Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore math-68

math-68

Published by นายธนากร ทํามาตา, 2019-05-14 23:07:10

Description: math-68

Search

Read the Text Version

เกณฑ์การแขง่ ขนั งานศิลปหัตถกรรมนักเรยี น ครั้งที่ 68 ปกี ารศึกษา 2561 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ สรุปกจิ กรรมการแขง่ ขันกลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์ เขตพนื้ ที่ /ระดับชนั้ หมาย เหตุ ชื่อกิจกรรม สพป. สพม. ประเภท ห้องเรียน ป.๑-๓ ป.๔-๖ ม.๑-๓ ม.๑-๓ ม.๔-๖ ลานโลง่ / ๑. การแข่งขันอัจฉรยิ ภาพทางคณิตศาสตร์      เดี่ยว ห้องเรยี น ๒. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์   ลานโล่ง/ หอ้ งเรียน ประเภทสร้างทฤษฎีหรือคาอธิบาย ทีม ๓ คน หอ้ งเรียน ทางคณติ ศาสตร์ หอ้ งเรยี น ๓. การประกวดโครงงานคณิตศาสตร์  หอ้ งเรยี น ประเภทบรู ณาการความรูใ้ นคณติ ศาสตร์   ทมี ๓ คน ห้องเรียน ห้องเรยี น ไปประยุกตใ์ ช้ ๔. การแข่งขันสรา้ งสรรคผ์ ลงาน     ทมี ๒ คน คณติ ศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP ๕. การแข่งขนั คิดเลขเร็ว      เดีย่ ว ๖. การแขง่ ขนั ตอ่ สมการคณติ ศาสตร์     ทีม ๒ คน (เอแมท็ ) (ม.4-6เดีย่ ว) ๗. การแข่งขนั ซูโดกุ     เด่ยี ว ๘. การแขง่ ขันเวทคณิต    เดี่ยว รวม ๓๖ ๘๘7 2 ๑๙ 1๕ รวม ๘ กจิ กรรม 3๔ รายการ ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑

๑. การแข่งขนั อัจฉริยภาพทางคณิตศาสตร์ 1. คณุ สมบตั ิผู้เขา้ แข่งขัน การแขง่ ขันแบง่ เปน็ 4 ระดบั ดงั น้ี 1.1 ระดับประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 เทา่ นั้น 1.2 ระดบั ประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 เทา่ น้ัน 1.3 ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 - 3 เท่าน้นั 1.4 ระดบั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 เท่านนั้ 2. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั 2.1 ประเภทเด่ยี ว 2.2 จานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั ระดบั ละ 1 คน 3. วิธดี าเนนิ การและหลักเกณฑ์การแขง่ ขัน 3.1 สง่ รายช่อื นักเรียนผ้เู ข้าแขง่ ขัน พรอ้ มชอ่ื ครูผ้ฝู กึ สอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอรม์ ทก่ี าหนด 3.2 กิจกรรมการแข่งขนั ผแู้ ข่งขนั ต้องทาแบบทดสอบวัด - ความสามารถในการคดิ เลขเร็ว และการคิดคานวณ - ความสามารถของการแกโ้ จทยป์ ญั หา 3.3 แบบทดสอบในแตล่ ะระดบั ชัน้ ใชเ้ น้อื หาคณิตศาสตร์ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช2551หลักสูตรการแข่งขันทางวิชาการระดับนานาชาติ, และแนวการประเมินนักเรียนระดับ นานาชาติ (PISA) โดยใช้เวลาในการทดสอบ 120 นาที นักเรียนที่เข้าแข่งขันทุกระดับชั้นทาแบบทดสอบ ท้ังหมด 3 ตอนดงั น้ี ตอนที่ 1 แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ แบบ 4 ตัวเลอื ก จานวน 10 ข้อ ตอนท่ี 2 แบบทดสอบปรนยั ชนิดเตมิ คาตอบ วดั ทกั ษะคดิ เลขเร็วและทกั ษะการคดิ คานวณ จานวน 20 ขอ้ ตอนท่ี 3 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เตมิ คาตอบ วัดทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ญั หา จานวน 10 ขอ้ 4. เกณฑ์การใหค้ ะแนน (คะแนนเต็ม 100 คะแนน) ดังน้ี ตอนที่ 1 แบบทดสอบปรนยั ชนิดเลอื กตอบ แบบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 10 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน รวม 10 คะแนน ตอนที่ 2 แบบทดสอบปรนยั ชนดิ เติมคาตอบ จานวน 20 ขอ้ ข้อละ 2 คะแนน รวม 40 คะแนน ตอนที่ 3 แบบทดสอบปรนัยชนดิ เติมคาตอบ จานวน 10 ข้อ ข้อละ 5 คะแนน รวม 50 คะแนน 5. เกณฑก์ ารตดั สิน ถ้าคะแนนรวมเท่ากัน ให้พิจารณาตัดสินจากคะแนนแบบทดสอบตอนท่ี 3 ตอนท่ี 2 และตอน ท่ี 1 ตามลาดบั แล้วนาคะแนนรวมมาคดิ เทยี บเกณฑ์การตดั สิน ดังน้ี ร้อยละ 80 - 100 ได้รบั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง รอ้ ยละ 70 – 79 ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญเงิน รอ้ ยละ 60– 69 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรียญทองแดง ต่ากว่าร้อยละ 60 ไดร้ ับเกยี รตบิ ตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอยา่ งอื่น ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถือเป็นสิน้ สุด ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒

6. คณะกรรมการการแข่งขัน ระดบั ช้ันละ 3 – 5 คน คุณสมบตั ขิ องคณะกรรมการ - เปน็ ศกึ ษานิเทศกก์ ลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครผู สู้ อนทีท่ าการสอนกลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ - ผทู้ รงคณุ วุฒใิ นด้านคณิตศาสตร์ ขอ้ ควรคานึง - กรรมการต้องไม่ตัดสินในกรณสี ถานศกึ ษาของตนเขา้ แขง่ ขัน - กรรมการทมี่ าจากครผู ู้สอนควรแตง่ ตง้ั ให้ตัดสนิ ในระดับชั้นท่ีทาการสอน - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเตมิ เต็มให้กบั นกั เรยี นทช่ี นะในลาดับที่ 1 – 3 7. สถานทที่ าการแขง่ ขนั ควรใชห้ ้องเรียนทม่ี ีโตะ๊ เก้าอีท้ ส่ี ามารถดาเนินการแข่งขันไดพ้ รอ้ มกัน 8. การเขา้ แข่งขนั ระดับภาค และระดับชาติ ๘.1 ใหท้ ีมที่เปน็ ตัวแทนของของเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาเขา้ แขง่ ขันในระดบั ภาค ทกุ กิจกรรมต้องได้คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดบั ชาติ จะต้องไดค้ ะแนนระดบั เหรียญทอง ลาดับที่ ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาท่ีมที ีมชนะลาดับสูงสดุ ได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มี มากกวา่ ๓ ทีม ให้พจิ ารณาลาดับทีต่ ามลาดบั ขอ้ ของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มที ีมที่ได้คะแนนข้อที่ ๑ เท่ากันให้ดูข้อ ท่ี ๒ ทมี ทไ่ี ด้คะแนนข้อท่ี ๒ มากกว่าถือเป็นผชู้ นะ แต่ถา้ ข้อท่ี ๒ เท่ากัน ให้ดใู นข้อถดั ไป กรณีคะแนนเท่ากันทกุ ขอ้ ให้ ประธานกรรมการตัดสินเป็นผ้ชู ขี้ าด ขอ้ เสนอแนะในการต่อยอดในระดับชาติ ควรต่อยอดโดยการจัดคา่ ยพัฒนาทักษะคณิตศาสตร์ หมายเหตุ 1. นกั เรียนทเ่ี ป็นตัวแทนเขา้ รว่ มแข่งขันระดบั ชาติ ต้องเป็นบุคคลคนเดียวกบั ผู้ทไ่ี ดร้ ับการคัดเลือก จากระดบั ภาคและระดบั เขตพ้ืนที่ 2. ไม่อนญุ าตให้นาเครอื่ งคิดเลขหรืออปุ กรณช์ ่วยอื่นๆ เขา้ ไปในหอ้ งแขง่ ขัน 3. กรรมการคมุ สอบแจกกระดาษทดให้ในห้องสอบ และห้ามนาออกจากหอ้ งสอบ ๙. การเผยแพร่ผลงานที่ได้รบั รางวลั ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน เว็บไซต์ต่อไปซ่งึ ผลงานของผู้แขง่ ขนั ถือเป็นลิขสิทธขิ์ องสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เพ่อื ใช้ใน การเผยแพรแ่ ละประชาสมั พันธ์ ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓

2. การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎหี รือคาอธิบายทาง คณติ ศาสตร์ 1. คณุ สมบตั ผิ ้เู ข้าแข่งขัน การแขง่ ขนั แบง่ เปน็ 3 ระดบั ดังนี้ 1.1 ระดบั ประถมศึกษา - ผเู้ ข้าแขง่ ขันเปน็ นักเรียนชั้น ป.4–6 1.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น - ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั เปน็ นักเรียนชั้น ม.1–3 1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - ผ้เู ข้าแข่งขนั เปน็ นักเรียนชั้น ม.4–6 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขนั 2.1 แขง่ ขันประเภททมี ทมี ละ ๓ คน 2.2 เขา้ แข่งขัน ระดบั ละ 1 ทมี เทา่ นั้น 3. วธิ ดี าเนนิ การและรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขนั 3.1 ส่งรายช่อื นกั เรียนผู้เข้าแข่งขัน ทีมละ 3 คน พร้อมช่ือครูทีป่ รกึ ษาโครงงานคณิตศาสตรท์ ีมละ ไม่เกิน 2 คน ตามแบบฟอรม์ ที่กาหนด 3.2 รายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทสรา้ งทฤษฎีหรอื คาอธิบายทางคณิตศาสตร์ มีการพจิ ารณาระดับการแขง่ ขันและตัดสนิ โครงงาน แยกเขตพื้นท่ี /ระดับช้นั ดังนี้ ๓.๒.๑ ระดับเขตพ้ืนท่ี สพป. - ระดบั ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 - ระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – ๓ ๓.๒.๒ ระดับเขตพื้นท่ี สพม. - ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ 1 – ๓ - ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๔ – ๖ ๓.๓ สง่ รายงานโครงงานคณิตศาสตรเ์ ป็นรปู เลม่ ลว่ งหนา้ ก่อนการแขง่ ขัน 2 สปั ดาห์ (ตามทร่ี ะดับ เขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษา/ระดบั ภาค/ระดับชาติ กาหนด) 3.๔ นาแผงโครงงานคณิตศาสตร์มาแสดงตามเกณฑ์มาตรฐาน 60 ซม. 60 ซม. ก ข ก 60 ซม. ๑๒๐ ซม. กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔ ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61

ถา้ มีสว่ นย่ืนด้านบน อนุญาตให้ ติดแค่ชือ่ โรงเรียนเทา่ น้ัน ห้ามมเี นอ้ื หาทีเ่ กย่ี วกับการทาโครงงาน 3.๕ นาเสนอโครงงานคณติ ศาสตร์ต่อคณะกรรมการ ใชเ้ วลาไม่เกิน 10 นาที และตอบข้อซกั ถาม ใชเ้ วลาไม่เกิน ๑๐ นาที 3.๖ ส่อื ที่ใช้ในการนาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ ผูส้ ่งโครงงานเขา้ แข่งขันจดั เตรยี มมาเอง 3.๗ พ้นื ทจี่ ัดวางแผงโครงงานคณติ ศาสตร์ คณะกรรมการจัดใหเ้ ท่ากันไมเ่ กิน 1.50 ม. × 1.00 ม. และให้จัดภายในพน้ื ที่ทก่ี าหนดเท่านั้น 4. เกณฑก์ ารให้คะแนน 100 คะแนน 4.1 การกาหนดหวั ขอ้ โครงงาน 5 คะแนน 4.2 ความสาคญั และความเป็นมาของโครงงาน 10 คะแนน 4.3 วตั ถุประสงค/์ สมมติฐาน/ตัวแปร (ถา้ ม)ี ๕ คะแนน 4.4 เน้อื หาสาระและเอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ๒๐ คะแนน 4.5 วธิ ดี าเนนิ งาน/ แนวคดิ และผลท่ีได้รับ 1๕ คะแนน 4.6 การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 5 คะแนน 4.7 การนาเสนอปากเปล่า 10 คะแนน 4.8 การตอบขอ้ ซกั ถาม (เนน้ การซกั ถามในประเด็นเก่ียวกับคณิตศาสตร์) ๑๐ คะแนน 4.9 การเขียนรายงาน 10 คะแนน 4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ ๕ คะแนน 4.11 ความคดิ ริเร่มิ สร้างสรรค์ ๕ คะแนน 5. เกณฑ์การตดั สิน การพิจารณาตัดสินโครงงานมีเกณฑก์ ารพจิ ารณา ดงั น้ี ร้อยละ 80 - 100 ได้รบั รางวลั ระดบั เหรียญทอง ร้อยละ 70 – 79 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญเงิน รอ้ ยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลระดบั เหรียญทองแดง ตา่ กวา่ ร้อยละ 60 ได้รบั เกียรติบัตร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอย่างอนื่ ผลการตัดสินของคณะกรรมการถอื เป็นทส่ี ้ินสุด 6. คณะกรรมการการแขง่ ขัน ระดบั ละ 3 - 5 คน คุณสมบตั ิของคณะกรรมการ - เป็นผทู้ รงคุณวุฒใิ นด้านคณิตศาสตร์ - เปน็ ศกึ ษานเิ ทศก์ท่ีรับผิดชอบกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ - เป็นครทู ี่มีความคิดรวบยอดในเนือ้ หาคณติ ศาสตร์และมปี ระสบการณก์ ารทาโครงงาน คณิตศาสตร์ (ถ้าเป็นกรรมการระดับชาติต้องเคยเป็นกรรมการตัดสินโครงงานในระดับภาค หรือระดับชาติ มาก่อน) ขอ้ ควรคานึง - กรรมการตอ้ งไมต่ ัดสนิ ในกรณีสถานศกึ ษาของตนเขา้ แข่งขนั - กรรมการทมี่ าจากครผู ูส้ อนควรแต่งตั้งใหต้ ัดสนิ ในระดบั ชั้นทที่ าการสอน - กรรมการควรมีทมี่ าจากเขตพ้นื ที่การศึกษาอื่นอยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรให้ข้อเสนอแนะเตมิ เตม็ ใหก้ ับนกั เรยี นทชี่ นะในลาดับท่ี 1 – 3 ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๕

7. สถานที่ทาการแข่งขัน ควรใชห้ อ้ งเรียนหรือสถานท่ี ทมี่ โี ตะ๊ เก้าอี้ ทีส่ ามารถดาเนินการแขง่ ขนั ไดพ้ ร้อมกัน 8. การเข้าแข่งขนั ระดบั ภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ใหท้ มี ทีเ่ ปน็ ตัวแทนของของเขตพื้นทก่ี ารศึกษาเขา้ แข่งขนั ในระดบั ภาค ทกุ กจิ กรรมต้องได้คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดบั ชาติ จะตอ้ งได้คะแนนระดับเหรยี ญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษาทมี่ ีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเทา่ กัน และในระดับภาค มีมากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาการให้คะแนนในลาดับที่ ๔.๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๕ ๔๖ และ ๔.๙ เรียงตามลาดับคะแนน ของทีมใดสูงกว่า ถือว่าเปน็ ทีมท่ีชนะ เช่น มีทีมที่ไดค้ ะแนนในลาดับที่ ๔.๔ เท่ากันให้พิจารณาลาดับท่ี ๔.๗ ทีมที่ได้ คะแนนมากกวา่ ถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าลาดับท่ี ๔.๗ เท่ากัน ให้พิจารณาในลาดับถัดไปตามท่ีกาหนด ถา้ คะแนน เทา่ กนั ในทุกขอ้ ใหป้ ระธานกรรมการตดั สินเปน็ ผู้ชีข้ าด ๙. การเผยแพร่ผลงานทไ่ี ด้รับรางวลั ผลงานของนักเรียนที่ได้รบั คะแนนสงู สุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพรใ่ น เวบ็ ไซต์ต่อไป ซึง่ ผลงานของผ้แู ข่งขัน ถือเปน็ ลิขสิทธิข์ องสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน เพื่อใช้ ในการเผยแพร่และประชาสมั พันธ์ 10. รูปแบบการเขยี นรายงานโครงงานคณิตศาสตร์ (ปก) โครงงานคณติ ศาสตร์ เรอื่ ง........................................................................................................................ โดย 1.......................................................................................................................................... 2.......................................................................................................................................... 3.......................................................................................................................................... ครูท่ีปรกึ ษา 1......................................................................................................................................... 2......................................................................................................................................... โรงเรยี น........................................................... สานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา .................................. รายงานฉบบั น้เี ป็นส่วนประกอบของโครงงานคณติ ศาสตร์ ประเภทสร้างทฤษฎีและคาอธิบายทางคณิตศาสตร์ ระดับ………................ เนอ่ื งในงานศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี ๖๗ ประจาปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นครั้งที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๖

รายละเอยี ดในเล่มประกอบด้วย บทคัดยอ่ กติ ติกรรมประกาศ สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญรูปภาพ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารท่เี ก่ียวข้อง บทท่ี 3 วิธีการดาเนินการ บทท่ี 4 ผลการดาเนินการ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ไม่เกนิ 10 หนา้ หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขียนรายงานให้ใชก้ ระดาษพิมพ์ ขนาด A4 ตัวอักษรไมต่ ่ากว่า ๑๖ point พิมพ์หน้าเดียว เฉพาะบทท่ี 1 - 5 มีความยาวไม่เกิน ๓0 หน้า ภาคผนวกมีความยาวไม่เกนิ 10 หนา้ รายงาน ฉบบั ใดที่มีความยาวเกนิ กวา่ ท่กี าหนดจะถกู ตัดคะแนน 2. ทารายงานส่งใหค้ ณะกรรมการก่อนการแข่งขนั 2 สปั ดาห์ จานวนชุดตามทก่ี าหนดในการแขง่ ขนั ในแต่ละระดบั (สาหรบั ระดับชาตจิ ะแจง้ ใหท้ ราบภายหลงั จากการแขง่ ขันระดับภาคเสรจ็ สิน้ ไปแล้ว) 3. นักเรียนที่เป็นตัวแทนเข้ารว่ มแข่งขันระดบั ชาติ ต้องเปน็ บคุ คลคนเดยี วกบั ผู้ทไ่ี ด้รับการคดั เลอื ก จากระดบั ภาค และ ระดับเขตพื้นท่ีการศกึ ษา ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๗

(ตวั อยา่ ง) แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสร้างทฤษฎีและคาอธิบายทางคณติ ศาสตร์ ระดบั ประถมศึกษา มัธยมศกึ ษาตอนต้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย สงั กดั สพป. ............................................................ สพม. .................................................... ชอ่ื โครงงาน.................................................................................................................................................. โรงเรยี น.......................................................................... จังหวัด.............................................................. ขอ้ ท่ี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ 1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน (5) - สอดคลอ้ งกับเรื่องท่ีศกึ ษา 1 - สอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค/์ ปัญหาของโครงงาน 1 - สอดคลอ้ งกบั เน้อื หาและระดับช้นั ของผทู้ ี่ทาโครงงาน 1 - มคี วามกะทดั รัด สือ่ ความหมายชัดเจน 1 - นา่ สนใจ กระตุ้นความคิดต่อผู้อ่ืนอยา่ งหลากหลาย 1 (10) 2. ความสาคญั และความเปน็ มาของโครงงาน 1 - มาจากปญั หาและความสนใจของผเู้ รยี น 1 - เปน็ ปัญหาทีส่ ะท้อน/เก่ยี วขอ้ งกับตัวเอง ชมุ ชน 1 - บอกความเป็นมาหรือเหตผุ ลของการทาโครงงานได้ชดั เจน 1 - มีเหตผุ ลท่ีดีเพยี งพอทีน่ าไปสูก่ ารทาโครงงาน 2 - ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนไดใ้ ชค้ วามรู้ความคิดและทักษะความสามารถทาง คณติ ศาสตร์ 2 - มกี ารอ้างหลกั การ แนวคดิ หรือทฤษฎีท่ีเกยี่ วขอ้ งประกอบการทาโครงงาน 2 - มอี งค์ประกอบถูกต้อง ครบถว้ น สอดคล้อง สัมพนั ธก์ นั (5) 1 3. วัตถุประสงค/์ สมมติฐาน/ตวั แปร (ถา้ มี) 2 - เปน็ วัตถปุ ระสงคข์ องการทาโครงงาน 1 - ระบวุ ตั ถปุ ระสงค์ได้ถูกตอ้ ง ชดั เจน มีความเป็นไปไดจ้ รงิ ในการดาเนินงาน - วตั ถปุ ระสงค์สามารถวัดและประเมินผลไดจ้ ริงดว้ ยวธิ ีการ/เครอ่ื งมือท่เี ป็น 1 รปู ธรรมเชอื่ ถอื ได้ - สอดคล้องกบั ช่อื เรอื่ งและเนื้อหา (20) - สมมติฐาน (ถ้าม)ี มีความถูกตอ้ ง ชัดเจน สอดคลอ้ งกบั ปญั หา ตัวแปรและ 3 วตั ถุประสงค์ - สมมติฐานนาไปส่กู ารออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองไดช้ ดั เจน 3 4. เนอื้ หาสาระและเอกสารทีเ่ กีย่ วข้อง - เน้ือหาถกู ตอ้ ง ครบถ้วนสมบูรณ์ เหมาะสม สอดคลอ้ งและครอบคลุม ในเร่ืองทีท่ า - มีการเช่ือมโยงความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ี่เกย่ี วข้องได้ ครบถ้วน สมบูรณ์ ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๘

ขอ้ ท่ี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทไ่ี ด้ - มกี ารจดั ระบบการนาเสนอเน้ือหาไดก้ ระชบั ชัดเจน เขา้ ใจง่าย 3 - เนอ้ื หาสาระสามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นการพัฒนาตอ่ ยอด และกระตุ้นให้ 3 แนวทางนาไปสูก่ ารทาโครงงานอื่น - มกี ารอ้างอิงหลกั การ แนวคิด และทฤษฎีที่ถูกต้อง ชัดเจน และเช่ือถือได้ 3 - เนื้อหาสาระมาจากแหล่งข้อมูลทีห่ ลากหลาย 3 - เอกสารอา้ งอิงทีเ่ ก่ยี วขอ้ งทนั สมยั น่าเชือ่ ถอื 2 5. วิธีดาเนินงาน/แนวคิด และผลทไี่ ด้รบั (15) - มลี าดบั ขน้ั ตอนในการดาเนินงานชัดเจน 3 - มีเครอื่ งมอื และการพฒั นาเคร่อื งมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกต้องตามหลกั วิชาการ 3 - มีการเก็บรวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อมูลถูกตอ้ ง 3 - การนาเสนอข้อมูลถกู ต้อง กะทดั รดั ชดั เจน 2 - ผลการทาโครงงานบรรลุวัตถุประสงคท์ ่ีตัง้ ไว้ 2 - มีการอภปิ รายผลการศกึ ษาอย่างครอบคลมุ สมเหตุสมผล 2 6. การจดั แสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน (5) - ขนาดแผงโครงงานเป็นไปตามมาตรฐานท่กี าหนด 1 - การจัดวางเหมาะสม สร้างสรรค์ สวยงาม ประหยัด น่าสนใจ 1 - เนอ้ื หาสาระครบถ้วนสมบรู ณ์ 1 - การเรียงลาดบั ประเด็นหัวข้อ และเนอ้ื หาสาระถกู ต้องเปน็ ระบบ เขา้ ใจง่าย 1 - มรี อ่ งรอยของการดาเนินงาน 1 7. การนาเสนอปากเปลา่ (10 นาที) (10) - มีการแนะนาตนเอง ด้วยมารยาททดี่ ี มคี วามยิม้ แย้มแจ่มใส 1 - พูดจาถกู ตอ้ งตามหลักภาษาไทย กระชับ ชดั เจน เข้าใจงา่ ย เป็นธรรมชาติ 2 - มีความเช่อื ม่นั ในตนเอง กลา้ พดู กลา้ แสดงออก 1 - มกี ารนาเสนอถกู ต้อง ครบถ้วน ครอบคลุม ประเด็นสาคัญของโครงงาน 2 - มีการจดั ระบบข้ันตอนการนาเสนอไดก้ ระชบั ชดั เจน เป็นระบบเขา้ ใจงา่ ย 1 - การมสี ว่ นรว่ มของสมาชิกในการนาเสนอ 1 - มวี ธิ กี ารนาเสนอท่ีน่าสนใจ 1 - นาเสนอไดเ้ หมาะสมกับเวลาที่กาหนด 1 8. การตอบขอ้ ซักถาม (เนน้ การซกั ถามในประเดน็ เก่ยี วกับคณิตศาสตร์) (10) - ตอบคาถามไดถ้ ูกต้อง ตรงประเดน็ คล่องแคลว่ และชัดเจน 2 - ใช้ภาษาถกู ต้องเข้าใจง่าย 1 - มกี ารใชข้ ้อมูลจรงิ จากการศกึ ษา 1 - ใช้ภาษาคาศัพท์เทคนิคไดถ้ ูกต้อง 1 - การมสี ่วนร่วมของสมาชกิ ภายในกลุม่ 1 - มปี ฏิภาณไหวพริบและสามารถแก้ปญั หาเฉพาะหน้าได้ 2 ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้งั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๙

ขอ้ ท่ี รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทไี่ ด้ - มกี ารใชค้ วามรู้จากการศกึ ษาประกอบการอธบิ าย 2 9. การเขยี นรายงานโครงงานถูกต้องตามรูปแบบ (10) 3 - องค์ประกอบครบถว้ นตามประเภทของโครงงานและเรยี งลาดบั ถกู ต้อง 3 - นาเสนอสาระในแตล่ ะหัวข้อถูกต้อง ชดั เจน กระชับ รัดกมุ 2 - การใชภ้ าษาถูกตอ้ งชัดเจน 2 - จานวนหน้าทัง้ เน้อื หา ภาคผนวก และขนาดตัวอกั ษรเป็นไปตามเกณฑท์ ่ีกาหนด (5) 10. การนาไปใช้ประโยชน์ 2 - นาไปใชไ้ ด้จริง 2 - นาไปพัฒนาต่อยอดได้ 1 - มคี วามคุ้มคา่ ตอ่ การลงทนุ (5) 11. ความคิดรเิ รม่ิ สร้างสรรค์ 2 - มคี วามแปลกใหมข่ องปัญหาหรือความเปน็ มา 1 - มคี วามแปลกใหมใ่ นการนาเสนอ 1 - เปน็ เรอื่ งทันสมัย 1 - สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ ห้เกิดประโยชนต์ อ่ การศึกษา 100 คะแนนรวม ขอ้ คดิ เหน็ เพ่ิมเติม .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 ลงชอื่ ................................................ กรรมการ (........................................) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๑๐

3. การประกวดโครงงานคณติ ศาสตร์ท่บี ูรณาการความร้ใู นคณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ใช้ 1. คุณสมบัตผิ ู้เข้าแข่งขนั การแข่งขันแบ่งเปน็ 3 ระดบั ดังน้ี 1.1 ระดับประถมศึกษา - ผเู้ ขา้ แข่งขนั เป็นนักเรียนชั้น ป.4–6 1.2 ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น - ผูเ้ ข้าแขง่ ขนั เป็นนักเรียนช้ัน ม.1–3 1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - ผเู้ ข้าแขง่ ขนั เปน็ นักเรยี นชั้น ม.4–6 2. ประเภทและจานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั 2.1 แข่งขนั ประเภททีม ทมี ละ ๓ คน 2.2 เข้าแขง่ ขนั ระดับละ 1 ทมี เท่าน้ัน 3. วิธดี าเนินการและรายละเอยี ดหลักเกณฑ์การแข่งขัน 3.1 สง่ รายชอื่ นกั เรียนผ้เู ขา้ แขง่ ขนั ทมี ละ 3 คน พร้อมชือ่ ครูท่ีปรกึ ษาโครงงานคณติ ศาสตรท์ ีมละ ไม่เกิน 2 คน ตามแบบฟอรม์ ที่กาหนด 3.2 รายละเอยี ดหลักเกณฑก์ ารแขง่ ขันการประกวดโครงงานคณิตศาสตร์ท่บี ูรณาการความรู้ใน คณิตศาสตรไ์ ปประยกุ ต์ใช้มกี ารพจิ ารณาระดับการแข่งขนั และตัดสินโครงงาน แยกเขตพ้นื ที่ /ระดับชั้น ดังนี้ ๓.๒.๑ ระดับเขตพนื้ ที่ สพป. - โครงงานคณิตศาสตร์ทบ่ี รู ณาการความรู้ในคณติ ศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ระดับชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 – 6 ได้แก่ 1) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทสารวจเก็บรวบรวมข้อมูล 2) โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภททดลอง 3) โครงงานคณติ ศาสตรป์ ระเภทพฒั นาหรือประดษิ ฐ์ - โครงงานคณิตศาสตร์ท่ีบรู ณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยุกตใ์ ช้ระดับชัน้ มธั ยมศึกษา ปที ี่ 1 – ๓ ไดแ้ ก่ 1) โครงงานคณิตศาสตรป์ ระเภททดลอง 2) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทพัฒนาหรอื ประดษิ ฐ์ ๓.๒.๒ ระดับเขตพื้นท่ี สพม. - โครงงานคณิตศาสตรท์ ี่บรู ณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยกุ ตใ์ ช้ ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษา ปีท่ี 1 – ๖ ไดแ้ ก่ 1) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภททดลอง 2) โครงงานคณิตศาสตร์ประเภทพฒั นาหรอื ประดษิ ฐ์ ๓.๓ สง่ รายงานโครงงานคณิตศาสตรเ์ ป็นรปู เลม่ ล่วงหน้าก่อนการแข่งขนั 2 สปั ดาห์ (ตามทเี่ ขตพืน้ ที่ การศกึ ษา/ระดบั ภาค/ระดับชาติ กาหนด ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๑

3.๔ นาแผงโครงงานคณิตศาสตรม์ าแสดงตามเกณฑม์ าตรฐาน 60 ซม. 60 ซม. 60 ซม. ก กข ๑๒๐ ซม. ถ้ามีสว่ นย่ืนด้านบน อนุญาตให้ ติดแค่ชื่อโรงเรยี นเท่านั้น ห้ามมเี น้อื หาทเ่ี กี่ยวกับการทาโครงงาน 3.๕ นาเสนอโครงงานคณติ ศาสตรต์ ่อคณะกรรมการ ใช้เวลาไม่เกนิ 10 นาที และตอบข้อซกั ถาม ใชเ้ วลาไมเ่ กิน ๑๐ นาที 3.๖ สอื่ ท่ีใช้ในการนาเสนอโครงงานคณิตศาสตร์ ผสู้ ่งโครงงานเขา้ แขง่ ขันจัดเตรียมมาเอง 3.๗ พ้ืนท่ีจัดวางแผงโครงงานคณิตศาสตร์ คณะกรรมการจัดใหเ้ ทา่ กันไม่เกิน 1.50 ม. × 1.00 ม. และใหจ้ ดั ภายในพน้ื ทีท่ ีก่ าหนดเท่าน้ัน 4. เกณฑ์การให้คะแนน 100 คะแนน 4.1 การกาหนดหัวขอ้ โครงงาน 5 คะแนน คะแนน 4.2 ความสาคัญและความเปน็ มาของโครงงาน 10 คะแนน 4.3 วัตถปุ ระสงค์/สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถ้าม)ี ๕ คะแนน คะแนน 4.4 เน้ือหามีความเชือ่ มโยงความรแู้ ละทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ คะแนน คะแนน กับศาสตรอ์ ่ืน ๆ/บรู ณาการความรู้คณิตศาสตร์ ๑๕ คะแนน 4.5 วิธดี าเนนิ งาน /แนวคิด และผลทไ่ี ดร้ บั 1๕ คะแนน คะแนน 4.6 การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน 5 คะแนน 4.7 การนาเสนอปากเปลา่ 10 4.8 การตอบข้อซกั ถาม (เนน้ การนาความรแู้ ละผลการดาเนินงาน/ ผลงานและความรู้คณิตศาสตร์และการเชอ่ื มโยงบูรณาการไปประยุกตใ์ ช้) ๑๐ 4.9 การเขียนรายงาน ๕ 4.10 การนาไปใช้ประโยชน์ ๑๐ 4.11 ความคดิ รเิ ริม่ สร้างสรรค์ ๑๐ 5. เกณฑ์การตัดสนิ การพจิ ารณาตดั สินโครงงานมเี กณฑก์ ารพจิ ารณา ดงั น้ี รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรยี ญทอง ร้อยละ 70 – 79 ได้รบั รางวัลระดับเหรียญเงนิ รอ้ ยละ 60 – 69 ไดร้ บั รางวัลระดับเหรียญทองแดง ตา่ กว่ารอ้ ยละ 60 ได้รบั เกยี รตบิ ัตร เวน้ แต่กรรมการจะเห็นเปน็ อย่างอื่น ผลการตดั สินของคณะกรรมการถือเป็นท่ีส้ินสดุ ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๒

6. คณะกรรมการการแขง่ ขนั ระดับละ 3 - 5 คน คุณสมบตั ิของคณะกรรมการ - เป็นผู้ทรงคุณวุฒิในดา้ นคณิตศาสตร์ - เป็นศกึ ษานิเทศกท์ ี่รบั ผิดชอบกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เป็นครูท่ีมีความคิดรวบยอดในเนอื้ หาคณิตศาสตร์และมปี ระสบการณก์ ารทาโครงงาน คณิตศาสตร์ (ถา้ เป็นกรรมการระดับชาติตอ้ งเคยเปน็ กรรมการตัดสินโครงงานในระดบั ภาค หรอื ระดับชาติ มาก่อน) ขอ้ ควรคานึง - กรรมการต้องไมต่ ัดสินในกรณีสถานศึกษาของตนเข้าแข่งขัน - กรรมการทมี่ าจากครผู ู้สอนควรแตง่ ตัง้ ให้ตัดสินในระดับช้ันที่ทาการสอน - กรรมการควรมที ่มี าจากเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาอ่ืนอย่างหลากหลาย - กรรมการควรให้ขอ้ เสนอแนะเตมิ เต็มให้กบั นักเรยี นท่ีชนะในลาดบั ที่ 1 - 3 7. สถานทีท่ าการแข่งขัน ควรใชห้ ้องเรียนหรือสถานที่ ท่มี ีโต๊ะ เก้าอี้ ทส่ี ามารถดาเนนิ การแขง่ ขนั ได้พร้อมกนั 8. การเขา้ แข่งขันระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ให้ทมี ท่ีเป็นตวั แทนของของเขตพ้ืนที่การศึกษาเขา้ แข่งขันในระดับภาค ทุกกจิ กรรมตอ้ งได้คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึ้นไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใ น ระดบั ชาติ จะต้องไดค้ ะแนนระดบั เหรยี ญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้นึ ไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพ้ืนที่การศึกษาท่มี ีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มีมากกว่า ๓ ทีม ให้พิจารณาการให้คะแนนในลาดับที่ ๔.๔ ๔.๗ ๔.๘ ๔.๑๐ และ ๔.๑๑ เรียงตามลาดับคะแนน ของทีมใดสูงกว่า ถือว่าเป็นทีมท่ีชนะ เช่น มีทีมท่ีไดค้ ะแนนในลาดับท่ี ๔.๔ เท่ากันให้พิจารณาลาดับท่ี ๔.๗ ทีมท่ีได้ คะแนนมากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าลาดับที่ ๔.๗ เท่ากัน ให้พิจารณาในลาดับถัดไปตามที่กาหนด ถ้าคะแนน เท่ากนั ในทุกขอ้ ให้ประธานกรรมการตัดสนิ เป็นผูช้ ี้ขาด ๙. การเผยแพร่ผลงานทไี่ ด้รับรางวัล ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดอันดับที่ 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน เวบ็ ไซต์ต่อไปซ่งึ ผลงานของผู้แข่งขนั ถือเป็นลขิ สิทธ์ขิ องสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน เพอ่ื ใช้ใน การเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๑๓

10. รูปแบบการเขยี นรายงานโครงงานคณติ ศาสตร์ (ปก) โครงงานคณิตศาสตร์ เรอื่ ง........................................................................................................................ โดย 1.......................................................................................................................................... 2.......................................................................................................................................... 3.......................................................................................................................................... ครูทปี่ รึกษา 1......................................................................................................................................... 2......................................................................................................................................... โรงเรยี น........................................................... สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษา .................................. รายงานฉบับนเี้ ป็นส่วนประกอบของโครงงานคณิตศาสตร์ ประเภทบรู ณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ใช้ ระดบั ………................ เน่ืองในงานศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังที่ ๖๗ ประจาปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ รายละเอียดในเลม่ ประกอบดว้ ย บทคดั ยอ่ กิตตกิ รรมประกาศ สารบญั สารบัญตาราง สารบญั รูปภาพ บทที่ 1 บทนา บทท่ี 2 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินการ บทที่ 4 ผลการดาเนินการ บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ บรรณานุกรม ภาคผนวก ไม่เกนิ 10 หน้า ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๔

หมายเหตุ 1. ขนาดของกระดาษเขยี นรายงานใหใ้ ชก้ ระดาษพมิ พ์ ขนาด A4 ตวั อกั ษรไม่ต่ากว่า ๑๖ point พมิ พ์หนา้ เดียว เฉพาะบทท่ี 1 - 5 มีความยาวไม่เกนิ ๒0 หน้า ภาคผนวกมีความยาวไมเ่ กิน 10 หนา้ รายงาน ฉบับใดที่มีความยาวเกนิ กวา่ ที่กาหนดจะถูกตัดคะแนน 2. ทารายงานส่งใหค้ ณะกรรมการกอ่ นการแขง่ ขนั 2 สัปดาห์ จานวนชุดตามที่กาหนดในการแขง่ ขนั ในแต่ละระดบั (สาหรบั ระดบั ชาติจะแจ้งให้ทราบภายหลงั จากการแข่งขันระดบั ภาคเสร็จสิ้นไปแล้ว) 3. นักเรยี นทีเ่ ป็นตวั แทนเขา้ ร่วมแข่งขันระดับชาติ ตอ้ งเป็นบุคคลคนเดียวกบั ผู้ที่ได้รับการคัดเลอื ก จากระดับภาค และ ระดบั เขตพืน้ ท่ีการศึกษา ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๕

(ตัวอย่าง) แบบประเมินโครงงานคณิตศาสตร์ประเภทบูรณาการความรู้ในคณิตศาสตร์ไปประยกุ ต์ใช้ ระดับ ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนต้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย สังกัด สพป. …......................................................... สพม. …................................................. ชอ่ื โครงงาน…............................................................................................................................................... โรงเรยี น…....................................................................... จังหวดั …........................................................... ข้อที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนทีไ่ ด้ 1. การกาหนดหัวข้อโครงงาน (5) - สอดคล้องกับเรอื่ งท่ีศึกษา 1 - สอดคล้องกับวตั ถปุ ระสงค/์ ปญั หาของโครงงาน 1 - สอดคลอ้ งกับเนื้อหาและระดบั ชั้นของผ้ทู ่ที าโครงงาน 1 - มีความกะทัดรดั สื่อความหมายชัดเจน 1 - นา่ สนใจ กระตุ้นความคิดต่อผู้อื่นอย่างหลากหลาย 1 (10) 2. ความสาคัญและความเปน็ มาของโครงงาน 1 - มาจากปัญหาและความสนใจของผู้เรียน 1 - เปน็ ปัญหาที่สะทอ้ น/เกย่ี วข้องกับตวั เอง ชมุ ชนและสงั คมในวงกว้าง 1 - เปน็ ปญั หาท่ีส่งผลต่อ/นาไปส่กู ารทาโครงงานท่ีมปี ระโยชน์ 1 - บอกความเป็นมาหรือเหตผุ ลของการทาโครงงานไดช้ ดั เจน 1 - มเี หตผุ ลทีด่ เี พยี งพอทีน่ าไปสู่การทาโครงงาน 1 - แสดงให้เห็นถงึ ประโยชน์ คณุ คา่ /ความสาคัญของโครงงานตอ่ สังคมในวงกว้าง 2 - สง่ เสรมิ ให้ผู้เรยี นไดใ้ ชค้ วามรู้ความคดิ และทกั ษะความสามารถทาง คณติ ศาสตร์และศาสตรอ์ ื่น ๆ ในการทาโครงงาน 1 - มีการอ้างหลักการ แนวคิด หรอื ทฤษฎที ีเ่ ก่ยี วขอ้ งประกอบการทาโครงงาน 1 - มอี งค์ประกอบถกู ต้อง ครบถ้วน สอดคลอ้ ง สัมพันธก์ ัน (5) 1 3. วตั ถุประสงค์/สมมตฐิ าน/ตวั แปร (ถา้ ม)ี 2 - เปน็ วตั ถปุ ระสงค์ของการทาโครงงาน 1 - ระบุวตั ถุประสงคไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง ชดั เจน มคี วามเป็นไปไดจ้ ริงในการดาเนนิ งาน - วัตถุประสงคส์ ามารถวดั และประเมนิ ผลไดจ้ รงิ ดว้ ยวิธกี าร/เครือ่ งมือทเี่ ป็น 1 รปู ธรรมเชือ่ ถือได้ - สอดคล้องกบั ชือ่ เรอ่ื งและเนื้อหา (15) - สมมตฐิ าน (ถา้ มี) มคี วามถูกตอ้ ง ชดั เจน สอดคล้องกับปัญหา ตัวแปรและ 2 วตั ถุประสงค์ - สมมติฐานนาไปสูก่ ารออกแบบการวางแผนการศกึ ษาทดลองไดช้ ดั เจน 4. เนอ้ื หาสาระและเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ ง - เนือ้ หาถกู ตอ้ ง ครบถว้ นสมบูรณ์ เหมาะสม สอดคล้องและครอบคลมุ ในเร่อื งท่ที า ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครงั้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๑๖

ข้อที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้ - มกี ารเชอื่ มโยงความรู้ ทกั ษะกระบวนการทางคณิตศาสตรท์ ีเ่ ก่ยี วขอ้ งได้ 2 ครบถ้วน สมบรู ณ์ - มกี ารจดั ระบบการนาเสนอเนือ้ หาไดก้ ระชับ ชดั เจน เขา้ ใจงา่ ยนาไปใชไ้ ด้ 2 อย่างสะดวก เพียงพอ มีประสิทธภิ าพ 2 - เนอ้ื หาสาระสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาต่อยอด และกระตุ้นให้ แนวทางนาไปสกู่ ารทาโครงงานและใชป้ ระโยชนใ์ นวงกว้าง 1 2 - มีเทคนิควิธใี นการนาเสนอเน้ือหาอย่างรเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ 2 - มกี ารอา้ งอิงหลกั การ แนวคิด และทฤษฎที ่ีถูกต้อง ชดั เจน และเชอื่ ถอื ได้ 2 (15) - เนื้อหาสาระมาจากแหล่งขอ้ มูลทหี่ ลากหลาย 2 2 - เอกสารอ้างอิงทเ่ี กย่ี วขอ้ งทันสมัย นา่ เช่อื ถอื 2 5. วิธดี าเนินงาน/แนวคิด และผลที่ได้รับ 3 - มีแนวคดิ และวิธีการดาเนินงาน 2 2 - มีลาดบั ขัน้ ตอนในการดาเนินงานชัดเจน 2 - มีเครื่องมือและการพัฒนาเครื่องมือ (ตรวจสอบคุณภาพ) ถูกตอ้ งตามหลัก (5) วชิ าการ 1 - มีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู และวิเคราะหข์ อ้ มลู ถกู ตอ้ ง - การนาเสนอขอ้ มูลถกู ต้อง กะทัดรัด ชดั เจน - ผลการทาโครงงานบรรลวุ ัตถุประสงค์ท่ีตัง้ ไว้ - มีการอภปิ รายผลการศกึ ษาอย่างครอบคลมุ สมเหตสุ มผล 6. การจัดแสดงโครงงานเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน - ขนาดแผงโครงงานเป็นไปตามมาตรฐานท่กี าหนด - การจัดวางเหมาะสม สรา้ งสรรค์ สวยงาม ประหยดั น่าสนใจ 1 - เนอ้ื หาสาระครบถ้วนสมบรู ณ์ 1 1 - การเรยี งลาดับ ประเด็นหัวข้อ และเนอื้ หาสาระถกู ต้องเปน็ ระบบ เข้าใจงา่ ย 1 - มชี ้ินงาน/สงิ่ ประดษิ ฐ์/ร่องรอยของการดาเนินงาน นาเสนอได้เหมาะสม สอดคล้องกบั โครงงานทท่ี า (10) 7. การนาเสนอปากเปลา่ (10 นาท)ี 1 - มกี ารแนะนาตนเอง ด้วยมารยาทท่ีดี มคี วามย้มิ แยม้ แจ่มใส - พูดจาถูกต้องตามหลกั ภาษาไทย กระชบั ชดั เจน เข้าใจง่าย เปน็ ธรรมชาติ 2 - มีความเช่ือมั่นในตนเอง กลา้ พดู กลา้ แสดงออก 1 - มกี ารนาเสนอถูกต้อง ครบถ้วน ครอบคลมุ ประเด็นสาคญั ของโครงงาน 2 - มีการจดั ระบบขน้ั ตอนการนาเสนอไดก้ ระชับ ชัดเจน เป็นระบบเข้าใจง่าย 1 - การมสี ่วนรว่ มของสมาชิกในการนาเสนอ 1 - มวี ธิ กี ารนาเสนอที่น่าสนใจ มีความคิดริเริ่มสรา้ งสรรค์ 1 - นาเสนอไดเ้ หมาะสมกับเวลาท่ีกาหนด 1 ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครงั้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๑๗

ขอ้ ที่ รายการ คะแนนเต็ม คะแนนท่ไี ด้ 8. การตอบขอ้ ซักถาม (เนน้ การซักถามการนาความรู้และผลการดาเนินงาน/ (10) ผลงาน และความร้ทู างคณติ ศาสตร์ และการเชอ่ื มโยงบูรณาการไป ประยกุ ตใ์ ช)้ 1 - มีความเชื่อมนั่ ในการตอบ 1 - ตอบคาถามไดถ้ กู ตอ้ ง ตรงประเดน็ คล่องแคลว่ และชัดเจน 1 - ใชภ้ าษาถกู ต้องเข้าใจงา่ ย 1 - มีการใชข้ ้อมูลจรงิ จากการศึกษา 1 - ใชภ้ าษาคาศพั ท์เทคนิคไดถ้ ูกต้อง 1 - การมสี ่วนร่วมของสมาชิกภายในกลุ่ม 2 - มีปฏิภาณไหวพริบและสามารถแกป้ ญั หาเฉพาะหนา้ ได้ 2 - มกี ารใช้ความรู้จากการศึกษาประกอบการอธบิ าย (5) 1 9. การเขยี นรายงานโครงงานถูกตอ้ งตามรูปแบบ 2 - องคป์ ระกอบครบถว้ นตามประเภทของโครงงานและเรียงลาดบั ถกู ต้อง 1 - นาเสนอสาระในแตล่ ะหวั ข้อถูกต้อง ชัดเจน กระชับ รัดกุม 1 - การใช้ภาษาถกู ต้องชัดเจน (10) - จานวนหนา้ ทง้ั เนอ้ื หา ภาคผนวก และขนาดตวั อกั ษรเป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด 2 2 10. การนาไปใชป้ ระโยชน์ 2 - นาไปใช้ไดจ้ ริง 2 - นาไปพัฒนาต่อยอดได้อย่างหลากหลาย 2 - เป็นประโยชนต์ ่อตนเอง ชุมชน และสงั คมโลกในวงกว้าง (10) - มคี วามคุ้มค่าตอ่ การลงทุน 1 - นาไปประยกุ ตใ์ ช/้ ทาใช้เองไดด้ ้วยวัสดุอุปกรณท์ ่หี าได้งา่ ย 1 1 11. ความคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ 1 - มคี วามแปลกใหม่รเิ รม่ิ สร้างสรรคข์ องปัญหาหรอื ความเป็นมา 1 - มคี วามแปลกใหม่รเิ ริ่มสร้างสรรค์ของแนวคิด วธิ กี าร 1 - มีความแปลกใหมใ่ นการนาเสนอ 1 - มีความแปลกใหม่ของผลงาน 1 - มีความแปลกใหมข่ องการนาไปใช้ 1 - สามารถนาไปพัฒนาต่อยอดเป็นนวัตกรรม 1 - มีความแปลกใหม่ หลากหลาย ยืดหยุ่น 100 - มคี วามละเอียดปราณีต คานึงถึงส่วนตา่ ง ๆ อย่างรอบด้าน ครอบคลุม - เปน็ เร่อื งทนั สมัย - สามารถนาไปประยกุ ตใ์ ช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์ตอ่ การศึกษา คะแนนรวม ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นคร้งั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๑๘

ข้อคดิ เห็น เพ่มิ เติม …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. …........................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ …............................................. กรรมการ (….....................................) ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๑๙

4. การแขง่ ขันสร้างสรรคผ์ ลงานคณติ ศาสตรโ์ ดยใชโ้ ปรแกรม GSP 1. ระดบั และคณุ สมบัติผเู้ ขา้ แข่งขนั การแข่งขันแบง่ เปน็ 3 ระดบั ดงั น้ี 1.1 ระดับประถมศึกษา ผู้เขา้ แข่งขนั ตอ้ งเป็นนักเรยี นในช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 เทา่ น้ัน 1.2 ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ผเู้ ข้าแข่งขันต้องเปน็ นักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 1 - 3 เท่านั้น 1.3 ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ผู้เขา้ แขง่ ขนั ต้องเป็นนกั เรยี นในช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 - 6 เทา่ นั้น 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขนั 2.1 ประเภททีม 2.2 จานวนผ้เู ขา้ แข่งขนั ทมี ละ 2 คน 3. วธิ ดี าเนนิ การแขง่ ขนั และรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแข่งขนั 3.1 สง่ รายชอ่ื นักเรียนผเู้ ขา้ แข่งขนั ระดบั ละ 1 ทีม พรอ้ มชือ่ ครผู ู้ฝึกสอน 2 คน ตามแบบฟอร์ม ที่กาหนด 3.2 กาหนดโจทย์การแขง่ ขนั จานวน 5 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวมคะแนนเตม็ 100 คะแนน 3.3 เวลาท่ใี ชใ้ นการแข่งขนั 2 ชว่ั โมง 30 นาที 4. เกณฑ์การให้คะแนน คะแนนเตม็ 100 คะแนน กาหนดรายละเอียด ดังนี้ 4.1 โจทย์การแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ โดยใชโ้ ปรแกรม GSP จานวน 4 ข้อ ข้อละ 20 คะแนน รวม 80 คะแนน ซึ่งแต่ละขอ้ ใชเ้ กณฑก์ ารให้คะแนน ดังน้ี 4.1.1 ความสมบรู ณแ์ ละถกู ต้องของรปู หรือแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ 10 คะแนน 4.1.2 ความคิดและความสมเหตุสมผลของคาตอบและกระบวนการแก้ปัญหา 10 คะแนน 4.2 โจทยก์ ารสร้างสรรคผ์ ลงานคณิตศาสตร์โดยใช้โปรแกรม GSP จานวน 1 ขอ้ 20 คะแนน 4.2.1 ความเปน็ พลวัต ความคดิ ริเริ่มสร้างสรรค์ความสวยงาม และความเหมาะสม 10 คะแนน 4.2.2 ผลงานสือ่ ความหมายได้สอดคล้องและเชือ่ มโยงกันอยา่ งต่อเนื่อง 5 คะแนน 4.2.3 การพดู นาเสนอถูกต้อง ชดั เจน และใชเ้ วลาไมเ่ กิน 5 นาที 5 คะแนน (หากเกนิ เวลาให้คณะกรรมการพิจารณาตัดคะแนน) 5. เกณฑก์ ารตดั สนิ รอ้ ยละ 80 - 100 ไดร้ ับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง ร้อยละ 70 – 79 ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญเงิน ร้อยละ 60– 69 ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญทองแดง ต่ากวา่ ร้อยละ 60 ไดร้ ับเกียรตบิ ตั ร เว้นแต่กรรมการจะเหน็ เป็นอย่างอ่ืน ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๐

6. คณะกรรมการ การแขง่ ขนั ระดบั ละ 5 – 10 คน คณุ สมบตั ขิ องคณะกรรมการ - เป็นศกึ ษานิเทศกท์ ี่รับผิดชอบกลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เป็นครผู ้สู อนกลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ที่มคี วามเชยี่ วชาญโปรแกรม GSP - เปน็ ผทู้ รงคุณวฒุ ิในดา้ นคณติ ศาสตร์ ข้อควรคานึง - กรรมการตอ้ งไม่ตดั สินในกรณสี ถานศกึ ษาของตนเขา้ แขง่ ขนั - กรรมการที่มาจากครูผู้สอนควรแตง่ ต้ังใหต้ ัดสินในระดับทีท่ าการสอน - กรรมการควรอย่ใู นเขตพื้นท่กี ารศกึ ษาหรอื หน่วยงานอ่ืนอยา่ งหลากหลาย - กรรมการควรให้ขอ้ เสนอแนะเตมิ เต็มให้กับนักเรียนท่ีชนะในลาดับที่ 1- 3 7. สถานท่ีแขง่ ขัน ห้องคอมพวิ เตอรแ์ ละโปรแกรม GSP ที่สามารถดาเนินการแขง่ ขันไดพ้ รอ้ มกนั 8. การเขา้ แข่งขันระดับภาค และระดบั ชาติ ๘.1 ให้ทีมท่เี ปน็ ตัวแทนของของเขตพื้นท่กี ารศึกษาเขา้ แขง่ ขนั ในระดบั ภาค ทุกกิจกรรมต้องได้คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมที่เป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดับชาติ จะต้องได้คะแนนระดบั เหรยี ญทอง ลาดับที่ ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ขนึ้ ไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาที่มที ีมชนะลาดับสูงสดุ ได้คะแนนเท่ากัน และในระดับภาค มี มากกวา่ ๓ ทีม ให้พิจารณาลาดับที่ตามลาดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มที ีมท่ีได้คะแนนข้อท่ี ๑ เท่ากันให้ดขู ้อ ที่ ๒ ทีมทไ่ี ด้คะแนนข้อที่ ๒ มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อท่ี ๒ เท่ากัน ให้ดูในข้อถดั ไป กรณีคะแนนเท่ากนั ทกุ ข้อให้ ประธานกรรมการตดั สินเป็นผู้ชี้ขาดจับฉลาก ข้อเสนอแนะในการตอ่ ยอดในระดับชาติ ควรตอ่ ยอดโดยการจัดค่ายพฒั นาทักษะคณติ ศาสตรแ์ ละโปรแกรม GSP หมายเหตุ นักเรยี นที่เป็นตัวแทนเข้ารว่ มแขง่ ขนั ระดับชาติ ต้องเปน็ บุคคลคนเดยี วกบั ผู้ที่ได้รับการ คัดเลอื ก จากระดับภาคและระดับเขตพ้นื ท่ี 9.การเผยแพร่ผลงานที่ได้รับรางวลั ผลงานของนักเรียนท่ีได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน เวบ็ ไซต์ต่อไปซ่ึงผลงานของผู้แขง่ ขนั ถอื เปน็ ลขิ สทิ ธข์ิ องสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน เพอื่ ใชใ้ น การเผยแพร่และประชาสัมพนั ธ์ ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๑

5. การแข่งขันคิดเลขเร็ว 1. ระดับและคณุ สมบตั ผิ ู้เขา้ แข่งขนั การแข่งขันแบง่ เป็น 4 ระดับ ดังน้ี 1.1 ระดบั ประถมศึกษาตอนต้น ผู้เขา้ แขง่ ขันตอ้ งเป็นนักเรยี นในช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 เท่าน้ัน 1.2 ระดับประถมศึกษาตอนปลาย ผเู้ ขา้ แขง่ ขันตอ้ งเป็นนกั เรยี นในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เท่าน้ัน 1.3 ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ผูเ้ ขา้ แข่งขันต้องเป็นนกั เรยี นในช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 – 3 เท่านั้น 1.4 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย ผู้เข้าแขง่ ขันต้องเปน็ นักเรยี นในช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 เทา่ นนั้ 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขนั 2.1 ประเภทเดี่ยว 2.2 จานวนผู้เขา้ แขง่ ขนั ระดับละ 1 คน 3. วิธดี าเนินการและหลกั เกณฑ์การแขง่ ขนั 3.1 การสง่ รายชื่อนักเรยี นผู้เข้าแข่งขัน ส่งรายชื่อนกั เรยี นผเู้ ข้าแข่งขัน พร้อมชอื่ ครูผู้ฝึกสอนระดับละ 1 คน ตามแบบฟอรม์ ที่กาหนด 3.2 การจดั การแข่งขนั การแขง่ ขนั ทกุ ระดบั มีการแขง่ ขนั 2 รอบ ดังนี้ รอบที่ 1 จานวน 30 ข้อ ใชเ้ วลาขอ้ ละ 30 วนิ าที โดยสุม่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 2 หลัก รอบท่ี 2 จานวน 20 ข้อ ใชเ้ วลาขอ้ ละ 30 วินาที โดยสมุ่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 3 หลัก เมื่อเสร็จสิน้ การแข่งขนั รอบท่ี 1 ใหพ้ ัก 10 นาที หมายเหตุ ใหค้ ณะกรรมการพิจารณาเกณฑ์ขอ้ ท่ี 5 ประกอบการดาเนินการ 3.3 วิธกี ารแขง่ ขัน 3.3.1 ชแ้ี จงระเบยี บการแขง่ ขนั ใหน้ ักเรียนผเู้ ขา้ แข่งขันและครูผฝู้ ึกสอนเขา้ ใจตรงกันกอ่ นเริ่ม การแข่งขัน 3.3.2 ใช้โปรแกรม GSP ตามท่สี ว่ นกลางกาหนดไว้ใหเ้ ทา่ นั้น เพอื่ ใหน้ กั เรียนท่ีเขา้ แข่งขนั เตรียม ความพรอ้ มในการแข่งขันระดับชาติ หา้ มนาไปปรับเปล่ยี น จะมีไฟล์แนบใหท้ ้งั ระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา 3.3.3 ใช้กระดาษคาตอบ ขนาด 1 ของกระดาษ A4 ดังตวั อยา่ ง ในการแข่งขันทกุ ระดบั 4 ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๒

ชื่อ-สกลุ ..................................................โรงเรียน................................................เลขที่ ............... ขอ้ ........ วิธกี ารและคาตอบ พ้นื ทีส่ าหรับทดเลข 3.3.4 แจกกระดาษคาตอบตามจานวนขอ้ ในการแข่งขนั แต่ละรอบ 3.3.5 ใหน้ ักเรยี นเขียนช่ือ – สกุล โรงเรยี น เลขท่ีนง่ั และหมายเลขขอ้ ใหเ้ รียบร้อยก่อนเรม่ิ การแขง่ ขันในแต่ละรอบ และห้ามเขียนขอ้ ความอื่น ๆ จากที่กาหนด 3.3.6 เรมิ่ การแข่งขนั โดยสุ่มเลขโดดจากโปรแกรม GSP ท่ีทางสว่ นกลางจดั ไวใ้ ห้ เปน็ โจทยแ์ ละ ผลลัพธ์ ซง่ึ เลขโดดในโจทยท์ ส่ี มุ่ ไดต้ อ้ งไมซ่ า้ เกินกวา่ 2 ตวั หรือถ้าสมุ่ ได้เลข 0 ต้องมีเพียงตวั เดยี วเทา่ นั้น เช่น สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตวั สุ่มไดเ้ ป็น 6616 มี 6 ซ้าเกนิ กวา่ 2 ตัว ต้องส่มุ ใหม่ หรือ สุ่มไดเ้ ปน็ 0054 มี 0 ซ้าเกิน 1 ตัว ตอ้ งสุ่มใหม่ สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตัว สุ่มไดเ้ ป็น 43445 มี 4 ซา้ เกินกวา่ 2 ตัว ต้องสุม่ ใหม่ หรือ สุ่มได้เป็น 20703 มี 0 ซา้ เกนิ 1 ตัว ต้องส่มุ ใหม่ ช้แี จงเพม่ิ เติมในคู่มอื 3.3.7 เมอ่ื หมดเวลาในแต่ละขอ้ ให้กรรมการเกบ็ กระดาษคาตอบ และดาเนินการแข่งขนั ต่อเนอ่ื งจนครบทุกขอ้ (ไมม่ กี ารหยุดพักในแตล่ ะข้อเพือ่ ตรวจใหค้ ะแนน/ไม่มีการเฉลยทีละข้อใหน้ กั เรียนผูเ้ ขา้ แขง่ ขนั รับทราบกอ่ นเสร็จสิ้นการแข่งขัน) 3.4 หลกั เกณฑ์การแขง่ ขัน 3.4.1 การแข่งขนั ระดับประถมศกึ ษาตอนต้น (ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 – 3) ใช้การดาเนินการ ทางคณติ ศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร หรือยกกาลังเทา่ นั้น เพือ่ หาผลลัพธ์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทีละขั้นตอน หรือเขียนแสดงความสมั พนั ธ์ของวิธกี ารและคาตอบในรูปของสมการก็ได้ เชน่ สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 2 หลัก ตัวอยา่ งที่ 1 โจทย์ท่ีสุม่ ผลลพั ธ์ 4957 88 วธิ ีคดิ 9  7 = 63 5 × 4 = 20 63  20 = 83 หรอื นักเรยี น เขียน (9  7) + (5 × 4) = 63 + 20 = 83 ก็ได้ ได้คาตอบ 83 ซ่ึงไมต่ รงกบั ผลลพั ธ์ทสี่ มุ่ ได้ ในกรณนี ถี้ ้าไมม่ ีนักเรยี นคนใดได้คาตอบทต่ี รงกับผลลพั ธ์ทสี่ มุ่ ได้ ถ้า 83 เป็นคาตอบท่ีใกล้เคียงทีส่ ุด จะไดค้ ะแนน ตวั อย่างที่ 2 โจทยท์ สี่ ุ่ม ผลลพั ธ์ 2123 99 วธิ ีคดิ (32 + 1)2 = (9 + 1)2 = 100 ไดค้ าตอบ 100 ซึ่งไมต่ รงกบั ผลลพั ธท์ สี่ มุ่ ได้ ในกรณีนถี้ า้ ไม่มีนกั เรยี นคนใดได้คาตอบที่ตรงกับผลลัพธท์ ่สี ุม่ ได้ ถา้ 100 เปน็ คาตอบทใี่ กลเ้ คยี งทส่ี ดุ จะไดค้ ะแนน ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๓

ตัวอย่างที่ 3 โจทย์ท่ีสมุ่ ผลลัพธ์ 4836 13 วธิ คี ิด (8 + 6) - (4 - 3) = 13 ได้คาตอบตรงกับผลลัพธท์ ่ีส่มุ ไดพ้ อดี จะได้คะแนน สุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตวั เลข ผลลัพธ์ 3 หลกั ตัวอย่าง โจทย์ทส่ี ุ่ม ผลลพั ธ์ 19732 719 วิธคี ดิ 93 – (7 + 2) - 1 = 719 ไดค้ าตอบตรงกบั ผลลพั ธท์ ่ีสุม่ ไดพ้ อดี จะได้คะแนน 3.4.2 การแข่งขนั ระดบั ประถมศึกษาตอนปลาย (ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 4 – 6) ใช้การดาเนินการ ทางคณิตศาสตร์ ไดแ้ ก่ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง หรือถอดรากอนั ดับท่ี n ท่ีเปน็ จานวนเตม็ บวกเทา่ นั้น เพื่อ หาผลลัพธ์ ในการถอดรากต้องใส่อันดับที่ของรากจากตัวเลขที่สุ่มจากโจทย์ ยกเว้นรากอนั ดับที่สอง ในการ ถอดรากอันดับท่ี n อนุญาตใหใ้ ช้เพยี งช้ันเดียว และไมอ่ นญุ าตให้ใช้รากอนันต์ และให้เขียนแสดงวิธีคิดทลี ะ ข้ันตอน หรือเขียนแสดงความสมั พนั ธ์ของวิธกี ารและคาตอบในรปู ของสมการกไ็ ด้ เช่น สมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 4 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 2 หลกั ตวั อย่างท่ี 1 โจทยท์ ่ีสมุ่ ผลลพั ธ์ 4957 88 วธิ ีคิด 9  7 = 63 4 =2 52 = 25 63  25 = 88 หรอื นกั เรยี น เขยี น (9  7) + 5 4 = 63 + 25 = 88 กไ็ ด้ สุ่มเลขโดดเปน็ โจทย์ 5 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 3 หลัก ตวั อย่างท่ี 2 โจทยท์ ี่สมุ่ ผลลัพธ์ 28439 757 วิธคี ดิ ( 4 )8  3 - (9 + 2) = 768 – 11 = 757 ตัวอยา่ งท่ี 3 โจทย์ทส่ี ่มุ ผลลัพธ์ 22453 182 วิธีคดิ  (3 2) 4 × 5 + 2 = 182 ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้งั ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๒๔

3.4.3 การแข่งขันระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย (ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 และ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6) ใช้การดาเนินการทางคณิตศาสตร์ บวก ลบ คูณ หาร ยกกาลัง ถอดรากอันดับที่ n ทีเ่ ปน็ จานวนเต็มบวก เพ่ือหาผลลัพธ์ สามารถใชแ้ ฟคทอเรียลและซกิ มาได้ โดยมขี อ้ ตกลงดังนี้ ในการถอดราก อนั ดับท่ี n จะถอดก่ีชั้นก็ได้ ถ้าไม่ใช่รากอันดับท่ีสองต้องใส่อันดับท่ีของรากจากตวั เลขที่สุ่มมาเท่านั้น และ ไมอ่ นญุ าตใหใ้ ช้รากอนันต์ การใชแ้ ฟคทอเรยี ลจะใช้ ! กค่ี ร้ังกไ็ ด้ แต่ต้องใส่วงเล็บใหช้ ดั เจนทกุ ครงั้ เช่น (3!)! = (6)! = 720 หากมีการใช้ซิกมาต้องเขียนให้ถูกต้องตามหลักคณิตศาสตร์ โดยอนุญาตใหใ้ ช้ i ท่ีปรากฏหลัง  ได้ไม่เกิน 2 ตัว เพราะไมต่ อ้ งการให้มีการปรับรูปแบบการใชซ้ ิกมาหรือค่าท่ีเกิดจากการประยุกต์ มาประกอบกับ i เกิน ความจาเป็น และตัวเลขท่ีปรากฏอยกู่ ับ  ต้องเปน็ ตัวเลขท่ีได้จากโจทยท์ ่ีสุ่มเท่านั้น และผลรวมต้องเป็น จานวนเต็มบวก เช่น 1) 5 55  2 × 15 = 30 (i  i)   2i 2i i1 i1 iª 1 (ต้องมตี วั เลข 1 และ 5 ในโจทย์ท่ีสุ่ม) = 555 5 (ixi)  i 2 12  22  32  42  52  2) i1 i1 (ตอ้ งมตี ัวเลข 1 และ 5 ในโจทย์ท่ีสมุ่ ) 5 i 3)  i1 15 i  i  1  2  3  ...  15  120 i 1 i 1 (ตอ้ งมตี ัวเลข 1 , 1 และ 5 ในโจทย์ที่สุ่ม) สามารถใช้ n  และn n i! i i! i1 i ii i 1 i 1 การเขียนแสดงวธิ ีคิดให้เขียนแสดงความสมั พันธข์ องวิธีการและคาตอบในรปู ของสมการเท่านน้ั เชน่ สุม่ เลขโดดเปน็ โจทย์ 4 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 2 หลัก ตัวอยา่ งท่ี 1 โจทย์ท่ีสุม่ ผลลพั ธ์ 0582 27 วิธคี ิด 58  2  0  27 หรือ ( 58  2)  0  27 ตวั อยา่ งท่ี 2 โจทยท์ ีส่ มุ่ ผลลัพธ์ 69 4837   วธิ ีคิด 7  4 8  3  69 ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๒๕

สุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลพั ธ์ 3 หลกั ตัวอยา่ งที่ 1 โจทยท์ ่สี มุ่ ผลลพั ธ์ 18374 834 วธิ ีคดิ 7! ÷ (8 - 4 ) - (3! × 1) = (5,040 ÷ 6) - 6 = 834 ตัวอย่างที่ 2 โจทย์ที่สุ่ม ผลลพั ธ์ 58376 326 วิธีคิด (8!/5!) - (7 + 6 - 3) = 326 หรอื 6  38  7  5  326 ตวั อย่างที่ 3 โจทย์ท่ีสุ่ม ผลลพั ธ์ 85842 242 วธิ ีคิด (5! × 2) + 4 + (8 - 8) = 242 หรือ (5! × 2) + 4 × ( 8 ) = 242 8 หรอื 28 – (8 + (5 - 4 )!) = 242 3.4.4 ขอ้ พึงระวังในการแข่งขัน 1) การคดิ คานวณหาคาตอบตอ้ งใชเ้ ลขโดดท่สี ุ่มเป็นโจทย์ใหค้ รบทกุ ตัว และใช้ไดต้ ัวละ 1 คร้งั เทา่ นนั้ 2) การใชเ้ ครอ่ื งหมาย  ,  ,  ,  ควรเขยี นใหช้ ดั เจน 2.1) การเขียนเครอ่ื งหมายบวก ให้เขียน + ห้ามเขยี น 2.2) การเขยี นเคร่อื งหมายคูณ ให้เขียน 2  3 หรือ (2)(3) หรอื 23 หา้ มเขียน 23 2 3 2 3 2 3 2 3 2.3) การเขยี นเครอ่ื งหมายหาร ให้เขียน 8  2 หรอื 8 หรอื 8/2 2 ห้ามเขยี น 82 หรอื 8 2 3) กรณีทีม่ ีการใช้วงเล็บใหเ้ ขยี นวงเลบ็ ให้ชดั เจน จะใช้ ( ) หรือ   หรอื   กีช่ นั้ กไ็ ด้ หา้ มเขียน   4) การเขยี นเลขยกกาลัง ควรเขียนให้ชดั เจน เช่น ( ) (23 4 = 84 หรอื 2 34 ) = 281 กรณีที่ไม่ใส่วงเล็บจะคิดตามหลกั คณิตศาสตร์ เช่น 234 = 2(34) = 281 5) การเขยี นเครอื่ งหมายอันดับทีข่ องราก ควรเขยี นให้ชัดเจน เชน่ 9 8  2 , 12 8 = 2 , 4 9  3 6) การใช้  ตอ้ งเขยี นตัวเลขกากับไวต้ ามหลกั การทางคณิตศาสตร์ เช่น ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๒๖

7  1 2  3  4  5  6  7  28 i1i ห้ามเขียน 7  1 2  3  4  5  6  7  28 4. เกณฑก์ ารให้คะแนน 4.1 ผทู้ ีไ่ ด้คาตอบเทา่ กบั ผลลพั ธท์ ี่กาหนด และวิธกี ารถูกตอ้ ง ได้คะแนนข้อละ 2 คะแนน 4.2 ถ้าไมม่ ผี ใู้ ดได้คาตอบเท่ากบั ผลลัพธท์ ี่สุ่มได้ ผ้ทู ีไ่ ดค้ าตอบใกลเ้ คยี งกบั ผลลพั ธ์มากท่สี ุด และ วิธีการถูกตอ้ ง เป็นผ้ไู ด้คะแนน ไมว่ ่าผลลัพธ์ท่ตี อ้ งการจะเป็นกห่ี ลกั ก็ตาม (ผลลัพธ์ท่ไี ด้ต้องเป็นจานวนเตม็ เท่าน้ัน) เช่น ต้องการผลลัพธ์ 99 มีผไู้ ด้คาตอบ 100 และ 98 ซ่ึงวธิ ีการถูกต้องท้งั 2 คาตอบ ได้คะแนนทง้ั คู่ 5. เกณฑ์การตดั สิน คณะกรรมการนาคะแนนรวมของรอบที่ 1 และรอบที่ 2 มาคดิ เทียบกับเกณฑก์ ารตดั สินดงั นี้ ร้อยละ 80 - 100 ได้รบั เกยี รติบัตรระดับเหรยี ญทอง รอ้ ยละ 70 – 79 ไดร้ ับเกียรตบิ ตั รระดับเหรียญเงนิ ร้อยละ 60 – 69 ไดร้ ับเกยี รติบตั รระดับเหรยี ญทองแดง ต่ากวา่ ร้อยละ 60 ไดร้ บั เกียรติบตั ร เวน้ แตก่ รรมการจะเห็นเป็นอยา่ งอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด 6. คณะกรรมการการแข่งขัน 6.1 ระดับประถมศึกษาตอนตน้ และตอนปลาย (ป.1 – 3 และ ป.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขนั จานวน 12 - 15 คน 6.2 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้นและตอนปลาย (ม.1 – 3 และ ม.4 – 6) คณะกรรมการการแข่งขนั จานวน 12 - 18 คน คุณสมบตั ิของคณะกรรมการ - เปน็ ศกึ ษานเิ ทศกท์ ีร่ บั ผิดชอบกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ - เป็นครผู สู้ อนท่ีมคี วามเชีย่ วชาญการสอนคณิตศาสตร์หรือการใช้โปรแกรม GSP - ผทู้ รงคุณวุฒใิ นด้านคณิตศาสตร์ - กรรมการต้องไม่ตดั สินในกรณีสถานศกึ ษาของตนเขา้ แข่งขัน - กรรมการควรมาจากสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาหรือหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วขอ้ งอยา่ ง หลากหลาย ขอ้ ควรคานึง - กรรมการควรใหข้ อ้ เสนอแนะเติมเตม็ ใหก้ ับนกั เรียนทีช่ นะในลาดบั ท่ี 1 – 3 - ถ้าจะมีการเฉลยคาตอบในแตล่ ะขอ้ ใหเ้ ฉลยหลังจากการแข่งขันเสร็จสนิ้ เรียบร้อยแลว้ เท่านัน้ 7. สถานที่ทาการแขง่ ขัน 7.1 หอ้ งทส่ี ามารถใชค้ อมพวิ เตอรพ์ รอ้ มโปรแกรม GSP ในการดาเนินการแข่งขันได้ 7.2 การแข่งขันในแต่ละระดับให้ใช้ห้องแขง่ ขันห้องเดียวเทา่ น้ัน ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๗

8. การเข้าแข่งขนั ระดับภาคและระดับชาติ 8.1 ให้ทมี ท่ีเป็นตัวแทนของของเขตพื้นทก่ี ารศึกษาเข้าแข่งขันในระดบั ภาค ทกุ กิจกรรมต้องได้คะแนน ระดับเหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ข้ึนไป) และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดบั ชาติ จะต้องไดค้ ะแนนระดับเหรียญทอง ลาดบั ท่ี ๑ - ๓ (คะแนนรอ้ ยละ ๘๐ ข้นึ ไป ) ๘.๒ ในกรณีแข่งขันระดับเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทมี่ ีทีมชนะลาดับสูงสุดได้คะแนนเทา่ กัน และในระดบั ภาค มี มากกว่า ๓ ทีม ให้พจิ ารณาคะแนนที่นักเรียนแตล่ ะคนได้ในการแขง่ ขนั รอบที่ 2 นักเรยี นคนใดไดค้ ะแนน มากกวา่ ให้เปน็ ผ้ชู นะตามลาดบั ท่ีต้องการ ถา้ ยังเทา่ กนั อีกให้ดาเนินการดังนี้ ระดบั ชาติ ใหจ้ ดั แขง่ ขันใหมจ่ านวน 5 ขอ้ โดยสมุ่ เลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลกั เวลาข้อละ 20 วนิ าที หากนกั เรยี นคนใดไดค้ ะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ ถ้าคะแนนยังเทา่ กันอกี จะ ดาเนินการแขง่ ขนั ข้อตอ่ ข้อจนกวา่ จะไดผ้ ู้ชนะ ระดบั เขตพน้ื ที่การศึกษาและระดับภาค ให้เลอื กดาเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งตอ่ ไปนี้ 1. ใหจ้ ดั แขง่ ขนั ใหม่จานวน 5 ขอ้ โดยสุ่มเลขโดดเป็นโจทย์ 5 ตัวเลข ผลลัพธ์ 3 หลัก ใช้ เวลาข้อละ 20 วินาที หากนักเรียนคนใดได้คะแนนมากกว่าเป็นผู้ชนะ ถา้ คะแนนยงั เทา่ กนั อกี จะดาเนนิ การแขง่ ขนั ขอ้ ต่อข้อจนกวา่ จะไดผ้ ้ชู นะ หรือ 2. ให้ดาเนินการแข่งขนั รอบท่ี 3 ตอ่ จาก รอบที่ 2 จานวน 10 ข้อไวก้ อ่ น โดยสุม่ เลขโดด เป็นโจทย์ 5 ตวั เลข ผลลพั ธ์ 3 หลกั ใช้เวลาข้อละ 20 วินาที โดยจะตรวจให้คะแนน เพื่อตัดสนิ แบบข้อตอ่ ขอ้ เฉพาะนักเรยี นที่ได้คะแนนเท่ากันในรอบที่ 2 ถ้ายังหาผชู้ นะ ไมไ่ ดใ้ ห้ใชว้ ธิ จี ับสลาก (ให้นักเรยี น ครู หรือตวั แทนท่ีไดร้ ับมอบหมายมาจับสลาก) ผลการตดั สินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด หมายเหตุ 1. ไมอ่ นุญาตใหน้ าเคร่ืองคิดเลขหรืออปุ กรณ์ชว่ ยในการคานวณอื่นๆ เข้าไปในหอ้ งแข่งขัน 2. นักเรยี นที่เป็นตัวแทนเขา้ ร่วมแขง่ ขัน ระดับชาติ ต้องเปน็ บุคคลคนเดยี วกบั ผู้ท่ีไดร้ บั การคัดเลือก จากระดับภาค และระดับเขตพื้นท่เี ท่าน้ัน 3. การส่มุ เลขโดด สามารถดาวนโ์ หลดได้ที่ http://www.sillapa.net/rule59/mathGSP.gsp (โดยต้องเปิดดว้ ยโปรแกรม GSP version 4.0 เท่านั้น) ๙. การเผยแพร่ผลงานท่ีได้รับรางวลั ผลงานของนักเรียนที่ได้รับคะแนนสูงสุดอันดับท่ี 1 - 3 คณะกรรมการพิจารณาและนาไปเผยแพร่ใน เวบ็ ไซต์ต่อไปซึ่งผลงานของผู้แข่งขัน ถือเปน็ ลิขสทิ ธิ์ของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน เพื่อใช้ใน การเผยแพรแ่ ละประชาสัมพันธ์ ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๒๘

6. การต่อสมการคณติ ศาสตร์ (เอแมท็ ) 1. ประเภทและจานวนผเู้ ข้าแข่งขนั 1.1 ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 ประเภททมี จานวน 2 คน (ครูผฝู้ กึ สอน 2 คน) จานวน 2 คน (ครผู ู้ฝกึ สอน 2 คน) 1.2 ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 (ขยายโอกาส) ประเภททีม จานวน 2 คน (ครูผู้ฝึกสอน 2 คน) จานวน 1 คน (ครผู ฝู้ กึ สอน ๑ คน) 1.3 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1-3 (สามญั ) ประเภททมี 1.4 ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4-6 ประเภทเด่ียว 2. วิธีดาเนินการแข่งขนั จานวนเกม/รอบ 2.1 ระดบั เขต 2.1.1 โรงเรยี นส่งรายช่อื นกั เรยี นผเู้ ขา้ แขง่ ขันตามประเภทท่กี าหนด 2.1.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแข่งขัน 1 วัน 2.1.3 เขตที่มีจานวนทีมเขา้ รว่ มการแข่งขัน 2 ทีม กาหนดให้ทง้ั 2 ทมี มาแขง่ ในรอบตัดสิน 2 เกม โดยไมต่ ้องมรี อบคัดเลือก และผลดั กันเร่มิ ต้นเกมกอ่ น - หลงั เพ่ือความยุติธรรม 2.1.4 เเขตทมี่ ีจานวนทมี เข้าร่วมการแขง่ ขัน 3 – 6 ทีม กาหนดให้ทกุ ทีมแขง่ ขนั กนั ในรอบคัดเลือก แบบพบกันหมด (Round Robin) ตามระบบการแข่งขันสากล ในกรณที ีม่ ที มี แขง่ ขันไมม่ ากและสามารถจัดแขง่ แบบพบกนั หมดไดใ้ นเวลาทีก่ าหนด แตล่ ะทมี จะไดแ้ ข่งขันกบั คู่แขง่ ขนั ทกุ โรงเรยี น จากนั้นนาทีมทีม่ ผี ลคะแนน ดีทีส่ ุด 2 ลาดับแรก เข้าสู่รอบชงิ ชนะเลศิ โดยทาการแขง่ ขันรอบชงิ ชนะเลศิ 2 เกม และผลัดกนั เริม่ ต้นเกมก่อน - หลัง เพอ่ื ความยตุ ิธรรม 2.1.5 เขตท่ีมีจานวนทีมเขา้ ร่วมการแข่งขนั ตงั้ แต่ 7 ทมี ขึน้ ไป กาหนดให้ทุกทีมแข่งรอบคดั เลือก โดยใชร้ ะบบแพร่งิ แบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบการแขง่ ขนั สากล รอบคัดเลือกจานวน 5 เกม และ รอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม โดยดาเนนิ การแขง่ ขนั ตามโปรแกรม ดังนี้ เกมที่ 1 กรรมการประกบค่แู ขง่ ขนั แบบส่มุ (Random) ดว้ ยวธิ จี ับสลาก เม่ือแขง่ ขันเสรจ็ ให้บนั ทึกผล การแข่งขนั ในใบมาสเตอร์ สกอร์การ์ด และสง่ กรรมการ กรรมการจดั ลาดบั คะแนน เกมท่ี 2 - 5 กรรมการประกบคู่การแข่งขนั แบบ King of the Hill ในทุกรอบ โดยนาผเู้ ข้าแข่งขนั ท่ี มลี าดับคะแนนหลงั จากจบเกมกอ่ นหน้านี้ มาประกบค่ใู หม่ ใหท้ มี ทม่ี ีลาดับคะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเรื่อยๆ หลังจบการแข่งขนั ในแต่ละเกม ให้ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั บันทึกผลการ แข่งขันในใบมาสเตอร์ สกอร์การ์ด และสง่ กรรมการ (หลงั จบการแขง่ ขนั ในแตล่ ะรอบ กรรมการตอ้ งเรยี งลาดับ คะแนนใหม่ทุกคร้ัง) จากนั้นนาทมี ทมี่ ผี ลคะแนนดีทส่ี ุด 2 ลาดับแรก ในรอบคัดเลือก เขา้ สรู่ อบชงิ ชนะเลิศ โดยทาการ แขง่ ขันรอบชงิ ชนะเลิศ 2 เกม และผลดั กันเรม่ิ ต้นเกมก่อน - หลัง เพื่อความยตุ ธิ รรม 2.1.6 หากมที มี ทเ่ี ข้าส่รู อบชิงชนะเลิศแน่นอนแลว้ ตั้งแตก่ ่อนจบการแขง่ ขันรอบคัดเลอื ก จะใช้ระบบ Gibsonize โดยไมต่ ้องเล่นเกมทีเ่ หลือ 2.1.7 ตัวแทน 1 ทมี เขา้ สู่รอบระดับภาค 2.1.8 โปรแกรมจดั อันดับและประกบคู่อัตโนมตั ิ สามารถดาวน์โหลดไดท้ ่ีเฟซบุ๊ค กลมุ่ เอแม็ทงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรยี น https://www.facebook.com/groups/413508119031182/ ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้งั ที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๒๙

2.2 ระดับภาค 2.2.1 ทมี ทีไ่ ดเ้ ป็นตัวแทนของเขตพน้ื ท่ีการศึกษาเขา้ แขง่ ขนั ในระดับภาค 2.2.2 ระยะเวลาดาเนินการแขง่ ขัน 1 วนั 2.2.3 กาหนดใหท้ กุ ทมี แขง่ รอบคัดเลือกโดยใช้ระบบแพร่ิงแบบ King of the Hill (KOTH) ตามระบบการ แข่งขันสากล รอบคัดเลือกจานวน 6 เกม และรอบชงิ ชนะเลศิ 2 เกม โดยดาเนินการแขง่ ขนั ตามโปรแกรม ดงั นี้ เกมท่ี 1 กรรมการประกบคแู่ ข่งขันแบบสมุ่ (Random) ด้วยวธิ ีจบั สลาก โดยจดั เปน็ กลมุ่ โต๊ะละ 4 ทีม เกมท่ี 2 หลงั จบการแขง่ ขนั เกมท่ี 1 ใหผ้ ู้เขา้ แขง่ ขนั สลบั คู่แขง่ ขนั โดยผชู้ นะจะแขง่ กับผู้ชนะท่ีอยใู่ น กลุ่มโตะ๊ เดยี วกนั และทีมทเ่ี หลืออกี 2 ทีม(ผูแ้ พ้) ในกลุ่มโตะ๊ นน้ั จะมาแข่งกนั จบเกมให้สง่ ใบบนั ทึกผลการ แขง่ ขนั (ใบมาสเตอรส์ กอร์การ์ด) จากน้ันให้กรรมการจัดเรยี งอนั ดบั ตามผลการแข่งขัน เพื่อประกบคูก่ าร แข่งขันในเกมที่ 3 เกมท่ี 3 กรรมการประกบคกู่ ารแขง่ ขนั แบบ King of the Hill โดยนาผ้เู ข้าแข่งขันทม่ี ลี าดบั คะแนน หลงั จากจบเกมท่ี 2 มาประกบค่ใู หม่ ใหท้ มี ทม่ี ีลาดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่ือยๆ เกมที่ 4 หลงั จบการแข่งขนั เกมท่ี 3 ใหผ้ ู้เข้าแขง่ ขันสลับคูแ่ ข่งขัน โดยผูช้ นะจะแข่งกบั ผ้ชู นะทอ่ี ยใู่ น กลมุ่ โตะ๊ เดียวกัน และทมี ท่เี หลอื อีก 2 ทีม(ผแู้ พ้) ในกลมุ่ โต๊ะนั้นจะมาแขง่ กัน จบเกมให้สง่ ใบบนั ทกึ ผลการ แข่งขัน (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) จากนั้นให้กรรมการจัดเรยี งอนั ดับตามผลการแขง่ ขนั เพ่ือประกบคกู่ าร แขง่ ขนั ในเกมท่ี 3 เกมท่ี 5 กรรมการประกบคู่การแข่งขันแบบ King of the Hill โดยนาผเู้ ข้าแข่งขนั ทีม่ ีลาดับคะแนน หลงั จากจบเกมท่ี 2 มาประกบค่ใู หม่ ใหท้ ีมทม่ี ลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเรือ่ ยๆ จบเกมให้ส่งใบบนั ทกึ ผลการแขง่ ขัน (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) เกมท่ี 6 กรรมการประกบคกู่ ารแข่งขันแบบ King of the Hill โดยนาผเู้ ข้าแข่งขนั ท่มี ลี าดับคะแนน หลังจากจบเกมท่ี 2 มาประกบคใู่ หม่ ให้ทมี ที่มลี าดบั คะแนน 1 พบ 2, 3 พบ 4, 5 พบ 6, 7 พบ 8, 9 พบ 10.........ไปเร่ือยๆ จบเกมให้ส่งใบบันทกึ ผลการแขง่ ขัน (ใบมาสเตอร์สกอรก์ าร์ด) จากน้ันนาทีมทมี่ ผี ลคะแนนดที สี่ ดุ 2 ลาดบั แรก ในรอบคัดเลือก ( 6 เกม ) เข้าสรู่ อบชิงชนะเลศิ และ ทมี ที่มีคะแนนที่ 3 และ 4 เขา้ สู่รอบรอบชิงอนั ดบั ที่ 3 โดยทาการแข่งขัน 2 เกม และผลดั กนั เริ่มตน้ เกมก่อน - หลัง เพื่อความยุติธรรม 2.2.4 หากมที มี ท่เี ข้าส่รู อบชงิ ชนะเลศิ แน่นอนแลว้ ตง้ั แตก่ อ่ นจบการแข่งขันรอบคดั เลือก จะใช้ระบบ Gibsonize โดยไมต่ ้องเล่นเกมทีเ่ หลอื 2.2.5 ตวั แทน 3 ทมี เข้าสรู่ อบระดบั ชาติ 2.3 ระดบั ชาติ 2.3.1 ทมี ที่ได้เปน็ ตวั แทนของภาคเขา้ แขง่ ขนั ในระดับชาติ 2.3.2 ระยะเวลาดาเนนิ การแข่งขัน 2 วนั 2.3.3 กาหนดให้ทุกทมี ท่ีเขา้ แขง่ ขนั จะตอ้ งแขง่ รอบคัดเลอื กโดยใชร้ ะบบพบกันหมด (round robin) จานวน 11 เกม หลงั จากจบเกมท่ี 11 ให้ผเู้ ขา้ แข่งขนั สง่ ใบบนั ทึกผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอรส์ กอรก์ ารด์ ) จากนั้นให้กรรมการจดั เรยี งอันดับตามผลการแข่งขนั เพ่อื ประกบคู่การแข่งขันในเกมท่ี 12 และ 13 ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้งั ที่ ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๐

เกมท่ี 12 กรรมการประกบคแู่ ขง่ ขันแบบเรยี งลาดบั - king of the hill จากผลการแขง่ ขนั เกมที่ 11 จบเกมให้สง่ ใบบันทึกผลการแขง่ ขนั (ใบมาสเตอร์สกอร์การ์ด) เกมที่ 13 กรรมการประกบคู่แขง่ ขันแบบเรียงลาดบั - king of the hill จากผลการแข่งขนั เกมที่ 12 จบเกมใหส้ ง่ ใบบันทึกผลการแข่งขัน (ใบมาสเตอรส์ กอรก์ ารด์ ) จากน้ันนาทีมทมี่ ีผลคะแนนดที ีส่ ดุ 2 ลาดับแรก ในรอบคดั เลือก เขา้ สู่รอบชิงชนะเลศิ และทมี ที่มี คะแนนที่ 3 และ 4 เข้าสู่รอบรอบชิงอนั ดบั ท่ี 3 โดยทาการแขง่ ขัน 2 เกม และผลัดกนั เร่ิมต้นเกมกอ่ น - หลัง เพื่อความยตุ ธิ รรม 2.3.4 หากมที ีมท่เี ข้าสรู่ อบชิงชนะเลศิ แน่นอนแล้ว ตง้ั แตก่ อ่ นจบการแขง่ ขันรอบคดั เลือก จะใช้ระบบ Gibsonize โดยไมต่ ้องเล่นเกมที่เหลือ 3. เกณฑ์การตดั สนิ ร้อยละ 80-100 ไดร้ บั รางวัลระดบั เหรยี ญทอง รอ้ ยละ 70-79 ไดร้ บั รางวลั ระดับเหรียญเงนิ ร้อยละ 60-69 ไดร้ ับรางวัลระดบั เหรียญทองแดง ต่ากว่ารอ้ ยละ 60 ได้รบั เกียรตบิ ัตร เว้นแตก่ รรมการจะเห็นเปน็ อยา่ งอื่น ผลการตัดสินของคณะกรรมการถือเป็นสิ้นสุด 4. คณะกรรมการตดั สนิ การแข่งขนั เปน็ ผู้ทรงคณุ วุฒิ วิทยากร นกั กฬี าที่มคี วามรู้ ความยุติธรรม มีความเข้าใจในระบบการแขง่ ขัน ตลอดจนกฎและกตกิ าการแข่งขนั เป็นอยา่ งดี ไมจ่ าเป็นต้องเป็นครเู ฉพาะในกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ 4.1 กรรมการระดับเขตพนื้ ที่ ให้แต่ละเขตพื้นที่สรรหากรรมการในเขตทร่ี บั ผิดชอบหรือใกลเ้ คียงเพ่อื ดาเนินการตัดสินจากคณุ สมบตั เิ บอ้ื งต้นตามความเหมาะสม หมายเหตุ* ครูที่มีนกั เรยี นเขา้ แข่งขนั ในรุ่นนน้ั ๆ สามารถท่จี ะรว่ มเปน็ กรรมการตัดสนิ ในรุ่นนั้นได้ แต่ ไมส่ ามารถตัดสนิ ชข้ี าดในเกมท่ีนักเรียนของตนแขง่ ขนั ได้ ต้องใหก้ รรมการจากโรงเรยี นอ่นื เปน็ ผตู้ ดั สิน 4.2 กรรมการระดับภาค สว่ นกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตดั สินในแตล่ ะภาคใหบ้ างส่วน เพอ่ื เป็น กรรมการหลักในการตัดสิน ไมใ่ ห้เกิดขอ้ ผิดพลาด เพอื่ ใหก้ ารจดั การแข่งขันมีประสทิ ธภิ าพ และเกิดปัญหานอ้ ย ท่สี ุด สว่ นกรรมการดาเนินการจัดการแข่งขนั ให้ผู้รบั ผิดชอบระดบั ภาคของแต่ละภาคประสานงานและสรร หาตามความเหมาะสม 4.3 กรรมการระดบั ชาติ ส่วนกลางจะเป็นผู้กาหนดกรรมการตัดสิน 5. กติกาเพิ่มเติม 5.1 กฎและกตกิ าการแข่งขัน ใชก้ ฎและกตกิ าการแขง่ ขันของสมาคมครอสเวิรด์ เอแมท็ คาคม และซูโดกุ แหง่ ประเทศไทย 5.2 อุปกรณใ์ นการแขง่ ขนั ผู้เขา้ แข่งขันทุกทมี จะต้องเตรยี มอปุ กรณใ์ นการแขง่ ขันมาเอง ไดแ้ ก่ กระดานท่ี ใชใ้ นการแขง่ ขนั , แป้นวางเบ้ยี , ตวั เบย้ี และเบีย้ สารอง (กรณตี วั เบ้ียหาย) โดยทาสัญลกั ษณ์ เคร่อื งหมาย หรอื เขียนชอ่ื โรงเรียนใหเ้ รยี บร้อย เพ่ือใชใ้ นการแข่งขนั 5.2.1. รนุ่ ประถมศึกษาใช้อปุ กรณก์ ารแข่งรุ่นประถมศกึ ษา กระดานขนาด 15x15 ชอ่ ง (เบย้ี 70 ตวั ) 5.2.2 ร่นุ มัธยมศกึ ษา ใชอ้ ุปกรณก์ ารแข่งขันรุ่นมาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบ้ยี 100 ตัว) ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๓๑

5.3 เวลาในการแขง่ ขัน 5.1 กฎและกตกิ าการแขง่ ขัน ใชก้ ฎและกตกิ าการแขง่ ขันของสมาคมครอสเวิรด์ เอแม็ท คาคม และซูโดกแุ ห่งประเทศไทย 5.2 อุปกรณ์ในการแขง่ ขนั ผเู้ ขา้ แข่งขนั ทุกทมี จะตอ้ งเตรยี มอปุ กรณ์ในการแขง่ ขนั มาเอง ได้แก่ กระดานทใ่ี ชใ้ นการแข่งขนั , แป้นวางเบย้ี , ตัวเบี้ย และเบ้ยี สารอง (กรณีตวั เบย้ี หาย) โดยทาสัญลักษณ์ เครอ่ื งหมาย หรือเขียนชื่อโรงเรียนให้เรียบร้อย เพอื่ ใชใ้ นการแขง่ ขนั 5.2.1. ร่นุ ประถมศึกษาใชอ้ ุปกรณก์ ารแขง่ รุ่นประถมศกึ ษา กระดานขนาด 15x15 ชอ่ ง (เบยี้ 70 ตวั ) 5.2.2 รุน่ มัธยมศกึ ษา ใชอ้ ปุ กรณ์การแขง่ ขันรุ่นมาตรฐาน กระดานขนาด 15x15 ช่อง (เบย้ี 100 ตวั ) 5.3 เวลาในการแขง่ ขัน 5.3.1 ใช้เวลาแข่งขันฝ่งั ละ 22 นาที โดยใช้นาฬิกาจับเวลาแบบเปล่ียนสลับ (Switch Toggle) หรือ Chess Clock ทุกเกม เพือ่ ปอ้ งกันปัญหาความล่าช้าในการเลน่ การตัดเกม และการถว่ งเวลา 5.3.2 หากไม่มีนาฬิกาใหใ้ ช้แทบ็ เล็ตพซี ีหรือสมาร์ทโฟน (แนะนาให้ใชร้ ะบบ Android) โดยติดตงั้ แอพพลิเคชนั่ สาหรบั จบั เวลาเพิม่ เตมิ ซึ่งสามารถดาวน์โหลดแอพพลิเคช่ันลงบนแทบ็ เลต็ พซี ีหรือสมาร์ทโฟน เพ่ือนามาใช้จับเวลาได้ โดยพิมพ์คน้ หาใน App Store คาว่า “Scrabble Clock” หรือ “Chess Clock” ฯลฯ 5.3.3 ผ้เู ข้าแข่งสามารถนาสมารท์ โฟนทมี่ ีโปรแกรมนาฬิกาจบั เวลามาใช้ในการแขง่ ขันได้ ค่แู ขง่ ขัน สามารถตรวจสอบและทดสอบการใชง้ านของนาฬิกาท่ีค่ตู อ่ สู้เตรียมมากอ่ นได้ 5.3.4 กอ่ นแข่งให้ตรวจสอบแบตเตอรี่ที่เหลือก่อนใชท้ ุกครงั้ เพื่อปอ้ งกันเครอื่ งดับระหว่างแข่งขัน 5.3.5 เม่ือผู้เข้าแข่งขันฝ่ายใดฝา่ ยหนึง่ ร้องขอให้มีการใช้นาฬิกาในเกมนั้น คตู่ ่อสไู้ มม่ สี ิทธปิ ฏิเสธหรือ เล่ยี งการใช้นาฬกิ าได้ 5.3.6 หากมีผูเ้ ลน่ ใชเ้ วลาเกิน จะถกู หกั คะแนนนาทีละ 10 คะแนน เศษวนิ าทจี ะถูกนับเป็น 1 นาที ตัวอย่างเชน่ นาย A ใชเ้ วลาตดิ ลบ -3.18 นาที จะถอื วา่ นาย A ใชเ้ วลาเกิน 4 นาที และจะถกู หกั คะแนน 40 คะแนน ตามกฎ (นาฬกิ าท่ใี ชต้ ้องตั้งค่าโปรแกรมให้เวลาตดิ ลบได้) ผเู้ ล่นควรฝึกการใช้นาฬิกาจับเวลาใหช้ านาญ กอ่ นแขง่ เพ่ือใหก้ ารแขง่ ขนั เป็นไปตามมาตรฐานสากล 5.3.7 หา้ มกรรมการตดั สินทาการตดั เกมการแข่งขนั ตอ้ งให้ผู้เข้าแข่งขันเลน่ จนจบเกมเทา่ นน้ั หากมี การตดั เกมการแข่งขนั ผฝู้ ึกสอนหรอื ผูเ้ ข้าแข่งขันสามารถประท้วงกรรมการผตู้ ดั สินได้ หรอื หากตอ้ งมีการตดั เกมจริงตอ้ งได้รับการยินยอมจากผ้เู ขา้ แขง่ ขันและผ้ฝู ึกสอนเช่นกนั 5.3.8 กรณีไม่ใชน้ าฬิกา กรรมการต้องชีแ้ จงเง่ือนไขกับผเู้ ข้าแขง่ ขันและครผู ู้ฝึกสอนก่อนเร่มิ การ แขง่ ขัน และตอ้ งได้รับการยนิ ยอมจากทุกฝ่าย และบรหิ ารจัดการเวลาในการแขง่ ขันอย่างเหมาะสม 5.4 การขอตรวจสมการ (Challenge) 5.4.1 ผูเ้ ล่นจะสามารถขอตรวจสมการไดก้ ็ตอ่ เมือ่ คู่ต่อสู้ขานแต้มและกดเวลาแล้วเทา่ นั้น หากคูต่ ่อสู้ ยังไมข่ านแต้มและไม่กดเวลาการขอชาเล้นจไ์ ม่เปน็ ผล 5.4.2 การขอโฮลด์ (Hold) ในกรณีขอพจิ ารณาสมการท่ีคูแ่ ขง่ ขันลง คูแ่ ข่งขันจะยงั ไมส่ ามารถจบั เบ้ีย ขน้ึ มาเพม่ิ ได้ จนกวา่ คแู่ ขง่ ขันท่ีขอโฮลดย์ อมรบั สมการน้ันๆ (เวลาในการขอโฮลด์ ไม่เกิน 1 นาท)ี 5.5 คะแนนในแต่ละเกม ทมี ท่ชี นะจะได้ 2 คะแนน , เสมอไดท้ ีมละ 1 คะแนน และแพไ้ ด้ 0 คะแนน 5.6 การจัดอันดับคะแนน ให้นับคะแนนรวมจากเกมทช่ี นะ และเสมอ กอ่ นเป็นลาดับแรก หาก คะแนนเท่ากัน ใหใ้ ช้แต้มผลต่างสะสม (Difference) เป็นตัวตดั สิน 5.7 แตม้ ผลต่างสงู สุดตอ่ เกม Maximum Difference ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๒

5.7.1 เอแม็ทรนุ่ ประถมศึกษา แตม้ ต่างสูงสดุ ไม่เกิน 150 แตม้ ถา้ เกนิ กว่าน้นั ให้ปดั ลงเหลือ 150 แต้ม เฉพาะเกมสดุ ทา้ ยแต้มต่างไมเ่ กิน 120 แตม้ ถ้าเกนิ ใหป้ ัดลงเหลอื 120 แตม้ 5.7.2 เอแมท็ ร่นุ มัธยมศึกษา แต้มตา่ งสงู สุดไม่เกนิ 250 แตม้ ถา้ เกนิ กวา่ นน้ั ให้ปัดลงเหลอื 250 แต้ม เฉพาะเกมสุดท้ายแต้มตา่ งไม่เกนิ 200 แต้ม ถา้ เกินให้ปดั ลงเหลอื 200 แต้ม 5.7.3 รอบชิงชนะเลศิ ไม่มี Maximum Difference 5.7.4 ชนะบาย (Bye) ในกรณีท่ีไมม่ ีคแู่ ข่งขนั ผ้เู ขา้ แขง่ ขนั จะไดช้ นะในเกมนั้นๆ เอแม็ทรุ่น ประถมศกึ ษาจะได้คะแนนสะสม 80 แตม้ มธั ยมศึกษาได้ 100 แต้ม 5.8 การหยุดเกม ในกรณีที่จาเป็นตอ้ งหยดุ เกมต้องไมม่ ีการคดิ สมการ และให้ควา่ เบ้ียทุกครั้ง เช่น ตรวจสอบคะแนนให้ตรงกัน , ตัวเบี้ยชารุด(ให้เรียกกรรมการเทา่ น้ัน) เปน็ ต้น หมายเหตุ ไม่อนญุ าตใหผ้ ู้เขา้ แข่งขันเข้าหอ้ งน้าหรอื ลุกจากโตะ๊ แขง่ ขันระหว่างการแขง่ ขัน ต้องทากิจ ธุระใหแ้ ล้วเสร็จก่อนเริ่มการแข่งขันในแตล่ ะเกม 5.9 หา้ มเลน่ เครื่องมือสอื่ สาร ใส่หฟู งั หรือคุยโทรศพั ท์ขณะแข่งขัน 5.10 ให้จบั ถงุ เบ้ียในระดบั สายตาหรือให้พ้นสายตา จบั เบีย้ ใหค้ รบและวางเบ้ียท่ีจบั ลงบนโตะ๊ กอ่ น ใส่ในแป้นวางเบยี้ เทา่ น้ัน ห้ามวางถุงเบีย้ บนโตะ๊ แลว้ จับเบ้ีย ห้ามจบั เบย้ี ใต้โตะ๊ หรอื เปดิ เบยี้ ดูใตโ้ ต๊ะ ตามกฎ กตกิ าและมารยาทในการแข่งขนั ผู้เล่นฝา่ ยตรงข้ามสามารถตกั เตือนไดห้ ากผ้เู ล่นอกี ฝ่ายมีพฤตกิ รรมดงั กลา่ ว และสามารถเรียกกรรมการมาตกั เตือนหากยงั ทาซา้ เมอื่ จบั เบ้ยี เสร็จแลว้ ให้รดู เชือกปิดถุงเบ้ียใหเ้ รยี บรอ้ ย 5.11 การทุจริตในการแข่งขัน ผู้เขา้ แขง่ ขันที่ทุจรติ ในการแขง่ ขันจะถูกปรบั แพ้ในเกมน้ันๆ ไม่ให้รับ รางวัล หรอื ให้ออกจากการแข่งขนั และโรงเรยี นจะถกู ตัดสิทธ์ิจากการแขง่ ขัน้ ในปีถัดไปสาหรบั กจิ กรรม ดงั กล่าว ท้ังนี้ข้ึนอยกู่ บั ดุลยพนิ จิ ของกรรมการตดั สิน 5.12 ผฝู้ ึกสอนสามารถเข้าในบริเวณสนามแข่งขนั ได้ โดยตอ้ งเว้นระยะหา่ งจากโตะ๊ ที่นักเรยี นของ ตนแข่งขันอยา่ งน้อย 3 เมตร (กรรมการอาจจัดพน้ื ทีส่ าหรบั ผฝู้ ึกสอนบริเวณสนามแข่งขนั ) และไมส่ ่งเสียงดัง หรือรบกวนสมาธิของผู้เข้าแขง่ ขนั รวมถงึ รบกวนการทาหนา้ ที่ตัดสินของกรรมการ ผ้ฝู กึ สอนสามารถพดู คุย แนะนานกั เรียนของตนไดห้ ลงั จบการแข่งขนั แต่ละเกมเท่าน้ัน ไม่สามารถแนะนาระหวา่ งทาการแขง่ ขนั ได้ หาก เกดิ ปัญหาในการแข่งขนั สามารถขอฟงั คาชแี้ จงจากกรรมการได้ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความกระจ่างในการแข่งขัน 5.13 กตกิ าและมารยาทในการแขง่ ขันเพ่มิ เติม สามารถศึกษาได้จากแหล่งข้อมลู ด้านล่าง กลุ่มเอแมท็ งานศิลปหตั ถกรรมนักเรยี น https://www.facebook.com/groups/413508119031182/ เพจครอสเวิรด์ เอแม็ท คาคม งานศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี น https://www.facebook.com/Crossword.AMath.Kumkom/ กลุ่มกจิ กรรมการต่อสมการคณติ ศาสตร์ (เอแมท็ ) นายรววั ฒั น์ วฒุ ิไชยา โทร 089-941-5944 นายธวชั ชยั ธีรอาภรณ์ โทร 083-089-5840 นายศาตรา อทุ ัยโรจนรตั น์ โทร 098-831-0646 ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๓๓

7. การแขง่ ขนั ซโู ดกุ 1. ประเภทและจานวนผู้เข้าแข่งขนั 1.1 แขง่ ขนั ประเภทเด่ยี ว 1.2 จานวนผเู้ ขา้ แข่งขัน 1) นกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 1 – 6 จานวน 1 คน 2) นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 (ขยายโอกาส) จานวน 1 คน 3) นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 – 3 (สามญั ) จานวน 1 คน 4) นักเรยี นช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 จานวน 1 คน 2. วธิ ีดาเนินการ และรายละเอียดหลักเกณฑก์ ารแข่งขัน 2.1 ระดบั เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ให้ตวั แทนนักเรียนแตล่ ะโรงเรยี นเขา้ รว่ มแข่งขันทง้ั หมด 2 รอบๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทย์ปริศนา 10 ข้อตามรูปแบบที่กาหนดให้ รปู แบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทงั้ สองรอบจะใช้โจทยป์ รศิ นรูปแบบ เดียวกัน ผเู้ ขา้ แข่งขันทไ่ี ด้คะแนนสงู สุด จะได้รับการคดั เลอื กเป็นตัวแทนระดับเขตพื้นทีก่ ารศึกษา เข้าสู่การ แข่งขนั ระดับภาคต่อไป 2.2 ระดบั ภาค ให้ตัวแทนนักเรยี นแต่ละเขตพน้ื ที่การศกึ ษาแขง่ ขันท้งั หมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใช้โจทยป์ รศิ นา 10 ขอ้ ตามรูปแบบที่กาหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทั้งสองรอบจะใชโ้ จทย์ปรศิ นา รปู แบบเดียวกนั ผเู้ ขา้ แขง่ ขนั ท่ไี ด้คะแนนสงู สุด 3 ลาดับแรก จะไดร้ ับการคัดเลือกเป็นตวั แทนระดับภาค เขา้ สู่ การแข่งขันระดบั ชาติตอ่ ไป 2.3 ระดับชาติ ให้ตวั แทนนกั เรยี นแตล่ ะภาค แขง่ ขันท้ังหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทย์ปริศนา 10 ข้อ ตาม รปู แบบท่กี าหนดให้ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทั้งสองรอบจะใช้โจทยป์ ริศนารปู แบบเดียวกัน ผู้เขา้ แข่งขนั ท่ไี ด้คะแนนสูงทส่ี ุด 2 อนั ดับแรกเข้าสู่รอบชิงชนะเลศิ และผ้เู ขา้ แข่งทีไ่ ดค้ ะแนนอนั ดับท่ี 3 และ 4 จะเขา้ สู่รอบชงิ อนั ดับท่ี 3 2.4 การแข่งขนั รอบชิงชนะเลศิ ในการแข่งขันระดบั ชาติ ใหต้ ัวแทนนกั เรียนท่ีได้คะแนนสงู ที่สดุ 2 อนั ดบั แรก แขง่ ขนั รอบชิงชนะเลิศ และตวั แทนนักเรียนท่ีได้ คะแนนอนั ดบั ท่ี 3 และ 4 แขง่ ขนั รอบชงิ อนั ดับที่ 3 โดยแข่งขันท้งั หมด 3 รอบ ๆ ละ 10 นาที ใช้โจทย์ ปรศิ นา 1 ขอ้ นักเรียนทีส่ ามารถทาโจทย์ได้ถูกต้องและทาเสรจ็ เป็นลาดับที่ 1 จะได้รับ 1 คะแนน หาก นกั เรยี นคนใดได้ 2 คะแนนก่อน ถอื เปน็ ผูท้ ีไ่ ดร้ บั รางวัลชนะเลิศ และ รางวลั รองชนะเลิศอนั ดับที่ 2 ตามลาดบั 2.5 รปู แบบปริศนาซูโดกุที่ใช้ในการแขง่ ขัน 2.5.1 ระดบั ประถมศกึ ษา ประกอบดว้ ยปรศิ นาซูโดกุท้งั หมด 10 รูปแบบ ดงั น้ี 1. 6 x 6 Classic Sudoku 6. 9 x 9 Classic Sudoku 2. 6 x 6 Alphabet Sudoku 7. 9 x 9 Alphabet Sudoku 3. 6 x 6 Diagonal Sudoku 8. 9 x 9 Diagonal Sudoku ศลิ ปหัตถกรรมนักเรยี นคร้งั ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๔

4. 6 x 6 Jigsaw Sudoku 9. 9 x 9 Jigsaw Sudoku 5. 6 x 6 Thai Alphabet Sudoku 10. 9 x 9 Even-Odd Sudoku 2.5.2 ระดบั มัธยมศึกษา ประกอบด้วยปรศิ นาซูโดกุตาราง 9 x 9 ทงั้ หมด 10 รปู แบบ ดังน้ี 1. Classic Sudoku 6. Consecutive Sudoku 2. Diagonal Sudoku 7. Asterisk Sudoku 3. Alphabet Sudoku 8. Thai Alphabet Sudoku 4. Jigsaw Sudoku 9. Diagonal Jigsaw Sudoku 5. Even-Odd Sudoku 10. Windoku Sudoku 3. กตกิ าการแข่งขันและวธิ ีการนับคะแนนซโู ดกุ 3.1 ให้ตัวแทนนักเรยี นแข่งขันท้ังหมด 2 รอบ ๆ ละ 60 นาที ใชโ้ จทยป์ ริศนา 10 รูปแบบ รูปแบบละ 1 ตาราง รวมรอบละ 10 ตาราง ทง้ั สองรอบจะใชโ้ จทยป์ ริศนารูปแบบเดยี วกัน 3.2 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาซโู ดกุได้ภายในเวลาท่ีกาหนด และถูกต้อง จะได้รับ คะแนนประจาโจทยป์ รศิ นา ข้อละ 10 คะแนน หากทาปริศนาไมถ่ กู ตอ้ ง สามารถทาผดิ ได้ข้อละ 2 ช่องเทา่ นั้น โดยจะหักคะแนนช่องละ 3 คะแนน 3.3 หากตัวแทนนักเรียนสามารถแก้โจทย์ปริศนาทั้งหมดได้ถูกต้องภายในเวลาที่กาหนดในแต่ละรอบ (รวมถึงปรศิ นาท่ีผดิ ไม่เกนิ 2 ช่อง) จะได้รบั คะแนนโบนสั เวลาเพม่ิ นาทีละ 3 คะแนน โดยคานวณจากเวลาที่ เหลืออยู่เป็นนาที (เศษของนาทีปดั ทิ้ง) คูณด้วย 3 (ถา้ แกโ้ จทย์ปริศนาไมถ่ ูกต้อง และผิดเกนิ 2 ช่อง ตั้งแต่ 1 ตารางข้ึนไป จะไม่ได้รับคะแนนโบนัส) ตวั อย่างการคิดคะแนนโบนัสเวลา เช่น ถ้ากาหนดเวลาในรอบให้ 30 นาที แต่นาย Z ทาเสรจ็ และถกู ตอ้ งภายในเวลา 20 นาที 40 วินาที นาย Z จะได้คะแนนโบนัสเวลาในรอบน้ี เทา่ กบั 9 นาที x 3 คะแนนต่อนาที = คะแนนโบนัสเวลา 27 คะแนน 4. เกณฑก์ ารตัดสิน ร้อยละ 80-100 ได้รับรางวลั ระดับเหรยี ญทอง รอ้ ยละ 70-79 ไดร้ ับรางวัลระดับเหรยี ญเงนิ ร้อยละ 60-69 ได้รับรางวัลระดบั เหรยี ญทองแดง ต่ากวา่ ร้อยละ 60 ไดร้ ับเกียรติบตั ร เวน้ แต่กรรมการจะเห็นเป็นอยา่ งอน่ื ผลการตัดสินของคณะกรรมการถอื เป็นสิ้นสุด 5. สถานทจี่ ัดการแข่งขัน ควรใช้ห้องเรยี นทีม่ ีโต๊ะ เกา้ อี้ ที่สามารถดาเนินการแข่งขันได้พร้อมกัน 6. การเข้าแข่งขนั ระดับภาคและระดับชาติ 6.1 ให้นักเรียนท่ีเป็นตัวแทนของเขตพ้ืนท่ีการศึกษา เข้าแข่งขันในระดับภาค ทุกกิจกรรมต้องได้ คะแนนระดับเหรยี ญทอง ลาดับที่ ๑ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขึน้ ไป) และทีมทีเ่ ป็นตวั แทนระดบั ภาคเข้าแขง่ ขันใน ระดบั ชาติ จะต้องไดค้ ะแนนระดบั เหรียญทอง ลาดับท่ี ๑ - ๓ (คะแนนร้อยละ ๘๐ ขน้ึ ไป) ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครัง้ ท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๕

6.2 ในกรณแี ขง่ ขันระดบั เขตพ้ืนทก่ี ารศึกษา ทีม่ ีผู้ชนะลาดับสงู สุดได้คะแนนเท่ากนั และในระดบั ภาค มมี ากกวา่ ๓ คน ให้ใชโ้ จทย์ปรศิ นาซโู ดกุสารอง รูปแบบ 9x9 Classic 1 ตาราง ใช้เวลา 10 นาที ตัวแทนนกั เรยี น ทีส่ ามารถทาโจทยไ์ ดถ้ กู ตอ้ งและทาเสร็จเป็นลาดับท่ี 1 ถอื เป็นผ้ชู นะ ตัวอย่างโจทย์ปริศนาซูโดกทุ ใ่ี ชใ้ นการแขง่ ขัน 6 x 6 Classic Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 2x3 6 x 6 Alphabet Sudoku เตมิ ตวั อกั ษร A ถงึ F ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางย่อยขนาด 2x3 ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครัง้ ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๖

6 x 6 Diagonal Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 2x3 และ แนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้ 6 x 6 Jigsaw Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 6 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบด้วย เสน้ สดี าหนา ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครง้ั ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๓๗

6 x 6 Thai Alphabet Sudoku เตมิ ตวั อกั ษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ ไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ย ขนาด 2 x 3 9 x 9 Classic Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3 ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๓๘

9 x 9 Alphabet Sudoku เตมิ ตวั อกั ษร A ถงึ I ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3x3 9 x 9 Diagonal Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางย่อยขนาด 3x3 และ แนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้ ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครัง้ ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กล่มุ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๓๙

9 x 9 Jigsaw Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบดว้ ย เสน้ สดี าหนา 9 x 9 Odd-Even Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางยอ่ ยขนาด 3x3 โดย ทช่ี อ่ งทแ่ี รเงาจะต้องเตมิ เลขคเู่ ทา่ นนั้ ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครงั้ ท่ี ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๐

9 x 9 Consecutive Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน และตารางย่อยขนาด 3x3 ถา้ มแี ถบสดี าอยู่ระหวา่ ง 2 ชอ่ งใด ตวั เลขในสองชอ่ งนนั้ จะตอ้ งมคี า่ เรยี งกนั แต่ถ้าไม่มแี ถบสดี าอยู่ ระหวา่ ง 2 สองชอ่ งใดแสดงวา่ ตวั เลขในสองชอ่ งนนั้ หา้ มมคี า่ เรยี งกนั 9 x 9 Asterisk Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และ ชอ่ งทแ่ี รเงา 9 ชอ่ ง ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๑

9 x 9 Windoku Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยขนาด 3x3 และ ชอ่ งแรเงาขนาด 3x3 9 x 9 Thai Alphabet Sudoku เตมิ ตวั อกั ษรภาษาไทย ก, ข, ค, ง, จ, ฉ, ช, ซ, ฌ ไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแตล่ ะแถว แนวตงั้ แนวนอน และ ตารางย่อยขนาด 3 x 3 ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครง้ั ที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๒

9 x 9 Diagonal Jigsaw Sudoku เตมิ ตวั เลข 1 ถงึ 9 ลงในชอ่ งวา่ งไมใ่ หซ้ ้ากนั ในแต่ละแถว แนวตงั้ แนวนอน ตารางยอ่ ยทต่ี กี รอบด้วยเสน้ สดี าหนา และ แนวทแยงมมุ ทงั้ สองเสน้ ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นคร้ังที่ ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๓

8. การแข่งขนั เวทคณิต 1. ระดบั และคุณสมบตั ผิ ู้เขา้ แข่งขนั การแข่งขนั แบ่งเป็น 3 ระดับ ดังนี้ 1.1 ระดับประถมศึกษาตอนตน้ ผู้เขา้ แข่งขนั ตอ้ งเป็นนักเรียนในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 เท่าน้นั 1.2 ระดบั ประถมศกึ ษาตอนปลาย ผู้เข้าแข่งขนั ตอ้ งเปน็ นักเรียนในช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 – 6 เท่านน้ั 1.3 ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น ผู้เขา้ แขง่ ขนั ตอ้ งเปน็ นกั เรยี นในช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 เท่านั้น 2. ประเภทและจานวนผู้เข้าแขง่ ขนั 2.1 ประเภทเดยี่ ว 2.2 จานวนผเู้ ข้าแข่งขันระดับละ 1 คน 3. วิธีดาเนินการและหลักเกณฑ์การแขง่ ขนั 3.1 ส่งรายชือ่ นกั เรียนผ้เู ขา้ แขง่ ขนั ส่งรายชือ่ นักเรยี นผเู้ ข้าแขง่ ขัน พรอ้ มครูผู้ฝึกสอนระดบั ละ 1 คน ตามแบบฟอร์มท่ีกาหนด 3.2 การจัดการแข่งขนั ใชข้ อ้ สอบเปน็ เครอื่ งมือในการแขง่ ขัน โดยขอ้ สอบแบง่ เปน็ ๒ ฉบบั ผเู้ ข้าแข่งขันไดร้ ับข้อสอบ คนละ ๑ ชดุ ดังน้ี ฉบับท่ี ๑ ขอ้ สอบประเภทเขียนคาตอบ แบง่ เปน็ ๔ ตอน รวม 100 คะแนน ได้แก่ ตอนที่ ๑ การบวก จานวน 30 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนที่ ๒ การลบ จานวน 30 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนที่ ๓ การคูณ จานวน 20 ข้อ ข้อละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ตอนท่ี ๔ การหาร จานวน 20 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน กาหนดเวลา 5 นาที ฉบับท่ี ๒ ข้อสอบประเภทแสดงวธิ ีทาและตอบ รวม 100 คะแนน กาหนดเวลา 60 นาที ตอนที่ 1 การบวก จานวน 8 ขอ้ ขอ้ ละ 3 คะแนน ตอนท่ี 2 การลบ จานวน 8 ขอ้ ข้อละ 3 คะแนน ตอนที่ 3 การบวกลบระคน จานวน 1 ขอ้ ข้อละ 4 คะแนน ตอนท่ี 4 การคูณ จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน ตอนท่ี 5 การหาร จานวน 8 ข้อ ขอ้ ละ 3 คะแนน ศิลปหตั ถกรรมนกั เรยี นครั้งท่ี ๖8 ปีการศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๔

3.3 กติกาและวิธีการแข่งขนั กติกาการแขง่ ขัน ๑. ชแ้ี จงระเบียบการแขง่ ขนั ให้ผู้เข้าแข่งขนั เข้าใจตรงกนั ก่อนเริ่มการแข่งขนั ๒. ใช้ขอ้ สอบเปน็ เครอ่ื งมือในการแขง่ ขัน 3. อนุญาตให้ผ้เู ข้าแข่งขนั นาอปุ กรณเ์ ขา้ ไปในห้องสอบแข่งขัน ไดแ้ ก่ ดินสอ ปากกา ยางลบ ปากกาลบคาผิด ให้ผ้เู ข้าแข่งขนั เตรียมมาเอง ๔. ไม่อนุญาตให้นานาฬกิ าดจิ ิตอล เคร่อื งมือคานวณ เคร่ืองมอื สอ่ื สารทกุ ชนิด เข้าหอ้ งสอบ ๕. ใหน้ าบัตรประจาตัวผู้เข้าแข่งขันและบัตรครูผู้ดูแลนักเรียน (พิมพจ์ ากระบบ) มาในวันแขง่ ขันด้วย 6. นักเรียนทีเ่ ป็นตัวแทนเขา้ รว่ มแข่งขันระดับชาติ ต้องเป็นบคุ คลคนเดยี วกับผู้ทไี่ ด้รบั การ คดั เลอื กจากระดับภาค และระดบั เขตพน้ื ทเ่ี ท่านั้น วิธีการจัดการแขง่ ขนั การสอบ ฉบบั ที่ 1 1. ในการสอบ เมอื่ ผแู้ ข่งขนั เขา้ น่ังประจาท่ีเรียบรอ้ ยแลว้ กรรมการจะวางข้อสอบโดยคว่าข้อสอบ ไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพ่ือให้นักเรียนกรอกช่ือ นามสกุล ช้ัน โรงเรียน ใหเ้ รยี บร้อย แลว้ ควา่ ข้อสอบไว้ทเ่ี ดมิ โดยเรยี งตามลาดับตอนท่ี 4 การหารไวล้ า่ งสดุ ตามดว้ ย การคูณ การลบ และการบวก ตามลาดับ (หา้ มเปิดข้อสอบจนกว่ากรรมการจะใหส้ ญั ญาณ) 2. การสอบข้อสอบฉบับที่ 1 ตอนที่ 1 การบวก เมื่อกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบ ให้ผู้แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เมื่อหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบ ไว้ดา้ นขวามอื ของผูแ้ ข่งขัน กรรมการเก็บข้อสอบตอนที่ 1 การบวก 3. การสอบข้อสอบฉบับท่ี 1 ตอนท่ี 2 การลบ เมื่อกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขนั วางดินสอ/ปากกา และวางขอ้ สอบไว้ด้าน ขวามอื ของผ้แู ข่งขัน กรรมการเก็บข้อสอบตอนที่ 2 การลบ 4. การสอบข้อสอบฉบับท่ี 1 ตอนที่ 3 การคูณ เม่ือกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เม่ือหมดเวลา ให้ผู้แข่งขนั วางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้าน ขวามอื ของผู้แขง่ ขนั กรรมการเกบ็ ขอ้ สอบตอนที่ 3 การคณู 5. การสอบข้อสอบฉบับท่ี 1 ตอนท่ี 4 การหาร เมื่อกรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบให้ผู้ แข่งขันเร่ิมทาข้อสอบ จับเวลา 5 นาที เมื่อหมดเวลา ให้ผู้แข่งขันวางดินสอ/ปากกา และวางข้อสอบไว้ด้าน ขวามือของผ้แู ขง่ ขนั กรรมการเกบ็ ข้อสอบตอนท่ี 4 การหาร ศลิ ปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๕

วธิ กี ารจัดการแขง่ ขันการสอบ ฉบบั ที่ 2 1. ในการสอบ เมื่อผแู้ ขง่ ขันเข้าน่งั ประจาทเ่ี รียบร้อยแลว้ กรรมการจะวางขอ้ สอบโดยคว่าขอ้ สอบ ไว้ด้านซ้ายมือของผู้แข่งขันจนครบทุกคน กรรมการจะให้สัญญาณเพ่ือให้นักเรียนกรอกชื่อ นามสกุล ชั้น โรงเรยี น ใหเ้ รยี บร้อย แล้วคว่าขอ้ สอบไวท้ ีเ่ ดมิ (ห้ามเปดิ ข้อสอบจนกว่ากรรมการจะให้สัญญาณ) 2. เมือ่ กรรมการให้สัญญาณเร่ิมทาข้อสอบ ใหผ้ แู้ ขง่ ขันเร่มิ ทาข้อสอบฉบับท่ี 2 จบั เวลา ๖0 นาที เม่อื หมดเวลา ใหผ้ ู้แข่งขันวางปากกา/ดินสอ และวางข้อสอบไวด้ ้านขวามือของผูแ้ ข่งขนั กรรมการเกบ็ ข้อสอบ ฉบับท่ี 2 3.4 โครงสรา้ งข้อสอบ ระดับประถมศกึ ษาปีท่ี 1 – 3 ฉบับท่ี โครงสร้างขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ข้อ รวม (นาท)ี ฉบับท่ี 1 การบวกจานวนเตม็ บวก 2 - 4 หลกั 3 จานวน 10 10 ประเภท การบวกจานวนเตม็ บวก 3 - 5 หลกั 4 จานวน 10 10 30 5 เขยี น การบวกจานวนเต็มบวก 4 - 6 หลกั 5 จานวน 10 10 คาตอบ การลบตัวตง้ั จานวนเต็มบวก 2 - 3 หลกั ตวั ลบจานวนเต็มบวก 10 10 2 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก การลบตัวต้ังจานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ บวก 10 10 30 5 3 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก การลบตวั ตงั้ จานวนเต็มบวก 4 – 5 หลัก ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 10 10 4 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก การคณู จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั กับ จานวนเตม็ บวก 1 - 2 หลัก ๕ ๕ การคูณจานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลัก กบั จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลกั ๕ ๕ ๒0 5 การคูณจานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั กบั จานวนเต็มบวก 2 – 3 หลกั 10 10 การหารตัวต้ังจานวนเต็มบวก 2 - 3 หลกั ตัวหารจานวนเต็ม 1๐ 1๐ ๒0 5 บวก 1 หลัก ผลหารลงตัว 1๐ 1๐ การหารตวั ตั้งจานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลัก ตัวหารจานวนเต็มบวก 1 – 2 หลกั ผลหารลงตัว ศิลปหัตถกรรมนักเรยี นครั้งที่ ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ หนา้ ๔๖

ระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 1 – 3 ฉบบั ท่ี โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ข้อ รวม (นาท)ี ฉบับที่ 2 ตอนที่ 1 การบวกแบบทดจุด 26 ประเภท การบวกจานวนเต็มบวก 2 - 4 หลัก 3 จานวน 3 9 24 แสดงวธิ ที า การบวกจานวนเตม็ บวก 3 – 5 หลัก 4 จานวน 39 และตอบ การบวกจานวนเตม็ บวก 4 – 6 หลัก 5 จานวน ตอนที่ 2 การลบ ( 2 จานวน ) การลบโดยใชห้ ลกั ทบสบิ ตัวต้ังจานวนเต็มบวก 3 หลัก 26 ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 3 หลัก ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก การลบโดยใชห้ ลักทบสิบทบเก้า ตวั ตัง้ จานวนเตม็ บวก 3 หลัก 26 ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 3 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเต็มบวก 24 การลบโดยใช้การลบตรงหลกั ตวั ตงั้ จานวนเตม็ บวก 3 หลัก ตวั ลบจานวนเต็มบวก 3 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก 26 การลบโดยใช้วธิ ีนิขิลัม ตวั ต้งั จานวนเตม็ บวก 3 หลัก ตัวลบจานวนเตม็ บวก 3 หลกั ผลลบเปน็ จานวนเต็มบวก 26 ตอนท่ี 3 การบวกลบระคน การบวกลบระคน จานวนเตม็ บวก 2 – ๓ หลัก ๔ จานวน ๖๐ ผลลพั ธเ์ ปน็ จานวนเตม็ บวก ๑ ๔๔ ตอนท่ี 4 การคูณ ( 2 จานวน ) การคูณโดยการจัดตาแหนง่ ผลคณู จานวนเตม็ บวก 3 หลัก กับ 26 จานวนเต็มบวก 2 หลัก 3 9 24 การคูณแนวตง้ั และแนวไขว้ จานวนเต็มบวก 3 หลกั กับ 39 จานวนเต็มบวก 3 หลกั การคูณโดยวิธีเบีย่ งฐาน จานวนเตม็ บวก 2 หลัก กับ 4 12 จานวนเตม็ บวก 2 หลกั 24 ตอนท่ี 5 การหาร ( 2 จานวน ) การหารโดยใช้วิธีนิขลิ มั ตวั ต้ังจานวนเต็มบวก 3 หลกั 4 12 ตัวหารจานวนเต็มบวก 2 หลัก ผลหารลงตวั การหารโดยใชว้ ธิ ีพาราวารท การหารตัวตั้งจานวนเต็มบวก 3 หลัก ตวั หารจานวนเต็มบวก 2 หลกั ผลหารลงตวั ศิลปหตั ถกรรมนักเรยี นครั้งท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๔๗

ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 – 6 ฉบับท่ี โครงสร้างข้อสอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ขอ้ รวม (นาท)ี ฉบบั ท่ี 1 การบวกจานวนเตม็ บวก 3 – 5 หลกั 3 จานวน 10 10 ประเภท การบวกจานวนเตม็ บวก 4 - 6 หลัก 4 จานวน 10 10 30 5 เขียน การบวกจานวนเต็มบวก 6 - 7 หลัก 5 จานวน 10 10 คาตอบ การลบตัวต้ังจานวนเต็มบวก 3 - 4 หลัก ตวั ลบจานวนเต็มบวก 10 10 3 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก การลบตัวตง้ั จานวนเตม็ บวก 4 - 5 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ บวก 10 10 30 5 3 - 4 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก การลบตัวต้งั จานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลัก ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 10 10 5 - 7 หลัก ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก การคูณจานวนเต็มบวก 2 - 3 หลัก กบั จานวนเต็มบวก 2 - 3 ๕ ๕ หลัก การคูณจานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั กับ จานวนเต็มบวก 2 - 3 ๕ ๕ ๒0 5 หลกั การคณู จานวนเตม็ บวก 3 - 5 หลกั กับ จานวนเต็มบวก 2 – 3 10 10 หลัก การหารตัวตง้ั จานวนเตม็ บวก 3 - 4 หลกั ตัวหารจานวนเตม็ บวก 1๐ 1๐ ๒0 5 2 - 3 หลกั ผลหารลงตวั หรือ ไม่ลงตัว (ตอบเปน็ เศษเหลอื ) 1๐ 1๐ การหารตวั ตง้ั จานวนเต็มบวก 4 - 5 หลกั ตัวหารจานวนเตม็ บวก 2 – 4 หลัก ผลหารลงตัว หรอื ไม่ลงตัว (ตอบเป็นเศษเหลอื ) ศิลปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้งั ท่ี ๖8 ปกี ารศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ หน้า ๔๘

ระดบั ประถมศึกษาปีที่ ๔ – ๖ ฉบับที่ โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ข้อ รวม (นาที) ฉบับท่ี 2 ตอนท่ี 1 การบวกแบบทดจุด ประเภท การบวกจานวนเตม็ บวก ๓ – 5 หลัก 3 จานวน 26 แสดงวธิ ีทา การบวกจานวนเต็มบวก 4 – 6 หลัก 4 จานวน 3 9 24 และตอบ การบวกจานวนเต็มบวก 6 – 7 หลกั 5 จานวน 39 ตอนท่ี 2 การลบ ( 2 จานวน ) การลบโดยใชห้ ลักทบสิบ ตัวตั้งจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลัก 2 6 ตัวลบจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก การลบโดยใชห้ ลักทบสบิ ทบเก้า ตวั ตั้งจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลัก 2 6 ตวั ลบจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเต็มบวก 2 24 การลบโดยใชก้ ารลบตรงหลัก ตัวตั้งจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลัก ตัวลบจานวนเต็มบวก 5 – 7 หลัก ผลลบเปน็ จานวนเตม็ บวก 6 การลบโดยใชว้ ิธนี ิขิลัม ตัวต้งั จานวนเต็มบวก 5 – 7 หลกั 2 6 ตัวลบจานวนเตม็ บวก 5 – 7 หลกั ผลลบเป็นจานวนเตม็ บวก ตอนท่ี 3 การบวกลบระคน ๖๐ การบวกลบระคน จานวนเต็มบวก 3 – 4 หลกั ๔ จานวน ๑ ๔๔ ผลลัพธเ์ ปน็ จานวนเตม็ บวก ตอนที่ 4 การคณู ( 2 จานวน ) การคูณโดยการจดั ตาแหนง่ ผลคณู จานวนเตม็ บวก 3 หลัก กับ 2 6 จานวนเตม็ บวก 2 หลัก การคูณแนวตง้ั และแนวไขว้ จานวนเต็มบวก 3 หลัก กับ 3 9 24 จานวนเตม็ บวก 3 หลัก การคณู โดยวธิ เี บี่ยงฐาน จานวนเต็มบวก 2 - 3 หลกั กบั 39 จานวนเตม็ บวก 2 - 3 หลัก ตอนที่ 5 การหาร ( 2 จานวน ) การหารโดยใชว้ ธิ นี ิขลิ ัม ตวั ต้ังจานวนเตม็ บวก 3 หลัก 4 12 ตวั หารจานวนเตม็ บวก 2 หลัก ผลหารลงตวั 24 การหารโดยใชว้ ธิ ีพาราวารท การหารตัวตง้ั จานวนเต็มบวก 3 หลกั ตัวหารจานวนเตม็ บวก 2 หลัก ผลหารลงตวั 4 12 ศลิ ปหตั ถกรรมนกั เรยี นคร้ังที่ ๖8 ปีการศกึ ษา ๒๕61 กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ หน้า ๔๙

ระดับมธั ยมศึกษาปีท่ี 1 – 3 ฉบบั ที่ โครงสรา้ งขอ้ สอบ จานวน คะแนน คะแนน เวลา ข้อ รวม (นาท)ี ฉบับท่ี 1 การบวกจานวนเตม็ 4 – 6 หลัก 4 จานวน 55 ประเภท การบวกจานวน 4 – 6 หลักทม่ี ที ศนิยมไมเ่ กนิ 2 ตาแหนง่ 55 เขียน 4 จานวน คาตอบ การบวกจานวนเต็ม 5 - 7 หลัก 5 จานวน 55 การบวกจานวน 5 – 7 หลกั ทมี่ ีทศนิยมไม่เกนิ 3 ตาแหน่ง 5 5 30 5 5 จานวน การบวกจานวนเตม็ 6 - 8 หลกั 6 จานวน 55 การบวกจานวน 6 - 8 หลัก ทีม่ ีทศนยิ มไม่เกนิ 3 ตาแหนง่ 55 6 จานวน การลบตัวตง้ั จานวนเตม็ 4 - 6 หลกั ตวั ลบจานวนเต็ม 3 - 5 หลัก 10 10 การลบตวั ตัง้ จานวนเตม็ 5 - 7 หลกั ตัวลบจานวนเตม็ 3 - 4 หลัก 10 10 30 5 การลบตวั ตง้ั จานวนเตม็ 6 – 8 หลัก ตัวลบจานวนเต็ม 5 - 7 หลกั 10 10 การคณู จานวนเต็ม 4 - 5 หลกั กบั จานวนเต็ม 2 - 3 หลัก 10 10 20 5 การคณู จานวนเตม็ 5 - 6 หลัก กับ จานวนเตม็ 2 – 3 หลกั 10 10 การหารตัวต้ังจานวนเต็มบวก 4 - 5 หลกั ตวั หารจานวนเต็มบวก 10 10 20 5 2 - 3 หลัก ผลหารลงตัว หรือ ไมล่ งตวั (ตอบเป็นเศษเหลอื ) 10 10 การหารตวั ต้งั จานวนเต็มบวก 4 - 6 หลกั ตัวหารจานวนเต็มบวก 3 – 4 หลกั ผลหารลงตวั หรอื ไมล่ งตวั (ตอบเปน็ เศษเหลือ) ศลิ ปหัตถกรรมนกั เรยี นคร้งั ท่ี ๖8 ปกี ารศึกษา ๒๕61 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ หนา้ ๕๐


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook