Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore PCD แผนแก้ปัญหาฝุ่นละออง

PCD แผนแก้ปัญหาฝุ่นละออง

Published by Kanchana Songphonphinyo, 2020-04-23 01:30:47

Description: PCD แผนแก้ปัญหาฝุ่นละออง

Search

Read the Text Version

แผนปฏิบตั กิ ารขับเคล่ือนวาระแหง ชาติ “ดานฝุนละออง”การแกไ ขปญ หามลพิษ ISBN: 978-616-316-535-0 กรมควบคมุ มลพษิ คพ. 03-129 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม



แผนปฏบิ ตั กิ ารขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” 1 ค�ำน�ำ จากสถานการณ์ฝุ่นละอองเกินมาตรฐานในช่วงต้นปีของทุกปี หน่วยงานที่เก่ียวข้องได้ร่วมกันกำ�หนดแนวทาง และมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ในกรุงเทพมหานคร/ปริมณฑล และในพื้นที่จังหวัดต่างๆ ซงึ่ คณะรฐั มนตรี มมี ตริ บั ทราบแนวทางและมาตรการฯ เมอ่ื วนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 และตอ่ มาในวนั ที่ 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 คณะรฐั มนตรี มมี ตใิ ห้ “การแกไ้ ขปญั หามลภาวะดา้ นฝนุ่ ละออง” เปน็ วาระแหง่ ชาติ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ร่วมกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้องจัดทำ�แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษ ด้านฝนุ่ ละออง” และคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในการประชุมคร้งั ท่ี 5/2562 เมอื่ วันที่ 15 สิงหาคม 2562 มมี ตเิ หน็ ชอบแผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง” เพอื่ ใชเ้ ปน แนวทางปฏบิ ตั ิ ในการดาํ เนนิ การแกไ ขปญ หาฝุ่นละอองในภาพรวมของประเทศ และในพ้นื ทวี่ ิกฤต โดยการบรู ณาการการดาํ เนินงาน รว มกนั ในทกุ ภาคสว น และเพอ่ื ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งมขี นั้ ตอน/การปฏบิ ตั งิ านทชี่ ดั เจนในชว่ งสถานการณว์ กิ ฤตปญั หา ฝนุ่ ละอองดว้ ย 3 มาตรการ ไดแ้ ก่ (1) การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การเชงิ พนื้ ที่ (2) การปอ้ งกนั และลดการ เกดิ มลพษิ ทตี่ น้ ทาง (แหลง่ ก�ำ เนดิ ) และ (3) การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การมลพษิ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ขอบคุณทุกหน่วยงานท่ีจะร่วมกันนําแผนปฏิบัติการฯ สู่การปฏิบัติเพื่อขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ ตามบทบาทของหนว่ ยงานให้เกดิ ผลเป็นรปู ธรรม และสามารถบรรลุวตั ถุประสงคท์ ่วี างไว้ กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อม กนั ยายน 2562

2 แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ดา้ นฝุ่นละออง”

แผนปฏิบัตกิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” 3 สารบญั บทที่ 1 บทนำ� 4 บทท่ี 2 แผนปฏบิ ตั กิ ารขับเคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ 14 “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” มาตรการที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการเชิงพ้ืนที่ 16 มาตรการที่ 2 การปอ้ งกนั และลดการเกิดมลพิษทตี่ น้ ทาง (แหล่งก�ำเนดิ ) 28 มาตรการที่ 3 การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจดั การมลพษิ 39 บทที่ 3 แนวทางการขบั เคลอื่ นแผนสกู่ ารปฏบิ ตั ิ และการติดตามประเมินผล 46 ผภนา วคก ภาคผนวก ก อักษรยอ่ และรายช่ือหน่วยงาน 48

4 แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 1บทท่ี

แผนปฏิบตั กิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 5 บทน�ำ 1. ความเปน็ มา คณะรฐั มนตรใี นการประชมุ เมอ่ื วนั ท่ี 12 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 พจิ ารณาเหน็ วา่ ปญั หาฝนุ่ ละอองมคี า่ สงู เกนิ คา่ มาตรฐาน ท่ีเกิดข้ึนเป็นประจำ�และเป็นปัญหาในหลายจังหวัดของพ้ืนท่ีภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ รวมทงั้ พน้ื ทกี่ รงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ซง่ึ สง่ ผลกระทบโดยตรงตอ่ สง่ิ แวดลอ้ ม เศรษฐกจิ และสขุ ภาพของประชาชน และมแี นวโนม้ ทจ่ี ะขยายตวั เปน็ ปญั หาส�ำ คญั ไปยงั จงั หวดั ขา้ งเคยี งในภมู ภิ าคอกี ดว้ ย โดยแหลง่ ก�ำ เนดิ ฝนุ่ ละอองทส่ี �ำ คญั ได้แก่ การเผาในท่ีโล่ง การจราจรขนส่ง และอุตสาหกรรม การแก้ไขปัญหาดังกล่าวจึงจำ�เป็นต้องดำ�เนินการอย่าง เร่งดว่ น เป็นระบบ โดยความร่วมมอื ของหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประชาชน คณะรัฐมนตรีจงึ มีมติใหก้ ารแกไ้ ข ปญั หามลภาวะดา้ นฝนุ่ ละอองเปน็ วาระแหง่ ชาติ เพอ่ื ใหก้ ารด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ วเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ และประสิทธิผล ทั้งน้ีให้คณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติเป็นกลไกหลักร่วมกับกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มและหน่วยงานท่เี กี่ยวขอ้ งด�ำ เนนิ การขับเคลือ่ นวาระแห่งชาติดงั กล่าวให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเรว็ 2. แผนปฏิบตั ิการขบั เคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” การขับเคล่ือนวาระแห่งชาติฯ ตามมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 จะดำ�เนินการโดยจัดทำ� แผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง” พ.ศ. 2562 - 2567 เพอ่ื ใหท้ กุ ภาคสว่ น ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติในการดำ�เนินงานด้านการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เปน็ รูปธรรมโดยเรว็ นำ�ไปสู่เป้าหมายประเทศ “สรา้ งอากาศดี เพ่อื คนไทย และผ้มู าเยือน” 3. สถานการณฝ์ ุน่ ละอองขนาดเล็ก ฝุ่นละออง หมายถึงอนุภาคของแข็งหรือของเหลวที่มีอยู่ในอากาศ ฝุ่นละอองเกิดจากกิจกรรมต่างๆ ท้ังโดย ธรรมชาตแิ ละจากกจิ กรรมของมนษุ ย์ ส�ำ หรบั ปญั หามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละอองมกั เกดิ จากฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ซง่ึ สว่ นใหญ่ เกิดจากการเผาไหม้ต่างๆ เช่น การเผาไหม้ของน้ำ�มันดีเซล การเผาเศษวัชพืช ขยะ และปฏิกิริยาเคมีในอากาศ โดยมีแหลง่ กำ�เนิดมาจาก

6 แผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ดา้ นฝุน่ ละออง” 1) การคมนาคมและขนส่ง จากสถิติกรมการขนส่งทางบก รายงานสถิติจำ�นวนรถจดทะเบียนใหม่ในแต่ละปี แนวโนม้ เพ่มิ ขน้ึ ต่อเนื่อง โดยในปี 2561 มีจำ�นวนรถจดทะเบยี นใหม่ 3.09 ล้านคนั และ ณ เดอื นกมุ ภาพนั ธ์ 2562 มีจำ�นวนรถจดทะเบียนใหม่ 0.54 ล้านคัน จากสถิติรถจดทะเบียน พบว่าจำ�นวนรถท่ีจดทะเบียนสะสมท่ัวประเทศ ณ กมุ ภาพนั ธ์ 2562 มี 39.72 ล้านคนั เปน็ รถดีเซล 10.93 ลา้ นคัน โดยในกรงุ เทพมหานคร มี 10.33 ล้านคนั และเป็นรถดีเซล 2.7 ลา้ นคนั ซึง่ ปรมิ าณการจำ�หนา่ ยน้ำ�มนั ดเี ซลในปี 2561 ทว่ั ประเทศ จำ�นวน 23.09 พนั ล้านลติ ร แบ่งเปน็ ในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จ�ำ นวน 7.09 พันล้านลติ ร ซ่งึ เพิ่มขนึ้ จากปี 2560 ซ่งึ ปรมิ าณการจำ�หน่าย น�ำ้ มนั ดเี ซลทว่ั ประเทศ จ�ำ นวน 22.68 พนั ลา้ นลติ ร แบง่ เปน็ ในกรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล จ�ำ นวน 6.86 พนั ลา้ นลติ ร 2) การเผาในทโี่ ลง่ จากขอ้ มลู ส�ำ นกั งานพฒั นาเทคโนโลยอี วกาศและภมู สิ ารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ทไี่ ดม้ กี าร ตดิ ตามตรวจสอบสถานการณไ์ ฟป่าในพื้นที่ประเทศไทยจากดาวเทียม TERRA และ AQUA ระบบ MODIS ระหวา่ ง วนั ท่ี 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2561 พบว่า มีจดุ ความรอ้ นสะสม (Hotspot) จำ�นวน 14,565 จุด โดยสว่ นใหญ่ เกิดจดุ ความรอ้ นสะสมในพนื้ ท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนอื จ�ำ นวน 5,085 จุด และพบสงู สุดในเดอื นมนี าคม โดยเมอื่ วเิ คราะหแ์ ยกตามการใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ พบจดุ ความรอ้ นสะสมสงู สดุ ในพนื้ ทเ่ี กษตร รอ้ ยละ 50 รองลงมาเปน็ พนื้ ท่ี สปก. รอ้ ยละ 19 พนื้ ทชี่ มุ ชน รอ้ ยละ 11 พนื้ ทป่ี า่ สงวนแหง่ ชาติ รอ้ ยละ 10 พนื้ ทป่ี า่ อนรุ กั ษ์ รอ้ ยละ 8 และพนื้ ทร่ี มิ ทางหลวง (50 เมตร) รอ้ ยละ 2 ตามล�ำ ดับ 3) ภาคอตุ สาหกรรม จากขอ้ มลู กรมโรงงานอตุ สาหกรรม ซง่ึ รายงานสถติ สิ ะสมของโรงงานอตุ สาหกรรม ในปี 2560 มีจำ�นวน 139,446 แห่ง โดยเป็นโรงงานจำ�พวกท่ี 3 เป็นโรงงานขนาดใหญ่ ซ่ึงผู้ประกอบการจะต้องได้รับอนุญาต ประกอบกจิ การก่อนถึงจะประกอบกจิ การได้ จ�ำ นวน 78,798 โรง 4) การก่อสร้าง มีท้ังกิจกรรมท่ีก่อให้เกิดฝุ่นละอองโดยตรง เช่น ฝุ่นที่เกิดจากกิจกรรมการก่อสร้าง ฝุ่นจาก การทำ�งานของเครื่องจักร ฝุ่นจากการขนส่งวัสดุก่อสร้าง ฝุ่นจากการเปิดหน้าดิน ฝุ่นที่เกิดจากการเข้า-ออกพื้นท่ี โครงการก่อสร้าง และในทางอ้อม โดยการก่อสร้างซ่ึงทำ�ให้พ้ืนผิวจราจรลดลง ทำ�ให้การจราจรติดขัด ส่งผลให้ การระบายมลพิษจากยานพาหนะสูงขึน้ 5) หมอกควันข้ามแดน เน่ืองจากมลพิษทางอากาศสามารถแพร่กระจายไปได้ในระยะไกล ทำ�ให้ในช่วงต้นปี ระหว่างเดือนมกราคม - เมษายน ที่ประเทศไทยเกิดปัญหาสถานการณ์หมอกควันในพ้ืนท่ีภาคเหนือ 9 จังหวัด ส่วนหนึ่งได้รับผลกระทบจากหมอกควันข้ามแดนจากข้อมูลสำ�นักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคก์ ารมหาชน) ทไี่ ดม้ กี ารติดตามตรวจสอบสถานการณ์จุดความรอ้ น (Hotspot) ในพ้ืนทปี่ ระเทศไทยและประเทศ ในอนุภมู ิภาคแม่โขง จากดาวเทียม TERRA และ AQUA ระบบ MODIS ระหว่างวันท่ี 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม 2561 พบวา่ ประเทศเมยี นมา มจี ุดความรอ้ นสะสมสงู ท่สี ดุ จ�ำ นวน 41,204 จุด ลดลงจากชว่ งเวลาเดียวกนั ในปี 2560 ท่ีพบจุดความร้อนสะสม 48,041 จดุ รองลงมา คอื สปป.ลาว พบจุดความรอ้ นสะสม 27,417 จดุ ลดลงจากปี 2560 ท่ีพบจุดความร้อน 28,496 จุด ประเทศกัมพูชา พบจุดความร้อนสะสม 23,106 จุด เพิ่มข้ึนจากปี 2560 ท่ีพบ จุดความร้อน 20,890 จุด ประเทศไทย พบจุดความรอ้ นสะสม 14,565 จุด ลดลงจากปี 2560 ที่พบจุดความร้อน 16,006 จุด และประเทศเวียดนาม พบจุดความร้อนสะสม 9,593 จุด เพิ่มข้ึนจากปี 2560 ที่พบจุดความร้อน 8,867 จดุ ตามล�ำ ดับ (รปู ที่ 1)

แผนปฏิบตั กิ ารขับเคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” 7 60,000 2560 2561 ¨Ó¹Ç¹ ب´¤ÇÒÁÌ͹ (¨Ø´) 50,000 48,041 28,49627,417 20,89023,106 41,204 16,00614,565 40,000 30,000 8,867 9,593 20,000 10,000 0 Ê»».ÅÒÇ ¡ÁÑ ¾ªÙ Ò »ÃÐà·Èä·Â àÇÂÕ ´¹ÒÁ àÁÂÕ ¹ÁÒ รปู ที่ 1 จ�ำ นวนจดุ ความรอ้ นสะสมในประเทศอนภุ มู ภิ าคแมโ่ ขง ระหว่าง 1 มกราคม - 31 พฤษภาคม สำ�หรับสถานการณ์หมอกควันภาคใต้ ประเทศไทยอาจได้รับผลกระทบในช่วงกลางปีระหว่างเดือนมิถุนายน - กันยายน ซึ่งมีสาเหตุมาจากการเผาป่าพรุบนเกาะสุมาตรา เกาะบอร์เนียวในประเทศอินโดนีเซียในช่วงฤดูแล้ง ซ่ึงเม่ือลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดผ่านประเทศไทยในช่วงเวลาดังกล่าวจะพัดเอาหมอกควันจากเกาะสุมาตราเข้าสู่ ภาคใต้ฝ่ังตะวันตกของประเทศไทย ซึ่งส่งผลใหห้ ลายจังหวดั ภาคใต้ไดร้ บั ผลกระทบไปด้วย ฝุ่นละอองขนาดเล็ก ท่ีกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีการติดตามตรวจสอบและเฝ้าระวัง สถานการณ์ต่อเนอ่ื ง แบง่ เป็น • ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) เป็นฝุ่นละอองที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ เน่ืองจากเม่ือหายใจ เข้าไปสามารถเขา้ ไปสะสมในระบบทางเดนิ หายใจ • ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) เป็นฝุ่นละอองที่มีผลกระทบต่อสุขภาพมากกว่า เน่ืองจาก สามารถเขา้ ไปถงึ ถงุ ลมในปอดได้ จากการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศโดยสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศอัตโนมัติ จำ�นวน 63 สถานี ใน 33 จังหวัด พบว่าสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็ก เฉลี่ย 24 ชั่วโมง เกินเกณฑ์มาตรฐานเฉพาะในช่วงต้นปี และปลายปี โดยพ้ืนทท่ี ีม่ ีปญั หามลพิษทางอากาศจะเป็นพื้นทเ่ี มอื งใหญ่ทม่ี กี ารจราจรหรือบรรทกุ ขนส่งหนาแนน่ เชน่ กรุงเทพมหานคร นครราชสีมา ขอนแก่น เป็นต้น และพ้ืนที่ท่ีมีการเผาในท่ีโล่ง เช่น พื้นท่ีภาคเหนือ กาญจนบุรี ขอนแกน่ เป็นต้น พนื้ ทีเ่ ขตอตุ สาหกรรม เชน่ สระบุรี เปน็ ตน้ (รปู ท่ี 2)

8 แผนปฏิบตั ิการขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” »ÃÔÁÒ³½†¹Ø ÅÐÍͧ PM2.5 ¾é¹× ·ÀÕè Ò¤à˹Í× »ÃÁÔ Ò³½†Ø¹ÅÐÍͧ PM2.5 ¾¹é× ·Õ¡è Ã§Ø à·¾ÁËÒ¹¤ÃáÅлÃÔÁ³±Å Á¤¡./ź.Á. ¨Ó¹Ç¹Çѹ·èÕà¡Ô¹Áҵðҹ (Çѹ) ¤Ò‹ ÊÙ§Ê´Ø Á¤¡./ź.Á. ¨Ó¹Ç¹Ç¹Ñ ·àÕè ¡Ô¹Áҵðҹ (Çѹ) ¤Ò‹ ÊÙ§Ê´Ø 250 ¤Ò‹ µèÓÊ´Ø ¤‹Òà©ÅÕÂè 160 ¤‹ÒµÓè ÊØ´ ¤Ò‹ à©ÅÕè 216 140 134 200 120 115 150 133 100 96 84 116 83 80 100 52 60 61 67 24 47 40 26 28 36 34 20 4 28 50 24 2561 2562 0 2560 45 0 2 *¢ÍŒ ÁÅÙ ¶§Ö Ç¹Ñ ·èÕ 17 ÁÕ.¤. 62 2561 2562 2560 *¢ŒÍÁÅÙ ¶§Ö Ç¹Ñ ·Õè 17 Á.Õ ¤. 62 »ÃÔÁÒ³½¹Ø† ÅÐÍͧ PM2.5 ¾¹×é ·ÕèÀҤ㵌 »ÃÔÁÒ³½†¹Ø ÅÐÍͧ PM10 ¾¹×é ·èÕ µ.˹ŒÒ¾ÃÐÅÒ¹ ¨.ÊÃкØÃÕ Á¤¡./ź.Á. ¨Ó¹Ç¹Ç¹Ñ ·èàÕ ¡Ô¹Áҵðҹ (Ç¹Ñ ) ¤Ò‹ ÊÙ§Ê´Ø Á¤¡./ź.Á. ¨Ó¹Ç¹Çѹ·àÕè ¡Ô¹Áҵðҹ (Ç¹Ñ ) ¤Ò‹ Ê§Ù Ê´Ø 200 ¤‹ÒµÓè Ê´Ø ¤Ò‹ à©ÅÕè 350 ¤‹ÒµÓè ÊØ´ ¤‹Òà©ÅèÂÕ 300 250 303 318 150 257 100 200 165 153 120 150 108 103 28 46 50 41 45 36 100 36 13 15 18 50 20 2561 2562 37 0 2 0 2560 *¢ÍŒ ÁÙŶ§Ö Çѹ·Õè 17 ÁÕ.¤. 62 2561 2562 2560 *¢ÍŒ ÁÙŶ§Ö Ç¹Ñ ·Õè 17 Á.Õ ¤. 62 รูปที่ 2 ปรมิ าณฝุ่นละอองขนาดเลก็ และจำ�นวนวนั ท่ฝี ุน่ ละอองเกนิ คา่ มาตรฐาน ในพน้ื ทจ่ี งั หวดั ตา่ งๆ สาเหตหุ ลักของปญั หาฝ่นุ ละออง 1) แหล่งกำ�เนิด : ฝุ่นละอองมีแหล่งก�ำ เนิดมาจากยานพาหนะที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซล การเผาในที่โล่ง (การเผา วสั ดกุ ารเกษตร การเกดิ ไฟปา่ การเผาขยะกิ่งไม้ใบไม้) โรงงานอุตสาหกรรม เป็นตน้ 2) สภาวะทางอตุ นุ ยิ มวทิ ยา : ในชว่ งปลายฤดหู นาวของทกุ ปี บรเิ วณความกดอากาศสงู หรอื มวลอากาศเยน็ จาก ประเทศจนี จะแผ่ลงมาปกคลมุ เป็นระลอกๆ ท�ำ ให้มรสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ที่พัดปกคลุมประเทศไทยตอนบนมกี �ำ ลงั แรงข้นึ ประเทศไทยตอนบนมีอณุ หภูมลิ ดลงโดยท่ัวไป โดยมอี ากาศเยน็ ถึงหนาวและหนาวจัดบางพนื้ ที่ แตม่ บี างช่วง ความกดอากาศสงู ท่ีแผ่ลงมาปกคลุมบรเิ วณดงั กลา่ วมกี �ำ ลงั อ่อนลงจงึ สง่ ผลใหม้ รสุมตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มีกำ�ลงั อ่อนลง หรือมลี มสงบตามไปด้วย ประกอบกบั มีการผกผนั กลับของอณุ หภมู ิ (Inversion) ในระดบั ลา่ ง สง่ ผลใหร้ ะดับเพดาน การลอยตัวและการกระจายตัวของฝุ่นละอองอยู่ในระดับตำ่� การไหลเวียนและถ่ายเทของอากาศไม่ดี จึงทำ�ให้เกิด การสะสมของฝุ่นละอองในบรรยากาศและมปี รมิ าณเพิ่มสงู ขน้ึ

แผนปฏิบตั กิ ารขับเคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” 9 โดยพื้นที่ท่ีมีปัญหา/พ้ืนท่ีเส่ียงต่อปัญหาฝุ่นละออง 428 ซงึ่ เปน็ พน้ื ทที่ ป่ี ระสบสถานการณฝ์ นุ่ ละอองเกนิ มาตรฐาน 381 ในบางช่วงเวลา ได้แก่ 1) พน้ื ที่ภาคเหนือ 9 จังหวัด 324 317 ชว่ งหนา้ แลง้ ตง้ั แตเ่ ดอื นมกราคม - เมษายนของ 237 233 ทกุ ปี มกั พบการเพม่ิ สงู ขนึ้ ของฝนุ่ ละอองในพนื้ ทภ่ี าคเหนอื ของประเทศไทยเน่ืองจากความแห้งแล้ง ประกอบกับ 2556 2557 2558 2559 2560 2561 เกษตรกรจะท�ำ การเผาเศษวสั ดเุ พอ่ื เตรยี มพนื้ ทเ่ี พาะปลกู PM10 à©ÅÂÕè 24 ªÁ. ÊÙ§ÊØ´ (Á¤¡./ź.Á.) สภาวะอากาศท่ีแห้งและนิ่ง ภูมิประเทศบางแห่งเป็น แอง่ กระทะท�ำ ใหฝ้ นุ่ ละอองไมแ่ พรก่ ระจายและแขวนลอย 46 48 42 61 38 34 อยู่ในบรรยากาศได้นาน โดยสาเหตุหลักของปัญหา หมอกควนั ในแตล่ ะพื้นท่ีมีดังน้ี 2556 2557 2558 2559 2560 2561 (1) พื้นที่ป่าอนุรักษ์และพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ¨Ó¹Ç¹Ç¹Ñ ·Õèà¡Ô¹Áҵðҹ (Ç¹Ñ ) เกิดจากการเผาเพื่อบุกรุกพ้ืนที่ป่าเพ่ือขยายพ้ืนท่ีทำ�กิน การขยายตัวอย่างรวดเร็วของการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 12,117 12,223 9,987 10,133 แต่ด้วยความสูงและความลาดชัน เกษตรกรจึงต้องใช้ วิธีการเผาเพื่อกำ�จัดเศษวัสดุการเกษตร การเผาเพ่ือหา 5,418 4,722 ของปา่ และลา่ สตั ว์ รวมถงึ การเผาพน้ื ทร่ี อบปา่ และลกุ ลาม เข้าสปู่ า่ เกิดเป็นไฟป่า 2556 2557 2558 2559 2560 2561 (2) พน้ื ทเี่ กษตร จากขอ้ มลู การใชป้ ระโยชนท์ ด่ี นิ ¨Ø´¤ÇÒÁÌ͹ÊÐÊÁ 9 ¨§Ñ ËÇÑ´ÀÒ¤à˹×Í (¨Ø´) ใน 9 จังหวดั ภาคเหนอื และเน้ือท่ีประเทศไทย ปี 2556 พบพน้ื ทป่ี ลกู ขา้ วและขา้ วโพดคดิ เปน็ รอ้ ยละ 34 และ 26 ของพน้ื ทก่ี ารเกษตรในภาคเหนอื ตามล�ำ ดบั ซง่ึ เกษตรกร จะเผาเพ่ือเตรียมพ้ืนท่ีเพาะปลูกและกำ�จัดเศษวัสดุ เชน่ เดยี วกับการเกษตรในพน้ื ทีป่ า่ รูปท่ี 3 สถานการณห์ มอกควนั ใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ปี 2556 - 2561 2) กรงุ เทพมหานครและปริมณฑล ในปี 2560 กรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ยงั คงพบว่าปริมาณฝนุ่ ละออง มคี า่ เกนิ เกณฑ์มาตรฐานในช่วงต้นปี ทงั้ นแ้ี หลง่ ก�ำ เนดิ หลกั มาจากยานพาหนะทใี่ ชเ้ ครอื่ งยนตด์ เี ซล การเผาในทโี่ ลง่ โรงงานอตุ สาหกรรม ซง่ึ สถติ จิ �ำ นวนรถ ท่ีจดทะเบียนสะสม ณ เดือนธันวาคม 2561 พบว่ามีมากกว่า 12 ล้านคัน นอกจากน้ียังมาจากการก่อสร้าง ระบบรถไฟฟ้า อาคารสงู ระบบสาธารณปู โภค ยงั สง่ ผลใหก้ ารจราจรตดิ ขัดท�ำ ให้ปรมิ าณการระบายมลพษิ เพม่ิ ขนึ้

PM2.5 à©ÅèÕ 24 èѪÇâÁ§ (Á¤¡./ź.Á.)10 แผนปฏบิ ัติการขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” »‚ 2559 »‚ 2560 »‚ 2561 »‚ 2562 100 90 80 70 60 ¤‹ÒÁҵðҹ 50 Á¤¡./ź.Á. 50 40 30 20 10 0 รปู ท่ี 4 แนวโนม้ ปริมาณ PM2.5 เฉล่ยี 24 ช่ัวโมงในกรุงเทพมหานคร ปี 2559 - 2562 3) พืน้ ที่เสย่ี งปัญหาหมอกควันภาคใต้ พนื้ ทภ่ี าคใตซ้ งึ่ เปน็ พน้ื ทที่ อ่ี าจไดร้ บั ผลกระทบจากฝนุ่ ละอองทม่ี สี าเหตหุ ลกั มาจากการเผาพนื้ ทพี่ รใุ นประเทศ อินโดนเี ซยี 4) พื้นที่ตำ�บลหน้าพระลาน อ�ำ เภอเฉลมิ พระเกียรติ จังหวัดสระบรุ ี พ้ืนที่ตำ�บลหน้าพระลาน อำ�เภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี เป็นพื้นท่ีที่มีการประกอบกิจการโรงโม่บด หรือย่อยหิน เหมืองหิน โรงงานปูนซีเมนต์ โรงงานปูนขาว โรงแต่งแร่ และกิจกรรมท่ีเก่ียวเน่ือง รวมท้ังการจราจร และบรรทกุ ขนส่งในพื้นที่เปน็ จำ�นวนมาก ส่งผลให้เกิดปัญหาฝนุ่ ละออง PM10 5) พื้นที่จังหวดั อ่ืนๆ ที่เสีย่ งปัญหาฝุน่ ละออง นอกจากพ้ืนที่ท่ีมีปัญหาฝุ่นละอองซึ่งนำ�ไปสู่การระดมสรรพกำ�ลังในการแก้ไขปัญหาอย่างต่อเน่ืองยังพบว่า ยงั มพี นื้ ทจ่ี งั หวดั อนื่ ๆ อกี หลายพนื้ ทท่ี ป่ี ระสบปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ ในบางชว่ งเวลา เชน่ พนื้ ทภ่ี าคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื จังหวัดกาญจนบรุ ี เปน็ ต้น ซ่ึงในปี 2561 และปี 2562 ที่ผา่ นมาพบว่า พ้ืนทภี่ าคตะวันออกเฉียงเหนือ มคี า่ ฝนุ่ ละออง เฉล่ีย 24 ชว่ั โมง เกินมาตรฐานในชว่ งเดือนมกราคม - มนี าคม ซ่ึงเปน็ ชว่ งทพี่ บจ�ำ นวนจดุ ความร้อนสะสมในพ้ืนทส่ี ูง เมือ่ เปรยี บเทียบสดั สว่ นจดุ ความร้อนตามการใชป้ ระโยชนท์ ี่ดิน พบว่าในพ้นื ท่เี กษตรมจี ดุ ความรอ้ นสงู สุดถงึ รอ้ ยละ 50 ของจำ�นวนจุดความรอ้ นในพืน้ ที่ทง้ั หมด (รปู ท่ี 5) 1 Á.¤. 15 Á.¤. 29 Á.¤. 12 ¡.¾. 26 ¡.¾. 11 ÁÕ.¤. 25 ÕÁ.¤. 8 àÁ.Â. 22 àÁ.Â. 6 ¾.¤. 20 ¾.¤. 3 ÁÔ.Â. 17 ÔÁ.Â. 1 ¡.¤. 15 ¡.¤. 29 ¡.¤. 12 Ê.¤. 26 Ê.¤. 9 ¡.Â. 23 ¡.Â. 7 µ.¤. 21 µ.¤. 4 ¾.Â. 18 ¾.Â. 2 ¸.¤. 16 ¸.¤. 30 ¸.¤.

แผนปฏบิ ัตกิ ารขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” 11 »ÃÔÁÒ³½†Ø¹ÅÐÍͧ PM2.5 à©ÅÕÂè 24 ªÑÇè âÁ§ ¨.¢Í¹á¡‹¹ 2560 »ÃÔÁÒ³½Ø†¹ÅÐÍͧ PM2.5 à©ÅÂèÕ 24 ªÇèÑ âÁ§ ¨.àÅ 2561 2561 2562 Á¤¡./ź.Á. 2562 Á¤¡./ź.Á. ¤Ò‹ Áҵðҹ 200 ¤Ò‹ Áҵðҹ 200 150 150 100 100 50 50 0 0 1 Á.¤. 1 ¡.¾. 1 Á.Õ ¤. 1 àÁ.Â. 1 ¾.¤. 1 ÁÔ.Â. 1 ¡.¤. 1 Ê.¤. 1 ¡.Â. 1 µ.¤. 1 ¾.Â. 1 ¸.¤. 1 Á.¤. 1 ¡.¾. 1 ÁÕ.¤. 1 àÁ.Â. 1 ¾.¤. 1 Á.Ô Â. 1 ¡.¤. 1 Ê.¤. 1 ¡.Â. 1 µ.¤. 1 ¾.Â. 1 ¸.¤. ¨Ó¹Ç¹¨´Ø ¤ÇÒÁÃÍŒ ¹¨ÓṡµÒÁ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹·´èÕ ¹Ô ÊѴʋǹ¨Ø´¤ÇÒÁÌ͹¨ÓṡµÒÁ¡ÒÃ㪻Œ ÃÐ⪹· Õ´è ¹Ô ¾×é¹·ÀèÕ Ò¤µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©Õ§à˹Í× 1 Á¡ÃÒ¤Á - 31 ¾ÄÉÀÒ¤Á ¾¹é× ·èÕÀÒ¤µÐÇ¹Ñ ÍÍ¡à©Õ§à˹×Í 1 Á¡ÃÒ¤Á - 31 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2561 3,000 2560 2% 2561 19% 2,556 2,500 1,876 Ê»¡. 2,000 »‚ 60 ÃÇÁ 4,761 ¨Ø´ ªØÁª¹ »‚ 61 ÃÇÁ 5,085 ¨Ø´ »Ò† ʧǹ 1,500 50% 11% »†Ò͹ØÃѡɏ 1,000 987 747 à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ 658 501 574 565 418 384 488 10% ÃÔÁ·Ò§ËÅǧ 500 92 0 Ê»¡. ªÁØ ª¹ »Ò† ʧǹ »Ò† ͹ÃØ ¡Ñ ɏ à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ ÃÁÔ ·Ò§ËÅǧ 8% รปู ที่ 5 ปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กและสัดส่วนจุดความรอ้ น ในพ้ืนทภ่ี าคตะวันออกเฉยี งเหนือ จงั หวดั กาญจนบรุ ี เปน็ อกี พน้ื ทหี่ นงึ่ ทม่ี กั พบปรมิ าณฝนุ่ ละอองเกนิ มาตรฐานในชว่ งระหวา่ งเดอื นมกราคม - มนี าคม ซึ่งเมื่อพิจารณาจำ�นวนจุดความร้อน พบว่าจำ�นวนจุดความร้อนในพ้ืนที่จังหวัดกาญจนบุรี มีจำ�นวน 562 จุด โดยอยใู่ นพน้ื ทปี่ า่ อนรุ กั ษ์ รอ้ ยละ 56 พน้ื ทเ่ี กษตร รอ้ ยละ 14 พนื้ ทป่ี า่ สงวนแหง่ ชาติ รอ้ ยละ 11 พน้ื ทช่ี มุ ชนและอนื่ ๆ ร้อยละ 13 (รูปที่ 6) »ÃÁÔ Ò³½Ø†¹ÅÐÍͧ PM2.5 à©ÅÕÂè 24 ªÑÇè âÁ§ ¨.¡ÒÞ¨¹ºØÃÕ 2560 Ê´Ñ ÊÇ‹ ¹¨Ø´¤ÇÒÁÃÍŒ ¹¨ÓṡµÒÁ¡ÒÃ㪌»ÃÐ⪹· ´èÕ Ô¹ Ê»¡. 2561 ¾é×¹·Õè ¨.¡ÒÞ¨¹ºÃØ Õ 1 Á¡ÃÒ¤Á - 31 ¾ÄÉÀÒ¤Á 2561 ªØÁª¹ Á¤¡./ź.Á. 2562 »†Òʧǹ 200 ¤Ò‹ Áҵðҹ 14% 1% 5% 13% »†Ò͹ØÃ¡Ñ É 11% à¡ÉµÃ¡ÃÃÁ 150 ÃÁÔ ·Ò§ËÅǧ 56% 100 50 0 1 Á.¤. 1 ¡.¾. 1 ÁÕ.¤. 1 àÁ.Â. 1 ¾.¤. 1 ÁÔ.Â. 1 ¡.¤. 1 Ê.¤. 1 ¡.Â. 1 µ.¤. 1 ¾.Â. 1 ¸.¤. รูปท่ี 6 ปรมิ าณฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ และสัดส่วนจุดความร้อน พ้ืนที่ จ.กาญจนบุรี

12 แผนปฏิบัติการขับเคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพิษด้านฝ่นุ ละออง” 4. ข้นั ตอนการจดั ท�ำแผนปฏบิ ัติการขับเคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิง่ แวดล้อมไดม้ ีการดำ�เนนิ งาน โดยสรปุ ได้ดงั น้ี 4.1 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มไดจ้ ดั ท�ำ แนวทางและมาตรการแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ในกรงุ เทพมหานครและปริมณฑล โดยแบง่ เปน็ 3 ระยะ ได้แก่ ระยะเร่งดว่ น ระยะปานกลาง (พ.ศ. 2562 - 2564) และระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) เพอ่ื น�ำ ไปสเู่ ปา้ หมายในการ “สร้างอากาศดี เพอื่ คนไทย และผมู้ าเยอื น” 4.2 คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ ในการประชุมครั้งที่ 2/2562 (นัดพเิ ศษ) เมื่อวนั ที่ 4 กุมภาพันธ์ 2562 มมี ติ 1) เหน็ ชอบกับแนวทางและมาตรการแกไ้ ขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ระยะเร่งด่วน ตามที่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมเสนอ 2) ให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อม โดยกรมควบคุมมลพิษ นำ�ความเห็นของคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ ไปปรับปรุงมาตรการ ระยะกลางและระยะยาว เสนอคณะกรรมการควบคมุ มลพษิ พจิ ารณาในรายละเอยี ด พรอ้ มทง้ั ประสานหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ ง ก่อนนำ�เสนอคณะกรรมการส่ิงแวดล้อมแห่งชาติพิจารณาต่อไป และ 3) มอบหมายให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาต ิ และสงิ่ แวดล้อม โดยกรมควบคมุ มลพษิ นำ�เสนอคณะรฐั มนตรีเพอื่ ทราบเปน็ วาระเร่งด่วนในวันท่ี 5 กุมภาพันธ์ 2562 4.3 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้นำ�มติและความเห็นของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ไปปรบั ปรงุ แนวทางและมาตรการแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ในกรงุ เทพมหานคร/ปรมิ ณฑลและผนวกพน้ื ท่ี จังหวดั อน่ื เขา้ มาดว้ ย และน�ำ เสนอต่อคณะรฐั มนตรเี พอ่ื ทราบเป็นวาระเร่งด่วน 4.4 คณะรฐั มนตรี ในการประชมุ เมอ่ื วนั ที่ 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 มมี ติ 1) รบั ทราบแนวทางและมาตรการแกไ้ ขปญั หา ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ในกรงุ เทพมหานคร/ปรมิ ณฑลและในพนื้ ทจ่ี งั หวดั ตา่ งๆ ตามทก่ี ระทรวงทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มเสนอ ทงั้ น้ี ใหก้ ระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มและหนว่ ยงานทเ่ี กย่ี วขอ้ งปรบั ปรงุ แนวทาง และมาตรการฯ ให้มีความเหมาะสมมากยิ่งข้ึน โดยในส่วนของมาตรการระยะเร่งด่วน ข้ันปฏิบัติการ ระดับท่ี 2 ระดับทป่ี ริมาณฝ่นุ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 มคี า่ มากกวา่ 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศกเ์ มตร ให้พจิ ารณาก�ำ หนดแนวทาง และมาตรการเพ่ิมเติมเพ่ือขอความร่วมมือให้ประชาชนใช้รถยนต์ดีเซลเท่าท่ีจำ�เป็นเท่าน้ัน เน่ืองจากไอเสียของ เครอื่ งยนต์ดีเซลเป็นสาเหตสุ �ำ คญั ประการหนึง่ ของการเกดิ ฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 รวมทัง้ ใหป้ รบั เพิ่มแนวทางและ มาตรการฯ ใหค้ รอบคลมุ ถงึ การด�ำ เนนิ การดา้ นสาธารณสขุ ในการปอ้ งกนั และดแู ลสขุ ภาพของประชาชนทไี่ ดร้ บั ผลกระทบ จากฝ่นุ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ด้วย และ 2) ใหก้ ระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงสาธารณสุข และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเร่งดำ�เนินการสร้างความเข้าใจแก่ประชาชนให้ถูกต้องและชัดเจนเก่ียวกับการดำ�เนินการ ตามแนวทางและมาตรการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.5 ดังกล่าว รวมท้ังมาตรการเร่งด่วนต่างๆ ท่ีได้ ด�ำ เนนิ การไปแลว้ เชน่ กรณกี ารปดิ สถานศกึ ษาของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารและกรงุ เทพมหานคร มใิ ชเ่ ปน็ การแกไ้ ขปญั หา ฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 หรอื ลดสาเหตขุ องการเกิดฝ่นุ ละอองขนาดเล็กโดยตรง แต่มเี จตนารมณ์ส�ำ คญั ทีจ่ ะปกป้อง คุ้มครองเด็กที่ถือเป็นกลุ่มเส่ียงที่มีความเปราะบางและอาจเกิดผลกระทบต่อสุขภาพในระยะยาว และกรณีการฉีดพ่น ละอองน�้ำ ในอากาศจากอาคารสงู และโดยเครอื่ งบนิ ในพน้ื ทตี่ า่ งๆ อาจไมส่ ามารถลดปรมิ าณฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ได้โดยตรงแต่เป็นการดำ�เนินการควบคู่ไปพร้อมกับมาตรการอ่ืนอีกหลายมาตรการท่ีหน่วยงานต่างๆ ดำ�เนินการอยู่ ซ่งึ จะชว่ ยให้ลดปริมาณฝ่นุ ละอองในภาพรวมลงได้

แผนปฏบิ ตั ิการขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” 13 4.5 คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเม่ือวันที่ 12 กุมภาพันธ์ 2562 พิจารณาเห็นว่าปัญหาฝุ่นละอองสูงเกินกว่า คา่ มาตรฐานทเ่ี กดิ ขนึ้ ในหลายพน้ื ทร่ี วมทง้ั กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑลก�ำ ลงั เปน็ ปญั หาส�ำ คญั ซงึ่ สง่ ผลกระทบโดยตรง ตอ่ สง่ิ แวดลอ้ มและสขุ ภาพของประชาชน และมแี นวโนม้ ทจ่ี ะขยายตวั ไปยงั จงั หวดั อนื่ ในภมู ภิ าคอกี ดว้ ย การแกไ้ ขปญั หา ดงั กลา่ วจงึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งด�ำ เนนิ การอยา่ งเรง่ ดว่ น เปน็ ระบบ โดยความรว่ มมอื ของหนว่ ยงานภาครฐั เอกชน และประชาชน คณะรัฐมนตรีจึงมีมติให้การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละอองเป็นวาระแห่งชาติ เพ่ือให้การดำ�เนินการแก้ไขปัญหา ดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ท้ังนี้ให้คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติเป็นกลไกหลักร่วมกับ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมและหน่วยงานที่เก่ียวข้องดำ�เนินการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติดังกล่าว ใหเ้ กดิ ผลเปน็ รูปธรรมโดยเร็วต่อไป 4.6 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม ได้นำ�มติคณะรัฐมนตรใี นการประชมุ เมอื่ วนั ท่ี 5 กมุ ภาพันธ์ 2562 ยกรา่ งแนวทางและมาตรการแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ PM2.5 ในกรงุ เทพมหานคร/ปรมิ ณฑล และในพน้ื ท่ี จงั หวัดตา่ งๆ เสนอคณะกรรมการควบคุมมลพิษในคราวการประชมุ เม่ือวันที่ 25 กมุ ภาพนั ธ์ 2562 ซึง่ คณะกรรมการ ควบคุมมลพิษมีมติให้กรมควบคุมมลพิษนำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการควบคุมมลพิษไปปรับปรุง และจัดท�ำ เปน็ แผนปฏบิ ตั ิการขับเคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝ่นุ ละออง” 4.7 นายกรัฐมนตรีได้มีคำ�ส่ังเห็นชอบ/ดำ�เนินการตามที่คณะกรรมการท่ีปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิพิเศษของ นายกรฐั มนตรเี หน็ ชอบแนวทางการแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดไมเ่ กนิ 2.5 ไมครอนเกนิ มาตรฐาน และเสนอใหป้ ี 2562 เป็น “ปแี ห่งความรว่ มมือต่อตา้ นการเกิดมลพิษทางอากาศของอาเซียน” 4.8 กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมโดยกรมควบคุมมลพิษ ได้นำ�ความเห็นและข้อเสนอแนะของ คณะกรรมการควบคมุ มลพษิ ไปปรบั ปรงุ และจดั ท�ำ รา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” โดยได้มีการประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ได้แก่ กรมการขนส่งทางบก กรมอนามัย กรมควบคุมโรค กรมส่งเสริมการเกษตร กรมวิชาการเกษตร กองบังคับการตำ�รวจจราจร กรมธุรกิจพลังงาน ส�ำ นักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรมอุตนุ ิยมวทิ ยา กรมฝนหลวงและการบินเกษตร กรมอทุ ยานแหง่ ชาติ สัตว์ปา่ และพนั ธพ์ุ ชื กรมปา่ ไม้ กรมทางหลวง กรมการปกครอง พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบในหลกั การแผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอื่ น วาระแหง่ ชาตฯิ แล้ว เมอ่ื วันที่ 22 มีนาคม 2562 4.9 กรมควบคุมมลพิษ ได้นำ�ร่างแผนปฏิบัติการฯ เสนอคณะกรรมการควบคุมมลพิษในการประชุมเม่ือวันที่ 26 มนี าคม 2562 โดยคณะกรรมการควบคมุ มลพษิ มมี ตเิ หน็ ชอบและใหร้ บั ขอ้ สงั เกตของคณะกรรมการควบคมุ มลพษิ ไปปรับปรุงและแจ้งเวียนให้หน่วยงาน และเสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติต่อไป โดยกรมควบคุมมลพิษ ได้ปรับปรุงตามความเห็นและข้อสงั เกตของคณะกรรมการควบคมุ มลพษิ 4.10 วันที่ 22 เมษายน 2562 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้มอบแนวทาง ในการปรบั ปรงุ รา่ งแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ โดยใหก้ รมควบคมุ มลพษิ ปรบั แกไ้ ขมาตรการใหช้ ดั เจน ก�ำ หนดบทบาทหนา้ ทข่ี อง หนว่ ยงาน วธิ กี ารด�ำ เนนิ งาน และกรอบเวลา และเสนอเขา้ คณะกรรมการควบคมุ มลพษิ และคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ ม แห่งชาติ เพื่อเสนอคณะรฐั มนตรตี ่อไป 4.11 วนั ที่ 15 พฤษภาคม 2562 คณะกรรมการควบคุมมลพษิ ใหค้ วามเห็นชอบร่างแผนปฏบิ ัติการฯ และให้ปรับ แก้ไขตามความเห็นและข้อเสนอแนะของคณะกรรมการฯ และนำ�เสนอคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ และ คณะรัฐมนตรพี จิ ารณาต่อไป

14 แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 2บทท่ี

แผนปฏิบตั ิการขบั เคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” 15 แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษด้านฝุ่นละออง” แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” เป็นการแก้ไขปัญหาซ่ึงจะต้อง พจิ ารณาผลกระทบในทกุ มติ ิ โดยเฉพาะผลกระทบทจี่ ะเกดิ ขน้ึ กบั ประชาชน เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ การใชช้ วี ติ ปกติ มากเกินไป โดยมีเป้าหมาย “สร้างอากาศดี เพื่อคนไทย และผู้มาเยอื น” 2.1 กรอบแนวคิด การป้องกนั ไว้กอ่ น (Precautionary Principle) เป็นหลกั การจดั การเชงิ รุกทเ่ี น้นการปอ้ งกันผลกระทบล่วงหนา้ โดยการสรา้ งระบบภมู คิ มุ้ กนั ใหก้ บั ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ มโดยเฉพาะพน้ื ทเี่ สย่ี ง เพอื่ ปอ้ งกนั ความเสยี หาย/ ผลกระทบทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ และค�ำ นงึ ถงึ กจิ กรรมทจ่ี ะกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสย่ี งและเปน็ อนั ตรายตอ่ สขุ ภาพอนามยั หรอื สงิ่ แวดลอ้ ม เพอ่ื นำ�ไปส่เู ป้าหมายระดบั ชาติ แผนปฏิบัติการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติน้ี จึงได้กำ�หนดมาตรการ/แนวทางการดำ�เนินงานในการจัดการ คณุ ภาพอากาศเพอื่ รองรบั การเปลย่ี นแปลงและการพฒั นาของประเทศไทยในอนาคตใหม้ คี วามสมดลุ ระหวา่ งเศรษฐกจิ สังคม และส่ิงแวดล้อม โดยเร่ิมต้ังแต่พัฒนาระบบการบริหารจัดการมลพิษ ซ่ึงรวมถึงการพัฒนาเครื่องมือกลไก ระบบฐานข้อมูล การเชื่อมโยงเครือข่ายข้อมูลเพ่ือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถเข้าถึงและใช้ในการตัดสินใจทั้งใน สถานการณ์ปกติและสถานการณ์วิกฤต การพัฒนาอุตสาหกรรม/เทคโนโลยีเพ่ือลดและควบคุมการระบายมลพิษจาก แหลง่ ก�ำ เนดิ และจดั การมลพษิ ในพนื้ ทเี่ สย่ี ง การสง่ เสรมิ ทกุ ภาคสว่ น ทงั้ ภาครฐั เอกชน และประชาชนใหเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ ม รับผิดชอบส่ิงแวดล้อมและจัดการปัญหามลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะการให้ความสำ�คัญกับการจัดการปัญหามลพิษ ในเชิงพนื้ ท่ี รวมถงึ การส่งเสรมิ และพัฒนาบคุ ลากร เทคโนโลยกี ารวิจัยและพฒั นา เพอ่ื ใหเ้ กดิ นวตั กรรมและใหน้ �ำ ไป ประยุกต์ใช้ ซ่ึงจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพอากาศให้ดียิ่งข้ึน ปรับเปล่ียนพฤติกรรมของแหล่งก�ำ เนิด ผปู้ ระกอบการ และประชาชนดว้ ยการจงู ใจ การออกกฎหมาย การบงั คบั ใชก้ ฎหมาย และก�ำ หนดบทลงโทษแกผ่ กู้ อ่ มลพษิ เพื่อลดมลพษิ ต้ังแต่ตน้ ทาง 2.2 ตวั ชว้ี ดั 1) จำ�นวนวนั ท่ีปรมิ าณฝ่นุ ละอองอย่ใู นเกณฑ์มาตรฐานเพ่ิมขนึ้ 2) จ�ำ นวนจุดความรอ้ น (Hotspot) ภายในประเทศลดลง 3) จ�ำ นวนผู้ปว่ ยด้วยโรคระบบทางเดนิ หายใจ (ทีเ่ ก่ียวขอ้ งกบั มลพิษทางอากาศ) ลดลง

16 แผนปฏิบัตกิ ารขบั เคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” 2.3 วัตถปุ ระสงค์ 1) เพ่ือเปน แนวทางปฏิบัตใิ นการดําเนนิ การแกไ ขปญหาฝนุ่ ละอองในภาพรวมของประเทศ และในพน้ื ทีว่ ิกฤต โดยการบูรณาการการดาํ เนนิ งานรว มกันในทกุ ภาคสวน 2) เพ่ือใหห้ นว่ ยงานที่เกยี่ วข้องมขี ั้นตอน/การปฏิบัตงิ านที่ชัดเจนในช่วงสถานการณว์ กิ ฤตปญั หาฝุ่นละออง 2.4 มาตรการและแนวทางการดำ� เนนิ งานขับเคลือ่ นวาระแห่งชาติ มาตรการและแนวทางการดำ�เนินงานขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” เปน็ มาตรการทก่ี �ำ หนดขน้ึ โดยมงุ่ เนน้ การปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หามลพษิ เชงิ พนื้ ที่ ซง่ึ เปน็ พนื้ ทที่ ม่ี ปี ญั หา/พนื้ ทเี่ สยี่ งปญั หา ฝุ่นละอองในช่วงวิกฤต ได้แก่ พื้นท่ี 9 จังหวัดภาคเหนือ พื้นที่กรุงเทพมหานครและปริมณฑล พื้นที่จังหวัดอื่นๆ ท่ีเส่ียงปัญหาฝุ่นละออง เช่น พ้ืนท่ีภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น การป้องกันและลดมลพิษ ท่ีต้นทาง (แหล่งกำ�เนดิ ) ซ่ึงจะพิจารณาจากแหล่งกำ�เนิดหลักท่กี อ่ ใหเ้ กิดฝุ่นละออง เชน่ ยานพาหนะ การเผาในที่โลง่ ภาคอตุ สาหกรรม การกอ่ สรา้ ง หมอกควนั ขา้ มแดน รวมถงึ ภาคครวั เรอื น และการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การ โดยประกอบด้วย 3 มาตรการ มาตรการที่ 1 การเพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการบรหิ ารจัดการเชิงพืน้ ท่ี ผลผลติ : จำ�นวนวันท่ฝี ุ่นละอองอยู่ในเกณฑม์ าตรฐานในชว่ งวกิ ฤต เพิ่มข้ึนรอ้ ยละ 5 ต่อปี หนว่ ยงานหลกั : กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร จังหวดั มาตรการเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ ารจดั การเชงิ พนื้ ท่ี มงุ่ เนน้ การบรหิ ารจดั การ/ควบคมุ มลพษิ จากแหลง่ ก�ำ เนดิ ในเชิงพ้ืนที่ โดยการกำ�หนดแนวทางปฏิบัติในการแก้ไขปัญหาในช่วงวิกฤตสถานการณ์ รวมถึงการดำ�เนินงานใน ระยะเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศเพื่อรองรับสถานการณ์ในช่วงวิกฤตในพื้นท่ีที่มีปัญหาและพ้ืนที่เส่ียง ปญั หาฝนุ่ ละออง ได้แก่ • พน้ื ท่ี 9 จังหวดั ภาคเหนอื • พน้ื ท่ีกรุงเทพมหานครและปริมณฑล • พ้นื ที่ประสบปัญหาหมอกควันภาคใต้ • พนื้ ท่ีตำ�บลหนา้ พระลาน อ�ำ เภอเฉลิมพระเกยี รติ จังหวดั สระบรุ ี • พน้ื ที่จงั หวดั อ่ืนทีเ่ ส่ียงปญั หาฝุ่นละออง เช่น จังหวัดขอนแกน่ จังหวดั กาญจนบุรี เปน็ ตน้ โดยมแี นวทางการดำ�เนนิ งานในการบริหารจัดการดงั นี้ (รายละเอียดดังตารางที่ 1) 1.1 ทบทวน วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินผล สถานการณ์ PM2.5 ที่เกิดขึ้นและการดำ�เนินการท่ีผ่านมาเพ่ือ ถอดบทเรยี นการแก้ไขปัญหาฝุ่นละอองทีผ่ ่านมา 1.2 ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการในภาวะฉุกเฉินและจัดทำ�แผนเผชิญเหตุ/แผนตอบโต้สถานการณ์ให้มี ประสิทธภิ าพย่ิงข้นึ โดยแบ่งการท�ำ งานออกเปน็ 3 ช่วง คอื

แผนปฏบิ ัติการขบั เคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 17 1) ชว่ งก่อนวิกฤต 2) ช่วงระหว่างเกิดสถานการณ์วิกฤต (กำ�หนดให้มีโครงสร้าง/กลไกการบริหารจัดการ แผนเผชิญเหตุ/ มาตรการตอบโตส้ ถานการณ์ท่ีจะด�ำ เนินการในแต่ละชว่ งระดับของฝนุ่ ละอองหรอื AQI) และ 3) ช่วงหลงั วกิ ฤต 1.3 การดำ�เนินการตามแผนเผชิญเหตุ/แผนตอบโต้สถานการณ์ในช่วงวิกฤตตามที่กำ�หนดไว้ ใช้ระบบบริหาร จดั การแบบเบด็ เสรจ็ (Single Command) เปน็ กลไกจัดการปัญหาฝนุ่ ละอองโดยจัดตัง้ ศนู ยบ์ ัญชาการระดบั จงั หวดั มีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร/ผู้ว่าราชการจังหวัดที่ประสบปัญหาเป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์เพ่ือให้การอำ�นวยการ สง่ั การในการแกไ้ ขปัญหาฝุน่ ละอองมเี อกภาพและหน่วยงานที่เก่ียวข้องสนับสนนุ การปฏบิ ัตงิ าน ท้ังนี้ ในช่วงระหว่างเกิดสถานการณ์วิกฤต (ธนั วาคม - เมษายน) เปน็ ขน้ั ปฏบิ ัติการชว่ งปริมาณ PM2.5 เกินมาตรฐานเพ่ือให้หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือผู้มีอำ�นาจหน้าที่สามารถปฏิบัติได้ทันทีตามการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณฝ์ ุ่นละอองโดยได้กำ�หนดเปน็ 4 ระดับ ดงั นี้ ระดบั ที่ 1 เปน็ ระดบั ทป่ี รมิ าณฝนุ่ ละออง PM2.5 มคี า่ ไมเ่ กนิ 50 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศกเ์ มตร ใหส้ ว่ นราชการ ทกุ หนว่ ยตอ้ งดำ�เนินการตามภารกจิ อำ�นาจหนา้ ท่ี และกฎหมายทีม่ อี ยู่ใหค้ รบถว้ นตามสภาวการณป์ กติ เพือ่ ควบคมุ รกั ษาคุณภาพสิง่ แวดล้อมในกรุงเทพมหานครและจงั หวัดปริมณฑลใหอ้ ยู่ในระดบั ปกติ ระดับที่ 2 เป็นระดับที่ปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 มีค่าระหว่าง 51 - 75 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ใหท้ กุ สว่ นราชการตอ้ งด�ำ เนนิ การเพม่ิ และยกระดบั มาตรการตา่ งๆ ใหเ้ ขม้ งวดขน้ึ ในระดบั นี้ ผวู้ า่ ราชการกรงุ เทพมหานคร และผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ทป่ี ระสบปญั หาฝนุ่ ละอองเปน็ ผบู้ ญั ชาการเหตกุ ารณใ์ นพนื้ ทร่ี บั ผดิ ชอบ ส�ำ หรบั สว่ นราชการอนื่ ๆ เช่น กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข กรมป้องกันและ บรรเทาสาธารณภัย และกรมควบคุมมลพษิ เปน็ หน่วยสนับสนนุ ในการปฏบิ ตั ิการ ระดบั ที่ 3 เป็นระดับท่ปี ริมาณฝ่นุ ละออง PM2.5 มคี ่าระหวา่ ง 76 - 100 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศก์เมตร และ ได้มกี ารดำ�เนนิ การในระดับที่ 2 แลว้ แตส่ ถานการณฝ์ ่นุ ละอองยงั ไม่ลดลง และเม่ือคาดการณแ์ ล้วพบวา่ จะมแี นวโน้ม สูงข้ึน ให้เป็นอำ�นาจและหน้าที่ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการจังหวัดที่ประสบปัญหาฝุ่นละออง ในการใช้กฎหมายท่ีมีอยู่ เช่น พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทา สาธารณภยั แห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นต้น เพือ่ เข้าไปควบคุมพนื้ ที่หรอื ควบคมุ แหล่งกำ�เนิดที่กอ่ ใหเ้ กิดเหตรุ ำ�คาญหรือ มีผลกระทบต่อประชาชน ซ่ึงผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการจังหวัดอาจส่ังการตามกฎหมายให้หยุด กิจกรรมใดๆ เพื่อให้คุณภาพอากาศกลับสู่สภาวะปกติ โดยคำ�แนะนำ�ของคณะกรรมการควบคุมมลพิษ ในการให้ ข้อเสนอแนะ สนับสนุนข้อมูลทางวิชาการและพิจารณากำ�หนดมาตรการควบคุมแหล่งกำ�เนิดมลพิษ เพ่ือระงับยับย้ัง สถานการณค์ า่ ฝุ่นละอองขนาดเลก็ PM2.5 ทมี่ แี นวโน้มสูงขึน้ ระดับท่ี 4 เปน็ ระดบั ทปี่ ริมาณฝุน่ ละอองขนาดเล็ก PM2.5 มีคา่ มากกว่า 100 ไมโครกรมั ตอ่ ลกู บาศก์เมตร และมกี ารด�ำ เนนิ การในระดบั ท่ี 3 แลว้ แตส่ ถานการณฝ์ นุ่ ละอองยงั ไมล่ ดลงและมแี นวโนม้ สงู ขนึ้ มากกวา่ 100 ไมโครกรมั ต่อลูกบาศก์เมตร ต่อเนอ่ื ง แนวทางปฏิบัตกิ �ำ หนดใหม้ ีการประชมุ คณะกรรมการส่งิ แวดลอ้ มแหง่ ชาติเปน็ กรณเี ร่งด่วน พเิ ศษ และพจิ ารณากล่ันกรองแนวทางในการแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละอองขนาดเลก็ โดยจะตอ้ งน�ำ กราบเรียนนายกรัฐมนตรี เป็นการเร่งด่วน เพ่ือพิจารณาในการส่ังการอย่างใดอย่างหนึ่งที่เป็นแนวทางหรือมาตรการในการลดมลพิษจาก แหลง่ กำ�เนิดของหน่วยงานตา่ งๆ ต่อไป

18 แผนปฏิบตั ิการขับเคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” ตารางท่ี 1 แนวทางการด�ำ เนนิ งานตามมาตรการท่ี 1 การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การเชงิ พน้ื ที่ (พนื้ ทที่ ม่ี ปี ญั หา/ พน้ื ท่เี สีย่ งตอ่ ปัญหาฝุ่นละออง) ระยะ ระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนนุ ช่วงวิกฤต 2564) 2567) มาตรการท่ี 1 1.1 ทบทวน วิเคราะหข์ ้อมูลและ ü มท., ทส., การเพิม่ ประเมินผล สถานการณ์ท่เี กิดข้ึน จงั หวดั กษ., สธ. ประสทิ ธิภาพ และการดำ�เนินการท่ีผา่ นมา การบริหาร เพอ่ื ถอดบทเรียนการแก้ไขปญั หา จัดการเชงิ พ้นื ที ่ ฝุ่นละอองทีผ่ า่ นมา (พน้ื ทท่ี ่ีมปี ัญหา/ 1.2 ปรับปรงุ ระบบการบรหิ ารจัดการ ü มท., ทส., พนื้ ท่เี สีย่ งตอ่ ในภาวะฉุกเฉนิ และจดั ทำ�แผน จังหวดั กษ., สธ. ปัญหาฝุน่ ละออง) เผชิญเหตุ/แผนตอบโตส้ ถานการณ์ ในชว่ งวกิ ฤต ให้มีประสทิ ธภิ าพยง่ิ ขน้ึ ช่วงก่อน ระหว่าง และภายหลังช่วงวกิ ฤต - ทบทวนและปรับปรงุ แผนการ ü มท., ทส., สธ. ด�ำ เนินงาน จงั หวัด - ซกั ซอ้ มแผนในทกุ พืน้ ท่ี 1.3 การดำ�เนินการตามมาตรการ/ ü มท. ทส., กษ., แผนการแกไ้ ขปัญหาในช่วงวิกฤต สธ., ตามที่กำ�หนดไวใ้ ช้ระบบบริหารจดั การ หน่วยงาน แบบเบด็ เสร็จ (Single Command) ทเี่ กีย่ วขอ้ ง เปน็ กลไกจัดการปญั หาฝ่นุ ละออง - ควบคมุ การปลอ่ ยฝนุ่ ละอองโดยใช ้ ü มท., ทส., สธ. กลไกตาม พ.ร.บ. ปอ้ งกันและ จังหวดั บรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550/ พ.ร.บ. การสาธารณสขุ พ.ศ. 2535 และทีแ่ กไ้ ขเพิ่มเติม - การเสริมสรา้ งความพร้อมของ ü สธ. มท./รพ. ระบบสาธารณสุขและการตอบโต้ เอกชน/ ภาวะฉกุ เฉินดา้ นสาธารณสุข กทม.

แผนปฏบิ ัติการขบั เคล่อื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” 19 ระยะ ระยะสนั้ ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนุน ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) พืน้ ที่ 9 จงั หวัดภาคเหนือ พ.ย. - 2562 - (2565 - พ.ค. 2564 2567) 1) ทบทวน วเิ คราะห์ขอ้ มลู และ ü มท., ทส., กษ., ประเมนิ ผล สถานการณ์ท่ีเกิดข้ึน จงั หวดั สธ., และการดำ�เนนิ การทีผ่ า่ นมา หน่วยงาน เพ่ือถอดบทเรียนการแก้ไขปัญหา ท่เี กย่ี วขอ้ ง ฝุ่นละออง 2) ปรับปรงุ ระบบการบริหารจัดการ ü มท., ทส., กษ., ในภาวะฉุกเฉินและจดั ท�ำ แผน จงั หวัด สธ., เผชิญเหตุ/แผนตอบโตส้ ถานการณ ์ หน่วยงาน ให้มีประสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้ ชว่ งก่อน ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ระหว่าง และหลงั ชว่ งวกิ ฤต 3) การดำ�เนนิ การตามมาตรการ/ ü มท., ทส., กษ., แผนการแก้ไขปัญหาในช่วงวกิ ฤต จงั หวัด สธ., โดยใช้ระบบบริหารจัดการแบบ หน่วยงาน เบ็ดเสรจ็ (Single Command) ท่เี กี่ยวขอ้ ง เปน็ กลไกจัดการปญั หา (1) ตดิ ตามตรวจสอบและเฝา้ ระวัง ü ทส., วท., สถานการณ์ไฟปา่ และหมอกควนั จังหวัด และรายงานผลให้หนว่ ยงาน ท่เี กี่ยวข้องและสาธารณชน ไดท้ ราบเปน็ ประจ�ำ ทกุ วนั อย่างต่อเนื่อง (2) จดั ตั้งศนู ย์/คณะท�ำ งานตดิ ตาม ü จังหวัด หนว่ ยงาน สถานการณ์โดยบรู ณาการ ที่เกีย่ วข้อง หน่วยงานเพอ่ื ตดิ ตาม สถานการณ์และเตรยี มการ ปอ้ งกันและแก้ไขปญั หาในพ้ืนท ี่

20 แผนปฏบิ ตั ิการขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝุน่ ละออง” ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หน่วยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนนุ ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) (3) ดำ�เนินการตามมาตรการ/ ü มท.,, ทส., สธ., แผนเผชญิ เหตใุ นการแกไ้ ข จังหวดั , กษ., คค., ปญั หาไฟป่าและหมอกควนั ท้องถ่นิ , หนว่ ยงาน ในช่วงวกิ ฤตโดยมีแนวทาง ประชาชน ทเี่ กีย่ วขอ้ ง การด�ำ เนินงาน ได้แก่ - ระบบบัญชาการเหตกุ ารณ์ - สรา้ งความตระหนัก - ลดปริมาณเชอื้ เพลิง - ทีมประชารฐั - การบงั คบั ใช้กฎหมาย (4) โครงการปฏบิ ตั กิ ารทำ�ฝนหลวง ü ฝล. - จัดตงั้ หนว่ ยปฏิบัติการฝนหลวง (5) การป้องกันและแก้ไขปัญหา ü ทส. กต. มลพิษหมอกควนั ข้ามแดน - แจง้ เตอื นประเทศทีเ่ ปน็ ตน้ เหตุ หมอกควันและส�ำ นักเลขาธกิ าร อาเซยี น เพื่อให้ควบคมุ สถานการณ์และดำ�เนินการ ตามข้อก�ำ หนดในขอ้ ตกลง อาเซยี นเรอ่ื งมลพษิ จาก หมอกควันข้ามแดน กรงุ เทพมหานครและปรมิ ณฑล ก.ย. - 2562 - (2565 - พ.ค. 2564 2567) 1) ทบทวนวเิ คราะห์ขอ้ มูลและประเมิน ü ทส. สธ., กษ., สถานการณ์ท่ีเกดิ ข้ึนและการ มท., ดำ�เนินงานทผ่ี ่านมา เพอ่ื ถอดบทเรยี น กทม., การแก้ไขปัญหาฝุน่ ละออง จังหวัด 2) ปรับปรงุ ระบบการบริหารจดั การ ในภาวะฉุกเฉินและจดั ท�ำ แผน เผชญิ เหต/ุ แผนตอบโตส้ ถานการณ์ ให้มีประสทิ ธภิ าพย่งิ ข้ึน ชว่ งก่อน ระหวา่ ง และหลงั ช่วงวิกฤต

แผนปฏบิ ตั กิ ารขับเคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” 21 ระยะ ระยะสนั้ ระยะยาว หนว่ ยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) (1) ปรบั ปรุงระบบการบรหิ ารจัดการ ü ทส. สธ., กษ., ในภาวะฉุกเฉนิ ใหม้ ีประสทิ ธิภาพ (2562) กทม., ยิ่งขนึ้ ชว่ งกอ่ น ระหว่าง และ จงั หวดั ภายหลังช่วงวกิ ฤต (โครงสรา้ ง การบรหิ ารจัดการแผนฉกุ เฉิน สำ�หรบั การด�ำ เนินการในช่วงวกิ ฤต มาตรการตอบโต้ (Response measures) ทีจ่ ะด�ำ เนินการใน แต่ละช่วงระดับของฝุ่นละออง หรือ AQI) (2) กำ�หนดระบบ ระเบียบ แนวทาง ข้อบงั คับเพ่ือขบั เคลื่อน การด�ำ เนนิ งานตามแผนการ/ มาตรการในชว่ งวิกฤต • ขสมก. ปรับเปลยี่ นรถโดยสาร ü คค., ขสมก., ประจ�ำ ทางปรบั อากาศเกา่ ของ (2562) กทม. ขสมก. ให้เปน็ รถโดยสาร ปรับอากาศ NGV ให้ครบ 489 คัน ภายในมีนาคม 2562 • วางระบบการเดนิ ทางรว่ มกนั ü หนว่ ย ของเจ้าหน้าท่ใี นหนว่ ยราชการ (2562) ราชการ ตา่ งๆ (Car Pooling หรอื Ride Sharing) • จัดทำ�ระเบยี บและระบบเพอ่ื ü กพ. หนว่ ย รองรับการทำ�งานจากระยะไกล (2562) ราชการ (Work from remote) ส�ำ หรับ เจา้ หนา้ ทข่ี องรัฐ และขยายผล ในวงกว้างตอ่ ไป

22 แผนปฏิบตั กิ ารขับเคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ดา้ นฝุ่นละออง” ระยะ ระยะสัน้ ระยะยาว หนว่ ยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการด�ำ เนินงาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนบั สนนุ ช่วงวกิ ฤต 2564) 2567) • บังคับใชเ้ คร่ืองมอื ตรวจวัด ü คค. ทส. ควันด�ำ แบบความทึบแสง (2562) แทนเครือ่ งตรวจวัดควันดำ� แบบกระดาษกรองเพื่อเพ่มิ ประสิทธิภาพในการตรวจ สภาพรถประจำ�ปี โดย หน่วยงานตรวจสภาพรถยนต์ ที่มีการจัดซ้ือเครอื่ งมอื วัด ควนั ด�ำ ใหมจ่ ะต้องจัดซอื้ เคร่อื งมือวัดควนั ดำ�แบบ ความทึบแสงเทา่ นน้ั หรือ ผปู้ ระกอบการทีข่ ออนุญาต จดั ตง้ั สถานตรวจสภาพรถยนต์ ขึ้นใหมก่ �ำ หนดให้ใช้เครอื่ งมือ วัดควันระบบความทบึ แสง ทงั้ น้หี นว่ ยงานท่เี กยี่ วข้อง และ ตรอ. เร่งใหใ้ ชเ้ ครอื่ งมือวัด ควันด�ำ แบบความทึบแสงในการ ตรวจวัดและตรวจสภาพรถ ทงั้ หมดตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 • ออกกฏกระทรวงตามมาตรา 144 ü ตช. ทส. ของพระราชบญั ญัติจราจรทางบก (2562) พ.ศ. 2522 และทีแ่ ก้ไขเพม่ิ เตมิ เพอื่ กำ�หนดวิธีการตรวจรบั รอง รถท่ีถกู ส่ังเป็นหนังสือให้ระงับ การใชร้ ถเป็นการชวั่ คราว และ ใหเ้ จ้าของรถหรอื ผู้ขับขี่ซ่อม หรอื แก้ไขรถใหถ้ ูกต้องตาม มาตรา 143 ทวิ เนือ่ งจากมี ควนั ด�ำ เกินเกณฑท์ ีผ่ บู้ ัญชาการ ตำ�รวจแห่งชาติกำ�หนด ตามมาตรา 10 ทว ิ

แผนปฏิบัติการขับเคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษดา้ นฝ่นุ ละออง” 23 ระยะ ระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานรบั ผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการด�ำ เนินงาน เร่งดว่ น/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนุน ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) 3) การด�ำ เนนิ การตามมาตรการ/ มท., หนว่ ยงาน แผนการแก้ไขปัญหาในชว่ งวิกฤต กทม., ท่ีเกย่ี วขอ้ ง ตามท่กี ำ�หนด โดยใช้ระบบบรหิ าร จงั หวัด จัดการแบบเบ็ดเสรจ็ (Single Command) เปน็ กลไกจดั การปัญหา ฝ่นุ ละออง - การตดิ ตามตรวจสอบและเฝ้าระวงั ü ทส. วท., สถานการณ์ จังหวัด, ทอ้ งถิ่น - ติดตามตรวจสอบและพยากรณ์ ü ทส. ดศ., นร. คุณภาพอากาศลว่ งหนา้ และ รายงานผลให้สาธารณชนได้ทราบ เป็นประจำ�ทุกวนั อยา่ งต่อเนอื่ ง - ติดตามเฝา้ ระวังผลกระทบดา้ น ü สธ., สุขภาพอนามยั และการเจ็บป่วย กทม. ที่อาจเกิดจากมลพิษทางอากาศ โดยเฉพาะฝนุ่ ละอองและรายงานผล พร้อมคำ�แนะน�ำ ในการปฏิบัติตน ให้สาธารณชนไดท้ ราบอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง - ปฏบิ ัตกิ ารทำ�ฝนหลวงภายใต ้ ü กษ. เงอ่ื นไขภาวะอากาศที่เอือ้ อ�ำ นวย - สื่อสารข้อมูลท่มี คี วามชดั เจน ü ทส., สธ. นร., เพือ่ ให้ประชาชนรับรแู้ ละเขา้ ใจง่าย กทม., โดยให้จดั เตรียมขอ้ มูลการสื่อสาร จงั หวดั , ให้ทนั สถานการณ์ และจัดลำ�ดบั ทอ้ งถิน่ , การส่ือสารข้อมลู รวมถงึ กำ�หนด ศธ. ชอ่ งทางในการสื่อสารในภาวะวกิ ฤต - หน่วยงานราชการตา่ งๆ ü หน่วย ดำ�เนินการระบบการเดนิ ทาง ราชการ รว่ มกันของเจ้าหน้าท่ี (Car Pooling หรือ Ride Sharing)

24 แผนปฏบิ ตั ิการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพษิ ดา้ นฝ่นุ ละออง” ระยะ ระยะสัน้ ระยะยาว หนว่ ยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการด�ำ เนินงาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนบั สนนุ ช่วงวกิ ฤต 2564) 2567) - ใหห้ นว่ ยงานภาครฐั พิจารณาให้ ü หน่วย ภาค เจา้ หน้าทีท่ ำ�งานจากระยะไกล ราชการ เอกชน (Work from remote) โดย ไมต่ ้องเดินทางเขา้ มาทสี่ �ำ นกั งาน ในกรงุ เทพฯ และขอความร่วมมือ จากบริษทั เอกชนใหพ้ นกั งาน ทำ�งานจากระยะไกล - นำ�น้ำ�มนั เชอ้ื เพลิงทีม่ ปี รมิ าณ ü พน. กำ�มะถนั ไมเ่ กนิ 10 ppm มาจำ�หน่ายในกรงุ เทพมหานคร และปริมณฑลให้ไดม้ ากท่ีสุด - บงั คับใช้กฎหมายอยา่ งเข้มงวดกับ ü คค., ทส. รถและเรือที่มีควันดำ�และห้ามใช ้ ตช. ชัว่ คราวจนกว่าจะได้รับการซ่อม หรอื แก้ไขใหถ้ กู ต้องและผา่ นการ ตรวจรบั รองจากเจ้าหน้าทต่ี าม กฎหมายแลว้ - ขยายเขตพน้ื ทใ่ี นการจำ�กัดเวลา ü ตช. รถบรรทกุ ขนาดใหญเ่ ขา้ มาใน พื้นทีก่ รงุ เทพมหานคร จากวงแหวนรัชดาภเิ ษก ไปเป็น วงแหวนกาญจนาภิเษก - หา้ มจอดรถบนถนนสายหลกั และ ü ตช. กทม. สายรองตลอด 24 ช่ัวโมง - ห้ามการเผาในที่โล่งและเผาขยะ ü กทม., โดยเด็ดขาดในกรุงเทพมหานคร จังหวัด, จงั หวดั ปริมณฑล และจังหวัดอนื่ ๆ ท้องถน่ิ - คืนพ้ืนที่ผิวจราจรจากโครงการ ü คค., กทม., ก่อสรา้ งขนาดใหญต่ ่างๆ เช่น กทม. จงั หวัด การก่อสร้างรถไฟฟ้า และการ ก่อสรา้ งถนนและทางพิเศษ เป็นต้น

แผนปฏิบัติการขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” 25 ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หนว่ ยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนบั สนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) - ควบคมุ ฝนุ่ จากโครงการก่อสรา้ ง ü คค., ต่างๆ เช่น การกอ่ สร้างรถไฟฟ้า จังหวัด การกอ่ สรา้ งถนนและทางพิเศษ การกอ่ สร้างอาคาร เปน็ ต้น - เขม้ งวดตรวจสอบเตาเผาศพ/ ü กทม., เตาเผาขยะ ให้เป็นไปตามมาตรฐาน จังหวดั - ตรวจสอบและบังคับใชก้ ฎหมายกบั ü อก. กทม., โรงงานอตุ สาหกรรมและหม้อไอนำ้� จงั หวัด, หรือแหลง่ ก�ำ เนิดความรอ้ น ทอ้ งถ่ิน, ในเขตกรุงเทพมหานคร และ ทส. จงั หวดั ปรมิ ณฑลอยา่ งเข้มงวด - ขอความร่วมมอื โรงงานอตุ สาหกรรม ü อก. จังหวัด/ หยดุ หรอื ลดก�ำ ลงั การผลิต ภาค เอกชน พ้นื ทีป่ ระสบปัญหาหมอกควนั ภาคใต้ (2562 - (2565 - 2564) 2567) 1) การควบคมุ ไฟป่าในพ้ืนทป่ี า่ พร ุ พ.ค. - ก.ย. - การปอ้ งกันไฟปา่ ü ทส. จังหวัด, - การจดั การเชื้อเพลิง หน่วยงาน - การมสี ่วนร่วมในการแกไ้ ขปญั หาไฟปา่ ที่เกย่ี วข้อง - การดับไฟปา่ 2) การป้องกนั และแกไ้ ขปัญหามลพษิ มิ.ย. - หมอกควันขา้ มแดน ก.ย. - แจง้ เตือนสถานการณ์หมอกควัน ü ทส. กต. ใหป้ ระชาชนทราบ - แจง้ เตือนสถานการณ์ไปยัง ผู้วา่ ราชการจงั หวัดและหนว่ ยงาน ทีเ่ กย่ี วขอ้ งเพอื่ ดำ�เนินการตาม แนวทางปฏบิ ตั ติ ามระดับ สถานการณ์ท่กี ำ�หนด

26 แผนปฏิบัติการขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง” ระยะ ระยะส้นั ระยะยาว หน่วยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) - แจง้ เตอื นประเทศที่เปน็ ต้นเหต ุ ü ทส. หมอกควนั และสำ�นักเลขาธิการ อาเซียนเพ่อื ให้ควบคมุ สถานการณ์ และดำ�เนนิ การตามข้อกำ�หนด ในข้อตกลงอาเซียนเร่ืองมลพษิ จากหมอกควันขา้ มแดน 3) โครงการปฏบิ ัติการท�ำ ฝนหลวง ü ฝล. - จัดตัง้ หน่วยปฏบิ ัติการฝนหลวง พ้ืนที่ต�ำ บลหนา้ พระลาน ต.ค - (2562 - (2565 - จงั หวัดสระบรุ ี มี.ค. 2564) 2567) 1) ทบทวน และประเมนิ ผลการ ü จงั หวดั ทส. ดำ�เนินการท่ีผา่ นมา เพอื่ ถอดบทเรยี น การแก้ไขปัญหาฝนุ่ ละออง 2) ปรับปรงุ ระบบการบริหารจัดการ ü จังหวดั ทส., อก., ในช่วงเกิดสถานการณ์ สธ. 3) การดำ�เนินการตามแนวทาง/ แผนปฏิบตั กิ ารแกไ้ ขปญั หาฝนุ่ ละออง - เฝา้ ระวังคณุ ภาพอากาศและ ü ü ทส., อก., ท้องถนิ่ วิเคราะห์ข้อมูลเพอ่ื บ่งช้แี หล่งก�ำ เนิด จงั หวดั - เฝา้ ระวังสขุ ภาพของประชาชนในพื้นท ี่ ü ü สธ. ทอ้ งถิน่ - ควบคุมมลพษิ จากแหล่งก�ำ เนดิ ü ü อก., ทส., คค., ตช. ทอ้ งถ่นิ - พฒั นามาตรฐานการบรรทกุ ขนสง่ ü ü คค. ตช. - พฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ ü ü สธ. เพ่ือพยากรณก์ ารเกดิ โรคของ ประชาชน - พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลเฝ้าระวงั ü ü สธ. ปอ้ งกนั โรคจากการประกอบอาชพี - พัฒนาระบบสาธารณปู โภคพืน้ ฐาน ü ü คค., โดยปรบั ปรุงเส้นทางคมนาคม ท้องถ่ิน ปรบั ปรุงถนนใหเ้ หมาะกบั การใชง้ าน รองรับการบรรทุกขนส่งในพื้นท่ี

แผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอื่ นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ด้านฝุน่ ละออง” 27 ระยะ ระยะสัน้ ระยะยาว หน่วยงานรับผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนุน ช่วงวิกฤต 2564) 2567) - เสรมิ สร้างความเข้าใจแก่ ü ü อก., ทส., ผปู้ ระกอบการในการบรหิ ารจดั การ จังหวัด, ผู้ประกอบ ส่งิ แวดล้อม ทอ้ งถน่ิ การ - พฒั นากระบวนการบังคับใชก้ ฎหมาย ü ü อก., คค., จังหวัด, และตรวจบงั คบั การตามกฎหมาย ตช., ทส. ท้องถน่ิ อยา่ งเขม้ งวด - ยกยอ่ งให้รางวลั สถานประกอบการ ü ü ทส., อก., ทอ้ งถิ่น ทีม่ ีการบริหารจดั การสง่ิ แวดลอ้ มดี จงั หวดั 4) ประเมนิ ผลและถอดบทเรียน ü ทส. จังหวดั , ท้องถ่ิน พ้ืนทจี่ งั หวัดอ่นื ๆ ที่เส่ยี งปญั หาฝุน่ ละออง พ.ย. - (2562 - (2565 - พ.ค. 2564) 2567) 1) ทบทวนวเิ คราะหข์ อ้ มลู และประเมนิ ผล ü มท. ทส., กษ., สถานการณท์ ีเ่ กดิ ขน้ึ และการ สธ. ด�ำ เนินการท่ีผา่ นมาเพือ่ ถอดบทเรยี น การแก้ไขปญั หาฝนุ่ ละอองทผี่ ่านมา 2) ปรับปรงุ ระบบการบริหารจดั การ ü มท. ทส., ในภาวะฉกุ เฉนิ และจัดทำ�แผน กษ., สธ. เผชญิ เหต/ุ แผนตอบโตส้ ถานการณ์ ใหม้ ปี ระสิทธิภาพยิ่งขึน้ ชว่ งก่อน ระหวา่ ง และภายหลงั ชว่ งวกิ ฤต 3) การด�ำ เนินการตามมาตรการ/ ü มท. ทส., กษ., แผนการแกไ้ ขปญั หาในช่วงวิกฤต สธ., ตามท่ีกำ�หนดไวใ้ ช้ระบบบริหารจัดการ หน่วยงาน แบบเบด็ เสรจ็ (Single Command) ที่เก่ยี วข้อง เป็นกลไกจดั การปัญหาฝ่นุ ละออง เพ่อื การควบคุมและลดการระบาย มลพษิ จากแหลง่ กำ�เนดิ ฝุ่นละออง ในพ้ืนที ่

28 แผนปฏบิ ัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” มาตรการที่ 2 การป้องกนั และลดการเกดิ มลพษิ ทตี่ ้นทาง (แหล่งก�ำเนิด) มุ่งให้ความสำ�คัญในการควบคุมและลดการระบายมลพิษทางอากาศจากแหล่งกำ�เนิดรวมถึงลดจำ�นวน แหล่งก�ำ เนิดมลพิษ ผลผลติ หน่วยงานหลกั 1) มีการน�ำ นำ้�มันเชอ้ื เพลิงมีก�ำ มะถนั ไมเ่ กิน 10 ppm กระทรวงพลงั งาน มาใช้ในกรุงเทพมหานครและปรมิ ณฑล ก่อนกฎหมายบังคับใช้ และก�ำ หนดใชท้ ัว่ ประเทศ ต้งั แต่วันท่ี 1 มกราคม 2567 2) ไมใ่ ห้มีการเผาในไรอ่ อ้ ยร้อยละ 100 กระทรวงอตุ สาหกรรม ภายในปี พ.ศ. 2565 (สำ�นักงานคณะกรรมการออ้ ยและน�้ำ ตาลทราย) 3 บงั คับใชม้ าตรฐานการระบายมลพษิ จากรถยนตใ์ หม่ กระทรวงอุตสาหกรรม Euro 6/VI ภายในปี พ.ศ. 2565 4) จำ�นวนจุดความร้อนในพืน้ ท่ีป่า พน้ื ที่เกษตร กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม พ้นื ที่รมิ ทาง และพ้นื ท่ีชุมชน ลดลง กระทรวงมหาดไทย กรงุ เทพมหานคร จังหวดั กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงคมนาคม 5) จ�ำ นวนวนั ทฝ่ี นุ่ ละอองอยู่ในเกณฑม์ าตรฐาน กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ในชว่ งวิกฤตเพิ่มขึน้ ร้อยละ 5 ตอ่ ปี กระทรวงมหาดไทย กระทรวงพลงั งาน กระทรวงคมนาคม กรุงเทพมหานคร กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอตุ สาหกรรม สำ�นักงานต�ำ รวจแหง่ ชาติ กระทรวงสาธารณสขุ โดยมแี นวทางการด�ำ เนนิ งานในการควบคมุ และลดมลพษิ จากแหลง่ ก�ำ เนดิ แตล่ ะประเภท ซง่ึ ประกอบดว้ ยมาตรการ ท้ังระยะส้นั และระยะยาว (รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 2) ดังน้ี 2.1 ควบคุมและลดมลพษิ จากยานพาหนะ มาตรการระยะส้ัน (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบด้วย ให้ใช้มาตรการจูงใจเพ่ือส่งเสริมให้มีการนำ�นำ้�มันเช้ือเพลิงมีกำ�มะถันไม่เกิน 10 ppm มาจำ�หน่ายก่อน กฎหมายมีผลบังคับใช้ บังคับใช้มาตรฐานการระบายมลพิษทางอากาศจากรถยนต์ใหม่ Euro 5 ภายในปี 2564 ให้เร่งรัดให้มีการเช่ือมโยงโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ ท้ังระบบหลักและระบบรองให้มีประสิทธิภาพ ปลอดมลพษิ และอ�ำ นวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ชบ้ รกิ าร เพมิ่ ความเขม้ งวดมาตรฐานและวธิ กี ารตรวจวดั การระบายมลพษิ จากรถยนต์ ปรับลดอายุรถที่จะต้องเข้ารับการตรวจสภาพรถประจำ�ปี พัฒนาระบบการตรวจสภาพรถยนต์ให้มีการ เชอ่ื มโยงขอ้ มลู ผลการตรวจสภาพใหม้ ปี ระสทิ ธภิ าพมากยง่ิ ขน้ึ เพม่ิ ทางเลอื กในการเดนิ ทางสญั จรใหป้ ระชาชนทสี่ ะดวก และปลอดภยั เชน่ ทางจักรยาน ทางเดนิ เทา้ ท่ีสะดวกและปลอดภัย เปน็ ตน้ การศึกษาความเหมาะสมในการจำ�กัด อายุการใช้งานรถยนต์ รวมถึงระบบการจัดการซากรถยนต์ที่หมดอายุการใช้งาน การจัดการคมนาคมขนส่งด้าน

แผนปฏิบตั ิการขบั เคลือ่ นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 29 Demand Side Management ให้ควบคุมการนำ�รถยนต์ใช้แล้วในต่างประเทศ (ใช้ส่วนตัว) เข้ามาในประเทศ การควบคุมการนำ�เข้าเคร่ืองยนต์เก่าใช้แล้ว (ทั้งรถและเรือ) โดยต้องเป็นไปตามมาตรฐานการระบายมลพิษสำ�หรับ รถผลิตใหม่ท่ีประเทศไทยบังคับใช้อยู่ ณ เวลาท่ีนำ�เข้า และต้องมีอายุไม่เกิน 5 ปี ใช้มาตรการจูงใจเพ่ือสนับสนุน ส่งเสริมการผลิตและการใช้รถยนต์ไฟฟ้า ให้กำ�หนดพ้ืนท่ีและมาตรการในการจำ�กัดจำ�นวนรถเข้าในเขตใจกลางเมือง ใหม้ กี ารซื้อทดแทนรถราชการเก่าดว้ ยรถยนตไ์ ฟฟา้ มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบดว้ ย ปรบั ปรุงคุณภาพน�ำ้ มันเชอ้ื เพลิงทม่ี ีกำ�มะถนั ไมเ่ กนิ 10 ppm ให้แลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ. 2566 และบงั คับใช้ น้ำ�มันเชื้อเพลิงที่มีกำ�มะถันไม่เกิน 10 ppm ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2567 เป็นต้นไป บังคับใช้มาตรฐาน การระบายมลพษิ ทางอากาศจากรถยนต์ใหม่ Euro 6 ภายในปี 2565 ใชม้ าตรการจูงใจเพื่อสนับสนุนสง่ เสรมิ การผลติ และการใช้รถยนต์ไฟฟ้า การเช่ือมโยงโครงข่ายระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะท้ังระบบหลัก และระบบรองให้มี ประสทิ ธภิ าพ ปลอดมลพษิ และอ�ำ นวยความสะดวกแกผ่ ใู้ ช้บรกิ าร เปลยี่ นรถโดยสารประจ�ำ ทางของ ขสมก. ทัง้ หมด ให้เป็นรถที่มีมลพิษตำ่� (รถไฟฟ้า/NGV/มาตรฐาน Euro VI) การจัดการคมนาคมขนส่งด้าน Demand Side Management เพือ่ เพมิ่ ความสามารถในการเข้าถึงบรกิ ารของประชาชนผใู้ ช้บรกิ าร ปรบั ปรงุ /แกไ้ ขการเก็บภาษปี ระจ�ำ ปี ส�ำ หรบั รถยนตใ์ ช้งาน การควบคมุ การระบายฝนุ่ จากการขนถ่ายสินค้าทีท่ ่าเรอื และจากเรือสู่เรือ การพจิ ารณาการยา้ ย ทา่ เรอื คลองเตยออกจากพนื้ ทกี่ รงุ เทพมหานคร การหา้ มน�ำ เขา้ เครอ่ื งยนตใ์ ชแ้ ลว้ ทกุ ประเภท การซอื้ ทดแทนรถราชการเกา่ ดว้ ยรถยนตไ์ ฟฟา้ สง่ เสรมิ /สนบั สนนุ การใชร้ ถยนตไ์ ฟฟา้ และการใชบ้ รกิ ารระบบขนสง่ สาธารณะ การควบคมุ การระบาย มลพิษทางอากาศจาก Non-road Engine 2.2 ควบคมุ และลดมลพิษจากการเผาในที่โล่ง/ภาคการเกษตร มาตรการระยะส้ัน (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบด้วย ส่งเสริมให้มีการจัดการเศษวัสดุทางการทำ�เกษตร โดยการนำ�มาใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลด การเผาในทโี่ ลง่ ห้ามไมใ่ ห้มกี ารเผาในพ้นื ท่ีชุมชน ริมทาง และเผาขยะโดยเดด็ ขาด การเพิ่มประสทิ ธภิ าพของท้องถ่นิ ในการจดั การขยะมูลฝอย ยกระดับการป้องกันไฟปา่ และจัดการไฟป่าอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ การใชม้ าตรการทางสังคม กับผ้ลู กั ลอบเผาป่า กำ�หนดมาตรการทางกฎหมายโดยการออกระเบียบกำ�หนดให้โรงงานน�้ำ ตาลรับออ้ ยไฟไหม้เขา้ หีบได้ ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 20 ตอ่ วนั ภายในปี 2564 ก�ำ หนดมาตรการสนบั สนนุ จากภาครฐั ในการสนบั สนนุ เครอ่ื งจกั รกลการเกษตร เพื่อแก้ไขปัญหาอ้อยไฟไหม้ กำ�หนดพ้ืนท่ีปลอดการเผาอ้อยเพื่อเป็นจังหวัดต้นแบบปลอดการเผาอ้อย ร้อยละ 100 จำ�นวน 5 จงั หวัด ในปี 2563 สง่ เสรมิ สินเชอ่ื เพอ่ื เพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตออ้ ยอยา่ งครบวงจร การประชาสมั พนั ธ์ เพอ่ื สรา้ งเครอื ขา่ ยชมุ ชนในพน้ื ทที่ มี่ กี ารเผา การเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพของทอ้ งถนิ่ ในการจดั การขยะมลู ฝอยเพอื่ ไมใ่ หม้ กี าร ก�ำ จัดโดยการเผา ควบคุมเตาเผามูลฝอยตดิ เช้ือของสถานพยาบาลเพอ่ื ไมใ่ หม้ กี ารก�ำ จัดโดยการเผาในที่โลง่ มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบด้วย ให้มีการกำ�หนดระเบียบหรือแนวปฏิบัติในการจัดการเศษวัสดุจากการทำ�เกษตรประเภทต่างๆ โดยให้มีการ นำ�มาใชป้ ระโยชน์อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพเพ่ือไมใ่ ห้มกี ารเผาในท่ีโลง่ ห้ามไมใ่ หม้ ีการเผาในทีโ่ ล่งและเผาขยะโดยเดด็ ขาด ให้มีการพิจารณาการพัฒนาระบบหรือยกระดับโดยผนวกมิติด้านสิ่งแวดล้อมเข้าไปในกระบวนการก�ำ หนดมาตรฐาน สนิ คา้ เกษตร : การปฏบิ ตั ทิ างการเกษตรทด่ี ี หรอื มาตรฐานสินคา้ เกษตรและอาหาร สำ�หรบั พืชเกษตรท่ีมักมกี ารเผา

30 แผนปฏบิ ัตกิ ารขับเคลอ่ื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝนุ่ ละออง” วสั ดกุ ารเกษตรกอ่ นหรอื หลงั การเกบ็ เกยี่ วใหม้ คี วามเขม้ งวดขนึ้ ใชม้ าตรการหรอื กลไกทางเศรษฐศาสตรห์ รอื มาตรการ ทางสงั คมผลักดนั ใหเ้ กดิ แนวทางรับซื้อสินค้าจากเกษตรกรท่ีผา่ นการรบั รองมาตรฐานทางการเกษตร การใชม้ าตรการ ทางสังคมกับผู้ลักลอบเผาป่า การประชาสัมพันธ์เพ่ือสร้างเครือข่ายชุมชนในพ้ืนที่ท่ีมีการเผา กำ�หนดมาตรการ ทางกฎหมายโดยการออกระเบยี บ ก�ำ หนดใหโ้ รงงานน�ำ้ ตาลรบั ออ้ ยไฟไหมเ้ ขา้ หบี ไดไ้ มเ่ กนิ รอ้ ยละ 0 - 5 ตอ่ วนั ภายใน ปี 2565 เพ่ือให้อ้อยไฟไหม้หมดไปภายในปี 2565 ป้องกันไฟป่าและจัดการไฟป่าอย่างมีประสิทธิภาพ การเพิ่ม ประสิทธิภาพของท้องถิ่นในการจัดการขยะมูลฝอยเพื่อไม่ให้มีการกำ�จัดโดยการเผา ควบคุมเตาเผามูลฝอยติดเช้ือ ของสถานพยาบาลเพื่อไมใ่ หม้ ีการกำ�จดั โดยการเผาในทโ่ี ลง่ ก�ำ หนดแนวทางการจดั การป๋ยุ ไนโตรเจน รวมถึงปรบั ปรุง การจดั การมลู สัตวใ์ นภาคปศุสัตว์ 2.3 ควบคมุ และลดมลพษิ จากการกอ่ สรา้ งและผังเมือง มาตรการระยะสน้ั (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบดว้ ย กำ�หนดกฎระเบียบมาตรการและเกณฑ์ปฏิบัติท่ีดีในการควบคุมฝุ่นละอองจากการก่อสร้างประเภทต่างๆ ส่งเสริมให้มีการจัดทำ�ผังเมืองและการก่อสร้างส่ิงปลูกสร้างต่างๆ ต้องคำ�นึงถึงปัจจัยที่จะมีผลต่อการระบายอากาศ และการสะสมของมลพษิ ทางอากาศ การบงั คบั ใชก้ ฎหมายอย่างเข้มงวดกับผู้ทีท่ �ำ ใหก้ รวด หิน ดนิ เลน ทราย หรือ เศษวัตถุก่อสร้างตกหล่น ร่ัวไหล ปลิว ฟุ้งกระจายลงบนถนน ส่งเสริมการก่อสร้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และ การเพ่ิมพ้ืนท่ีสีเขียวในเขตเมืองให้ได้ตามมาตรฐานสากล รวมถึงรณรงค์และสร้างแรงจูงใจให้องค์กรรัฐวิสาหกิจและ ภาคเอกชนเข้ารว่ มโครงการในลกั ษณะการด�ำ เนนิ กจิ กรรมการแสดงความรับผิดชอบตอ่ สังคม (CSR) ในการเพิม่ และ การจดั การพ้ืนทสี่ เี ขยี วอย่างยงั่ ยนื มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบด้วย บงั คบั ใชก้ ฎหมายอยา่ งเขม้ งวดกบั ผทู้ กี่ ระท�ำ การใดๆ ทท่ี �ำ ใหก้ รวด หนิ ดนิ เลน ทราย หรอื เศษวตั ถกุ อ่ สรา้ ง ตกหลน่ รว่ั ไหล ปลวิ ฟงุ้ กระจายลงบนถนน สง่ เสรมิ การกอ่ สรา้ งทเ่ี ปน็ มติ รกบั สงิ่ แวดลอ้ ม เพมิ่ พนื้ ทส่ี เี ขยี วในเขตเมอื ง ใหไ้ ดต้ ามมาตรฐานสากล รวมถงึ รณรงคแ์ ละสรา้ งแรงจงู ใจใหอ้ งคก์ รรฐั วสิ าหกจิ และภาคเอกชนเขา้ รว่ มโครงการในลกั ษณะ การดำ�เนินกิจกรรมการแสดงความรบั ผิดชอบต่อสังคม (CSR) ในการเพิ่มและการจัดการพืน้ ทีส่ ีเขียวอยา่ งยง่ั ยืน 2.4 ควบคมุ และลดมลพิษจากอุตสาหกรรม มาตรการระยะสั้น (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบดว้ ย กำ�หนดมาตรฐานการระบายมลพิษทางอากาศในรูป Loading ในพ้ืนท่ีท่ีมีปัญหาฝุ่นละอองโดยคำ�นึงถึง ความสามารถหรอื ศกั ยภาพในการรองรบั มลพษิ ทางอากาศของพนื้ ท่ี ตดิ ตงั้ ระบบตรวจสอบการระบายมลพษิ ทางอากาศ แบบอัตโนมัติต่อเนื่องท่ีปล่องของโรงงานอุตสาหกรรม จำ�พวก 3 เตาเผาเช้ือเพลิงและหม้อไอนำ้�หรือแหล่งกำ�เนิด ความร้อนที่มีขนาดตามที่กระทรวงอุตสาหกรรมกำ�หนด และรายงานผลผ่านระบบ on-line ตามประกาศกระทรวง อตุ สาหกรรม การจดั ท�ำ เนียบการปลดปล่อยและเคลอ่ื นยา้ ยมลพิษ มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบดว้ ย ทบทวนและปรบั ปรงุ มาตรฐานการระบายมลพษิ ทางอากาศจากโรงงานอตุ สาหกรรมใหเ้ ทยี บเทา่ มาตรฐานสากล ปรับปรุงการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพในภาคอุตสาหกรรม เพ่ิมการใช้พลังงานหมุนเวียนและพลังงานทางเลือก ในการผลติ ไฟฟ้า

แผนปฏิบตั ิการขับเคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” 31 2.5 ควบคุมและลดมลพษิ จากภาคครัวเรอื น มาตรการระยะสน้ั (พ.ศ. 2562 - 2564) และมาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) โดยเปน็ การด�ำ เนนิ งาน ต่อเน่ืองในการสนับสนุนการใช้พลังงานสะอาดในครัวเรือน พัฒนาและส่งเสริมการใช้เตาหุงต้มและเตาป้ิงย่าง ปลอดมลพษิ พัฒนาและสง่ เสริมการใช้เตาเผาอิฐและถ่านปลอดมลพษิ ตารางที่ 2 แนวทางการด�ำ เนินงานตามมาตรการที่ 2 ป้องกนั และลดการเกิดมลพิษทตี่ น้ ทาง (แหลง่ ก�ำ เนดิ ) ระยะ ระยะส้นั ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการด�ำ เนินงาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนบั สนุน ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) มาตรการท่ี 2 2.1 ควบคมุ และลดมลพิษจากยานพาหนะ ป้องกัน และลด 2.1.1 ใชม้ าตรการจงู ใจเพือ่ ส่งเสริม ü พน. การเกิดมลพิษ ใหม้ กี ารน�ำ น�ำ้ มนั เช้ือเพลงิ ทต่ี ้นทาง มกี ำ�มะถันไม่เกิน 10 ppm (แหลง่ ก�ำ เนดิ ) มาจ�ำ หน่าย/ก่อนกฎหมาย มีผลบังคับใช้ 2.1.2 ปรบั ปรุงคุณภาพน�ำ้ มนั เชื้อเพลงิ ü พน. ท่ีมกี ำ�มะถันไม่เกนิ 10 ppm ใหแ้ ลว้ เสรจ็ ภายในปี พ.ศ. 2566 และบงั คบั ใชน้ ้ำ�มันเชอื้ เพลงิ ทมี่ ีกำ�มะถนั ไมเ่ กิน 10 ppm ตั้งแต่วนั ที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2567 เปน็ ตน้ ไป 2.1.3 เพม่ิ ทางเลอื กในการเดนิ ทาง ü คค., สญั จรใหป้ ระชาชนทส่ี ะดวก จงั หวดั , และปลอดภยั เชน่ ท้องถิน่ ทำ�ทางจักรยาน ทางเดินเท้า ทีส่ ะดวกและปลอดภยั เป็นตน้ 2.1.4 เร่งรดั ใหม้ กี ารเช่อื มโยงโครงข่าย ü ü คค. ระบบคมนาคมขนส่งสาธารณะ ท้ังระบบหลกั และระบบรองให้ มปี ระสิทธภิ าพ ปลอดมลพิษ และอ�ำ นวยความสะดวกแก่ ผใู้ ชบ้ รกิ าร

32 แผนปฏบิ ัติการขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” ระยะ ระยะส้นั ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เรง่ ดว่ น/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนุน ช่วงวกิ ฤต 2564) 2567) 2.1.5 ควบคุมการน�ำ รถยนตใ์ ช้แลว้ ü พณ. ในต่างประเทศ (ใชส้ ว่ นตวั ) เข้ามาในประเทศไทย โดยต้องเปน็ ไปตามมาตรฐาน การระบายมลพษิ ทางอากาศ ส�ำ หรบั รถผลติ ใหม่ที่ ประเทศไทยบังคบั ใช้อยู่ ณ เวลาทน่ี �ำ เขา้ 2.1.6 ควบคมุ การนำ�เขา้ ü พณ. เครือ่ งยนต์เก่าใช้แลว้ (ทง้ั รถและเรือ) ตอ้ งเป็นไป ตามมาตรฐานการระบาย มลพิษทางอากาศสำ�หรบั รถผลิตใหม่ทป่ี ระเทศไทย บงั คับใช้อยู่ ณ เวลาที่นำ�เขา้ และต้องมอี ายไุ ม่เกนิ 5 ปี 2.1.7 ห้ามน�ำ เข้าครอื่ งยนตใ์ ชแ้ ลว้ ü พณ. ทุกประเภท 2.1.8 เพิ่มความเขม้ งวดมาตรฐาน ü คค. และวิธกี ารตรวจวดั การ ระบายมลพิษจากรถยนต์ ปรบั ลดอายุรถทีจ่ ะต้องเข้ารับ การตรวจสภาพรถประจ�ำ ปี พัฒนาระบบการตรวจสภาพ รถยนตใ์ ห้มกี ารเชอ่ื มโยง ข้อมลู ผลการตรวจสภาพ ให้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน 2.1.9 ใชม้ าตรการจูงใจเพอ่ื ü อก., พน., สนับสนุนสง่ เสรมิ คค. การใชร้ ถยนตไ์ ฟฟา้

แผนปฏิบัติการขบั เคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” 33 ระยะ ระยะส้นั ระยะยาว หน่วยงานรับผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เรง่ ด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) 2.1.10 ซื้อทดแทนรถราชการเกา่ ü ü หน่วย ดว้ ยรถยนตไ์ ฟฟ้า ราชการ 2.1.11 การจดั การคมนาคมขนสง่ ด้าน ü ü คค. Demand Side Management เพ่อื เพ่ิมความสามารถในการ เข้าถงึ บรกิ ารของประชาชน ผใู้ ช้บริการ 2.1.12 กำ�หนดพื้นท่แี ละมาตรการ ü ตช. ในการจ�ำ กดั จ�ำ นวนรถเขา้ ในเขตใจกลางเมอื ง 2.1.13 ศึกษาความเหมาะสมในการ ü คค., ทส., จำ�กัดอายุการใชง้ านรถยนต์ อก. รวมถงึ ระบบการจดั การซาก รถยนต์ทีห่ มดอายุการใช้งาน 2.1.14 บงั คับใชม้ าตรฐานการ ü ü อก. ระบายมลพิษทางอากาศ จากรถยนต์ใหม่ Euro 5 ภายในปี 2564 และ Euro 6 ภายในปี 2565 2.1.15 เปลยี่ นรถโดยสารประจ�ำ ทาง ü คค., ของ ขสมก. ทงั้ หมด ใหเ้ ป็น ขสมก. รถทม่ี มี ลพิษต�่ำ (รถไฟฟา้ / NGV/มาตรฐาน Euro VI) 2.1.16 สง่ เสริม/สนบั สนนุ การใช้ ü หนว่ ย ประชาชน รถยนตไ์ ฟฟ้า และการใช ้ ราชการ, บรกิ ารระบบขนส่งสาธารณะ เอกชน 2.1.17 ปรับปรุง/แก้ไข การเกบ็ ภาษี ü คค. ประจ�ำ ปสี �ำ หรบั รถยนตใ์ ช้งาน 2.1.18 ควบคมุ การระบายฝนุ่ จาก ü คค. ทส. การขนถา่ ยสินค้าทท่ี า่ เรือ และจากเรือสู่เรอื

34 แผนปฏบิ ัติการขบั เคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพษิ ดา้ นฝ่นุ ละออง” ระยะ ระยะสนั้ ระยะยาว หนว่ ยงานรับผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เร่งดว่ น/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนนุ ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) 2.1.19 พิจารณาการย้ายท่าเรือ ü คค. คลองเตยออกจากพน้ื ท่ี กรงุ เทพมหานคร 2.1.20 ควบคมุ การระบายมลพิษ ü หน่วยงาน ทางอากาศจาก Non-road ทเ่ี กีย่ วขอ้ ง Engine เชน่ เครอ่ื งจกั รกล (ดเี ซล) ท่ใี ช้ในการก่อสรา้ ง/ การเกษตร อุปกรณ์ภาคพ้นื ในสนามบนิ รถไฟ เปน็ ตน้ 2.2 ควบคุมและลดมลพษิ จากการเผา ในทโ่ี ลง่ /ภาคการเกษตร 2.2.1 สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารจดั การ ü ü กษ. เศษวัสดุทางการเกษตร ประเภทต่างๆ โดยการ นำ�มาใชป้ ระโยชนอ์ ย่างมี ประสิทธิภาพ เพื่อลดการเผา ในท่ีโล่งจากภาคการเกษตร 2.2.2 ส่งเสรมิ ให้ปรบั เปลย่ี นการ ü ü กษ. ปลกู พชื หรอื ไมย้ นื ต้นอนื่ ทดแทนพืชเชิงเดี่ยว/ พชื ทีม่ กี ารเผา 2.2.2 หา้ มการเผาในชมุ ชน ริมทาง ü ü มท., คค., และเผาขยะโดยเดด็ ขาด กทม., ในกรงุ เทพมหานคร จังหวัด, จังหวัดปรมิ ณฑล ท้องถน่ิ และจงั หวดั อนื่ ๆ 2.2.3 กำ�หนดมาตรการทางกฎหมาย ü ü อก. กษ., โดยการออกระเบียบกำ�หนดให ้ จงั หวดั , โรงงานน้ำ�ตาลรับอ้อยไฟไหม ้ ท้องถิ่น เข้าหบี ไดไ้ ม่เกินร้อยละ 20 ต่อวัน ภายในปี 2564 และ ให้ออ้ ยไฟไหม้หมดไปภายใน ปี 2565

แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคลื่อนวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝุ่นละออง” 35 ระยะ ระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนนุ ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) 2.2.4 ก�ำ หนดพ้ืนทป่ี ลอดการ ü อก. กษ. เผาออ้ ย เพ่ือเป็นจังหวดั ต้นแบบปลอดการเผาอ้อย ตัดออ้ ยสด ร้อยละ 100 จ�ำ นวน 5 จังหวดั ในปี 2563 2.2.5 ยกระดบั การปอ้ งกนั ไฟป่า ü ü ทส., มท. กห., และจัดการไฟปา่ อย่างม ี จังหวัด, ประสทิ ธิภาพ ทอ้ งถน่ิ 2.2.6 การใช้มาตรการทางสังคม ü ü มท., ทส. ตช. กบั ผลู้ กั ลอบเผาปา่ 2.2.7 การประชาสมั พันธ์ ü ü นร., มท. ทส., กษ., เพื่อสรา้ งเครือข่ายชมุ ชน คค. ในพ้นื ทีท่ ่มี ีการเผา 2.2.8 ใหม้ ีการพิจารณาการพัฒนา ü กษ. ระบบหรือยกระดบั โดยผนวก มิติด้านส่ิงแวดล้อมเขา้ ไปใน กระบวนการกำ�หนดมาตรฐาน สนิ คา้ เกษตร : การปฏบิ ตั ิ ทางการเกษตรทด่ี ี หรอื มาตรฐานสนิ ค้าเกษตรและ อาหาร ส�ำ หรับพชื เกษตร ที่มกั มกี ารเผาวสั ดุการเกษตร กอ่ นหรือหลังการเกบ็ เกยี่ ว ให้ความเข้มงวดข้ึน ใช้มาตรการ/กลไกทาง เศรษฐศาสตร์หรือมาตรการ ทางสังคมผลกั ดันใหเ้ กิด แนวทางรับซ้อื สินคา้ จาก เกษตรกรท่ีผา่ นการรบั รอง มาตรฐานทางการเกษตรทดี่ ี

36 แผนปฏบิ ตั ิการขับเคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปัญหามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” ระยะ ระยะส้นั ระยะยาว หน่วยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เร่งดว่ น/ (2562 - (2565 - หลัก สนบั สนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) 2.2.9 ปรบั ปรงุ การจัดการ ü กษ. ปุ๋ยไนโตรเจน 2.2.10 ปรบั ปรุงการจดั การมลู สัตว์ ü กษ. ในภาคปศุสัตว์ 2.2.11 การเพ่มิ ประสิทธิภาพของ ü ü มท., ทส. ท้องถิน่ การจดั การขยะมลู ฝอย จงั หวัด, เพ่ือไมใ่ หม้ ีการกำ�จดั ขยะ ท้องถ่ิน โดยการเผาในทีโ่ ลง่ 2.2.12 ควบคมุ เตาเผามูลฝอยตดิ เชอ้ื ü ü สธ. ของสถานพยาบาล 2.3 ควบคุมและลดมลพษิ จากการ กอ่ สร า้ งและผงั เมอื ง 2.3.1 ก�ำ หนดกฎระเบียบ มาตรการ ü จังหวัด, และเกณฑ์ปฏิบตั ทิ ีด่ ีในการ ท้องถน่ิ ควบคุมฝนุ่ ละอองจากการ กอ่ สรา้ งประเภทต่างๆ เชน่ การก่อสร้างอาคาร การกอ่ สรา้ งถนนและทางพิเศษ การกอ่ สรา้ งรถไฟฟา้ 2.3.2 สง่ เสรมิ ให้มกี ารจดั ทำ�ผงั เมอื ง ü มท., และการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้าง จังหวัด, ต่างๆ ต้องค�ำ นงึ ถึงปจั จัยท ่ี ทอ้ งถิ่น จะมีผลตอ่ การระบายอากาศ และการสะสมของมลพษิ ทางอากาศ 2.3.3 บงั คบั ใช้กฎหมายอย่าง ü ü จงั หวัด, เข้มงวดกบั ผู้ที่กระท�ำ การใดๆ ท้องถนิ่ , ท่ที ำ�ใหก้ รวด หนิ ดิน เลน ตช. ทราย หรือเศษวัตถุกอ่ สรา้ ง ตกหลน่ รั่วไหล ปลวิ ฟุง้ กระจายลงบนถนน

แผนปฏบิ ัติการขับเคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝ่นุ ละออง” 37 ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หน่วยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เร่งดว่ น/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนนุ ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) 2.3.4 ส่งเสรมิ การกอ่ สรา้ งท่ี ü ü หน่วยงาน เปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ภาครัฐ 2.3.5 เพม่ิ พน้ื ทส่ี เี ขียวในเขตเมือง ü ü จังหวัด, ใหไ้ ด้ตามมาตรฐานสากล ท้องถิ่น (9 ตรม./คน) 2.3.6 รณรงค์และสร้างแรงจูงใจ ü ü กทม., ภาค ให้องคก์ รรัฐวสิ าหกิจและ จงั หวัด, เอกชน ภาคเอกชนเขา้ รว่ มโครงการ มท. ในลักษณะการดำ�เนนิ กิจกรรม การแสดงความรบั ผดิ ชอบ ต่อสงั คม (CSR) ในการเพ่ิม และการจดั การพน้ื ท่สี ีเขยี ว อย่างยง่ั ยนื 2.4 ควบคุมและลดมลพิษจาก ภาคอ ตุ สาหกรรม 2.4.1 ก�ำ หนดมาตรฐานการระบาย ü ทส., อก. มลพิษทางอากาศในรปู แบบ Loading โดยค�ำ นึงถึง ความสามารถหรอื ศกั ยภาพ ในการรองรับมลพิษทาง อากาศของพนื้ ท่ี 2.4.2 การติดต้งั ระบบตรวจสอบ ü อก. การระบายมลพิษทางอากาศ แบบอตั โนมตั ิตอ่ เนือ่ งทีป่ ลอ่ ง ของโรงงานอุตสาหกรรม จ�ำ พวก 3 เตาเผา เชอื้ เพลิง และหมอ้ ไอนำ้�ท่ีมขี นาดตาม ที่ก�ำ หนด และรายงานผล ผา่ นระบบ on-line ไปยัง กระทรวงอตุ สาหกรรม

38 แผนปฏิบตั ิการขบั เคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝุ่นละออง” ระยะ ระยะสน้ั ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ดว่ น/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนุน ช่วงวิกฤต 2564) 2567) 2.4.3 จดั ทำ�ท�ำ เนยี บการปลดปลอ่ ย ü อก. ทส. และเคลือ่ นย้ายมลพิษ (Polutant Release and Transfer Register) 2.4.4 ทบทวนและปรบั ปรุงมาตรฐาน ü ทส., อก. การระบายมลพษิ ทางอากาศ จากโรงงานอตุ สาหกรรม ให้เทียบเทา่ มาตรฐานสากล 2.4.5 ปรับปรงุ การใชพ้ ลังงาน ü อก. อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ในภาคอตุ สาหกรรม 2.4.6 เพมิ่ การใชพ้ ลังงานหมนุ เวียน ü พน. และพลงั งานทางเลอื กในการ ผลติ ไฟฟา้ 2.5 ควบคมุ และลดมลพษิ จาก ภาคค รวั เรือน 2.5.1 สนับสนุนการใช้พลงั งาน ü ü พน. สะอาดในครัวเรือน 2.5.2 พัฒนาและส่งเสรมิ การใช้ ü ü พน. ทอ้ งถน่ิ , เตาหุงต้มและเตาป้ิงยา่ ง อว. ปลอดมลพษิ 2.5.3 พฒั นาและส่งเสริมการใช้ ü ü พน. ทอ้ งถน่ิ , เตาเผาอฐิ และถา่ นปลอดมลพิษ อว.

แผนปฏิบตั กิ ารขบั เคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ดา้ นฝ่นุ ละออง” 39 มาตรการท่ี 3 การเพมิ่ ประสิทธภิ าพการบริหารจดั การมลพษิ เปน็ การพฒั นาระบบ เครอื่ งมอื กลไกในการบรหิ ารจดั การ รวมถงึ การศกึ ษาวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาองคค์ วามรดู้ า้ นตา่ งๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจและกำ�หนดแนวทางมาตรการป้องกันและแก้ไขปัญหาในอนาคต ประกอบด้วย มาตรการระยะสนั้ และระยะยาว ผลผลิต หน่วยงานหลกั 1) เครือข่ายการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ กระทรวงมหาดไทย ใหค้ รอบคลุมทว่ั ประเทศ ภายในปี 2567 กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอ้ ม 2) มเี คร่ืองมือสนับสนุนการตดั สนิ ใจในการบริหารจัดการ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม - ระบบฐานข้อมลู ด้านมลพิษ/สงิ่ แวดลอ้ ม กระทรวงสาธารณสุข และผลกระทบต่อสขุ ภาพ 1 ระบบ กระทรวงการอุดมศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ - ระบบคาดการณส์ ถานการณ์ฝนุ่ ละออง 1 ระบบ วจิ ยั และนวตั กรรม - กลไกความรว่ มมอื ระหว่างประเทศ กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงอตุ สาหกรรม เพ่อื ลดมลพษิ ข้ามแดน กระทรวงต่างประเทศ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงคมนาคม โดยมีแนวทางการดำ�เนินงานในการพัฒนาระบบ เคร่ืองมือ กลไกในการบริหารจัดการมลพิษ (รายละเอียด ดังตารางท่ี 3) ดงั น้ี 3.1 พัฒนาเครอื ข่ายการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ มาตรการระยะสั้น (พ.ศ. 2562 - 2564) และมาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) โดยเป็นการ ดำ�เนินงานต่อเนื่องในการขยายเครือข่ายการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศและให้ท้องถิ่นติดตามตรวจวัด คณุ ภาพอากาศในพนื้ ทขี่ องตนเอง พฒั นาศกั ยภาพของทอ้ งถนิ่ ในการด�ำ เนนิ การตดิ ตามการตรวจสอบคณุ ภาพอากาศ เพื่อใหม้ ีการเฝ้าระวังสถานการณ์ในพนื้ ท่ี 3.2 ทบทวน/ปรับปรงุ กฎหมาย/มาตรฐาน/แนวทางปฏิบัตใิ ห้สอดคล้องกบั สถานการณ์ มาตรการระยะสนั้ (พ.ศ.2562 - 2564) ประกอบดว้ ย การก�ำ หนดคา่ มาตรฐาน PM2.5 ในบรรยากาศเฉลยี่ รายปใี หเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายระยะท่ี 3 ขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO IT-3) การปรบั ปรุง พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพส่ิงแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 รวมทงั้ ศึกษาความเหมาะสม เรอื่ งกฎหมายอากาศสะอาด (Clean Air Act) รวมถงึ การพจิ ารณาความเหมาะสมในการจดั ระเบยี บการเผาภาคการเกษตร มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบดว้ ย พิจารณากำ�หนดคา่ มาตรฐาน PM2.5 ในบรรยากาศเฉลยี่ 24 ชว่ั โมง ใหเ้ ปน็ ไปตามเปา้ หมายระยะที่ 3 ของ องค์การอนามัยโลก (WHO IT-3)

40 แผนปฏิบตั ิการขบั เคลอ่ื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ด้านฝุน่ ละออง” 3.3 ส่งเสรมิ การวจิ ัย/พฒั นาองค์ความรูด้ า้ นเทคโนโลยกี ารตดิ ตามตรวจสอบ การตรวจวิเคราะห์ และนวัตกรรม เพื่อลดมลพษิ ทางอากาศ เพือ่ นำ�ไปประยกุ ตใ์ ชด้ า้ นการจดั การคุณภาพอากาศ รวมถงึ เผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ และ ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ มาตรการระยะสั้น (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบดว้ ย ด�ำ เนินโครงการนำ�ร่องเพ่ือทดสอบความเปน็ ไปไดใ้ นการติดตง้ั อปุ กรณ์กรองฝนุ่ (Diesel Particulate Filter, DPF) ในรถใช้งาน การจดั ทำ�คมู่ อื การเรยี นการสอนวา่ ด้วยการเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศและข้อควรปฏิบตั ใิ นการ ร่วมกันลดโลกร้อนเพ่ือสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมในการลดมลพิษทางอากาศ (รวมถึงสาเหตุ/การป้องกัน การเกิดฝุ่นละออง) การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และถ่ายทอดองค์ความรู้ รวมทั้งสร้างเครือข่ายประชาสังคมเพื่อสร้าง ความตระหนักรู้ และสร้างความร่วมมอื ระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ท้องถ่ิน เอกชน ประชาชน ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ ม สรา้ งความตระหนักและปรบั พฤตกิ รรมของประชาชนในการลดการปล่อยมลพษิ จากกิจกรรมตา่ งๆ มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบด้วย ศกึ ษาความเหมาะสมในการใชเ้ ครอ่ื งมอื การตรวจวดั คณุ ภาพอากาศแบบเซนเซอร์ การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ ์ และถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ รวมทงั้ สรา้ งเครือข่ายประชาสงั คม เพือ่ สรา้ งความตระหนกั รแู้ ละสรา้ งความรว่ มมอื ระหว่าง หน่วยงานภาครัฐ ทอ้ งถิ่น เอกชน ประชาชน 3.4 การแก้ไขปญั หามลพิษข้ามแดน มาตรการระยะสัน้ (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบด้วย การขับเคล่ือนการดำ�เนินงานตามข้อตกลงเร่ืองมลพิษหมอกควันข้ามแดน : ขับเคลื่อนการดำ�เนินงาน ตามโรดแมปอาเซยี นปลอดหมอกควนั ข้ามแดน (ASEAN Transboundary Haze - Free Roadmap) และขบั เคลอื่ น การด�ำ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารเชยี งราย 2017 เพอ่ื ปอ้ งกนั มลพษิ จากหมอกควนั ขา้ มแดน (ChiangRai 2017 Plan of Action for Transboundary Haze Polution Control in the Mekong Sub-Region) การประสานความรว่ มมือ ระหวา่ งประเทศเพอ่ื ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หามลพษิ โดยใชก้ ลไกในทกุ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั อาเซยี น ระดบั คณะกรรมการ ชายแดนภายใต้กระทรวงกลาโหม และระดับจังหวัดชายแดนคู่ขนานระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพ่ือนบ้าน การป้องกันและแก้ไขปัญหามลพษิ ขา้ มแดนจากการขนสง่ มาตรการระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) ประกอบด้วย การขับเคลื่อนการดำ�เนินงานตามข้อตกลงเร่ืองมลพิษหมอกควันข้ามแดน : ขับเคล่ือนการดำ�เนินงาน ตามโรดแมปอาเซียนปลอดหมอกควันข้ามแดน (ASEAN Transboundary Haze - Free Roadmap) ขับเคล่ือน การด�ำ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารเชยี งราย 2017 เพอื่ ปอ้ งกนั มลพษิ จากหมอกควนั ขา้ มแดน (ChiangRai 2017 Plan of Action for Transboundary Haze Polution Control in the Mekong Sub-Region) การประสานความรว่ มมือ ระหวา่ งประเทศเพอื่ ปอ้ งกนั และแกไ้ ขปญั หามลพษิ โดยใชก้ ลไกในทกุ ระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั อาเซยี น ระดบั คณะกรรมการ ชายแดนภายใตก้ ระทรวงกลาโหม และระดับจงั หวัดชายแดนคู่ขนานระหว่างประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบา้ น

แผนปฏบิ ตั กิ ารขบั เคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 41 3.5 จดั ท�ำ บัญชกี ารระบายมลพษิ ทางอากาศจากแหลง่ ก�ำ เนดิ มาตรการระยะสัน้ (พ.ศ. 2562 - 2564) การจดั ท�ำ บญั ชกี ารระบายมลพษิ ทางอากาศจากแหลง่ ก�ำ เนดิ เปน็ ระยะๆ เพอ่ื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ประกอบการก�ำ หนด/ ปรับปรงุ แนวทางและมาตรการป้องกันและแก้ไขปญั หามลพิษ 3.6 พัฒนาระบบฐานข้อมูลและระบบเฝา้ ระวังทเี่ ป็นหนงึ่ เดยี ว มาตรการระยะสนั้ (พ.ศ.2562 - 2564) และระยะยาว (พ.ศ. 2565 - 2567) บรู ณาการระบบขอ้ มลู สารสนเทศอยา่ งเปน็ ระบบทง้ั แหลง่ ก�ำ เนดิ ปรมิ าณมลพษิ ในบรรยากาศ และผลกระทบ ตอ่ สขุ ภาพเพอื่ การวางแผนการบรหิ ารจดั การและสอื่ สารแจง้ เตอื น พฒั นาระบบ เฝา้ ระวงั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพทเี่ กดิ จาก มลพษิ ทางอากาศและการรายงานผล สรา้ งความเขม้ แขง็ ของประชาชน ชมุ ชนในการดแู ลปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ 3.7 พฒั นาระบบคาดการณส์ ถานการณฝ์ ุ่นละออง มาตรการระยะส้ัน (พ.ศ. 2562 - 2564) ประกอบดว้ ย การพัฒนาระบบคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง เพ่ือใช้เป็นข้อมูลประกอบการทบทวน/ปรับปรุงมาตรการ และแนวทางการด�ำ เนินงานในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหามลพษิ ในระยะต่อไป ตารางท่ี 3 แนวทางการดำ�เนินงานตามมาตรการที่ 3 การเพิ่มประสทิ ธิภาพการบรหิ ารจัดการมลพิษ ระยะ ระยะสน้ั ระยะยาว หน่วยงานรับผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เรง่ ดว่ น/ (2562 - (2565 - หลัก สนับสนุน ชว่ งวิกฤต 2564) 2567) มาตรการที่ 3 การเพ่มิ 3.1 พัฒนาเครือข่ายการติดตาม ประสิทธิภาพ การบริหาร ตรวจสอบคุณภาพอากาศ จัดการมลพิษ 3.1.1 ขยายเครอื ขา่ ยการตดิ ตาม ü ü ทส., มท. ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศให้ ครอบคลมุ ทกุ จังหวดั และ สารมลพษิ หลกั และให้ท้องถิ่น ติดตามตรวจวัดคณุ ภาพ อากาศในพ้ืนที่ของตนเอง 3.1.2 พัฒนาศกั ยภาพของทอ้ งถิน่ ü ทส., มท. ในการด�ำ เนินการตดิ ตาม ตรวจสอบคณุ ภาพอากาศ ในพื้นทร่ี บั ผดิ ชอบ

42 แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพิษดา้ นฝนุ่ ละออง” ระยะ ระยะสั้น ระยะยาว หน่วยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการด�ำ เนินงาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนนุ ช่วงวิกฤต 2564) 2567) 3.2 ทบทวน/ปรบั ปรุงกฎหมาย/ ü ทส. มาตร ฐาน/แนวทางปฏบิ ตั ิ ให้สอ ดคลอ้ งกับสถานการณ ์ 3.2.1 ปรับคา่ มาตรฐาน PM2.5 ในบรรยากาศเฉลี่ยรายปใี ห้ เป็นไปตามเปา้ หมายระยะที่ 3 ขององค์การอนามัยโลก 3.2.2 พิจารณาความเหมาะสมใน ü ทส. การปรับคา่ มาตรฐาน PM2.5 ในบรรยากาศเฉล่ยี 24 ชวั่ โมง ให้เป็นไปตามเปา้ หมายระยะท่ี 3 ขององคก์ ารอนามยั โลก 3.2.3 ปรับปรงุ พ.ร.บ. ส่งเสริมและ ü ทส. รักษาคณุ ภาพสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาติ พ.ศ. 2535 เพอ่ื เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพ ในการจัดการมลพิษทางอากาศ รวมทั้งศึกษาความเหมาะสม เรือ่ งกฎหมายอากาศสะอาด (Clean Air Act) ü กษ., 3.2.4 พิจารณาความเหมาะสมใน ท้องถ่นิ การจัดระเบยี บการเผา ภาคการเกษตร 3.3 ส่งเสรมิ การวิจยั /พัฒนาองคค์ วามรู้ ด้านเท คโนโลยีการตดิ ตามตรวจสอบ การต รวจวิเคราะห์ และนวัตกรรม เพ่อื ล ดมลพษิ ทางอากาศเพือ่ นำ�ไป ประย กุ ต์ใชด้ า้ นการจดั การคุณภาพ อากาศ รวมถงึ เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ และถ า่ ยทอดองค์ความร ู้ 3.3.1 พจิ ารณาความเหมาะสม ü อว., ทส. ในการตรวจวดั คณุ ภาพอากาศ โดยใชเ้ ครอ่ื งมอื ตรวจวดั แบบ เซนเซอร์ 3.3.2 ดำ�เนินโครงการนำ�ร่องเพ่อื ü อว. ทส., อก. ทดสอบความเปน็ ไปไดใ้ นการ ตดิ ตง้ั อุปกรณ์กรองฝุ่น (Diesel Particulate Filter, DPF) ในรถใชง้ าน

แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่ือนวาระแห่งชาติ “การแกไ้ ขปญั หามลพิษด้านฝนุ่ ละออง” 43 ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนบั สนนุ ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) 3.3.3 วจิ ัย/พฒั นาองค์ความรู้ ü สธ.วช./ สถาบนั นวตั กรรมในเรอ่ื งขอ้ มูล วท./ทส./ การศึกษา/ ผลกระทบต่อสขุ ภาพจากมลพิษ สกสว. อาชีวศึกษา ทางอากาศ วิธีการเฝา้ ระวัง ผลกระทบตอ่ สุขภาพจากมลพษิ ทางอากาศอยา่ งง่ายส�ำ หรับ ประชาชน เกณฑพ์ จิ ารณา ประกาศควบคมุ การทำ�กิจกรรม นอกบ้าน หรือท�ำ กจิ กรรมของ สถานศึกษา นวัตกรรมในการ ปอ้ งกนั ตนเองจากมลพษิ ทาง อากาศ ขอ้ มลู เศรษฐศาสตร์ด้าน สขุ ภาพจากมลพิษทางอากาศ 3.3.4 จดั ท�ำ คมู่ ือการเรยี นการสอน ü ศธ. ทส./สธ. ว่าด้วยการเปล่ยี นแปลงสภาพ ภมู อิ ากาศและขอ้ ควรปฏบิ ัติ ในการรว่ มกนั ลดโลกรอ้ นเพือ่ สร้างความตระหนกั และการมี ส่วนรว่ มในการลดการระบาย มลพษิ ทางอากาศจากแหลง่ ก�ำ เนดิ และการป้องกันสุขภาพ 3.3.5 เผยแพร่ประชาสัมพนั ธแ์ ละ ü ü ทส., นร., ศธ., ถา่ ยทอดองคค์ วามรู้ รวมทงั้ สธ., สถาบนั สรา้ งเครือขา่ ยประชาสงั คม การศึกษา, เพ่ือสร้างความตระหนักรู้และ สกสว., สรา้ งความร่วมมือระหว่าง วช. หน่วยงานภาครัฐ ท้องถน่ิ เอกชน ประชาชน เช่น ข้อมูล เกยี่ วกบั มลพิษทางอากาศ ผลกระทบความสัมพันธร์ ะหว่าง สภาพอตุ ุนิยมวทิ ยากบั มลพษิ ผลการศกึ ษาวจิ ยั เปน็ ต้น

44 แผนปฏบิ ตั ิการขบั เคลือ่ นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปัญหามลพษิ ด้านฝุ่นละออง” ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หน่วยงานรับผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนนิ งาน เรง่ ดว่ น/ (2562 - (2565 - หลัก สนบั สนุน ช่วงวิกฤต 2564) 2567) 3.3.6 ส่งเสริมการมสี ว่ นรว่ ม ü ทส., คค., หน่วยงาน สร้างความตระหนัก และ มท., อก., ภาครัฐ ปรับพฤติกรรมของประชาชน สธ., นร. ในการลดการปลอ่ ยมลพิษ จากกจิ กรรมตา่ งๆ 3.4 การแก้ไขปัญหามลพษิ ข้ามแดน 3.4.1 การขับเคล่อื นการด�ำ เนนิ งาน ü ü ทส., กห., กต. ตามข้อตกลงระหว่างประเทศ มท. เรื่องมลพิษหมอกควันข้ามแดน - ขับเคลื่อนการด�ำ เนนิ งาน ตามโรดแมปอาเซยี นปลอด ห มอกควันขา้ มแดน (ASEAN Transboundary Haze - Free Roadmap) - ขับเคล่อื นการดำ�เนินงาน ตามแผนปฏิบัตกิ ารเชยี งราย 2017 เพอ่ื ปอ้ งกันมลพิษจาก หมอกควนั ขา้ มแดน - ประสานความรว่ มมือระหวา่ ง ป ระเทศเพือ่ ป้องกันและแกไ้ ข ปญั หาหมอกควนั ข้ามแดน โดยใชก้ ลไกในทุกระดบั ไดแ้ ก่ ระดบั อาเซียน ร ะดับคณะกรรมการชายแดน ภายใต้กระทรวงกลาโหม และระดับจงั หวัดชายแดน คูข่ นานระหวา่ งประเทศไทย กบั ประเทศเพ่อื นบ้าน

แผนปฏิบตั ิการขับเคลอื่ นวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” 45 ระยะ ระยะส้ัน ระยะยาว หนว่ ยงานรบั ผดิ ชอบ มาตรการ แนวทางการดำ�เนินงาน เร่งด่วน/ (2562 - (2565 - หลกั สนับสนุน ชว่ งวกิ ฤต 2564) 2567) 3.4.2 การปอ้ งกันมลพษิ ขา้ มแดน ü ทส. คค., กต. จากการขนส่ง - การจดั การมลพษิ ทางอากาศ และของเสียจากรถยนต์ เชน่ การพิจารณาปรับปรุง มาตรฐานรถยนต์และน�้ำ มัน ในภมู ิภาคอาเซยี นให้มรี ะดบั ใกล้เคียงกัน 3.5 จัดทำ�บัญชีการระบายมลพษิ ทาง ü ทส. อก., อากา ศจากแหล่งก�ำ เนิดเปน็ ระยะๆ จังหวดั , ทอ้ งถิน่ 3.6 พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลเฝ้าระวงั ทเี่ ป็น หนง่ึ เดยี ว 3.6.1 บูรณาการระบบขอ้ มลู ü ü ทส./ดศ. ทุก สารสนเทศอย่างเปน็ ระบบ หน่วยงาน ทง้ั แหล่งก�ำ เนดิ ปริมาณมลพิษ ในบรรยากาศ และผลกระทบ ตอ่ สุขภาพ เพือ่ การวางแผน การบริหารจัดการและสือ่ สาร แจ้งเตือน 3.6.2 พัฒนาระบบเฝา้ ระวงั ผลกระทบ ü ü สธ. รพ.เอกชน/ ตอ่ สุขภาพท่ีเกิดจากมลพิษ มหา ทางอากาศและการรายงานผล วทิ ยาลัย/ กห./กทม. 3.6.3 สร้างความเข้มแข็งของ ü ü พม./สธ. ทส./มท./ ประชาชน ชุมชน ในการดแู ล นร. ปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ สขุ ภาพ 3.7 พฒั นาระบบคาดการณส์ ถานการณ์ ü ทส., อว., ดศ. ฝุน่ ละ ออง

46 แผนปฏบิ ัตกิ ารขบั เคล่อื นวาระแหง่ ชาติ “การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ด้านฝนุ่ ละออง” 3บทท่ี

แผนปฏิบตั กิ ารขับเคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง” 47 แนวทางการขบั เคลอ่ื นแผนสูก่ ารปฏบิ ตั ิ และการตดิ ตามประเมินผล แผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ การแก้ไขปัญหามลพิษด้านฝุ่นละออง กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ และหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ไดอ้ าศยั มตคิ ณะรฐั มนตรเี ปน็ กลไกหลกั ในการขบั เคลอื่ นการด�ำ เนนิ การแกไ้ ขปญั หาดงั กลา่ ว ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นรูปธรรมโดยเร็ว โดยการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เก่ียวข้องในการ น�ำ มาตรการและแนวทางการด�ำ เนนิ งานภายใตแ้ ผนปฏิบัติการฉบบั นไ้ี ปปฏบิ ัติ 3.1 กลไกและแนวทางการขบั เคล่ือนการแกไ้ ขปัญหาฝนุ่ ละออง 1. กลไกในการขับเคล่อื นมาตรการที่ 1 ใชก้ ลไกของระบบศนู ยส์ งั่ การแบบเบด็ เสรจ็ (Single Command) ภายใต้ พ.ร.บ. ปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 โดยมีผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้บัญชาการเหตุการณ์ ในการเข้าควบคุม สถานการณ์ อ�ำ นวยการ สงั่ การประสานการปฏบิ ัติระหว่างหนว่ ยงาน ส่วนราชการต่างๆ เพอ่ื ใหส้ ถานการณก์ ลับเขา้ สู่ ภาวะปกติโดยเร็ว 2. กลไกในการขบั เคลอ่ื นมาตรการที่ 2 ให้หน่วยงานทมี่ ีหน้าทต่ี ามกฎหมายออกกฎระเบยี บ/แนวทาง/ขอ้ บังคบั ในการแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง 3. กลไกในการขับเคลื่อนมาตรการท่ี 3 ใชก้ ลไกคณะกรรมการสง่ิ แวดลอ้ มแหง่ ชาตเิ ปน็ กลไกหลกั รว่ มกบั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วขอ้ งขบั เคลอื่ นการด�ำ เนนิ งานเพอ่ื ใหก้ ารแกไ้ ขปญั หาเปน็ ไปอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสทิ ธผิ ล 3.2 การติดตามประเมินผล ตามทคี่ ณะรัฐมนตรใี นการประชุมเมอ่ื วนั ท่ี 12 กุมภาพนั ธ์ 2562 มมี ติให้การแกไ้ ขปัญหามลพษิ ด้านฝุ่นละออง เป็นวาระแห่งชาติ เพ่ือให้การดำ�เนินการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ท้ังนี้ ใหค้ ณะกรรมการสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาตเิ ปน็ กลไกหลกั รว่ มกบั กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ มและหนว่ ยงาน ที่เกี่ยวข้องดำ�เนินการขับเคล่ือนวาระแห่งชาติดังกล่าวให้เกิดผลเป็นรูปธรรมโดยเร็ว ดังนั้น กระบวนการขับเคล่ือน วาระแห่งชาตฯิ ติดตาม และประเมนิ ผล มดี ังนี้ 1. ใชก้ ลไกคณะกรรมการสงิ่ แวดลอ้ มแหง่ ชาตขิ บั เคลอื่ นใหเ้ กดิ ความรว่ มมอื ในการด�ำ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ าร ขบั เคลือ่ นวาระแหง่ ชาติฯ การตดิ ตาม และประเมินผลการด�ำ เนินงานตามแผนปฏิบตั ิการฯ 2. หนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวข้องด�ำ เนินการตามแผนปฏบิ ัตกิ ารขับเคลอื่ นวาระแห่งชาติฯ 3. กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม รวบรวมผลการด�ำ เนนิ งานตามแผนปฏบิ ตั กิ ารฯ จากหนว่ ยงาน ท่ีเกี่ยวข้อง ปีละ 2 ครั้ง และรายงานผลการดำ�เนินงานต่อคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติและคณะรัฐมนตรี เพ่ือทราบต่อไป

48 แผนปฏบิ ตั ิการขับเคล่ือนวาระแหง่ ชาติ “การแก้ไขปญั หามลพิษดา้ นฝุ่นละออง” ภาคผนวก ภาคผนวก ก อกั ษรยอ่ และรายช่อื หนว่ ยงาน อกั ษรย่อ ชอ่ื หนว่ ยงาน มท. กระทรวงมหาดไทย ทส. กระทรวงทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อม กษ. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ สธ. กระทรวงสาธารณสุข พน. กระทรวงพลังงาน คค. กระทรวงคมนาคม พณ. กระทรวงพาณิชย์ กค. กระทรวงการคลัง อก. กระทรวงอตุ สาหกรรม อว. กระทรวงการอดุ มศกึ ษา วิทยาศาสตร์ วจิ ยั และนวัตกรรม (ปรบั เปล่ยี นจากเดิม กระทรวงวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี) ศธ. กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นร. ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรี กต. กระทรวงการต่างประเทศ ดศ. กระทรวงดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคม กห. กระทรวงกลาโหม ตช. ส�ำ นักงานตำ�รวจแห่งชาติ กทม. กรงุ เทพมหานคร ขสมก. องคก์ ารขนส่งมวลชนกรุงเทพ ฝล. กรมฝนหลวงและการบินเกษตร สกสว. สำ�นกั งานคณะกรรมการส่งเสริมวทิ ยาศาสตร์ วิจยั และนวัตกรรม วช. สำ�นกั งานการวจิ ยั แห่งชาติ กพ. สำ�นกั งานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน พม. กระทรวงการพฒั นาสงั คมและความมน่ั คงของมนุษย์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook