำรรว่ มกบั กำกนำ้ ตำลและกำรหมกั เศษอำหำรเพยี งอย่ำงเดียว โครงงำนนี แบ่งออกเป็น 2 กำรทดลอง กำรทดลองท่ีหน่ึงเป็นกำรหมักเศษอำหำรร่วมกับกำกน้ำตำลและน้ำ ในกำรทดลองใช้อัตรำส่วน ระหว่ำงเศษอำหำรตอ่ กำกน้ำตำลต่อน้ำเป็น 3.5:1:6 ท้ำกำรทดลองเป็นระยะเวลำ 45 วัน กำรทดลองท่ีสองเป็นกำรหมักเศษ อำหำรร่วมกับน้ำ ในกำรทดลองใช้อัตรำส่วนระหว่ำงเศษอำหำรต่อน้ำเป็น 3.5:6 ท้ำกำรทดลองเป็นระยะเวลำ 20 วัน และ บันทกึ ผลทุกวันในเวลำ 17.00 น. โดยขอ้ มลู ทีบ่ ันทึกคอื 1.ค่ำ pH ในถงั หมัก 2.อุณหภมู ิในถังหมกั 3.ปรมิ ำตรของกำ๊ ซชีวภำพ ทีเ่ กิดขึน และนำ้ ข้อมูลท่ีได้มำวิเครำะหห์ ำปริมำตรของกำ๊ ซชวี ภำพทเี่ กดิ ขนึ ทังหมด โดยใชส้ ูตรปริมำตรทรงกระบอก และน้ำ ผลท่ีได้จำกกำรหมักเศษอำหำรร่วมกับกำกน้ำตำลและกำรหมักเศษอำหำรร่วมกับน้ำมำท้ำกำรเปรียบเทียบ ผลกำรศึกษำ พบว่ำ 1) จำกกำรทดลองปัจจัยท่ีท้ำให้เกิดให้เกิดก๊ำซชีวภำพ ค่ำ pH ที่มีควำมเป็นกรดสูงจะมีผลต่อกำรเกิดก๊ำซชีวภำพ มำกกว่ำคำ่ pH ท่ีมคี วำมเปน็ เบส และอุณหภูมิเป็นปจั จัยสำ้ คัญที่ทำ้ ให้เกิดก๊ำซชวี ภำพมำกขึน เน่ืองจำกสภำพอำกำศท่ีส่งผล ให้มีอุณหภูมิสูงขึน ท้ำให้กำรผลิตก๊ำซชีวภำพเพิ่มขึนตำมล้ำดับ 2) จำกกำรเปรียบเทียบกำรผลติ ก๊ำซชวี ภำพจำกเศษอำหำร ร่วมกับกำกน้ำตำลและกำรผลติ กำ๊ ซชีวภำพจำกเศษอำหำรเพียงอย่ำงเดยี วพบวำ่ ในช่วงระยะเวลำ 20 วัน ปริมำตรของก๊ำซ ชีวภำพจำกกำรหมักเศษอำหำรร่วมกับกำกน้ำตำล มีค่ำเฉลี่ยของปริมำตรก๊ำชมำกกว่ำกำรผลิตก๊ำซชีวภำพจำกเศษอำหำร เพียงอยำ่ งเดียวเฉลย่ี วันละ 495.29 cm3 ต่อวันทท่ี ำ้ กำรหมกั Keywords : กำกนำ้ ตำล,กำ๊ ซชีวภำพ
หนา 33 n1'iAn1;1A11uLfufu'Ue1.iva� Saccharomyces cerevisiae �ij�a9lel01'iL;i;tyL91'Ul91'Uel'1Li1jl91'i:oaU1./J'iiJ Ylin4i.i1,n 'd'!f11tUi1 • W'!f;,., 1.:i�1 • aflfl11'S'SN fl1fll'IU'1 1 m�,J11,i11111 i.J1iim1,2 1 Unl1VUfrn1VIJT/11Ut'lfffll11, E-mail: bm11-789(ii>o111/ook.com 2 frn1lf1JT/11Ut'lffnt!l1 lt'l\"m1'\\J L�tl� m,iiin�1t'l111JL'IJ1J'U\\J'lltl�a\"'.i Socchoromyces cerevisioe viii�11�t1fl1iL\\li(YL�tJlvi'IJt1•m'.;v1 �m:r;i11m�'UJ ii-j'111Q1.li::\"'�i(L�tl�m;,,::�tJt'l111JL'IJ1JwviL,11.n::\"'1J'IJt1�v\"'.i�anTlL'1i{ULiitJlvi'!Ja�L�vi111wQi1\\J1�'i1J1u t,J11l,l1cJ.:itJi�'iuiin1,u.11::1uM1nb�L18\\J lvlEJt'lru::���vil'i1l�u1nt1uLtm•Y.:imivi 4 \"�'lll'i Mu.ri \"�'mvi'Wii\"'1'ii1::'11EJV\"'�U.'1:: \\'!\"iviii\"'Trn::'11EJV\"'� Socchoromyces cerevisioe 1'1'J11JL'IJ1J'U\\J 0.5, 1 u.at 1.5 n11.Jlllt1iilll\"i \\'!lll'ia:: 10 nt1ultJl'i1rn, Ln1::L!EJ�1ut,m-wl1'a�tJ!iuiirn,LW::1u\"'m'Wl\"i�L1au �rnfl1'i'Vlvl'1cJ�l'ltJ11 1u\"'mnl1'a�tJli'Uiirn,i;itJm�i;iii,hvrumu�EJ innvi�vi 71 n11J 'icNa�i.i,fia 67.2, 63.7 LW:: 58.6 ni'1J ��lvi,nnnam(aviiiR111JL'!JlJW'IJcJ�am11' 1, 1.5, biijfl11l.J LW'IJ\\J'!Jtl�Vt,� u.a::iit'l111JL'U1J'IJ\\J'IJcJ.:iv\"'� 0.5 ni:u111t1ali'l'l 1111:u,h�tJ tuM17YiL'm18\\Jlfl8nL�111lh11V1UnLll�m.nnvi�111 88 ni'1J 'it1.:ia�mfit1 77, 71 U'1t 67.6 ni:u ��1�'11nnt1\\JL{t1iiiifl'l11JL'U1J'IJ\\J'!ltl.:iv\"'.i 1, 0.5, biiifl11lJL'IJlJ'IJ\\J'!lcl�Vt,.i LL'1t iit'l11lJL'IJlJ'IJ\\J'!lcJ.:iv\"'� 1.5 nfollicJiifl\"i 1111lJl'i1�tJ U.\"'1i1.:i11 \"lt�tJfl111JL'IJ1J'IJ\\JiiL'l-11J1tt,1J'!lcJ�at,ll�clfl1'iL\\l�{UL�tJh1,m.:i L�vlfl'itQ'1\\J1�\"i:Utu\"'mnit1.:i1.lljuiin1\"i Rel 1 nfollit1iiPl\"i Ui1t\"it�tJfl11lJLW'IJ\\JiiL'l-1lJ1t\"'lJ'IJtl�a\"'�lllcJfl1\"jL\\11{UL;itJ1111 ia.:iL�v1111,::n\"au1.:ii1J1u\"'111\"11lm1au Rel 1 ni1Jlliaa111, �.:iLtluli.J1111w\"'miii�fj1uiii�H ft11hi'\\!: a\"'�• L�vllll\"itQ'1tm'i1J, Saccharomyces cerevisiae, \"1t1.:i1.llj�rn'l, lrn�tl\\J
หนา 39 การยอ้ มสีอสุจอิ ยา่ งงา่ ยโดยใชส้ จี ากพืชในทอ้ งถนิ่ บางชนิด จักรภพ คาสมหมาย1, ธรี ภทั ร์ ศรีเทพ1, เทพวิมล ป่นิ คา1 และ ศริ พิ ร นามแก้ว2 1นักเรียนโรงเรียนศรบี ุญเรอื งวิทยาคาร, E-mail: [email protected] 2โรงเรยี นศรีบุญเรืองวิทยาคาร บทคัดยอ่ การยอ้ มสีอสจุ ิอยา่ งงา่ ยโดยใชส้ ีจากพชื ในทอ้ งถ่ินบางชนิดได้นาพืชท่ีมีในท้องถิ่น จานวน 8 ชนิดได้แก่ ข้าวเหนียวดา (Oryza sativa), ดอกเฟื่องฟ้าสีชมพูเข้ม (Bougainvillea spp.), ดอกคุณนายตื่นสายสีชมพูเข้ม (Portulaca oleracea), ผลหม่อน (Morus nigra), ผลหมากเม่า (Antidesma thwaitesianum), ผลมะนาวโห่ (Carissa carandas), ผลลูกหว้า (Syzygium cumini) และผลแก้วมังกรเนื้อแดงเปลือกแดง (Hylocercus costaricensis) มาสกดั ดว้ ยตัวทาละลาย 2 ชนดิ คือ น้า สารละลายแอลกอฮอร์ 95% จากน้ันนาไปย้อมสีอสุจิ ท่ีได้จากอาสาสมัครโดยการ ช่วยตัวเองแล้วเจอื จางเป็นสารละลายอสจุ ิ จากนั้นสเมียร์สารละลายอสุจิบนสไลด์ทง้ิ ไวจ้ นแหง้ แล้วหยดกรดเกลือ (1N HCl) ทิ้งไว้ 2 นาที จึงหยดสารละลายสีที่ได้จากพืช เป็นเวลา 5 นาที แล้วเทสารละลายสีท้ิงจึงนาสไลด์ลนไฟพออุ่น จึงศึกษา การติดสีภายใต้กล้องจุลทรรศน์ที่กาลังขยาย 100 และ 400 เท่า ตามลาดับ พบว่าน้าสามารถสกัดสารสีจากพืชได้มากกว่า แอลกอฮอร์ 95% แตเ่ ฮกเซนไม่สามารถสกัดสจี ากพืชได้ แสดงวา่ แอนโทรไซยานินละลายในน้าได้ดีกว่าแอลกอฮอร์ 95% แต่ ไม่ละลายในเฮกเซน เน่ืองจากแอนโทรไซยานินเป็นสารท่ีมีขั้ว และพืช 6 ชนิด ได้แก่ ข้าวเหนียวดา, ดอกเฟ่ืองฟ้าสีชมพู, ดอกคุณนายต่ืนสายสีชมพู, ผลหม่อน และผลแก้วมังกรเน้ือแดงเปลือกแดงสามารถใช้น้าสกัดสีย้อมอสุจิได้ แต่ผลมะนาวโห่ ต้องใช้เอทานอล 95% สกัดสีย้อม ซึ่งสีย้อมที่ดีที่สุดคือ สีย้อมจากข้าวเหนียวดาและดอกเฟ่ืองฟ้าสีชมพู เน่ืองจากสามารถ ย้อมติดสอี สจุ ไิ ดต้ ลอดทง้ั ตัว แตส่ ยี ้อมจากดอกคุณนายต่ืนสายสชี มพไู ม่เหมาะต่อการย้อมอสุจิเพราะมีผลึกรูปร่างปริซึมขนาด ใหญจ่ านวนมากซง่ึ เป็นอปุ สรรคในการศึกษา คาสาคัญ : ตัวอสจุ ,ิ นา้ เช้อื อสจุ ,ิ การยอ้ มส,ี สีจากพืช
หนา 40 สตู รน้ำหมักกำ้ จดั วชั พืช ธรี ภัทร ชน่ื ใจ1, จกั รินทร์ เวียงฉมิ มำ1, ณฐั สนิ ี ติณเวส1 นางสาวสริ พิ ร โสมา2 1นักเรียนโรงเรยี นอุดรพชิ ยั รกั ษพ์ ิทยา, Email [email protected] 2โรงเรียนอดุ รพชิ ยั รกั ษพ์ ทิ ยา บทคดั ย่อ ปัญหาทางการเกษตรส่วนใหญเ่ กิดจากวัชพชื ท่สี ่งผลผลกระทบตอ่ การเกษตร ทาให้ได้ผลผลติ ทล่ี ดลง คณะผจู้ ดั ทาจงึ เล็งเห็นความสาคัญ จึงจัดทาโครงานนี้ขึ้น โดยวัตถุประสงค์ คือ 1. เพื่อกาจัดวัชพืช 2. เพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพในการ กาจัดวชั พืชของนา้ หมกั แตล่ ะสตู ร ข้ันตอนการดาเนินงาน 1. การผลิตน้าหมักสูตรกากน้าตาล ส่วนผสมคือ กากน้าตาล น้า เกลือ ปุ๋ยยูเรีย (20-0-0) มาผสมลงในถังที่ 1 จากน้ันคนส่วนผสมให้เข้ากัน 2. การผลิตน้าหมักสตู รน้าสม้ สายชู ส่วนผสมคือ น้าส้มสายชู เกลือ น้า มา ผสมลงในถงั ที่ 2 จากนั้นคนส่วนผสมให้เข้ากนั 3. การผลิตน้าหมักสูตรเกลือ ส่วนผสมคอื นา้ เกลือ ปยุ๋ ยเู รีย (20-0-0) มาผสม กันลงในถังที่ 3 จากนั้นคนส่วนผสมให้เข้ากัน ท้ิงส่วนผสมทั้ง 3 ถังไว้ในระยะเวลา 1 สัปดาห์ จากนั้นนามาเปรียบเทียบ ประสทิ ธิภาพของการกาจัดวัชพชื โดยมวี ชั พชื 3 แปลง และนา้ หมักทง้ั 3 สูตร นามาทดสอบและติดตามผลการทดลอง ใชเ้ วลา ประมาณ 3-5 วนั โดยกาหนดให้ วัชพืชแปลงที่ 1 ใช้สตู รนา้ หมักกากนา้ ตาล วชั พชื แปลงที่ 2 ใช้สูตรนา้ หมกั นา้ สม้ สายชู วชั พืช แปลงที่ 3 ใชน้ ้าหมกั สูตรเกลอื จากการทดลองพบว่า นาหมักสูตรกากน้าตาลสามารถกาจัดวัชพืชได้ในระยะเวลาท่ีน้อยกว่าน้าหมัก สูตรอ่ืน รองลงมาคือนา้ หมักสตู รน้าสม้ สายชแู ละนา้ หมักสตู รเกลือ ตามลาดบั ดงั น้ันในควรเลือกใช้น้าหมกั สตู รกากน้าตาลในการกาจัด วชั พชื เพราะนา้ หมกั สตู รกากนา้ ตาลเป็นสารชีวภาพ สามารถกาจดั วัชพชื ได้ในระยะเวลาท่ีส้นั และยังปลอดภัยต่อสภาพของดิน และส่งิ แวดล้อม ซ่งึ สามารถทาได้ดว้ ยตนเองภายในระยะเวลาไม่นานและประหยดั ค่าใช้จ่ายอกี ดว้ ย ค้ำสำ้ คญั : สูตรนา้ หมักกาจดั วชั พชื
หนา 41 การศึกษาสมบตั ิและประสิทธิภาพของการผลิตแผน่ ลอกลายพิมพน์ ิ้วมือจาก ธรรมชาติ เกวลี บรรณสาร1 , ธมลวรรณ ทิพยม์ าตร1 , วิภาวี ภจู า่ พล1 ธนศกั ดิ์ เจรญิ ธรรม2 1นกั เรยี นโรงเรยี นอนุกลู นาร,ี E-mail:[email protected] 2โรงเรยี นอนุกลู นารี บทคดั ย่อ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง การผลติ แผน่ ลอกลายพมิ พน์ ้วิ มอื จากธรรมชาตสิ าหรบั ใชใ้ นงานนิตวิ ทิ ยาศาสตร์ ซง่ึ ในการศกึ ษาใชพ้ ชื 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ น้ายางพารา (latex) ผสมกบั โปรตนี ไฟโบรอนิ จากไหมนางน้อย (Protein N) หรอื ไหมอรี ี (Protein E) ซง่ึ พชื เหล่าน้ีมโี ปรตนี ท่มี คี วามเหนียวเป็นองค์ประกอบ ผูจ้ ดั ทาจงึ สนใจสกดั โปรตนี จากไหม ดงั กลา่ ว จากนนั้ นามาผสมน้ายางพารากอ่ นนาไปผลติ เป็นแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื ซง่ึ ลอกพมิ พน์ ้ิวมอื ไดด้ แี ละนาไป สกดั ดเี อน็ เอไดอ้ กี ดว้ ย เป็นการเพมิ่ มลู คา่ สนิ คา้ ทางการเกษตรใหม้ รี าคาสงู ขน้ึ ซง่ึ ผลทไ่ี ดจ้ ากงานวจิ ยั น้ีจะไดต้ ้นแบบ ผลติ ภณั ฑล์ อกลายพมิ พน์ ้ิวมอื เพ่อื งานดา้ นนิตวิ ทิ ยาศาสตรต์ ่อไป ดงั นนั้ คณะผทู้ าโครงงานจงึ ได้ศกึ ษา 1. การสกดั โปรตนี ไฟโบรอนิ จากไหม 2. การผลติ แผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื 3. ค่ายงั มอดลู สั ของแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื 4. การ คงตวั ของแผน่ ลอกลายพมิ พน์ ้วิ มอื 5. องคป์ ระกอบทางเคมขี องแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื 6. ความสามารถในการลอก ลายพมิ พน์ ้วิ มอื ของแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื ทผ่ี ลติ ได้ 7. คุณภาพดเี อน็ เอทส่ี กดั ได้ 8. ความพงึ พอใจการใชแ้ ผ่นลอก ลายพมิ พน์ ้ิวมอื ทผ่ี ลติ ได้ ผลการศกึ ษา พบว่า 1. สามารถสกดั โปรตนี ไฟโบรอนิ จากไหมพนั ธุน์ างน้อยศรษี ะเกษ ได้ รอ้ ยละ 67.4 และไหมพนั ธุอ์ รี ่ี ไดร้ อ้ ยละ 63.2 โปรตนี ไฟโบรอนิ จากไหมพนั ธนุ์ างน้อยศรษี ะเกษ มขี นาด 42 kDa สว่ น แถบโปรตนี จากไฟโบรอนิ จากไหมพนั ธุอ์ รี ่ี มขี นาด 44 kDa และ 46 kDa 2. สามารถผลติ แผน่ ลอกลายพมิ พน์ ้วิ มอื คอื 1) แผ่น 61% latex 2) แผ่น 61% latex + 0.5% Protein N 3) แผ่น 61% latex + 1% Protein N 4) แผ่น 61% latex + 0.5% Protein E 5) แผ่น 61% latex + 1% Protein E 3. เม่อื ความเขม้ ขน้ ของโปรตนี ทผ่ี สมกบั latex สงู ขน้ึ แผ่น ลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื ค่า tensile stress และค่า tensile strain สงู ขน้ึ โดยโปรตนี N และโปรตนี E ทาใหแ้ ผ่นลอกลาย พมิ พน์ ้วิ มอื มคี า่ tensile stress และค่า tensile strain ใกลเ้ คยี งกนั 4. แผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื ทผ่ี ลติ ไดม้ คี วามคงตวั ของลายพมิ พน์ ้วิ มอื หลงั จากลอกลายพมิ พน์ ้วิ มอื บนกระจกและเกบ็ ไวเ้ ป็นเวลา 7, 14, 21 และ 28 วนั ไม่แตกต่างจาก การใชเ้ ทปใส 3M 5. พบเอกลกั ษณ์ของ latex, protein E และ protein N บนแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื 6. แผ่น 61% latex + 1% protein N สามารถลอกลายน้ิวมอื ไดด้ ที ส่ี ดุ ตามดว้ ยแผ่น 61% latex + 0.5% protein N แผ่น 61% latex+1% protein E แผ่น 61% latex+0.5% protein E และแผ่น 61% latex ตามลาดบั และใกลเ้ คยี งกบั เทปใส 3M 7. แผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิวมอื ทส่ี ามารถสกดั ดเี อน็ เอไดส้ ูงทส่ี ุดคอื แผ่น 61% latex+1% protein N แผ่น 61% latex+0.5% protein N แผ่น 61% latex+1% protein E แผ่น 61% latex+0.5% protein E และแผ่น 61 % latex ตามลาดบั ดเี อน็ เอทส่ี กดั ไดม้ คี ุณภาพใกลเ้ คยี งกนั เทปใส 3M แต่ปรมิ าณดเี อน็ เอทส่ี กดั ไดจ้ ากแผ่นลอกลายพมิ พน์ ้ิว มอื 61% latex + 1% protein N มปี รมิ าณสงู กว่าโดยมปี รมิ าณดเี อน็ เอสงู กว่าทส่ี กดั ไดจ้ ากเทปใส 3M ถงึ 5 เท่า 8. ระดบั ความพงึ พอใจโดยรวมอย่ใู นระดบั มากทส่ี ดุ เม่อื พจิ ารณารายดา้ น พบว่า มรี ะดบั ความพงึ พอใจมากทส่ี ุดทุก ดา้ น Keywords: แผน่ ลอกลายพมิ พน์ ้วิ มอื , น้ายางพารา, โปรตนี ไฟโบรอนิ , ไหมนางน้อยหรอื ไหมอรี ,ี สกดั ดเี อน็ เอ
หนา 42 การยดื อายเุ ยลล่ีหมากเมา่ โดยการใช้สารสกดั จากฝาง ปพชิ ญา เจียมไพเราะ1 , ญาณิศา เพชรสงั ข์1 , ปริณดา ชินโน1 เมฆา ดสี งคราม2 และ สภุ สั สร สงิ หโ์ ส2 นักเรียนโรงเรียนสกลราชวทิ ยานุกูล , E – mail : [email protected] โรงเรียนสกลราชวทิ ยานกุ ูล บทคัดย่อ ในปจั จุบนั อตุ สาหกรรมอาหารมกี ารใชส้ ารกนั บดู ในการยืดอายอุ าหาร มีการใชส้ ารกนั บูดมากเกินปรมิ าณทกี่ าหนด ทาใหเ้ กดิ อันตรายต่อผบู้ รโิ ภค จากรายงานพบว่า มีสารสาคัญในฝางที่ สามารถยบั ยั้งการเจริญเตบิ โตของแบคทเี รยี และเชื้อรา ทีก่ ่อให้เกดิ การเนา่ เสียของอาหารได้ จุดประสงค์ของโครงงานนีค้ ือการสกัดสารสาคญั จากฝางเพ่ือใช้แทนการใช้สารกันบูด ซ่ึงใชค้ วามเขม้ ข้นของสารสกดั ฝาง 3 ความเขม้ ขน้ คอื 25,50,100 µg/mL ผสมลงในเยลล่หี มากเมา่ ผลการประเมนิ ทาง ประสาทสมั ผัสพบวา่ คะแนนความชอบเฉลี่ยต่อเยลล่หี มากเมา่ ท่ผี สมสารสกัดฝางท่คี วามเขม้ ขน้ ต่าง ๆ พบวา่ อยู่ในระดบั มาก ทกุ ชุดการทดสอบ ผลการทดสอบทางจุลชีววิทยาพบวา่ เยลลหี่ มากเม่า ท่ผี สมสารสกดั ฝางด้วยน้าทค่ี วามเขม้ ขน้ 25, 50 และ 100 µg/mL และเยลลี่หมากเมา่ ทผ่ี สมสารสกัดฝางด้วยเอทานอลที่ความเขม้ ข้น 25, 50 และ 100 µg/mL สามารถ ยับยง้ั การเจรญิ เติบโตของแบคทีเรยี ได้แตย่ บั ยง้ั เชอ้ื ราไมไ่ ด้ และใหผ้ ลใกล้เคยี งกับการยืดอายกุ ารเกบ็ รกั ษาโดยใชส้ ารกนั บดู จงึ สรุปไดว้ า่ สารสกดั ฝางดว้ ยน้าท่ี ความเข้มข้น 100 µg/mL มปี ระสทิ ธภิ าพในการยดื อายุการเกบ็ รักษาได้ดีทส่ี ดุ ใกลเ้ คยี งกบั สารกนั บดู โดยเฉลีย่ จานวนวันในการยดื อายไุ ด้ 6 วัน คาสาคัญ : สารสกัดจากฝาง , เยลลีห่ มากเม่า , ยดื อายเุ กบ็ รกั ษา
หนา 43 การศึกษาพรรณไม้ต้นในโรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคาร นางสาวรัตติกร ชมภูเขยี ว1 นางสาวเกวลนิ เผยศิริ1 นางสาวปนัสญา ฝายกลาง1 นายสิทธิชาติ สิทธิ2 1นักเรยี นโรงเรยี นหนองบัวพทิ ยาคาร, E-mai : [email protected] 2,3 โรงเรยี นหนองบัวพิทยาคาร บทคดั ยอ่ การทาการศึกษาความหลากหลายของพรรณไม้ต้นในโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร จังหวัดหนองบัวลาภู ระหว่างเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2560 – เดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2562 ทาการสารวจชนิดพรรณไม้และลักษณะนิเวศบาง ประการ โดยการนับโดยตรง จากแปลงท้ังหมด 11 แปลง ผลการศึกษาพบว่ามีพรรณไม้ต้นในโรงเรียนหนองบัวพิทยาคาร ท้งั ส้นิ 24 วงศ์ 46 ชนดิ พรรณไม้ตน้ ท่ีมคี วามถี่มากท่ีสุด คือ ต้นหมาก มีค่าเท่ากับ 0.81 รองลงมาคือ ต้นประดู่ มีค่าเท่ากับ 0.63 และต้นสะเดา มีค่าเท่ากับ 0.54 ตามลาดับ พรรณไม้ต้นที่มีค่าความหนาแน่นมากท่ีสุด คือ ต้นสนสามใบ มีค่าเท่ากับ 0.0066 รองลงมา คือ ต้นหมาก มีค่าเท่ากับ 0.0045 และต้นตะเคียนทอง 0.0043 ตามลาดับ ผลการศกึ ษาครัง้ นีส้ ามารถ นาไปใช้ประโยชน์ในการเป็ นแนวทางในการจดั ทาข้อมลู เบอื ้ งต้นเกี่ยวกบั ความหลากหลายของไม้ต้นในโรงเรียนหนองบวั พิทยาคาร จงั หวดั หนองบวั ลาภู และสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจดั การทรัพยาการธรมชาตอิ ยา่ งยง่ั ยนื ตอ่ ไป คำสำคัญ : พรรณไม้ต้น ความหลากหลายทางชีวภาพ
Search