Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน เทอม 2-2563 ครูกัญญาณี

วิจัยในชั้นเรียน เทอม 2-2563 ครูกัญญาณี

Description: วิจัยในชั้นเรียน เทอม 2-2563 ครูกัญญาณี

Search

Read the Text Version

วจิ ยั ในชั้นเรยี น พฒั นาทักษะปฏิบตั งิ าน การประดิษฐเ์ อกลกั ษณ์ไทย ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 คณุ ครูกญั ญาณี แสนตรี ตำแหน่ง ครู กลุ่มสาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ สำนักการศึกษา เทศบาลนครนนทบุรี กรมสง่ เสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย

ก รายงานผลการการวจิ ัยในชน้ั เรียน ประจำภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศึกษา 2563 ครูผ้อู อกแบบงานวิจัยในช้นั เรียน ชอ่ื -สกลุ นางสาวกัญญาณี แสนตรี วทิ ยฐานะ - หัวข้อในการวจิ ยั ในช้ันเรยี น พัฒนาทกั ษะปฏบิ ัตงิ าน การประดิษฐเ์ อกลักษณ์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ความเห็นของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา 1. ครูผ้วู จิ ยั ได้ดำเนินการแกป้ ัญหาและพฒั นาผู้เรยี นตามกระบวนการที่ได้วางแผนไว้ ดำเนนิ การแกป้ ญั หาและพัฒนาผู้เรยี นแล้ว ไมไ่ ด้ดำเนินการแกป้ ัญหาและพฒั นาผูเ้ รยี น เน่ืองจาก...................................................................... 2. ผลการแก้ไขประเดน็ ปัญหาหรอื การพฒั นาผูเ้ รียนในการวิจยั นกี้ ำหนดไว้ ประสบความสำเรจ็ ไมป่ ระสบความสำเร็จ เน่ืองจาก......................................................................................................... ลงช่ือ (นายสมพล เท่ยี งธรรม) ผอู้ ำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา 6

ข ชอ่ื งานวิจัยในชนั้ เรยี น พัฒนาทักษะปฏบิ ตั งิ านการประดษิ ฐง์ านเอกลักษณ์ไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 5 ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 ชอ่ื ครผู ู้วิจัย นางสาวกัญญาณี แสนตรี หวั หนา้ งานวิชาการ นางปยิ ะอนงค์ นศิ าวฒั นานันท์ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา นายสมพล เทีย่ งธรรม บทคดั ยอ่ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาทักษะปฏิบัติงานการประดิษฐ์งานเอกลักษณ์ไทย นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ได้มาโดยการสุ่ม ประชากรกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 36 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงาน กลุ่ม และแบบประเมินผลงานนักเรียน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ (1) แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม (2) แบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น ผลการวิจัยพบว่า (1) แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม นักเรียนได้ระดับผ่านเกณฑ์การ ตดั สนิ คุณภาพระดับพอใช้ จำนวน 7 คน นักเรยี นไดร้ ะดับผ่านเกณฑ์การตัดสินคณุ ภาพระดับดี จำนวน 29 คน (2) แบบประเมินผลงานนักเรียน ระดับคุณภาพพอใช้ 8 คน นักเรียนได้ระดับผ่านเกณฑ์การ ตดั สินคณุ ภาพระดับดี จำนวน 28 คน

ค กติ ติกรรมประกาศ งานวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้สำเร็จลงได้ด้วยดี เนื่องจากได้รับความกรุณาอย่างสูงจาก นายสมพล เทีย่ งธรรม ผู้อำนวยการสถานศึกษา โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ ที่ปรึกษางานวิจัยใน ชน้ั เรยี นที่กรณุ าให้คำแนะนำปรึกษา ตลอดจนปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วยความเอาใจใส่อย่าง ดยี ่ิง ผู้วจิ ัยตระหนกั ถงึ ความตั้งใจจรงิ และความทุ่มเทของอาจารย์และขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ไว้ ณ ทน่ี ้ี ขอขอบพระคุณ นางปิยะอนงค์ นิศาวัฒนานันท์ หัวงานงานฝ่ายวิชาการ และหัวหน้ากลุ่ม สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนกีฬานครนนท์วิทยา ๖ ซึ่งเป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ ความอนุเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยในชั้นเรียน ที่ให้ข้อมูลต่าง ๆ ที่เอื้อต่อการทำงานวิจัย ตลอดจนนกั เรยี นระดบั ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 36 คน ทุกคนท่ใี ห้ความร่วมมือในการทำกิจกรรม ในชนั้ เรยี น และตั้งใจทำงานทีค่ รมู อบหมายหมายจนทำให้งานวิจัยนสี้ ำเรจ็ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี อนงึ่ ผ้วู ิจัยหวังว่า งานวิจัยในชั้นเรยี นฉบับน้จี ะมปี ระโยชน์ในการพฒั นาผู้เรียนอยู่ไมน่ ้อย จึงขอ มอบส่วนดี ทั้งหมดนี้ให้แก่เหล่าคณาจารย์ท่ีได้ประสทิ ธิประสาทวิชาจนทำให้ผลงานวจิ ัยในชัน้ เรียนเป็น ประโยชน์ต่อผู้ท่ีเก่ียวขอ้ งและขอมอบความกตัญญูกตเวทติ าคุณ แดบ่ ดิ า มารดา และผมู้ พี ระคุณทุกท่าน สำหรับข้อบกพร่องต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นนั้น ผู้วิจัยขอน้อมรับผิดเพียงผู้เดียว และยินดีที่จะรับฟัง คำแนะนำจากทกุ ท่านท่ีได้เข้ามาศกึ ษา เพอ่ื เป็นประโยชนใ์ นการพฒั นางานวิจัยตอ่ ไป ผวู้ จิ ยั เมษายน 2564

สารบญั ง เนือ้ หา หน้า รายงานผลการการวิจยั ในชน้ั เรียน ก บทคัดย่อ ข กติ ตกิ รรมประกาศ ค บทที่ 1 ที่มาและความสำคญั ของการทำวจิ ัยในช้นั เรียน 1 บทที่ 2 เอกสารทเี่ กยี่ วข้อง 3 บทท่ี 3 วิธีดำเนินการวจิ ัย 9 บทที่ 4 ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 11 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจยั 15 บรรณานกุ รม ภาคผนวก ประวตั ยิ อ่ ผูท้ ำวจิ ัย

1 วิจยั ในชัน้ เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ บทท่ี 1 ทม่ี าและความสำคัญของการทำวิจยั ในชน้ั เรยี น 1. ความเปน็ มาและความสำคัญของปัญหา เนื่องจากนักเรียนรายวิชาการงานอาชีพ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีหน่วยการเรียนรู้ที่ เกี่ยวกับการประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย เพื่อให้นักเรียนได้ฝึกทักษะการปฏิบัติงาน การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ขณะปฏิบัติงานและสามารถเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และเพื่ออนุรักษ์ ศลิ ปะ วัฒนธรรมและภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ไทย แต่นกั เรียนยังขาดทักษะในการปฏบิ ัตงิ าน ไม่เคยฝึกทำงาน ประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ครูประจำวิชาจึงเห็นสมควรที่จะจัดกิจกรรมการ จัดการเรียนรู้ให้นกั เรียนได้ฝึกปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานของนักเรียน นอกจากนี้ยังได้ ปลกู ฝังให้นักเรยี นเป็นผอู้ นุรักษณ์ศิลปะวฒั นธรรม ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ไทย 2. วตั ถปุ ระสงค์ของการวจิ ัย นักเรียนสามารถออกแบบและประดิษฐ์ชิ้นงานที่เป็นเอกลักษณ์ไทยได้ มีทักษะในการ ปฏิบัติงาน มีความคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานได้ สื่อสารกับเพื่อนในกลุ่มและ เพอ่ื นในชน้ั เรียนได้ นักเรยี นเลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ไดอ้ ยากถูกต้องเหมาะสม ใช้อยา่ งประหยัด และผลงานที่ไดอ้ ยูใ่ นเกณฑท์ ค่ี รตู ้ังไว้ 3. ความสำคัญของการวิจยั 3.1 นักเรียนเป็นออกแบบและประดิษฐ์ชิ้นงานที่เป็นเอกลักษณ์ไทยได้ มีทักษะในการ ปฏิบัติงาน มีความคิดสร้างสรรค์ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะปฏิบัติงานได้ สื่อสารกับเพื่อนในกลุ่มและ เพ่ือนในช้ันเรยี นได้ 3.2 นกั เรียนเปน็ ผู้สบื สาน อนรุ กั ษณศ์ ลิ ปะ วฒั นธรรมไทย และงานประดิษฐ์เอกลกั ษณไ์ ทย 3.3 นกั เรยี นเลอื กใช้วัสดุ อุปกรณ์ เคร่ืองมอื ได้อยากถูกต้องเหมาะสม ใช้อยา่ งประหยัด และ ผลงานทไี่ ดอ้ ยู่ในเกณฑ์ผา่ น ดี และดีมาก ตามลำดับ 4. ขอบเขตของการวิจัย 4.1 นกั เรียนในรายวิชาการงานอาชพี ง 30๑๐4 กลุ่มสาระการงานอาชีพ 4.2 นกั เรยี นระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 5/1 จำนวน 36 คน 5. ข้อตกลงเบื้องต้น นักเรียนส่งผลงานที่ได้ลงมือปฏิบัติงาน เรื่อง งานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย (พานธูปเทียนแพ) ตามวนั และเวลาทคี่ รูกำหนด ครจู ะสังเกตพฤติกรรมการทำงานของนักเรียน เพือ่ จะนำไปใชใ้ นการวัดผล และประเมนิ ผลการเรยี นรขู้ องนกั เรียน

2 วิจัยในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ 6. วธิ ีการวัดผล 6.1 สงั เกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ 6.2 ตรวจชนิ้ งานนกั เรยี นแต่ละกลุ่มทรี่ ่วมกันประดิษฐ์ขึน้ 7. เครื่องมอื วดั 7.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 7.2 แบบประเมนิ ผลงาน 8. นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 8.1 งานเอกลักษณ์ไทย หมายถึง งานที่เกิดจากการใช้ความคิดสร้างสรรค์ของคนไทยสร้าง หรือประดิษฐ์ขึ้นตามวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย หรือเพื่อความสวยงาม หรือประดับตกแต่งหรือเพ่ือ ประโยชน์ใช้สอยความเป็นมาของงานประดิษฐ์ สิ่งประดิษฐ์เกิดขึ้นเพราะคนไทยเป็นผู้สร้างผู้พัฒนา ปรับปรุง และเปลี่ยนแปลงแบบ ผลงานด้วยความคิดสร้างสรรค์ท่ีมอี ยู่ในแต่ลภูมปิ ัญญาท้องถิ่นนั้น ๆ มี วัตถุประสงค์ในการสร้างสิ่งประดิษฐ์เพื่อตอบสนอง ความต้องการด้านประโยชน์ใช้สอย งานประดิษฐ์ เอกลักษณ์ไทยมีความสัมพนั ธ์และเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวนั ของคนไทยต้ังแต่สมัยโบราณ เก่ียวข้องกับ ขนบธรรมเนียมและประเพณีทางศาสนา 8.2 การแกะสลัก (Carving) เป็นเทคนิคการสร้างสรรค์งานประติมากรรมมาแต่โบราณ งาน แกะสลัก คือการสร้างให้เกิดเป็นลวดลายหรือรูปภาพด้วยวิธีการใช้มีดแกะลงบนพื้นผิวของวัสดุต่าง ๆ เชน่ สบู่ เทียน ไม้ ผกั ผลไม้ เปน็ ต้น 8.3 งานประดิษฐ์ดอกไม้สดของไทย หมายถึง การนำดอกไม้สดของไทยชนิดต่างๆมาประดษิ ฐ์ ให้เป็นชิ้นงานที่ประณีตงดงามด้วยวิธีการกรอง เย็บ มัด ร้อย ซ่ึงสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น มาลยั การจัดดอกไม้ การเยบ็ แบบ เครื่องแขวนไทย 8.4 การปน้ั หมายถงึ การนำวัสดุทเ่ี ป็นเน้ืออ่อนที่สามารถเปล่ยี นรูปได้ เช่น ขผ้ี ง้ึ ดินเหนียว ดิน น้ำมัน กระดาษผสมกาว ขี้เลื่อยผสมกาว ปูนปลาสเตอร์ เป็นต้น มาผ่านกระบวนการในการเพิ่มวัสดใุ ห้ เกิดเปน็ รปู ทรงตามต้องการโดยใชม้ อื และวสั ดุอปุ กรณช์ นิดต่าง ๆ ชว่ ยในการสร้างงานปนั้ 8.5 “จักสาน” คำว่า จัก คือ การทำให้เป็นแฉก เป็นหยักๆ ด้วยฟันเลื่อย หรืออีกวิธีการหนึ่ง การที่ชาวบ้านใช้คมมีดผ่าไม้ไผ่แล้วทำให้เป็นเส้นบางๆ วิธีการอย่างนี้ก็เรียกว่า จัก เช่นกัน ส่วนไม้ไผ่ หรือ หวาย ที่จักออกมาเป็นเส้นบางๆ นั้นเรียกว่า ตอก ถึงตอนนี้การที่ชาวบ้านนำตอกมาขัดกันจนเกิด ลวดลายที่ต้องการ เราเรียกว่า สาน ต่อจากนั้นแล้วก็จะเป็นการสร้างสรรค์ให้เกิดรูปทรงต่างๆ จน ท้ายทส่ี ดุ เปน็ ภาชนะสามารถนำไปใช้สอยไดต้ ามต้องการ 8.6 งานประดิษฐ์ใบตอง เป็นเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของไทยที่มีมาช้านาน ใช้ในงานพิธีต่าง ๆ ในสมัยก่อนงานใบตองประดิษฐ์ขึ้นโดยใช้ส่วนประกอบของต่าง ๆ ของต้นกล้วย เช่น ใบกล้วยและ กาบกลว้ ยมาประดิษฐ์เป็นบายศรี กระทงดอกไม้ กระทงลอย พานพุ่ม แจกนั ดอกไม้

3 วจิ ัยในช้ันเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วิทยา ๖ บทที่ 2 เอกสารทเี่ กย่ี วข้อง แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้อง งานประดิษฐเ์ อกลักษณ์ไทยประเภทต่าง ๆ 1. งานใบตอง ประวัติที่มาของงานใบตองในอดีต ที่ผ่านมา มนุษย์เราพยายามที่จะเรียนรู้ที่จะดำรงชีวิตอยู่ ท่ามกลางธรรมชาติ โดยเนน้ ความกลมกลืนในรูปแบบของการพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน รู้จักการหาวัสดุ ธรรมชาติมาปรุงแต่งชีวิต ความเป็นอยู่ภายใต้กรอบของการรับและ การให้อย่างเหมาะสม สิ่งของ เครื่องใช้ต่างๆ ซึ่งมนุษย์ได้ดัดแปลงมาจากธรรมชาติล้วน แล้วแต่จะมีการนำไปใช้ให้เหมาะสม และมี ความสมดุลกบั ธรรมชาติ เมื่อมนษุ ยเ์ ราได้คิด นำใบตอง ใบไมต้ ่างๆมาใช้ห่อขนมและอาหารต่างๆเพ่ือใช้ ในชีวิตประจำวัน ตลอดจนการคิดประดิษฐ์ชิ้นงานให้มีรูปร่าง รูปทรงสวยงามและประณีตยิ่งขึ้น ศิลปะ งานใบตองเร่มิ มีมาต้งั แต่สมยั ใดไม่ปรากฏหลักฐานที่แน่ชดั มีใช้เฉพาะ เป็นส่วนประกอบของงานดอกไม้ และใชเ้ ปน็ ภาชนะ ใสข่ นม และใสอ่ าหารเท่าน้ัน ในสว่ นของวฒั นธรรม งานฝมี อื ตา่ งๆ ทบี่ ง่ บอกถึงความ เป็นเอกลักษณ์ไทย ต้องยอมรับว่าบรรพบุรุษของเราช่างคิดช่างประดิษฐ์ ผลงานอันสวยงามและ ทรงคณุ คา่ เอาไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้เห็นและเรียนรู้กัน ผลงานเหลา่ น้นั เพื่อชว่ ยกนั พัฒนาฝีมือให้คงอยู่ สืบไปการนำวัสดุในธรรมชาติมาใช้ เช่น งานการแกะสลักจากไม้ ผักและผลไม้ งานจักสานหรืองาน ประดิษฐ์ดอกไม้ ใบตองทม่ี อี ยู่อย่างเพียงพอ ความหมายของ“บายศรี” นั้นสันนิษฐานว่าได้รับอิทธิพลมา จากลัทธิพราหมณ์ ซึ่งเข้ามาทางเขมร ทั้งนี้เพราะ คำว่า “บาย” ภาษาเขมร แปลว่า ข้าวสุก ภาษาถ่ิน อีสาน แปลว่า จับต้อง สัมผัส ส่วนคำว่า “ศรี” มาจากภาษาสันสกฤต ตรงกับ ภาษาบาลีว่า “สิริ” แปลว่า มิง่ ขวญั ดงั นั้นคำวา่ “บายศรี” แปลไดว้ ่า ข้าวขวญั หรือ ส่งิ ทนี่ ่าสมั ผสั กับความดงี าม “บายศรี” ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลว่า ข้าวอันเป็นสิริ, ขวัญข้าว หรือ ภาชนะที่จัดตกแต่งให้ สวยงามเป็นพเิ ศษ ด้วยใบตอง และดอกไม้สด เพ่ือเปน็ สำรบั ใส่อาหารคาวหวานในพิธสี ังเวยบูชา และพธิ ี ทำขวัญต่าง ๆ สมัยโบราณ มกี ารเรยี กพิธี สขู่ วัญวา่ “บาศร”ี ทง้ั นสี้ บื เน่อื ง มาจากเปน็ พิธี สำหรับบุคคล ชั้นเจา้ นาย เพราะคำว่า “บา” เปน็ ภาษาโบราณ อีสานใช้เป็น คำนำหนา้ เรียกเจ้านาย เชน่ บาท้าว บา บา่ ว บาคราญ เปน็ ตน้ ส่วนคำวา่ “ศรี” หมายถึง ผู้หญิงและสิง่ ที่เปน็ สริ มิ งคล “บาศร”ี จงึ หมายถึง การ ทำพิธีที่เป็นสิริมงคล แต่ปัจจุบันนี้คำว่า บาศรี ไม่ค่อยนิยมเรียกกันแล้ว มักนิยมเรียกว่า “บายศรี” บายศรีจะเรียก เป็นองค์ มีหลายประเภท เชน่ บายศรเี ทพ บายศรพี รหม เป็นต้น ส่วนต่างๆ ที่ประกอบ กันเป็นบายศรีมีความหมายในทางดี เช่น กรวยข้าว หมายถึงความอุดมสมบูรณ์ใบชัยพฤกษ์หรือใบคูน อายุยืนยาวดอกดาวเรอื ง ความเจริญรุ่งเรอื ง ดอกรัก ความรกั ที่มัน่ คง

4 วจิ ัยในชั้นเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ 2. งานแกะสลกั ไม้ งานแกะสลักไม้ ถือว่าเป็นงานศิลปกรรมที่เก่าแก่ประเภทหนึ่ง สำหรับการแกะสลักไม้ใน ประเทศไทยนั้นแต่เดิมส่วนมากจะเป็นเรื่องเกี่ยวกับ ศาสนาทั้งสิ้นได้แก่งานแกะสลักไม้ประกอบโบสถ์ วิหาร ศาลาวัด หอพระไตรปิฎก ตู้พระไตรปิฎก พระเจดีย์ ฯลฯ ซึ่งมีการสรรค์สร้างอย่างสวยงามและ ประณีตบรรจง ปรากฏอยู่ทุกยุคทุกสมยั ในภูมิภาคต่างๆของประเทศไทยมชี ่างแกะสลักท่ีมีฝีมือได้สร้าง สรรค์ผลงานข้นึ มาเปน็ จำนวนมาก ชา่ งแกะสลักไม้ สามารถสบื ทอด ศิลปะ วัฒนธรรม ที่สบื ทอดมาจาก บรรพบรุ ุษ และภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ของแต่ละชุมชนลงบนแผน่ ไม้ อาทิ เช่น ศลิ ปะไมแ้ กะสลกั ของล้านนา เป็นงานศิลปะที่เก่าแก่ มีเอกลักษณ์และมีคุณค่า ควรแก่การภาคภูมิใจสำหรับชาวล้านนาเอง งาน แกะสลักไม้ จึงกลายเป็นส่วนหนึ่งของ วัฒนธรรมล้านนาทีส่ ะท้อนใหเ้ ห็นถึงความเช่ือ ค่านิยม ประเพณี การทำมาหากนิ ตลอดจนวิถีชวี ติ ของชาวล้านนา ทีผ่ กู พันอยูก่ ับธรรมชาติ ท่งุ นา ปา่ ไม้ ซ่ึงจะพบเห็นกัน ได้ทั่วไปในปัจจุบันในสถานที่สำคัญทางศาสนา บ้านเรือนที่อยู่อาศัยหรือเครื่องใช้สอยในชีวิตประจำวัน ตลอดจน การอนุรักษ์ สืบสาน ถ่ายทอด ช่างไทยสิบหมู่ เป็นวัฒนธรรมทางด้าน ศิลปะแขนงหนึ่งใน กระบวนชา่ งไทยไดจ้ ำแนกแยกแยะงานช่างไดม้ ากมาย 3. งานแกะสลกั ผักและผลไม้ ประวัติความเป็นมา งานศิลปะดั้งเดิมของไทยนั้นมีอยู่มากมายหลายอย่างหลายแขนง การ แกะสลกั ก็เป็นงานศลิ ปะอย่างหน่งึ ที่ถือเปน็ มรดกมคี า่ ทสี่ บื ทอดกนั มาชา้ นาน เปน็ งานฝมี ือทตี่ อ้ งใช้ความ ถนัด สมาธิ ความสามารถเฉพาะตัว และความละเอียดอ่อนมาก การแกะสลักผักและผลไม้ เป็นการ แสดงออกทางวัฒนธรรมท่ีเป็นเอกลักษณ์ประจำของชาติไทยเลยทีเดียว ซึ่งไม่มีชาติใดสามารถ เทียบเทียมได้ แต่สิ่งที่น่าเป็นห่วงที่สุดในปัจจุบันนี้คงจะเป็นเรื่องของการอนุรักษ์ ศิลปะแขนงนี้ที่มี แนวโน้มจะสูญหายไปและลดน้อยลงไปเรื่อย ๆ การแกะสลักผักและผลไม้เดิมเป็นวิชาที่เรียนขัน้ สงู ของ กุลสตรีในรั้วในวัง ที่ต้องมีการฝึกฝนและเรียนรู้จนเกิดความชำนาญ บรรพบุรุษของไทยเราได้มีการ แกะสลักกัน มานานแล้ว แต่จะเริ่มกันมาตั้งแต่สมยั ใดนั้น ไม่มีใครรู้แน่ชัด เนื่องจากไม่มีหลักฐานแนช่ ัด จนถึงในสมัยสุโขทัยเป็นราชธานี ในสมัยของสมเด็จพระร่วงเจ้า ได้มีนางสนมคนหนึ่งชื่อ นางนพมาศ หรือท้าวศรจี ุฬาลักษณ์ ไดแ้ ต่งหนังสือเล่มหนึง่ ช่อื ว่า ตำรบั ท้าวศรจี ุฬาลกั ษณ์ขนึ้ และในหนังสอื เล่มนี้ ได้ พูดถึงพิธีต่าง ๆ ไว้ และพิธีหนึ่ง เรียกว่า พระราชพิธีจองเปรียงในวันเพ็ญเดอื นสิบสอง เป็นพิธีโคมลอย นางนพมาศได้คิดตกแต่งโคมลอยที่งดงามประหลาดกว่าโคมของพระสนมคนอื่นทั้งปวง และได้เลือก ดอกไม้สีต่าง ๆ ประดับให้เป็นลวดลายแล้วจึงนำเอาผลไม้ มาแกะสลักเป็นนกและหงส์ให้เกาะเกสร ดอกไมอ้ ยู่ตามกลบี ดอก เปน็ ระเบยี บสวยงามไปด้วยสีสันสดสวย ชวนนา่ มองย่งิ นกั รวมทั้งเสียบธปู เทยี น จงึ ได้มีหลักฐานการแกะสลกั มาตั้งแต่สมัยนนั้ ในสมัยกรงุ รตั นโกสินทร์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลยั ทรงโปรดการประพันธ์ยิ่งนัก พระองค์ทรงพระราชนิพนธ์กาพย์แห่ชมเครื่องคาวหวาน และแห่ชมผลไม้ได้พรรณนา ชมฝีมือการ ทำอาหาร การปอกคว้านผลไม้ และประดิดประดอยขนมสวยงาม และอร่อยทั้งหลาย ว่าเป็นฝีมืองาม เลิศของสตรีชาววังสมัยนั้น และทรงพระราชนิพนธ์บทละครเรื่อง สังข์ทอง พระองค์ทรงบรรยายตอน

5 วจิ ัยในชนั้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ นางจันทร์เทวี แกะสลักชิ้นฟักเป็นเรื่องราวของนางกับพระสังข์ นอกจากนั้นยังมีปรากฏในวรรณกรรม ไทยแทบ ทุกเรื่อง เมื่อเอ่ยถึงตวั นางซึ่งเป็นตัวเอกของเรื่องว่า มีคุณสมบัติของกุลสตรี เพรียกพร้อมด้วย ฝีมือการปรุงแตง่ ประกอบอาหารประดดิ ประดอยใหส้ วยงามทั้งมี ฝมี อื ในการประดษิ ฐง์ านช่างทงั้ ปวง ทำ ให้ทราบว่า กุลสตรีสมัยนั้นได้รับการฝึกฝนให้พิถีพิถันกับการจัดตกแต่งผัก ผลไม้ และการปรุงแต่ง อาหารเป็นพิเศษ จากข้อความนี้น่าจะเป็นที่ยืนยันไดว้ ่า การแกะสลักผัก ผลไม้ เป็นศิลปะของไทยที่กุล สตรใี นสมัยกอ่ นมกี ารฝึกหดั เรียนร้ผู ูใ้ ดฝึกหดั จนเกิดความชำนาญ กจ็ ะไดร้ ับการยกย่อง งานแกะสลักใช้กับของอ่อน สลักออกมาเป็นลวดลายต่างๆอย่างงดงาม มีสลักผัก สลักผลไม้ สลักหยวกกล้วยถือเป็นงานช่างฝีมือของคนไทยที่มีมาแต่โบราณ งานสลักจึงอยู่ในงานช่าง 10 หมู่ เรียกว่า ชา่ งสลัก ในชา่ งสลักแบ่งออกย่อย คอื ช่างฉลุ ชา่ งกระดาษ ช่างหยวก ช่างเครอื่ งสด สว่ นชา่ งอีก 9 หมู่ท่เี หลือได้แก่ ช่างแกะ ท่ีมที ง้ั ชา่ งแกะตรา ชา่ งแกะลาย ช่างแกะพระหรอื ภาพช่างหนุ่ มชี ่างไม้ ช่าง ไม้สูง ช่างปากไม้ ช่างป้ัน มีช่างข้ผี ึ้ง ช่างปูน เป็นชา่ งขึน้ รปู ปูน มีช่างป้ัน ช่างปนู ก่อ ช่างปูนลอย ช่างปั้น ปนู ชา่ งรัก มชี า่ งลงรกั มปี ิดทอง ชา่ งประดบั กระจก ช่างมุก ช่างบุ บบุ าตรพระเพียงอย่างเดยี ว ช่างกลึง มีช่างไม้ ช่างหลอ่ มชี า่ งหุ่นดนิ ช่างขผ้ี ้งึ ชา่ งผสมโลหะ ชา่ งเขียน มีช่างเขยี น ช่างปดิ ทอง การสลักหรอื จำหลกั จดั เปน็ ศิลปกรรมแขนงหนง่ึ ในจำพวกประตมิ ากรรม เป็นการประดษิ ฐ์วัตถุ เน้อื ออ่ นอยา่ งผัก ผลไม้ ทีย่ งั ไมเ่ ป็นรปู ร่าง หรือมรี ูปรา่ งอยูแ่ ลว้ สรา้ งสรรค์ให้สวยงามและพิสดารขึน้ โดย ใช้เครื่องมือที่มีความแหลมคม โดยใช้วิธีตัด เกลา ปาด แกะ คว้าน ทำให้เกิดลวดลายตามต้องการ ซึ่ง งานสลักนี้เป็นการฝึกทักษะสัมพันธ์ของมือและสมอง เป็นการฝึกจิตให้นิ่ง แน่วแน่ต่องานข้างหน้า อัน เป็นการฝึกสมาธไิ ด้อย่างดีเลิศ การสลักผักผลไม้นอกจากจะเป็นการฝึกสมาธิแล้วยังเป็นการฝึกฝีมือให้เกิดความชำนาญเป็น พิเศษ และต้องมีความมานะ อดทน ใจเย็น และมีสมาธิเป็นที่ตั้ง รู้จักการตกแต่ง มีความคิดสร้างสรรค์ การทำงานจ้องให้จิตใจทำไปพร้อมกับงานที่กำลังสลักอยู่ จึงได้งานสลักที่สวยงามเพริศแพร้วอย่างเป็น ธรรมชาติ ดดั แปลงเป็นลวดลายประดิษฐต์ า่ งๆ ตามใจปรารถนา ปัจจุบันวิชาการช่างฝมี ือเหล่าน้ี ถูกบรรจุอยู่ในหลักสูตร ตั้งแต่ช้ันประถมศึกษา มัธยมศึกษามา จนถงึ อุดมศกึ ษาเปน็ ลำดับ ประกอบกับรัฐบาลและภาคเอกชนได้ให้การสนับสนนุ จึงมกี ารอนรุ ักษ์ศิลปะ ต่าง ๆ อย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะการแกะสลักผลงานประเภทเครื่องจิ้ม จนกระทั่งงานแกะสลักได้ กลายเป็นสิ่งที่ต้องประดิษฐ์ ตกแต่งบนโต๊ะอาหารในการจัดเลี้ยงแขกต่างประเทศ ตามโรงแรมใหญ่ ๆ ภัตตาคาร ตลอดจนร้านอาหาร ก็จะใช้งานศิลปะการแกะสลักเขา้ ไปผสมผสานเพื่อใหเ้ กิดความสวยงาม หรูหรา และประทับใจแก่แขกในงาน หรือสถานที่นั้น ๆ งานแกะสลักผลไม้ จึงมีส่วนช่วยตกแต่งอาหาร ไดม้ าก คงเป็นเชน่ นีต้ ลอดไป 4. งานปั้นจากดิน งานปั้นดินเผา งานปั้นดิน ซึ่งได้ทำขึน้ เปน็ งานปัน้ แบบไทยประเพณี ด้วยโบราณวิธี ตามความรู้ ของช่างป้นั แต่ก่อนนั้น อาจ จำแนกงานปน้ั และ วธิ กี ารปน้ั ดนิ ออกเปน็ แต่ละประเภท คอื งานปั้นดินดิบ งานปั้นประเภทนี้ใช้ดินเหนียว ที่นำมาจากแหล่งดินในธรรมชาติทั่วไป หากต้องการให้มีความแข็งแรง

6 วจิ ยั ในช้นั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ และคงทนอยู่ได้นานๆ จงึ นำเอาวัสดุบางอย่างผสมร่วมเข้ากับเนื้อดิน เพื่อเสรมิ ใหด้ นิ มีโครงสร้างแข็งแรง ขนึ้ เปน็ พิเศษ ไดแ้ ก่ กระดาษฟาง กระดาษข่อย และตัวไพ่จนี เป็นตน้ งานปั้นดินเผา เป็นงานปั้นประเภทใช้ดินเหนียว ซึ่งนำมาจากแหล่งดินในธรรมชาติทั่วไป เช่นเดียวกับดินที่ ใช้ในงานปั้นดินดิบ แต่เนื้อดินที่จะใช้ในงานปั้นดินเผา ต้องใช้ทรายแม่น้ำ ที่ผ่านการ รอ่ นเอาแตท่ รายละเอียดผสม ร่วมกับเน้อื ดินแลว้ นวดดินกับทรายใหเ้ ขา้ เป็นเนอ้ื เดียวกัน และทำให้เน้ือ ดินแน่น อนึ่ง การที่ใช้ทรายผสม ร่วมกับดินเหนียวเช่นนี้ ก็เพื่อช่วยมิให้เนื้อดินแตกร้าว เมื่อแห้งสนิท และ นำเข้าเผาไฟใหส้ ุก งานปั้นดนิ ดบิ และ งานป้นั ดนิ เผา ในลกั ษณะงานป้ันแบบไทยประเพณี ช่างปั้น อาศัยเครื่องมอื ร่วมดว้ ยกบั การป้นั ด้วยมอื ของช่างปนั้ เองดว้ ย เครอ่ื งมือ สำหรบั งานปนั้ ดินอยา่ งโบราณ การปนั้ หม้อดนิ เผา 5. งานดอกไมส้ ด งานดอกไม้สด พิธีต่าง ๆ การจัดดอกไม้ ถือเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งที่จำเป็นต้องอาศัยทักษะ ประสบการณ์ เพราะจะต้องใช้ดอกไม้ที่แตกต่างกันในหลากหลายสี การไล่โทน การนำเอาดอกไม้หรือ ใบไม้ ตลอดจนวัสดุต่าง ๆ มาจัดให้อยู่ในองค์ประกอบทางศิลปะ ซึ่งต้องมีความสัมพันธ์กัน และทำให้ เกิดมุมมองที่สวยงาม นับได้ว่าเป็นศิลปะและวิวฒั นาการที่สบื ทอดกันมาช้านาน การจัดดอกไม้โดยส่วน ใหญ่นยิ มจัดเลยี นแบบดอกไม้สดธรรมชาติ การจดั ดอกไม้โดยทว่ั ๆ ไปแบ่งออกเปน็ 3 แบบ ดังน้ี 5.1 การจดั ดอกไมเ้ ลยี นแบบธรรมชาติ (เพ่ือใช้เอง) เป็นการจัดดอกไม้แบบง่าย ๆ เพื่อ ประดับตกแตง่ บ้าน โดยอาศัยความเจริญเติบโตของต้นไม้ ดอกไม้ กง่ิ ไม้ นำมาจดั ลงภาชนะ โดยใช้กิ่งไม้ ขนาดต่าง ๆ 3 ก่ิง การจัดดอกไม้แบบน้ี นยิ มนำหลกั การจดั ดอกไม้จากประเทศญป่ี ุน่ มาประยุกต์ 5.2 การจัดดอกไมแ้ บบสากล นิยมจัด 7 รูปแบบ คอื รูปทรงแนวดงิ่ ทรงกลม ทรง สามเหล่ยี มมมุ ฉากทรงสามเหลี่ยมดา้ นเทา่ ทรงพระจันทรค์ วำ่ ทรงพระจันทรเ์ สยี้ ว ทรงตวั เอส 5.3 การจดั ดอกไม้แบบสมัยใหม่ เปน็ การจดั ดอกไมท้ มี่ ีรปู แบบอสิ ระ เนน้ ความหมาย ของรปู แบบบางครั้งไม่จำเปน็ ต้องใช้ดอกไม้แต่อาจใชว้ ัสดุหรือภาชนะเป็นจุดเดน่ เปน็ การสร้างความรู้สึก ให้ผู้พบเหน็ การจัดดอกไมแ้ บบนยี้ งั อาศยั หลกั เกณฑ์ สดั สว่ นและความสมดุลดว้ ย 6. งานจกั สาน ความเป็นมาของงานจักสาน การทำเครื่องจักสานในประเทศไทย มีการทำสืบต่อกันมาตั้งแต่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์นักโบราณคดีได้พบหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับการทำเครื่องจักสานในยุคหินใหม่ที่ บริเวณถำ้ แหง่ หนง่ึ ในเขตอำเภอศรีสวสั ด์ิ จ.กาญจนบรุ ี ซง่ึ ทำดว้ ยไมไ้ ผเ่ ป็นลายขัดสองเสน้ ประมาณว่ามี อายุราว 4,000 ปีมาแล้ว การทำเครื่องจักสานยุคแรก ๆ มนุษย์จะนำวัตถดุ ิบจากธรรมชาติเท่าที่จะหา ได้ใกล้ตัวมาทำให้เกิดประโยชน์ เช่น การนำใบไม้ กิ่งไม้ ต้นไม้ประเภทเถานำมาสานมาขัดเป็นรูปทรง งา่ ยๆ เพอ่ื ใชเ้ ป็นภาชนะหรือมาสานขัดกันเปน็ แผ่นเพ่ือใชส้ ำหรับปูรองน่งั รองนอน ก่อนท่ีจะพัฒนามา เป็นเครื่องจักสานที่มีความประณีตในยุคต่อๆ มา เครื่องจักสานเป็นงานศิลปะ หัตถกรรมที่มนุษย์คิด วิธีการต่างๆ ขึ้นเพื่อใช้สร้างเคร่ืองมอื เคร่ืองใช้ในชีวิตประจำวันด้วยวธิ ีการสอดขดั และสานกนั ของวัสดุ

7 วจิ ัยในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ ที่เป็นเส้นเป็นริ้ว โดยสร้างรูปทรงของสิ่งที่ประดิษฐ์ขึ้นนั้นตามความประสงค์ในการใช้สอยตามสภาพ ภมู ศิ าสตร์ ประสานกับขนบธรรมเนยี มประเพณคี วามเช่อื ศาสนาและวัสดุในทอ้ งถิ่นนั้นๆ การเรียกเครื่องจักสานว่า “จักสาน” นั้น เป็นคำที่เรยี กขึ้นตามวิธีการท่ีทำให้เกิดเครือ่ งจักสาน เพราะเคร่ืองจกั สานต่างๆ จะสำเร็จเป็นรปู รา่ งทส่ี มบรู ณ์ได้น้นั ตอ้ งผ่านกระบวนการ ดังน้ี 6.1 การจัก คอื การนำวสั ดุมาทำใหเ้ ปน็ เส้น เปน็ แฉก หรอื เปน็ ริว้ เพอื่ ความสะดวกใน การสาน ลักษณะของการจักโดยทั่วไปนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของวัสดุแต่ละชนิดซึ่งจะมีวิธีการเฉพาะท่ี แตกต่างกันไป หรือบางคร้ังการจักไม้ไผ่หรือหวายมักจะเรียกว่า “ตอก” ซงึ่ การจักถือได้ว่าเป็นขั้นตอน ของการเตรียมวสั ดุในการทำเครอื่ งจักสานขั้นแรก 6.2 การสาน เป็นกระบวนการทางความคดิ สร้างสรรคข์ องมนุษย์ท่ีนำวัสดุธรรมชาติ มาทำประโยชน์โดยใช้ความคิดและฝีมือมนุษย์เป็นหลัก การสานลวดลายจะสานลายใดนั้นขึ้นอยู่กับ ความเหมาะสมในการใช้สอย ซึ่งมีด้วยกัน 3 วิธี คือ – การสานด้วยวิธีสอดขัด – การสานด้วยวิธีการ สอดขัดดว้ ยเสน้ ทแยง – การสานด้วยวธิ ขี ดเปน็ วง 6.3 การถกั เปน็ กระบวนการประกอบทีช่ ่วยให้การทำครื่องจักสานสมบูรณ์ การถกั เครื่องจักสาน เช่น การถักขอบของภาชนะจักสานไม้ไผ่ การถักหูภาชนะ เป็นต้น การถักส่วนมากจะ เป็นการเสริมความแข็งแรงของโครงสร้างภายนอก เช่น ขอบ ขา ปาก ก้น ของเครื่องจักสาน และเป็น การเพม่ิ ความสวยงามไปด้วย เหตุทีท่ ำให้เกิดเครือ่ งจักสานทสี่ ำคัญ 3 ประการดังน้ี 1. เครื่องจกั สานที่ใช้ในการบรโิ ภค ได้แก่ ซา้ หวด กระตบิ๊ แอบข้าว หวดนึง่ ขา้ วเหนียว กอ่ งข้าว กระชอน กระด้ง ฯลฯ 2. เครื่องจักสานที่ใช้เป็นภาชนะ ได้แก่ กระบุง กระจาด ซ้ากระทาย กระบาย กะโล่ กระด้ง ชะลอม ฯลฯ 3. เครอื่ งจักสานที่ใชเ้ ปน็ เครือ่ งตวง ไดแ้ ก่ กระออม กระชุ กระบุง สดั ฯลฯ 4. เครอ่ื งจกั สานท่ีใชเ้ ป็นเครื่องเรอื นและเครอ่ื งปูลาด ไดแ้ ก่ เสื่อตา่ ง ๆ 5. เครอ่ื งจกั สานทีใ่ ช้ป้องกันแดดฝน ได้แก่ หมวก กบุ๊ งอบ ฯลฯ 6. เครอื่ งจักสานที่ใชใ้ นการดกั จับสตั ว์ ไดแ้ ก่ ลอบ ไซ อีจู้ ชะนาง จนั่ ฯลฯ 7. เครื่องจักสานทีใ่ ช้เกี่ยวกับความเชื่อ ประเพณีและศาสนา ได้แก่ ก่องข้าวขวัญ ซ้าสำหรับใส่ พาน สลาก ฯลฯ วสั ดทุ ่ใี ช้ทำเครอ่ื งจกั สาน 1. ไม้ไผ่ เปน็ ไมท้ ี่ใชท้ ำเคร่ืองจกั สานมากมายหลายชนดิ มีลักษณะเป็นไมป้ ลอ้ ง เป็นขอ้ มีหนาม และแขนงมาก เม่อื แกจ่ ะมีสีเหลือง โดยจะนำส่วนลำต้นมาใชจ้ กั เป็นตอกสำหรับสานเปน็ ภาชนะต่างๆ 2. กก เป็นพันธุ์ไม้ชนิดหนึ่งที่ชอบขึ้นในที่ชื้นและมีขึ้นทั่วไป เช่น ในนา ริมหนอง บึง และที่น้ำ ท่วมแฉะ ลำต้นกลมหรือสามเหลี่ยม มีทั้งชนิดลำต้นใหญ่ยาว และลำต้นเล็กและสั้น ส่วนมากนำมาทอ เส่อื มากกว่านำมาสานโดยตรง

8 วิจัยในชน้ั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ 3. แหย่ง มีลักษณะคล้ายไม้ไผ่แต่อ่อนนุ่มกว่า ไม่มีข้อ แข็งกว่าหวายใช้ได้ทนกว่ากก ชอบข้ึน ตามท่ีแฉะ มีผวิ เหลืองสวย ใชส้ านเส่อื ทำฝาบ้าน เปน็ ต้น 4. หวาย จะขึ้นในปา่ เป็นกอ ๆ ส่วนมากจะใช้ประกอบเคร่อื งจักสานอืน่ ๆ แตก่ ม็ ีการนำหวายมา ทำเครอ่ื งจักสานโดยตรงหลายอย่าง เช่น ตะกร้าหิว้ ถาดผลไม้ เปน็ ต้น 5. ใบตาลและใบลาน ลำต้นสูงคล้ายมะพร้าว ใบเป็นแผงใหญ่คล้ายพัด จะนำมาทำเครื่องจัก สานโดยจักในออกเปน็ เส้นคล้ายเสน้ ตอก แต่ต้องใชใ้ บออ่ น สว่ นใหญจ่ ะใชส้ านหมวกและงอบ 6. ก้านมะพร้าว ใช้ก้านกลางใบของมะพร้าว เหลาใบออกให้เหลือแต่ก้าน แล้วนำมาสาน เช่นเดียวกับตอก สว่ นมากสานเป็นตะกร้า กระจาดผลไมเ้ ล็กๆ 7. ย่านลิเภา มีลักษณะเป็นเถาวัลย์ชนิดหนึ่ง มีขนาดเท่าหลอดกาแฟ ขึ้นตามภูเขา เทือกเขา และป่าละเมาะ ในการใช้ต้องนำลำต้นมาลอกเอาแต่เปลือกแล้วจักเป็นเส้น ๆ ย่านลิเภาส่วนใหญ่จะ นำมาสานเปน็ ลาย เชย่ี นหมาก พาน เปน็ ตน้ 8. กระจูด เป็นพันธุ์ไม้ตระกูลเดียวกับกก ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ลักษณะลำต้นเป็นต้นกลมๆ ขนาดนิว้ ก้อย ก่อนนำมาสานจะตอ้ งนำลำต้นมาผ่งึ แดดแลว้ ทุบใหแ้ บนคล้ายเสน้ ตอกก่อน แล้วจึงสาน 9. เตยทะเล เปน็ ต้นไมจ้ ำพวกหนึ่งใบยาวคลา้ ยใบสับปะรดหรือใบลำเจียก ขึน้ ตามชายทะเล ใบ มีหนาม ก่อนนำมาสานต้องจกั เอาหนามรมิ ใบออกแลว้ ย่างไฟ แชน่ ้ำ แลว้ จึงจักเปน็ เส้นตอก 10. ลำเจยี ก หรอื ปาหนัน เป็นตน้ ไมจ้ ำพวกเดยี วกบั เตย 11. คล้า เป็นต้นไมช้ นิดหนง่ึ คลา้ ยต้นข่า หรือกก มีผิวเหนียว ใช้สานภาชนะเช่นเดียวกับหวาย และไมไ้ ผ่

9 วิจัยในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ บทที่ 3 วธิ ดี ำเนนิ การวิจยั 1. ประชากร นกั เรียนในรายวิชาการงานอาชพี ง 30104 ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 5 จำนวน 65 คน โรงเรยี นกฬี านครนนท์วทิ ยา ๖ 2. กล่มุ ตวั อย่าง นกั เรยี นในรายวชิ าการงานอาชีพ ง 30104 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/1 จำนวน 36 คน โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ 3. เครอ่ื งมือทีใ่ ชใ้ นการรวบรวมข้อมลู 3.1 แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำงานกลุ่ม 3.2 แบบประเมนิ ผลงาน 4. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 4.1 ครูประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงาน รายบคุ คล และการสังเกตคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ 4.2 ตรวจช้นิ งานที่นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ประดิษฐข์ ึ้น จากการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ให้แก่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 36 คน จำนวน 6 ช่ัวโมง สรุปไดด้ งั นี้ 1. ขั้นนำ (ใช้โครงการเป็นหลัก) ครูใช้คำถามเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน เป็นคำถามเพื่อนำเข้าสู่ บทเรียน ใช้ทดสอบความรู้เดิมจากเนื้อหาในการเรียนในชั่วโมงที่ 1-2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 งาน ประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย โดยใช้คำถามให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น ตั้งสมมุติฐาน เพื่อกระตุ้น ประสบการณ์ให้นกั เรียนเกิดการเรยี นรู้ เชน่ - การประดิษฐธ์ ปู เทียนแพสามารถนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวันหรอื งานพธิ ีใดบา้ ง - วสั ดชุ นิดใดบ้างที่ใชแ้ ทนใบตอง ใบไม้ และดอกไมส้ ดไดบ้ ้าง - เมื่อประดิษฐ์พานธูปเทียนแพเสร็จนักเรียนสามารถนำทักษะการแก้ปัญหาที่เกิดข้ึน ในการทำงานไปใชแ้ ก้ปัญหาเรอื่ งอื่น ๆ ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร ในขัน้ ตอนที่ 1 น้ี นกั เรียนไดร้ ว่ มกันตอบคำถาม แสดงความคิดเห็น และรว่ มกันระดมความคิด จากประสบการณท์ ีน่ ักเรียนไดเ้ คยพบเห็น สัมผัส หรือเคยลงมอื ประดิษฐช์ ้นิ งานที่เป็นงานเอกลักษณ์ไทย ตามสถานที่และโอกาสต่าง ๆ บอกถึงลักษณะของงานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทยได้ และนักเรียนท้ัง 36 คนตอบคำถามครูได้

10 วิจยั ในชน้ั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ 2. ขั้นสอน (จัดกลุ่มร่วมมือและมือปฏิบัติงาน) ขั้นตอนของการปฏิบัติงานจริงและลงมือ ปฏิบัติงานตามแผนงาน ประเมินความสำเร็จของงาน เพื่อปรับปรุงและแก้ปัญหาที่พบขณะปฏิบัติงาน และแนวทางแกไ้ ขปญั หา จากนัน้ ปรับปรุงผลงานให้สมบูรณ์ แล้วสรุปเปน็ ความคิดรวบยอด 1) ครูให้นักเรียนจดั กลุ่ม (กลุ่มเดิมจากการเรยี นในช่วั โมงท่ี 1-2) 2) ครูเตรยี มวัสดุ อุปกรณ์ สอื่ การสอน ตวั อยา่ งผลงานมาใหน้ ักเรยี นดู 3) ครูสาธิตการทำงานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย (ในวันนี้จะเป็นการร้อยอุบะ การ ประกอบกลบี เขา้ กบั ตัวพาน และการสานตาข่ายดอกรักท่ชี ุดธปู เทยี น) 4) นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันลงมือประดิษฐ์ชิ้นงาน หากนักเรียนเกิดข้อสงสัยในการ ปฏิบัติงานหรือต้องการความช่วยเหลือ ครูจะคอยให้คำแนะนำ และคอยสังเกตการณ์ปฏิบัติงานของ นักเรียนอยา่ งใกล้ชดิ 5) นักเรียนทำความสะอาดบริเวรที่ปฏิบัติงานได้สะอาด เรียบร้อย และเป็นระเบียบ เหมือนกอ่ นเริม่ การปฏบิ ัติงาน 3. ขั้นสรุป (สิ่งที่ได้เรียนรู้) ครูให้นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสิง่ ที่ได้เรยี นรูจ้ ากการประดิษฐ์ ชิ้นงานที่เป็นงานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย (พานธูปเทียนแพ) และนำเสนอผลงานของกลุ่มหน้าชั้นเรียน ประเด็นที่ครกู ำหนดให้ คือ 1) วสั ดุ อุปกรณท์ ่ีใช้ในการประดิษฐช์ ้ินงาน 2) ข้นั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน 3) ปญั หาท่ีพบขณะปฏิบัตงิ านและแนวทางการแกป้ ัญหา 4) นักเรียนร่วมกนั สรุปความรู้ และครูช่วยเสนอแนะเพิม่ เติม 4. ขั้นประเมิน ครูตรวจสอบชิ้นงาน/ภาระงานและประเมินผลระหว่างการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ จากการสังเกตพฤติกรรการทำงานกลุ่มการนำเสนอผลงาน และการสังเกตคุณลักษณะอันพึง ประสงค์

11 วิจัยในชั้นเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 1. ตารางแสดงข้อมลู แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ข้อมูลแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกล่มุ ชื่อนักเรียน นามสกลุ เลขที่ ขอ้ ที่ ข้อท่ี ขอ้ ท่ี ขอ้ ที่ ข้อท่ี คะแนน สรปุ ผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑป์ ระเมนิ นายภาสวฒุ ิ แสงทอง นายภานพุ งศ์ คำภูมี 121212 8 พอใช้ นายเทพพิรุณ แซนพิมาย นายภาสวุฒิ ศรแี กว้ นำ้ ใส 221212 8 พอใช้ นายกฤษกร นลิ คง นายพงษ์พสิ ทุ ธ์ิ พรรณเกษร 3 2 2 3 2 2 11 ดี นางสาวยุวดี ทุมชะ นางสาวอินกมล นิ่มอนงค์ 4 2 3 3 2 2 12 ดี นางสาวธนาภรณ์ อยเู่ ยน็ นางสาวจุฬาลักษณ์ นาเจรญิ 5 2 3 2 3 2 12 ดี นายนาวิน ศิริวิชา นายธนพล ละออ 6 2 2 2 3 3 12 ดี นางสาววรษิ า แกว้ คำพนั ธ์ นางสาวอรจิรา จนั สพุ รหม 7 2 2 2 3 3 12 ดี นางสาวอรกานต์ สงิ หข์ ันธ์ุ นางสาวสชุ านันท์ แนน่ อุดร 8 2 3 3 2 2 12 ดี นายเกยี รติศกั ดิ์ ฟกู ทรพั ย์ นายธวัชชัย จะโรจร 9 3 2 3 2 2 12 ดี นายธนาทรพั ย์ จนั่ เล็ก นายนรรฐกร กลน่ั วารี 10 2 2 2 3 3 12 ดี นายนัฐพงศ์ บุตรเพ็ง นายเนตภิ มู ิ รตั นพิบูลย์ 11 3 2 3 3 2 13 ดี นายถริ นัย ขวญั พงนุ้ นายอเุ ทน ทานึกรมั ย์ 12 2 3 3 3 2 13 ดี นายฤทธกิ ร ภาคยุทธ นางสาวธนพร โกมาสังข์ 13 2 3 2 3 2 12 ดี นายภูธปิ ฉมิ จวิ๋ นายก้องนภา หอมหวน 14 2 2 3 3 3 13 ดี นายอัครพล หนูตะกั่วนอก นายพรหมชนก คำเทียน 15 2 2 2 3 3 12 ดี นางสาวพรนภสั ทพิ ชยั 16 2 2 2 3 3 12 ดี 17 2 3 3 2 2 12 ดี 18 3 3 3 3 2 14 ดี 19 3 3 3 3 2 14 ดี 20 2 2 1 2 2 9 พอใช้ 21 3 3 3 3 2 14 ดี 22 3 3 3 3 2 14 ดี 23 2 3 3 3 3 14 ดี 24 2 2 3 3 3 13 ดี 25 2 2 1 2 1 8 พอใช้ 26 2 2 2 3 3 12 ดี 27 1 2 2 2 2 9 พอใช้ 28 2 3 3 2 2 12 ดี 29 2 2 2 1 2 9 พอใช้ 30 3 2 3 3 3 14 ดี 31 2 3 3 3 3 14 ดี

12 วจิ ัยในชน้ั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ 1. ตารางแสดงข้อมลู แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ (ต่อ) ขอ้ มูลแบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลมุ่ ชอื่ นกั เรียน นามสกลุ เลขที่ ข้อที่ ข้อท่ี ข้อที่ ข้อท่ี ขอ้ ที่ คะแนน สรุปผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑ์ นางสาวประวณี า อรญั เวศ ประเมิน นางสาวนนั ทิกานต์ ไชยณรงค์ นางสาวกิง่ กมล บตุ รดษิ ฐ์ 32 2 3 3 2 2 12 ดี นางสาวนภาพร วัตรช่วย นายศตนันท์ แซ่อ้ือ 33 2 3 3 2 2 12 ดี 34 2 2 2 3 3 12 ดี 35 3 3 3 2 2 13 ดี 36 1 1 2 2 2 8 พอใช้ รายการประเมนิ ข้อท่ี 1 การแสดงความคดิ เห็น ขอ้ ที่ 2 การยอมรบั ฟงั ความคิดเห็นผอู้ ืน่ ขอ้ ท่ี 3 การทำงานตามหนา้ ท่ีท่ไี ด้รบั มอบหมาย ข้อที่ 4 ความมีนำ้ ใจ ข้อที่ 5 การมีส่วนร่วมในการปรบั ปรุงผลงานกลุ่ม หมายเหตุ เกณฑก์ ารให้คะแนน ปฏบิ ตั แิ สดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏบิ ตั ิแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน ปฏิบัติแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ต่ำกว่า ปรบั ปรงุ สรุปตามเกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 1.1 นักเรียนทไ่ี ด้ระดบั คณุ ภาพดี จำนวน 29 คน 1.2 นักเรยี นที่ไดร้ ะดับคณุ ภาพพอใช้ จำนวน 7 คน 1.3นกั เรียนทีไ่ ด้ระดับคณุ ภาพปรบั ปรุง จำนวน - คน

13 วิจัยในชน้ั เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ 2. ตารางแสดงข้อมูลจากแบบประเมนิ ผลงานนกั เรยี น ขอ้ มูลแบบประเมนิ ผลงานนักเรียน ชื่อนักเรียน นามสกุล เลขที่ ข้อท่ี ข้อท่ี ขอ้ ท่ี ข้อที่ ขอ้ ท่ี คะแนน สรุปผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑ์ ประเมิน นายภาสวุฒิ แสงทอง 121212 8 พอใช้ นายภานพุ งศ์ คำภูมี นายเทพพริ ุณ แซนพิมาย 221212 8 พอใช้ นายภาสวุฒิ ศรแี ก้วนำ้ ใส นายกฤษกร นลิ คง 3 2 2 3 2 2 11 ดี นายพงษพ์ สิ ทุ ธิ์ พรรณเกษร นางสาวยวุ ดี ทุมชะ 4 2 3 3 2 2 12 ดี นางสาวอินกมล น่มิ อนงค์ นางสาวธนาภรณ์ อยเู่ ยน็ 5 2 3 2 3 2 12 ดี นางสาวจฬุ าลักษณ์ นาเจรญิ นายนาวิน ศิรวิ ิชา 6 2 2 2 3 3 12 ดี นายธนพล ละออ นางสาววริษา แก้วคำพันธ์ 7 2 2 2 3 3 12 ดี นางสาวอรจิรา จันสพุ รหม นางสาวอรกานต์ สิงหข์ ันธุ์ 8 2 3 3 2 2 12 ดี นางสาวสชุ านนั ท์ แน่นอุดร นายเกยี รติศกั ด์ิ ฟกู ทรพั ย์ 9 3 2 3 2 2 12 ดี นายธวชั ชัย จะโรจร นายธนาทรพั ย์ จน่ั เลก็ 10 2 2 2 3 3 12 ดี นายนรรฐกร กลน่ั วารี นายนฐั พงศ์ บตุ รเพง็ 11 3 2 3 3 2 13 ดี นายเนติภมู ิ รัตนพิบลู ย์ นายถริ นัย ขวญั พง้นุ 12 2 3 3 3 2 13 ดี นายอุเทน ทานกึ รมั ย์ นายฤทธกิ ร ภาคยุทธ 13 2 3 2 3 2 12 ดี นางสาวธนพร โกมาสงั ข์ นายภูธิป ฉิมจว๋ิ 14 2 2 3 3 3 13 ดี นายก้องนภา หอมหวน นายอัครพล หนตู ะก่ัวนอก 15 2 2 2 3 3 12 ดี นายพรหมชนก คำเทียน 16 2 2 2 3 3 12 ดี นางสาวพรนภสั ทิพชัย 17 2 1 1 2 2 8 พอใช้ 18 3 3 3 3 2 14 ดี 19 3 3 3 3 2 14 ดี 20 2 2 1 2 2 9 พอใช้ 21 3 3 3 3 2 14 ดี 22 3 3 3 3 2 14 ดี 23 2 3 3 3 3 14 ดี 24 2 2 3 3 3 13 ดี 25 2 2 1 2 1 8 พอใช้ 26 2 2 2 3 3 12 ดี 27 1 2 2 2 2 9 พอใช้ 28 2 3 3 2 2 12 ดี 29 2 2 2 1 2 9 พอใช้ 30 3 2 3 3 3 14 ดี 31 2 3 3 3 3 14 ดี

14 วิจัยในช้ันเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วทิ ยา ๖ ขอ้ มูลแบบประเมนิ ผลงานนักเรยี น ช่อื นักเรยี น นามสกลุ เลขที่ ข้อที่ ข้อท่ี ขอ้ ที่ ขอ้ ที่ ขอ้ ที่ คะแนน สรุปผลตาม 1 2 3 4 5 เกณฑ์ นางสาวประวณี า อรัญเวศ ประเมิน นางสาวนันทกิ านต์ ไชยณรงค์ นางสาวก่งิ กมล บุตรดษิ ฐ์ 32 2 3 3 2 2 12 ดี นางสาวนภาพร วัตรช่วย นายศตนนั ท์ แซ่อ้ือ 33 2 3 3 2 2 12 ดี 34 2 2 2 3 3 12 ดี 35 3 3 3 2 2 13 ดี 36 1 1 2 2 2 8 พอใช้ รายการประเมนิ ขอ้ ท่ี 1 ความถูกต้องของช้นิ งาน ขอ้ ที่ 2 ความเปน็ ระเบยี บ การเกบ็ งาน ข้อที่ 3 ความสวยงาม ขอ้ ท่ี 4 ความสะอาด ขอ้ ท่ี 5 การนำไปใช้ หมายเหตุ เกณฑ์การใหค้ ะแนน ปฏิบตั แิ สดงพฤติกรรมอยา่ งสมำ่ เสมอ ให้ 3 คะแนน ปฏิบตั แิ สดงพฤตกิ รรมบ่อยคร้ัง ให้ 2 คะแนน ปฏบิ ตั แิ สดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การตดั สินคุณภาพ ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 12-15 ดี 8-11 พอใช้ ตำ่ กวา่ ปรบั ปรงุ สรุปตามเกณฑ์การตดั สินคณุ ภาพจากแบบประเมินผลงานนักเรียน 1.1 นกั เรียนท่ีไดร้ ะดับคณุ ภาพดี จำนวน 28 คน 1.2 นักเรียนทไ่ี ดร้ ะดับคุณภาพพอใช้ จำนวน 8 คน 1.3 นักเรียนที่ไดร้ ะดบั คุณภาพปรับปรุง จำนวน - คน

15 วิจยั ในชั้นเรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิจัย การลงมอื ปฏิบตั งิ าน ที่นกั เรียนได้ฝกึ ทกั ษะในการทำงาน นักเรยี นทราบขัน้ ตอนการทำงาน การ แก้ปัญหาขณะทำงาน การคิดที่สร้างสรรค์ การใช้วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและ ปลอดภัย และสามารถสร้างผลงานได้ผ่านเกณฑ์การประเมินผลงาน นักเรียนมุ่งมั่นตั้งใจในการทำงาน โดยใช้การสื่อสารกับเพ่ือนในกลุ่ม ร่วมมือกันแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นขณะปฏิบตั ิงาน และให้ความร่วมมือกัน ระหว่างเพื่อนในกลุ่มจนงานประสบความสำเร็จ นักเรียนเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตนเองเมื่อ ผลงานสำเรจ็ 1. ผลการประเมิน นักเรยี นสามารถสรา้ งช้ินงานได้ ดงั นี้ 1.1 สรุปตามเกณฑก์ ารตดั สินคณุ ภาพการสงั เกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม 1.1.1 นกั เรียนท่ไี ด้ระดบั คุณภาพดี จำนวน 29 คน 1.1.2 นักเรยี นท่ีได้ระดบั คุณภาพพอใช้ จำนวน 7 คน 1.1.3 นกั เรียนทไี่ ด้ระดบั คุณภาพปรบั ปรงุ จำนวน - คน 1.2 สรุปตามเกณฑก์ ารตดั สินคุณภาพจากแบบประเมินผลงานนกั เรียน 1.2.1 นกั เรยี นท่ไี ด้ระดบั คุณภาพดี จำนวน 28 คน 1.2.2 นกั เรียนท่ีไดร้ ะดบั คุณภาพพอใช้ จำนวน 8 คน 1.2.3 นักเรียนทไ่ี ดร้ ะดับคุณภาพปรบั ปรงุ จำนวน - คน 2. ขอ้ สงั เกต ปญั หาและอุปสรรคทพ่ี บ และการแก้ไข ปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ นักเรียนบางคนที่ไม่เคยประดิษฐ์พานธูปเทียนแพ การร้อยมาลยั และการทำงานใบตองมาก่อน นักเรียนเกิดความรู้สึกท้อเนื่องจากคิดว่าเป็นงานที่ยากเกินไป จึงเกิด ความรู้สึกไม่สนใจในเนื้อหาน้ี และให้เพื่อนในกลุ่มทำงานให้ ครูได้ให้คำแนะนำและฝึกการทำให้อย่าง ใกล้ชิด นักเรียนก็สามารถทำงานได้ ถึงแม่บางชิ้นงานจะยังไม่ผ่านเกณฑ์ ครูก็ได้ให้นักเรียนฝึกฝนและ ทำซ้ำๆ อยูห่ ลายรอบจนผลงานของนักเรยี นผ่านเกณฑท์ ่ีครกู ำหนดไว้ได้ 3. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ 3.1 ครูเตรียมสื่อการสอนที่เป็นสื่อของจริงมาให้นักเรียนชม เพื่อให้นักเรียนได้เกิด ความคิด สร้างสรรค์ เมอื่ ไดเ้ ห็นของจริง 3.2 ครูเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการประดิษฐ์ชิน้ งาน มาให้เพียงพอตอ่ จำนวนนักเรยี น ให้ได้ฝึกลงมือปฏิบัติงานทุกคน และคอยสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนอย่างใกล้ชิด ให้ความช่วยเหลือ และแนะนำนกั เรียนท่ีทำไม่ได้

16 วิจยั ในชั้นเรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนท์วิทยา ๖ บรรณานุกรม by saowapha, (2563). ความหมายงานเอกลักษณ์ไทย. UNIQUECRAFTSTHAILAND. แหล่งท่ีมา : https://uniquecraftsthailand.wordpress.com/2013/06/25/ความหมายของงานประดษิ ฐ์/. คน้ เม่อื 18 พฤศจิกายน 2563 ไพบูลย์ อมรประภา, (2563). ความหมายของการแกะสลัก. Blog ครไู พบูลย์ อมรประภา. แหลง่ ที่มา : https://phaiboon01.wordpress.com/2011/02/18/ความหมายของงานแกะสลัก/. คน้ เม่ือ 18 พฤศจิกายน 2563 ไม่ปรากฏชอื่ ผเู้ ขยี นบทความ, (2563). การประดษิ ฐ์ดอกไม้สดไทย. Bloger. แหล่งท่มี า : http://maprakobph.blogspot.com/2016/02/blog-post.html. ค้นเม่ือ 18 พฤศจกิ ายน 2563 BY ADMIN, (2563). การจักสาน. My Moon Shop. แหลง่ ที่มา : https://www.mymoon.shop/2015/10/13/a-simple-blog-post/. ค้นเมอ่ื 19 พฤศจกิ ายน 2563 นุชนก จ่นุ มา, (2563). งานประดิษฐด์ อกไม้ใบตอง. Milknuch. แหลง่ ที่มา : https://sites.google.com/site/milknuchanok/ngan-bitxng. คน้ เม่ือ 19 พฤศจกิ ายน 2563

17 วจิ ยั ในช้ันเรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกฬี านครนนทว์ ทิ ยา ๖ ภาคผนวก

18 วจิ ยั ในชัน้ เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกฬี านครนนท์วิทยา ๖ 2.1 แบบสงั เกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

19 วจิ ยั ในชน้ั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนท์วิทยา ๖ 2.2 แบบประเมนิ ผลงาน

20 วจิ ยั ในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖ รูปภาพประกอบการวจิ ัยในชนั้ เรยี น ครูสังเกตพฤติกรรมหารทำงานของนักเรยี นอย่างใกล้ชิดและคอยให้ คำแนะนำและฝึกทกั ษะทนี่ กั เรียนทำไม่ได้ การลงมือปฏิบัตงิ านของนักเรียนแต่ละกลุ่ม

21 วจิ ัยในชัน้ เรยี น ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖ รปู ภาพประกอบการวจิ ยั ในชน้ั เรียน ตวั อย่างผลงานนักเรียน งานประดิษฐ์เอกลักษณ์ไทย การประดิษฐ์ธปู เทยี นแพจากผา้ โพลีออย

22 วิจัยในช้นั เรียน ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- โรงเรยี นกีฬานครนนทว์ ิทยา ๖ ประวตั ยิ อ่ ผู้ทำวจิ ัย ช่อื นางสาวกญั ญาณี แสนตรี ตำแหนง่ ครู วิทยฐานะ – โรงเรยี นกฬี านครนนทว์ ิทยา ๖ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชพี และ กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี สังกัด สำนักการศกึ ษา เทศบาลนครนนทบุรี กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถิน่ กระทรวงมหาดไทย ภูมลิ ำเนา 46 หมู่ 2 ตำบลโคกก่อ อำเภอเมืองมหาสาคาม จังหวดั มหาสารคาม โทรศพั ทเ์ คลือ่ นที่ 0949234774