Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ม.6 หน่วย 1 หัวข้อย่อยที่ 4 จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

ม.6 หน่วย 1 หัวข้อย่อยที่ 4 จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Description: ม.6 หน่วย 1 หัวข้อย่อยที่ 4 จริยธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

จริยธรรม จรรยาบรรณ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี THANK YOU หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖

จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม หมายถึง หลักศีลธรรมจรรยาท่ีกาหนดข้นึ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิ หรือควบคมุ การใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ และสารสนเทศ ในทางปฏบิ ตั แิ ล้วการระบวุ ่าการกระทาสิ่งใดผิดจรยิ ธรรมน้ัน อาจกล่าวได้ไม่ชดั เจนมากนัก ทัง้ น้ี ย่อมขึน้ อยู่กับวัฒนธรรมของสังคมในแตล่ ะประเทศดว้ ย จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติทผ่ี ู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอย่างกาหนดขึ้น เพ่ือรักษาและ ส่งเสริมเกียรตคิ ุณชื่อเสยี งและฐานะของสมาชกิ อาจเขยี นเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร การซอื้ ของออนไลนโ์ ดยการใส่ขอ้ มูลบัตรเครดติ บนเว็บไซต์อาจทาให้ถกู โจรกรรมข้อมลู บนระบบเครือข่ายได้

อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ (Computer Crime) อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ คือ ผกู้ ระทาผิดกฎหมายโดยใช้ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอรเ์ ป็นเครอ่ื งมือสาคญั ในการกอ่ อาชญากรรมและ กระทาความผิดนน้ั

อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ แคร็กเกอร์ Cracker คือบุคคลที่บุกรุกหรือรบกวนระบบคอมพวิ เตอร์ที่อยหู่ ่างไกล ดว้ ยเจตนาร้าย cracker เม่ือบุกรุกเขา้ สู่ระบบ จะทาลายขอ้ มูลที่สาคญั ทาใหผ้ ใู้ ชไ้ ม่สามารถใช้ งานคอมพิวเตอร์ หรืออยา่ งนอ้ ยทาใหเ้ กิดปัญหาในระบบคอมพวิ เตอร์ของเป้าหมาย โดยกระทาของ chacker มีเจตนามุ่งร้ายเป็นสาคญั แฮกเกอร์ Hacker หมายถึงผทู้ ่ีมีความสนใจอยา่ งแรงกลา้ ในการทางานอนั ลึกลบั ซบั ซอ้ นของการทางานของระบบปฏิบตั ิการคอมพวิ เตอร์ใดๆ กต็ าม ส่วนมากแลว้ hacker จะ เป็นโปรแกรมเมอร์ สามารถเขา้ ไปถึงขอ้ มูลในคอมพวิ เตอร์โดยเจาะผา่ นระบบ รักษาความปลอดภยั ของคอมพิวเตอร์ได้

อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ รูปแบบของอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ ปัจจุบนั ทวั โลก ไดจ้ าแนกประเภทอาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ได้ 9 ประเภท (ตาม ขอ้ มูลคณะอนุกรรมการเฉพาะกิจร่างกฎหมายอาชญากรรมทาคอมพวิ เตอร์) 1. การขโมยขอ้ มูลทางอินเตอร์เน็ต ซ่ึงรวมถึงการขโมยประโยชนใ์ นการลกั ลอบใชบ้ ริการ 2. อาชญากรรมนาเอาระบบการสื่อสารมาปกปิ ดความรับผดิ ของตนเอง 3. การละเมิดลิขสิทธ์ิปลอมแปลง เลียนแบบระบบซอพตแ์ วร์ โดยมิชอบ 4. ใชค้ อมพิวเตอร์ฟอกเงิน 5. ไปก่อกวน ระบายสาธารณูปโภค เช่น ระบบจ่ายน้า จ่ายไฟ ระบบการจราจร 6. ใชค้ อมพวิ เตอร์แพร่ภาพ เสียง ลามกอนาจาร และขอ้ มูลท่ีไม่เหมาะสม 7. หลอกลวงใหร้ ่วมคา้ ขายหรือลงทุนปลอม 8. แทรกแซงขอ้ มูลแลว้ นาขอ้ มูลน้นั มาเป็นประโยชน์ต่อตนโดยมิชอบ 9. ใชค้ อมพวิ เตอร์แอบโอนเงินในบญั ชีผอู้ ่ืน เขา้ บญั ชีตวั เอง

อาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ แบ่งเป็น 4 ลกั ษณะ คือ 1. การเจาะระบบรักษาความปลอดภยั ทางกายภาพ ไดแ้ ก่ ตวั อาคาร อุปกรณ์และ สื่อต่าง ๆ 2. การเจาะเขา้ ไปในระบบส่ือสาร และการรักษาความปลอดภยั ของซอฟตแ์ วร์ขอ้ มูล 3. การเจาะเขา้ สู่ระบบรักษาความปลอดภยั ของระบบปฏิบตั ิการ (OperatingSystem) 4. การเจาะผา่ นระบบรักษาความปลอดภยั ส่วนบุคคล โดยใชอ้ ินเตอร์เน็ตเป็น ช่องทางในการกระทาความผดิ

โดยทั่วไปเมือ่ พิจารณาถงึ จรยิ ธรรมท่ีเก่ยี วกับการใชเ้ ทคโนโลยคี อมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศแลว้ จะกล่าวถึงใน ท่รี ู้จักกนั ในลกั ษณะตัวย่อวา่ PAPA ประกอบด้วย ความเปน็ สว่ นตวั ความถกู ต้อง (Information Privacy) (Information Accuracy) หมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลาพัง และเป็นสิทธิท่ี หมายถึง ความน่าเช่ือถือได้ของข้อมูล ซ่ึงจะข้ึนอยู่กับความ เจ้าของสามารถท่ีจะควบคุมข้อมูลของตนเองในการ ถูกต้องในการบันทึกข้อมูล ในการจัดทาข้อมูลและสารสนเทศ เปิดเผยใหก้ ับผู้อน่ื สิทธินี้สามารถใช้ได้ครอบคลุมท้ัง ให้มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือนั้น ข้อมูลควรได้รับการ ปจั เจกบุคคลและกลุ่มบคุ คล ตรวจสอบความถูกต้องกอ่ นทจ่ี ะนาเขา้ ฐานขอ้ มลู ความเปน็ เจ้าของ การเข้าถงึ ขอ้ มูล (Information Property) (Data Accessibility) หมายถึง กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพย์สินซึ่งอาจ หมายถงึ ระบบคอมพิวเตอร์มกั จะมีการกาหนดสิทธิตาม เป็นทรัพย์สินทั่วไปท่ีจับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ ระดบั ของผใู้ ชง้ าน เพ่ือเป็นการป้องกนั การเขา้ ไปดาเนนิ การ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรพั ยส์ นิ ทางปญั ญา ต่างๆ กับขอ้ มูลของผใู้ ชท้ ีไ่ ม่มีสว่ นเกี่ยวข้อง และเปน็ การ รักษาความลับของข้อมลู

กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ หรือเรียกกนั วา่ กฎหมายไอที ซ่ึงมีการตรากฎหมายข้ึนใชบ้ งั คบั เม่ือวนั ท่ี 15 ธนั วาคม พ.ศ.2541 คณะรัฐมนตรีไดเ้ ห็นชอบต่อการจดั ทาโครงการพฒั นาคณะรัฐมนตรีไดเ้ ห็นชอบต่อการจดั ทาโครงการพฒั นากฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ท่ีเสนอโดยกระทรวงวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และส่ิงแวดลอ้ ม และเห็นชอบใหค้ ณะกรรมการเทคโนโลยสี ารสนเทศแห่งชาติ เรียกโดยยอ่ วา่ คณะกรรมการไอทีแห่งชาติ หรือ กทสช. (NITC) กฎหมายเกยี่ วกบั ลายมือ กฎหมายเกยี่ วกบั การกระทาผดิ ช่ืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ กฎหมายเกยี่ วกบั ธุรกรรม กฎหมายเทคโนโลยี กฎหมายเกย่ี วกบั การโอนเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ สารสนเทศ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์ กฎหมายเกยี่ วกบั การคุ้มครอง กฎหมายเกย่ี วกบั การพฒั นาโครงสร้าง ข้ อมูลส่ วนบุคคล พืน้ ฐานสารสนเทศให้ทว่ั ถงึ และเท่าเทียมกนั

สรปุ ไดว้ ่า • การนาเสนอข้อมูลเป็นการนาเอาข้อเท็จจริงของข้อมูลที่เก็บรวบรวมไว้มาจัดให้เป็นระเบียบ และสามารถอ่าน รายละเอียด หรอื เปรียบเทยี บข้อเท็จจรงิ ของข้อมลู เหลา่ นั้นไดอ้ ย่างถูกต้อง • การนาเสนอหรือแบง่ ปนั ข้อมลู ท่ีเป็นเทจ็ อาจจะส่งผลเสียต่อตนเองและผู้อ่ืน ทาให้เกิดการหลงเช่ือข้อมูลที่ผิด โดยขาด การไตร่ตรอง หรือโดนหลอกทาให้เสือ่ มเสียชือ่ เสียงและทรพั ยส์ ินต่างๆ ได้

จริยธรรม จรรยาบรรณ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) และกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี 6 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 1 กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี THANK YOU หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โทร. 0949234774 E-mail [email protected] คุณครูกญั ญาณี แสนตรี กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ โรงเรียนกีฬานครนนทว์ ทิ ยา ๖