Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แบบฟอร์มเสนอขออนุมัติโครงการ 2563 แก้แล้ว

แบบฟอร์มเสนอขออนุมัติโครงการ 2563 แก้แล้ว

Published by notza5678, 2021-01-11 12:48:42

Description: แบบฟอร์มเสนอขออนุมัติโครงการ 2563 แก้แล้ว

Search

Read the Text Version

เรือ่ ง ชุดสื่อการเรียนรู 3 มิติแบบมีปฏสิ ัมพนั ธเ สมอื นจริงโดยใชเทคโนโลยคี วามเปนจรงิ เสรมิ อาจารยท ปี่ รึกษา อาจารยท ัยวัต ปราณตี เสนอ อาจารยณ รงคก ร สจี ันทร หัวหนา ภาคชา งอุตสาหกรรม ผจู ัดทําโครงการ 1. นายธนพฒั น ชลวานิช รหัส 6321419135176 หอง SA.1/1 2. นายธวชั ชยั แนวอินทร รหัส 6321411135501 หอ ง SA.1/1 3. นายนิตภิ มู ิ เฮงหลี รหสั 6321416135573 หอง. SA.1/1 4. นายอาํ พล ทองวสิ ิทธิ์ รหสั 6321413136410 หอ ง SA.1/1 แบบเสนอขออนมุ ัติโครงการนี้ เปน สว นหนง่ึ ของวชิ าโครงการ รหสั วิชา 3101-8501 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศึกษา 2563 วิทยาลัยเทคโนโลยภี าคตะวนั ออก (อี.เทค)

1. ชอื่ โครงการ ชดุ ส่อื การเรยี นรู 3 มติ ิแบบมปี ฏสิ มั พนั ธเ สมอื นจริงโดยใชเทคโนโลยคี วามเปนจริงเสริม ช่ืองานวิจยั 1 Development of a Supplementary Materail with 3D Augmented Reality 2. ชือ่ อาจารยท ีป่ รึกษา อาจารยทัยวตั ปราณตี ชอื่ อาจารยทีป่ รกึ ษารวม 1 อาจารยสิทธิพงษ รตั นาภรณ ชอ่ื อาจารยท ่ปี รึกษารว ม 2 อาจารยชุมพล ราชสีห 3. ชื่อผูจัดทาํ โครงการ ชลวานิช รหัส 6321419135176 หอ ง SA1/1 3.1 นายธนพฒั น์ แนวอนิ ทร์ รหัส 6321411135501 หอ ง SA1/1 3.2 นายธวชั ชยั เฮงหลี รหสั 6321416135573 หอง SA1/1 3.3 นายนิตภิ มู ิ ทองวสิ ทิ ธิ์ รหสั 6321413136410 หอง SA1/1 3.4 นายอาํ พล 4. ความเปน มาของโครงการ การส่ือสารขอ มูลทางอิเล็กทรอนกิ ส คอื การแลกเปลีย่ นขอ มลู ระหวา งตนทางและปลายทาง โดย ทใ่ี ชอปุ กรณ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส ซง่ึ เช่ือมตอ กันดวยสอ่ื กลางชนดิ ใดชนิดหนึง่ การส่ือสารเพอ่ื สง ขา วสาร ผา นทางสอ่ื ตา ง ๆ เชน โทรเลข โทรศัพท ไปรษณีย วทิ ยุ โทรทศั น วารสาร หนงั สอื พมิ พ ซงึ่ ในยุค คอมพวิ เตอรเ กิดการส่ือสารขอ มูล(Data Communication) และระบบเครือขา ยคอมพวิ เตอร (Computer Networks)การสอื่ สารขอมูล (Data communication) หมายถงึ การแลกเปลย่ี นของขอมลู ในลักษณะของ “0” และ “1” ระหวางอุปกรณส องอปุ กรณ ระบบเครอื ขายคอมพิวเตอร คอื ระบบการ เช่ือมโยง ระหวา งคอมพวิ เตอร ตงั้ แตส องตัวข้ึนไปเพือ่ ใหร ะบบสามารถทาํ การส่อื สาร แลกเปล่ียนขอ มูลทางอเิ ลก็ ทรอนิกสระหวา งกนั ไดน นั่ เอง จากการสํารวจแนวโนมของการใชงานสมารทโฟนในประเทศไทยในชวงป พ.ศ.2557-2561 พบวา ผใู ชง านสมารทโฟนในประเทศไทยมกี ารเจรญิ เติบโตขึ้นเร่อื ยๆ อยางตอเนอ่ื ง พบวา มีกลมุ อายุ ระหวา ง 15 – 24 ปท ใี่ ชงานอนิ เทอรเน็ตสูงสุด รอ ยละ 91.4 จะเปนชว งอายุระหวา ง 15- 24 ปแ ละใช

อนิ เทอรเ นต็ จากสมารท โฟนสงู ทส่ี ุดที่ (รอยละ89.9) (กองสถติ ิเศรษฐกจิ สาํ นกั งานสถิตแิ หง ชาต,ิ 2561) จากการสังเกตพฤติกรรมการใชง านสมารทโฟนของนกั เรยี นในวทิ ยาลยั เทคโนโลยีภาคตะวนั ออก (อี.เทค) พบวา นกั เรยี นมีพฤตกิ รรมเสพตดิ การใชง านสมารท โฟน เชน การแอบเลน เกมในเวลาเรยี น การแอบใช โซเชียลมเี ดยี ขณะที่ครทู าํ การสอน ฯ ทําใหเ กิดผลกระทบดานการเรยี น โดยมีผูท าํ การวิจยั เรอ่ื งพฤติกรรม การใชส มารโ ฟนในช้นั เรียนของนกั ศึกษามหาวทิ ลัยธุรกจิ บณั ฑิตยพ บวามนี ักศึกษาสว นใหญใ ชร ะยะเวลา นอยกวา คร่ึงของคาบในการแอบใชสมารท โฟนทไี่ มเกย่ี วของกบั การเรยี น (รอยละ 47.7) โดยใชง านในดา น ส่ือสงั คมออนไลน เชน เฟซบกุ ไลน และอนิ สาตาแกรม (รอ ยละ 59.1) ทงั้ นชี้ วงเวลาท่ีนกั ศึกษาสว นใหญ แอบใชส มารทโฟนในชั้นเรยี น คอื ชว งท่ีอาจารยเนนสอนแบบบรรยาย (รอ ยละ 39.6) (ธญั ธัช,2559) เชน เดยี วกบั งานวิจยั เร่อื งการแอบใชสมารทโฟน ระหวา งเรียนในชนั้ เรียนของนักศกึ ษาระดบั อดุ มศึกษา และนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาพบวามีนกั เรยี นสวนใหญท ี่แอบใชสมารท โฟนขณะเรยี น สง ผลใหไ มเขาใจใน เนื้อหาและทาํ ใหมีผลการเรยี นต่ําลง (เบญจวรรณ และคณะ,2557) Augmented Reality หรอื AR เปน เทคโนโลยีสมัยลา ป 2010 ซึง่ เปนเทคโนโลยที ่ผี สานเอาโลก แหงความเปนจรงิ (Real) เขา กับโลกเสมือน (Virtual) แสดงผลออกมาเปน ลักษณะ 3 มติ ิ ซึง่ มีมมุ มอง ถึง 360 องศากนั เลยทีเดียว Augmented Reality หรือ AR เปน เทคโนโลยใี หม ท่ีผสานเอาโลกแหง ความเปนจริง (Real) เขา กบั โลก เสมอื น (Virtual) โดยผานทางอุปกรณ Webcam,กลอ งมือถอื , Computer รวมกับการใช software ตา งๆ ทําใหสามารถมองเห็นภาพทม่ี ีลักษณะเปน object เชน คน, สตั ว, สงิ่ ของ, สัตวป ระหลาด, ยาน อวกาศ เปนตน แสดงผลในจอภาพกลายเปน วตั ถุ 3 มิตลิ อยอยูเหนือพ้ืนผิวจริง และกาํ ลงั พลิกโฉมหนาให สอ่ื โฆษณาบนอนิ เทอรเนต็ กา วไปสคู วามต่ืนเตนเราใจแบบใหมข องการท่ีมีภาพสินคา ลอยออกมานอก จอคอมพิวเตอร วา กันวา นจี่ ะเปนการเปล่ียนแปลงโฉมหนา ส่อื ยุคใหม พอๆ กบั เมอื่ คร้ังเกิดอนิ เทอรเ น็ต ขนึ้ ในโลกกว็ า ได หากเปรียบสอื่ ตา งๆ เสมอื น “กลอง” แลว AR คอื การเดงออกมาสูโ ลกใหมภายนอก กลองทสี่ รา งความต่ืนเตน เราใจ ในรปู แบบ Interactive Media โดยแทจ ริง เพยี งแคภ าพสัญลักษณท ีต่ กแตงเปนรูปรางอะไรก็ได แลวนําไปทาํ รหัส เม่ือตีพิมพบนวัตถตุ างๆ แลว ไมวา จะเปนบนผา แกวน้ํา กระดาษ หนาหนังสือหรอื แมแ ตบ นนามบัตร แลวสองไปยงั กลอ งเวบ็ แคม หรอื การ ยกสมารทโฟนสองไปขา งหนา ที่มี Reality Browser Layar เราอาจเหน็ ภาพโมเดลของอาคารขนาดใหญ หรอื เหน็ สญั ลกั ษณข องรานคา ตา งๆ รปู สนิ คา ตา งๆ รวมไปถึงรูปคนเสมือนจริงปรากฏตวั และกําลงั พดู ผา น หนาจอคอมพวิ เตอร น่ีคอื สิ่งท่ีตื่นตาตื่นใจ

5.วตั ถุประสงคข องโครงการ 5.1 เพอ่ื ออกแบบและสรา งชุดสื่อการเรียนรู 3 มิติ แบบปฏิสัมพนั ธเสมอื นจรงิ โดยใชเ ทคโนโลยี ความจริงเสรมิ 5.2 เพื่อศกึ ษาความพงึ พอใจของผใู ชชดุ ส่ือสารการเรียนรู 3 มติ ิ แบบปฏสิ มั พนั ธเ สมือนจริงโดย ใชเทคโนโลยีความจรงิ เสริม 6. ขอบเขตของโครงการ ในการจดั ทําชดุ สอ่ื การเรยี นรู 3 มติ แิ บบมีปฏิสัมพนั ธเ สมือนจริงโดยใชเ ทคโนโลยคี วามเปน จริง เสริม โดยกําหนดขอบเขตของโครงการซึง่ มีรายละเอียดดังนี้ 6.1 เครอ่ื งมอื ,ฮารด แวร, ซอฟแวร 6.1.1 โปรแกรม Auto cad ver.2016 ในการเขียนโปรแกรม 6.1.2 โปรแกรม 3D MAX ออกแบบเพ่ือใชในดานการสรา งภาพดวยองคประกอบ 3 มติ ิ ในแบบ ที่เรยี กวา Photo Realistic ซง่ึ จะไดม ีวตั ถุทีม่ คี วามคลายคลึงหรอื มคี วามสมจริง 6.1.4 โปรแกรม Zappar Application นาํ ขอมลู จาก โปรแกรม Auto cad มาแปลงเปน แบบ 3 มิติ และสามารถแสดงผลใหเ หน็ ผาน smart phone ได 6.1.3 smart book ซง่ึ เปนโปรแกรมทส่ี ามารถใชควบคกู ับการสอนได 6.2 เนือ้ หา 6.2.1 สามารถรูชือ่ ของชน้ิ สว นภาษาไทยและภาษาอังกฤษได 6.2.2 รหู นา ทแี่ ละการทาํ งานของช้นิ สวนแตล ะชนดิ 6.2.3 สามารถรับรตู าํ แหนง ท่ีติดตั้งของช้นิ สวนภายนอกเครอ่ื งยนตไ ด 7. ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั 7.1 สือ่ นวัตกรรมทางการศึกษาดวยสื่อเสริมการเรยี นรดู ว ยเทคโนโลยคี วามจรงิ เสมอื น เรอื่ ง ชิน้ สวนภายนอกเครอ่ื งยนต 7.2 การเผยแพรร ูปแบบการใชเ คร่ืองมอื สอื่ สารอเิ ล็กทรอนิกสผ สานเทคโนโลยคี วามจริงเสมือน เพอ่ื ใชท างการศกึ ษา

8. แผนการดาํ เนนิ งาน ในการดําเนินงานจดั ทําโครงการประจําปการศึกษา 2564 มแี ผนการดาํ เนินงานโดยแบงออกเปน 2 ภาคเรียน คอื ภาคเรียนท่ี 2/2563 และภาคเรยี นที่ 1/2564 ซึ่งมีรายละเอยี ดดงั นี้ ตารางแผนการดําเนินงานภาคเรียนที่ 2/2563 กิจกรรม ระยะเวลาดาํ เนนิ การ ลาํ ดับท่ี ข้นั ตอนการดําเนนิ ง ( สัปดาหท่ี ) าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 ตารางแผนการดําเนนิ งานภาคเรยี นที่ 1/2564 กจิ กรรม ระยะเวลาดําเนนิ การ ลาํ ดบั ที่ ขั้นตอนการดําเนนิ ง ( สัปดาหท ่ี ) าน 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 2 3 4 5 6 7 8 นาํ เสนอโครงการ

9. งบประมาณทีต่ อ งใช ตารางแสดงรายการงบประมาณ ลําดบั ท่ี รายการ จาํ นวน ราคา หมายเหตุ (บาท) 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. 11. 12. 13. รวมราคาทงั้ สนิ้ 10. รูปแบบโครงสรางและหลกั การทาํ งาน

ใบอนุมัตขิ อจดั ทาํ โครงการ เรอื่ ง ........................................................................................... ความคดิ เหน็ ของอาจารยทป่ี รกึ ษา ความคิดเหน็ ของอาจารยประจาํ วชิ า ....................................................................... .......................................................................... ....................................................................... .......................................................................... ....................................................................... .......................................................................... ลงชอ่ื .............................................................. ลงช่ือ ................................................................ (นายทยั วตั ปราณีต) (นายสทิ ธิพงษ รัตนาภรณ) อาจารยท ี่ปรกึ ษา อาจารยป ระจําวิชา ความคดิ เหน็ ของอาจารยป ระจําวิชา เสนอพจิ ารณาเพ่ืออนุมตั ิ ....................................................................... ความเหน็ ของหัวหนา แผนกชา งยนต ....................................................................... ............................................................................. ....................................................................... .............................................................................. ลงช่อื .............................................................. .............................................................................. ลงชือ่ .................................................................... (นายชมุ พล ราชสีห) อาจารยป ระจาํ วิชา (นายธนกร สายสน) หัวหนาแผนกชา งยนต ......../......./....... ......../......./....... ความเหน็ ของหวั หนา ภาคชางอุตสาหกรรม อนุมตั ิ ไมอนุมตั ิ ..................................................... (นายณรงคก ร สจี ันทร หัวหนา ภาคชางอุตสาหกรรม ........./........./........


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook