Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทำความรู้จัก COVID-19 ไวรัสโคโรนา

ทำความรู้จัก COVID-19 ไวรัสโคโรนา

Description: หนังสือในรูปแบบ E-Book เรื่อง ทำความรู้จัก CVID-19 ไวรัสโคโรนา ขอขอบคุณข้อมูลจาก คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ กรณีสถานการณ์ระบาด COVID-19 เครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล

Keywords: COVID-19,ไวรัส

Search

Read the Text Version

COVID-19 Hand BOOK ทำ�ความรู้จักไวรัส CORONA APPROVED BY คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ กรณีสถานการณ์ระบาด COVID-19 เครือโรงพยาบาลพญาไทและเครือโรงพยาบาลเปาโล (COVID-19 Prevention and Control Committee)

COVID- ไวรั สโคโรนา

ไวรสั โคโรนา เกย่ี วข้องกบั อาการติดเชื้อ ในระบบทางเดินหายใจอยา่ งไร? อาการตดิ เชอื้ ทม่ี สี าเหตจุ ากไวรสั ในทน่ี ห้ี มายถงึ ไวรสั ทเ่ี พมิ่ จำ� นวน อย่างรวดเรว็ ภายในเซลล์เยือ่ บผุ ิวในระบบทางเดินหายใจ ท�ำให้เกิด การท�ำลายเซลล์ เกิดการอักเสบของระบบทางเดินหายใจและ ร่างกาย และเกิดอาการตา่ งๆ ตามมา ไวรสั ชนิดใดทีพ่ บได้มากใน โรคตดิ เชอ้ื ทางเดินหายใจ? เช้ือไวรัสในตระกูลออโตมิกซ์วิริเด หรือไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดต่างๆ (influenza viruses), ไวรัสตระกูลพารามิกโซ (ไวรัสพารามิกโซ), ไวรัสท่ีส่งผลต่อเซลล์มวลรวมระบบทางเดินหายใจ, ไวรัสโรคหัด, ไวรสั คางทมู , ไวรสั เฮนดรา้ , ไวรสั นปิ าห์ และไวรสั ฮวิ แมนเมตานวิ โม), ไวรัสสายพันธุ์โตกาวิริเด (ไวรัสโรคหัดเยอรมัน), ไวรัสพิคอร์น่า (ไวรัสไรโน), และไวรัสสายพันธุ์โคโรนา (ไวรัสซาร์สโคโรนา) เหล่าน้ี เป็นไวรัสในกลุ่มระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้ยังมีไวรัสอเดโน, ไวรสั เรโอ, ไวรสั คอกแซกกิ หรอื โรคมอื เทา้ ปาก, ไวรสั เอคโค ผน่ื คนั และอาการติดเช้ือตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย, ไวรัสงูสวัด และ อน่ื ๆ ทีส่ ามารถส่งผลให้ตดิ เชื้อเปน็ โรคในระบบทางเดินหายใจ Source: Wang Zhou. (2020). The coronavirus prevention handbook: 101 science-base tips that could save your life. New York: Skyhorse Publishing.

COVID -19 ไวรสั โคโรนา คืออะไร? ไวรสั โคโรนาคอื ไวรสั สายเดยี่ ว (single-stranded) ทม่ี สี ารพนั ธกุ รรมชนดิ RNA ไวรสั โคโรนาจดั อยใู่ น สายพันธุ์เดียวกันกับนิโดวิราเลส, ไวรัสโคโรนา วิริเด และเป็นสายพันธุ์รองมาจากไวรัสออโด โคโรนาวิริเด โดยจากการศึกษาพันธุกรรมของ ไวรสั สามารถแบง่ ประเภทไดด้ งั น้ี แอลฟา (α), บตี า (β), แกมมา (γ) และ เดลต้า (δ) ไวรัสโคโรนารวม อยใู่ นกลมุ่ ไวรสั โคโรนาวริ เิ ด ชอ่ื ของไวรสั นนั้ ถกู ตง้ั ตามลักษณะของไวรัสท่ีเม่ือดูจากกล้องอิเลค ตรอนไมโครสโคปจะเหน็ เปน็ รูปรา่ งคลา้ ยมงกุฎ รปู ร่างและลักษณะ ของไวรัสโคโรนาเป็นอยา่ งไร? ไวรัสโคโรนามีปลอกที่ห่อหุ้มสารพันธุกรรมชนิด RNA และไวรัสวิริออ (ไวรัส ทั้งตัว) มีลักษณะกลมหรือเป็นรูปวงรี ส่วนใหญ่มี ภาวะหลายรูปแบบ มีขนาด เส้นผ่าศูนย์กลางตั้งแต่ 50 ถึง 200 นาโนเมตร โดยไวรัสโคโรนามีเส้นผ่า ศูนย์กลาง 60 ถึง 140 นาโนเมตร มีปุ่มอยู่บนพื้นผิวภายนอกและก่อตัวใน ลักษณะเป็นท่อน โปรตีนหนามเป็นโปรตีนแอนติเจนหลักของไวรัสท่ีใช้ในการ เพม่ิ ปรมิ าณ มโี ปรตนี นวิ คลีโอแคปซิดหอ่ หุ้มสารพันธุกรรมทีเ่ กดิ จากไวรัสและ สามารถใชเ้ ป็นแอนติเจนวนิ ิจฉยั สาเหตโุ รค

ไวรสั โคโรนาแบง่ ออกเป็น ประเภทใดบ้าง? โรคไข้หวัดมรณะ (SARS-CoV) ไวรสั อัลฟา่ โคโรนา (229E และ NL63) โรคทางเดินหายใจ ตะวันออกกลาง (MERS-CoV) ไวรัสเบต้าโคโรนา (OC43, HKU1) ไวรสั โคโรนาสว่ นมากจะตดิ ตอ่ ในสตั ว์ ปจั จบุ นั วา่ สามารถตดิ ตอ่ จากคนสคู่ นได้ ไวรสั โคโรนา ไวรสั โคโรนา ทตี่ รวจพบในมนษุ ย์ 2 จนี สี ไดแ้ ก่ สายพันธุ์ใหม่ท่ีพบเจอนี้มีความใกล้เคียงทาง ไวรัสอัลฟ่าโคโรนา (229E และ NL63), ไวรัส พนั ธกุ รรมกบั ไวรสั ทพ่ี บในคา้ งคาว จากการ เบต้าโคโรนา (OC43, HKU1, โรคทางเดิน วเิ คราะหล์ ำ� ดบั พนั ธกุ รรมทค่ี ลา้ ยคลงึ กนั ของ หายใจตะวนั ออกกลาง (MERS-CoV), และโรค ไวรสั สายพนั ธใ์ุ หมน่ แ้ี สดงใหเ้ หน็ วา่ มนั มคี วาม ทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรงหรือโรคไข้ คล้ายคลึงกับไวรัสโรคซาร์สอย่างมาก ไวรัส หวดั มรณะ (SARS-CoV) เมอื่ ไมน่ านมานไี้ วรสั โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ถูกจัดอยู่ในประเภท โคโรนาสายพันธุ์ใหม่ถูกพบในคนไข้ท่ีเมือง เบตา้ -โคโรนาไวรัส อฮู่ ั่น ประเทศจีน คนไข้มภี าวะปอดอักเสบโดย ไม่ทราบสาเหตุ องค์การอนามัยโลกหรือ คนไข้มภี าวะปอดอักเสบ WHO (The World Health Organization) โดยไมท่ ราบสาเหตุ... เรียกโรคนี้ว่า โควิด-19 (COVID-19) ในขณะ องค์การอนามัยโลก หรอื ท่ีคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วย WHO เรยี กไวรัสชนดิ น้วี ่า อนุกรมวิธานวิทยาของไวรัส หรือ Interna- โควิด-19 (2019-nCoV) tional Committee on Taxonomy of Virus- es - ICTV ต้ังชื่อไวรัสน้ีว่า ซาร์ส-2 (SARS- CoV-2) ซ่ึงต่อมาไวรัสชนิดนี้ได้รับการยืนยัน Source: Wang Zhou. (2020). The coronavirus prevention handbook: 101 science-base tips that could save your life. New York: Skyhorse Publishing.

สตั ว์ป่าชนิดใด เป็นพาหะไวรัสโคโรนา? สตั วป์ า่ หลายชนดิ มเี ชอ้ื โรคและเปน็ พาหะทที่ ำ� ใหเ้ กดิ โรคตดิ ตอ่ ขน้ึ อยา่ งแนน่ อน คา้ งคาว ชะมด แบดเจอร์ ตัวตุ่น อูฐป่า และอื่นๆ เป็นพาหะของไวรัสโคโรนา การแพร่ระบาดใหญ่ของไวรัส โคโรนาสายพนั ธใ์ุ หมท่ เี่ มอื งอฮู่ นั่ นน้ั มคี วามคลา้ ยคลงึ กบั การแพรร่ ะบาดของโรคซารส์ ทม่ี ณฑล กวางตงุ้ เมอื่ ปี 2003 การระบาดทง้ั สองครงั้ เกดิ ขน้ึ ในฤดหู นาว เมอ่ื สบื ยอ้ นกลบั ไปพบวา่ คนไข้ ทต่ี ดิ เชอ้ื มกี ารสมั ผสั กบั สตั วท์ ยี่ งั มชี วี ติ ในตลาดคา้ สตั วป์ า่ โดยทงั้ สองกรณนี ม้ี สี าเหตมุ าจาก ไวรสั โคโรนาทไ่ี มเ่ คยพบมากอ่ น เนอื่ งดว้ ยความคลา้ ยคลงึ ของลำ� ดบั ทางพนั ธกุ รรมของไวรสั โคโรนาและโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ท่ีพบในค้างคาว ซึ่งมีมากกว่า 85% จึงเป็นที่คาดเดาว่า ค้างคาวคือพาหะจากธรรมชาติของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ จากการแพร่ระบาดของโรค ซาร์สในปี 2003 ยังไม่เป็นท่ีทราบแน่ชัดว่ามีตัวกลางน�ำพาหะโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ในขณะน้ัน ระหว่างค้างคาวและมนุษย์หรือไม่ ดังน้ัน บุคคลควรงดเว้นการบริโภคสัตว์ป่าที่ไม่ได้รับการ ตรวจสอบดแู ลอย่างถกู ต้อง หรอื อาหารดบิ เช่น เน้อื สัตว์ทจ่ี ำ� หน่ายโดยผคู้ า้ ขา้ งทาง ไวรสั โคโรนาติดต่อ จากสัตวส์ ู่คนอยา่ งไร? ไวรัสโคโรนาหลายชนิดท่ีติดต่อสู่มนุษย์พบได้ใน ค้างคาว ซ่ึงเป็นแหล่งสะสมไวรัสโคโรนาโดย ธรรมชาติ ค้างคาวถือว่าเป็นสัตว์พาหะต้น ก�ำเนิดของไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ซึ่งการ ติดต่อระหว่างค้างคาวสู่คนอาจเกิดขึ้นจาก สัตว์พาหะตัวกลางที่ท�ำให้เชื้อโรคกลายพันธุ์ การวเิ คราะหล์ ำ� ดบั สายพนั ธ์ุ พบความคลา้ ยคลงึ ถึง 85% ระหว่างไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่และ ไวรสั โคโรนาในคา้ งคาว อย่างไรก็ตาม เป็นไปได้ ว่ามีสัตว์อ่ืนๆ ซึ่งยังไม่ได้รับการยืนยันอาจเป็น พาหะตัวกลางน�ำไวรัสโคโรนาจากค้างคาวสู่คน การติดต่อจากสัตว์สู่คน หรือจากคนสู่คน มี 2 ทางหลักคือ การสัมผัสและละอองฝอย ไวรัส โคโรนาชนิดที่ระบาดในปัจจุบันท�ำให้เกิดภาวะ ปอดอักเสบน้ันประกอบด้วยไวรัส HKU1, SARS-CoV, MERS-CoV, และ 2019-nCoV

ความทนทานของไวรัสโคโรนา ในสภาพแวดล้อมตา่ งๆ โดยท่ัวไปเช้ือโรคจะสามารถอยู่ได้ 2-3 ชั่วโมง บนพ้ืนผิวราบเรียบ หากสภาพ อากาศหนาวและความชนื้ เออ้ื อำ� นวย เชอ้ื โรคจะสามารถอยไู่ ด้ 2-3 วนั ไวรสั โคโรนา สายพันธุ์ใหม่มีความไวต่อรังสียูวีและความร้อน ความร้อนท่ี 132.8 ฟาเรนไฮท์ (56 องศาเซลเซียส) ต่อเนื่อง 30 นาที, อากาศ, แอลกอฮอล์ 75% น้�ำยาฆ่า เชอื้ โรคทม่ี สี ว่ นผสมของคลอรนี , กรดเปอรอ์ ะซติ กิ , คลอโรฟอรม์ และสารละลาย อื่นที่มีส่วนผสมที่กล่าวมาสามารถฆ่าเชื้อโรคโคโรนาได้ สารคลอเฮ็คซิดีน (หรอื อีก ช่อื หนึง่ วา่ คลอเฮค็ ซดิ ีน กลูโคเนท) ก็สามารถใช้ฆ่าเช้ือโรคโคโรนาได้ CO V I D - 19โรคโควดิ -19 รนุ แรงแค่ไหน? ไวรัสโคโรนาทั่วไปติดเชื้อได้ มีบางกรณีท่ีพบว่าระยะเวลาฟักตัวนั้นมากถึง มากในผใู้ หญแ่ ละเด็กโต ทำ� ให้ 24 วนั ระดับความอนั ตรายของไวรัสดังกล่าว เป็นหวัดธรรมดา บางสาย น้ี มคี วามรนุ แรงของโรคทง้ั ในระดบั การตดิ เชอ้ื พันธุ์อาจท�ำให้มีอาการท้อง และเสียชีวิต ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่มีอตั รา ร่วงในผู้ใหญ่ ไวรัสเหล่าน้ี การตดิ เชอ้ื ในระดบั สงู มากและเปน็ อันตรายต่อ ตดิ ตอ่ ไดโ้ ดยผา่ นละอองฝอย ชีวิต แต่ความร้ายแรงของการท�ำให้เสียชีวิต และแพรเ่ ชอ้ื ผา่ นทางเชอื้ ทถ่ี กู ยังไมส่ ามารถสรปุ ได้ในขณะนี้ ขบั ถา่ ยออกมากบั อจุ จาระเขา้ สู่อีกคนหน่ึงโดยผ่านเข้าทาง ปาก การแพรร่ ะบาดของไวรสั โคโรนาอยใู่ นชว่ งฤดหู นาวและ ฤดูใบไม้ผลิ ระยะเวลาฟักตัว มกั จะอยทู่ ี่ 3-7 วนั หลงั จากที่ ไข้หวดั กลายพันธ์เุ ปน็ 2019- nCoV ระยะเวลาการฟกั ตวั อยู่ ท่ี 2-14 วัน อย่างไรก็ตาม Source: Wang Zhou. (2020). The coronavirus prevention handbook: 101 science-base tips that could save your life. New York: Skyhorse Publishing.

มนุษยส์ ามารถสรา้ งภูมคิ ุมกนั ตา้ นไวรสั โคโรนาได้หรอื ไม่? จากขอ้ มลู ทางวทิ ยาศาสตร์ การสรา้ งภมู ติ า้ นทาน ของผู้ป่วยหลังติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ ยังอย่ใู นระดับและระยะเวลาท่ไี มเ่ พียงพอ กลา่ วคือ มนษุ ยใ์ ช้เวลาอย่างนอ้ ย 2 สปั ดาห์ หลังจากทต่ี ดิ เชอื้ ในการสรา้ งภมู คิ มุ้ กนั (อมิ มโู นโกลบลุ นิ G และ IgG) เพื่อต่อต้านเชื้อโรคนี้ และภูมิคุ้มกันน้ัน สามารถด�ำรงอยู่ได้หลายสัปดาห์ถึงหลายปี ป้องกันการติดเชื้อไวรัสชนิดเดิมซ้�ำ หลังจาก รา่ งกายฟน้ื ฟกู ลบั สสู่ ภาพปกติ ในปจั จบุ นั กำ� ลงั มี การศึกษาทดลองเพ่ือทดสอบว่า ผู้ที่หายจาก อาการติดเชื้อไวรัสโควิด-19 น้ันมีภูมิต้านทาน ป้องกนั อย่ใู นเลอื ดหรอื ไม่ โรคไขห้ วดั มรณะ (SARS) คอื อะไร? โรคไข้หวัดมรณะ (Severe Acute Respiratory Syndrome-SARS) มีสาเหตุมาจากไวรัสซาร์ส-โคโรนา อาการบ่งช้ีการติดเช้ือโรคซาร์ส คือ มไี ข,้ ไอ, ปวดหวั , ปวดกลา้ มเนอ้ื และอาการตดิ เชอ้ื อน่ื ๆ ในทางเดนิ หายใจ ผู้ติดเชื้อซาร์สส่วนใหญ่สามารถหายจากอาการป่วยได้โดยการเข้ารับ หรือไม่รับการรักษาทางการแพทย์ อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยอยู่ท่ี 10% อายุโดยเฉลี่ย 40 ปี โดยท่ีผู้ป่วยท่ีมีโรคประจ�ำตัว เช่น โรคหัวใจ, เบาหวาน, หอบหืด และโรคปอด จะมีความเส่ยี งเสยี ชีวติ สูงที่สดุ อัตราการเสียชวี ติ 10% ของผู้ปว่ ยอยทู่ ่ี อายโุ ดยเฉล่ีย 40 ปี

โรคทางเดนิ หายใจตะวันออกกลาง MERS-CoV (MERS-CoV) คืออะไร? โรคทางเดนิ หายใจตะวนั ออกกลาง (Middle East Respiratory Syndrome-MERS) มีสาเหตุมาจากไวรัส MERS-CoV มี รายงานการพบผู้ติดเช้ือครั้งแรกที่ประเทศตะวันออกกลาง ได้แก่ ประเทศซาอุดิอาระเบีย, ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ และอื่นๆ ผู้ติดเช้ือจะมีอาการหายใจล�ำบากอย่างเฉียบพลัน (ARDS) อาการบ่งชี้ที่เห็นได้ชัดเจนคืออาการไข้ หนาวสั่น ไอ หายใจขาดหว้ ง ปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนอ้ื และอาการทเี่ กย่ี วกบั ระบบ ทางเดนิ อาหาร เชน่ ทว้ งรว่ ง คลนื่ ไส้ อาเจยี น และปวดทอ้ ง ใน กรณีผู้ป่วยหนักจะมีอาการระบบทางเดินหายใจล้มเหลว ผู้ ป่วยจ�ำเป็นต้องมีเครื่องช่วยหายใจและอุปกรณ์กู้ชีพที่ใช้ใน แผนก ICU โดยผูป้ ่วยบางรายจะมอี าการอวยั วะลม้ เหลว เชน่ อาการไตวาย ทำ� ให้เกิดอาการชอ็ ค และเสยี ชวี ิตในที่สดุ ผูต้ ิด เชอ้ื ถงึ ขนั้ เสยี ชวี ติ มจี ำ� นวน 30% นบั ตง้ั แตโ่ รคปรากฏในเดอื น กันยายน 2012 จนถึงเดือนพฤษภาคม 2015 พบผู้ติดเชื้อ โรคเมอรส์ 25 ประเทศทวั่ โลก ทำ� ใหท้ ัว่ โลกเฝ้าระวงั Source: Wang Zhou. (2020). The coronavirus prevention handbook: 101 science-base tips that could save your life. New York: Skyhorse Publishing.

ไวรัสโคโรนาสายพนั ธใุ์ หมค่ อื อะไร เหตใุ ดมนั จงึ กลายเปน็ โรคระบาด? ไวรัสโคโรนาที่เพ่ิงถูกพบ เป็นสายพันธุ์ใหม่ท่ีกลายพันธุ์แล้ว (สายพันธุ์ β) องค์การอนามัยโลก (WHO) เรียกไวรัสชนิดน้ีว่า 2019-nCoV และ ซาร์ส-2 (SARS-CoV-2) โดยคณะกรรมการระหว่างประเทศว่าด้วย อนุกรมวิธานวิทยาของไวรัส หรือ International Committee on Taxonomy of Viruses – ICTV. ในวันท่ี 10 มกราคม 2563 การล�ำดับสารพันธุกรรมตัวอย่างไวรัสโควิด-19 เสร็จสมบูรณ์ และ สารพันธุกรรมไวรัสอีก 5 ตัวอย่างได้ประกาศตามมาภายหลัง การกลายพันธุ์ของไวรัสท�ำให้ไวรัสโคโรนาชนิดนี้เป็นเชื้อโรคชนิดใหม่ ที่มนุษย์ยังไม่เคยเจอ ประชากรส่วนมากจึงไม่มีภูมิต้านทานไวรัสสาย พันธุ์ใหม่นี้ รวมถึงผู้ป่วยส่วนใหญ่ถึง 80% ไม่มีอาการหรือมีอาการ เพยี งเลก็ นอ้ ย จงึ สามารถเดนิ ทางและใชช้ วี ติ ตามปกติ ทำ� ใหเ้ กดิ การแพร่ กระจายเช้ืออย่างรวดเร็ว ปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จึงส่งผลให้ไวรัสโคโรนา สายพันธใ์ุ หมร่ ะบาดอยา่ งรวดเรว็