Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

Published by warinthida.chongnoii, 2017-11-09 02:07:27

Description: LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

Search

Read the Text Version

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKExhibition ประเภทของนิทรรศการ โดยการแบ่งประเภทนิทรรศการตามกาหนดระยะเวลาการจดั แสดง คือ 2.4.5.1) นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเป็นเอกเทศ เป็นการกาหนดจัดช่วงระยะเวลาหนึ่ง เพื่อแสดงส่ิงใด ๆ โดยไม่สัมพันธ์เกยี่ วข้องกับการจดั นทิ รรศการประเภทอ่นื2.4.5.2) นิทรรศการชั่วคราวที่จัดแสดงเพอ่ื เสรมิ นิทรรศการถาวร จัดข้ึนเพ่ือเสริม ภาพที่2.15 : Exhibitionการแสดงทีม่ อี ยู่ ทม่ี า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมื่อ 2 กันยายน 2560 2 . 4 . 5 . 3 ) นิ ท ร ร ศ ก า ร ห มุ น เ วี ย น  นิทรรศการในร่ม (Indoor exhibition)(Traveling xhibition) เป็นนิทรรศการที่จัด ขึ้นเพอื่ แสดงในท่ี หลาย ๆ แห่ง หมุนเวียนไปโดย  นิทรรศการกลางแจง้ (Outdoor Exhibition)มุ่งอานวยความสะดวกแก่ผู้ชมหรือประชาชนอาจแสดงในรูปของรถ เผยแพร่ เคลื่อนที่ การจัดแสดงกึง่ กลางแจ้ง (Semi-Outdoor Exhibition) สภาพแวดล้อม(Mobile units) การแบ่งประเภทนิทรรศการ เหมอื นกลางแจ้ง มกี ารจดั ภมู ทิ ัศน์เชอ่ื มโยงกับพน้ื ท่ีกลางแจง้ (Landscape)ตามสถานท่ีจัดแสดง แบ่งออกเป็น 3 ประเภท การจัดแสดงประเภทนี้ สะดวกแก่การควบคุ้มกวา่ แบบกลางแจง้ แตต่ ้องคอื ควบคมุ ช้นิ งานและที่วา่ งใหด้ ี (ทีม่ า : http://oknation.nationtv.tv,สืบคน้ เมือ่ 2กนั ยายน 2560) 2-32

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.4.5 องค์ประกอบของสวนสาธารณะ PARK สวนสาธารณะและสถานท่ีพักผ่อนหย่อน นอกจากน้ีการสร้างสรรค์พ้ืนที่ท่ีประสบ ใจท่ีประสบความสาเร็จน้ัน จะต้องอาศัยการ ความสาเร็จ ต้องคานึงถึงองค์ประกอบทาง อ อ ก แ บ บ ท่ี เ กิด จ า ก ค ว า ม ร่ว ม มื อ กั น ข อ ง กายภาพ ท่ีทาให้ผู้คนรู้สึกว่าเป็นที่ต้อนรับและ หนว่ ยงานที่เกี่ยวข้องทุกฝ่าย ทาความเข้าใจถึง สะดวกสบาย เช่น การจัดให้มีม้าน่ัง หรือการ ความต้องการของคนในชุมชน และหน้าที่ที่ จัดสวนท่ีสวยงาม การจดั ระบบทางเท้าที่ดี การ ส ว น ส า ธ า ร ณ ะ แ ห่ ง น้ี จ ะ ใ ห้ บ ริ ก า ร แ ก่ ก ลุ่ ม ค น พัฒนาให้เกิดข้ึนภายในพ้ืนท่ี เป้าหมายคือ การ เหล่านั้น สวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อน สร้างสรรค์สถานท่ี ซ่ึงมีบรรยากาศของชุมชน หย่อนใจในชุมชน เป็นสถานท่ีสาคัญที่สามารถ และมีภาพลักษณ์ท่ีดูอบอุ่นเป็นกันเอง การจัด ให้ผคู้ นได้เขา้ มาพบประสบการณ์ ทแ่ี ตกต่างจาก กิจกรรมและสภาพแวดล้อม รวมถึงหน้าที่ใช้ ในชีวิตประจาวัน ได้พบบรรย ากาศที่เป็น สอยที่ตอบสนองความต้องการของผู้ใช้อย่าง ธรรมชาติ และมุมมองท่ีสงบให้พ้ืนท่ีในการทา แทจ้ ริง กิจกรรมท่ีหลากหลาย เช่น วิ่งออกกาลังกาย ดูนก รบั ประทานอาหารกลางวัน จบิ กาแฟ หรือ สวนสาธารณะและสถานที่พักผ่อนที่ดี จะ น่ังพักผอ่ นเฉย ๆ ช่วยให้ผูค้ นรู้สึกสดชืน่ ผ่อนคลาย รู้สึกดีที่ได้ไป ที่นั่น รู้สึกอบอุ่นและเป็นท่ีต้อนรับ สถานที่ท่ี องค์ประกอบพ้ืนฐานที่สถานที่เหล่าน้ีมี ป ร ะ ส บ ค ว า ม ส า เ ร็ จ ไ ม่ ใ ช่ เ พี ย ง เ พ ร า ะ มี ค ว า ม ร่วมกัน และก่อให้เกิดเป็นสถานที่ที่ดึงดูดความ สวยงามเพียงอย่างเดียว แต่เป็นเพราะว่าเป็น สนใจและกิจกรรมมีหลายประการ คือ สถานท่ี สถานที่ที่ทาให้ผู้ใช้สามารถรู้สึกผ่อนคลาย ได้ สาธารณะท่ีดีจะให้โอกาสในการทากิจกรรมที่ ร่วมกิจกรรมกับคนอ่ืน ๆ สถานที่เหล่าน้ีจะ ห ล า ก ห ล า ย (Use and Activities) เ ป็ น เช่อื มโยงคนในชมุ ชนเข้าดว้ ยกัน เมื่อพวกเขาเข้า สถานท่ีท่ีง่ายต่อการเข้าถึงและเชื่อมกับชุมชนที่ มาทากจิ กรรมและใชเ้ วลายามวา่ งด้วยกนั อยู่โดยรอบ (Access) มีความปลอดภัยสะอาด และดึงดูดใจ (Comfort and Image) และที่ สาคญั ทีส่ ดุ คอื เป็นสถานท่ที ี่ผ้คู นจะได้มาพบปะ สังสรรคก์ ัน (Socialbility)2-33

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK องค์ประกอบของสวนสาธารณะท่ีดีให้โอกาสในการทากิจกรรม ง่ายต่อการเข้าถึงและ มีความปลอดภัย สะอาด เป็นสถานที่ ท่ีผู้คนจะได้มา ท่ีหลากหลาย เช่ือมโยงกับชุมชน และดึงดูดใจคน พบปะสังสรรค์กัน Socialbility Use and Activities Access Comfort and Image 2-34

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK CASE STUDY 2.5 การศึกษาอาคารตัวอย่าง Museum Permanent Exhibition 1 Audain Art Museum 2 Learning Centre 'Innovation' 32-35

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 1ภาพที่2.16 : Danish National Maritime Museum Permanent Exhibition 3ทีม่ า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กันยายน 2560 2ภาพท่ี2.17 : Audain Art Museum / Patkau Architects ภาพท่ี2.18 : LILLIAD - Learning Centre 'Innovation' / Auer Weberทม่ี า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กันยายน 2560 ที่มา : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กนั ยายน 2560 2-36

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK Museum Permanent Exhibition 1 ภาพท2่ี .19 : Danish National Maritime Museum Permanent Exhibition Architects : Kossmann.dejong ทม่ี า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กันยายน 2560 Location : Ny Kronborgvej, 3000 Helsingor, Denmark Light Design : Rapenburg Plaza ภาพท2ี่ .20 : Danish National Maritime Museum Permanent Exhibition Design : Kossmann.dejong ที่มา : http://www.archdaily.com,สืบค้นเมือ 2 กนั ยายน 2560 Area : 5000 sq.m2-37 Year : 2013 Photograph : sThijs Wolzak, Luca Santiago Mora พพิ ิธภณั ฑท์ ะเลแห่งชาติเดนมาร์ก พื้นทจี่ ดั นทิ รรศการทง้ั หมด อยูใ่ ตด้ นิ ล้อมรอบท่าเรือเกา่ นิทรรศการมลั ติมิเดียท่เี หนือจินตนาการ ถงึ ความปรารถนาทีจ่ ะแสวงหาชายฝ่ังทะเลหา่ งไกลและประสบการณ์ การผจญภยั ในทะเลการนาเหตุการณต์ ่าง ๆ มาทานทิ รรศการจาลอง เพือ่ เหน็ ภาพไดง้ ่ายข้ึนใชค้ ณุ สมบตั ปิ ระติมากรรมที่โดดเดน่ ของอาคาร ในฉากววิ ของพวกเขาเพอื่ ใหส้ ถาปตั ยกรรมและการตกแตง่ ภายใน ทวี ความรุนแรงขึ้นและเสริมกนั และกันช่องวา่ ง เชน่ จะใชใ้ นการทาให้เกิด บรรยากาศที่กดข่ีของสงครามพ้นื ท่ีเปิดโลง่ เน้นการเปดิ กวา้ งของทะเล หรือเป็นแกรนดข์ องโลกาภวิ ตั นร์ ่วมสมัย

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKAudain Art Museum 2Architects : Patkau Architects ภาพท่2ี .21 : Audain Art Museum / Patkau ArchitectsLocation : Whistler, BC V0N, Canada ทมี่ า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กนั ยายน 2560Lead Architects : John Patkau, Patricia Patkau, DavidShone, Michael ThorpeStructural : Equilibrium ConsultingArea : 5,202 sq.mYear : 2016Photographs : James Dow / Patkau Architects พิพธิ ภัณฑ์ศลิ ปะ เจตนาคอื อยากใหส้ อดคล้องกับธรรมชาติโดยทใ่ี ช้ฉากหลังอันเงยี บสงบ จากโครงสร้างรปู แบบที่เรียบงา่ ยของภายนอกถูกหุ้มด้วยของโลหะสเี ข้ม ซงึ่ หลดุ ออกไปในเงาของปา่ โดยรอบทาง เดนิ กระจกไปที่หอศิลป์โลหะสีเข้มถูกซอ้ นทันดว้ ยกรอบไมท้ ่ีสอ่ งสว่าง พื้นท่สี าธารณะภายในซึ่งมองเหน็ ไดจ้ ากดา้ นนอกให้คงความสอ่ งสวา่ งอันอบ อุ่นไว้ ภาพที่2.22 : Audain Art Museum / Patkau Architects ที่มา : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กนั ยายน 2560 2-38

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK Learning Centre 'Innovation' / Auer Weber 3 ภาพท2่ี .23 : LILLIAD - Learning Centre 'Innovation' / Auer Weber Architects : Auer Weber ท่มี า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กนั ยายน 2560 Location : 2Avenue Jean Perrin, 59650 Villeneuve-d'Ascq, France ภาพท่2ี .24 : LILLIAD - Learning ACentre 'Innovation' / Auer Weber ทีม่ า : http://www.archdaily.com,สืบคน้ เมือ 2 กันยายน 2560 Project Associate : Prof. Stefan NieseProject Manager : Eric2-39 Frisch, Nina Schuberth Team : Markus Böhm, Carmen Duplantier, Gabriel Kiderlen; Julia Schmid, Jieqing Zhao Area : 8800 sqm Year : 2016 การศกึ ษาในอนาคตจะตอ้ งใชแ้ นวความคดิ ร่วมสมยั ซ่ึงรวมถงึ การปรับปรุง โครงสร้างพื้นฐานของมหาวทิ ยาลัย เปา้ หมายท่ีสาคญั ของการปฏิรูปคร้ังน้ีคอื การ ทบทวนแนวคดิ การเรียนรู้ทลี่ ้าสมัยความคบื หนา้ ดา้ นเทคนคิ ตลอดจนวิธกี ารใหม่ใน การตดิ ตอ่ ส่อื สารระหว่างสถาบันการศึกษารูปแบบห้องสมดุ วทิ ยาศาสตร์แบบด้งั เดมิ ศนู ย์นวตั กรรมการเรยี นรู้ \"นวัตกรรม\" เป็นสว่ นหน่งึ ของชดุ ของสถาบนั ทค่ี ล้ายคลงึ กันทก่ี าหนดข้นึ เพอื่ กา้ วไปส่คู วามทา้ ทายใหม่และเตรียมพร้อมสาหรับอนาคต

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK CASE STUDYตารางท่ี 2.2 : ตารางสรุปการศกึ ษาอาคารตัวอย่างCASELOCATION Museum Permanent Audain Art Museum Learning Centre InnovationATTRATION Exhibition Whistler, BC V0N, Canada Auer WeberELEMENT Denmark 5,200 sq.m 2Avenue Jean Perrin, 59650 5,000 sq.m พพิ ธิ ภัณฑศ์ ลิ ปะ Villeneuve-d'Ascq, France ศนู ย์การเรียนรู้ 8,000 sq.m พพิ ธิ ภัณฑก์ ารเรยี นร้แู ละนิทรรศการPLAN 2-40

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK CASE STUDYตารางท่ี 2.2 : ตารางสรปุ การศกึ ษาอาคารตวั อยา่ ง FORMSTRUCTURE โครงสร้างเหล็ก โครงสร้างเหลก็ ตกแตง่ ดว้ ยไม้ โครงสร้างเหล็ก+คอนกรตีINTERIOR LINGHTING โครงการสรา้ งชัน้ ใตด้ ินเป็นหลัก ภายในโครงการใชก้ ระจกและเปดิ ตัว ตวั อาคารและรอบข้างมีแสง จะใชแ้ สงท่ีสง่ ลงมาท่ีพนื้ สะทอ้ น อาคารเป็นรูปตัว L เพ่อื รบั แสง เข้าเพียงพอตอ่ การใช้งานกลางวนั2-41 เขา้ สอู่ าคาร

2.6 กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับโครงการ LB INSPIRATION FOR SHARING PARKตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) BUILDING CODEลาดบั หวั ข้อ ข้อกาหนดตามกฎหมายขอ้ 1 ประเภทอาคาร ในกฎกระทรวงน้ี “อาคารสาธารณะ” หมายความว่า อาคารทีใ่ ช้ในประโยชน์ในการชุมนุมคนไดโ้ ดยทว่ั ไป เพื่อหมวด 2 สว่ นตา่ ง ๆ ของอาคาร กจิ กรรมทางราชการ การเมอื ง การศกึ ษา การศาสนา การสงั คม การนันทนาการ หรือการ พาณิชยกรรม เช่น โรงมหรสพ หอประชมุ โรงแรม โรงพยาบาล สถานศึกษา หอสมดุ สนามกฬี า กลางแจง้ สนามกีฬาในร่ม ตลาด ห้างสรรพสนิ ค้า ศูนย์การคา้ สถานบรกิ าร ท่าอากาศยาน อุโมงค์ สะพาน อาคารจอดรถ สถานีรถ ทา่ จอดเรือ สสุ าน ฌาปนสถาน เปน็ ต้น ข้อ 15 เสา คาน พืน้ บนั ได และผนงั ของอาคารสูงสามชนั้ ขึ้นไป โรงมหรสพ หอประชุม โรงงาน โรงแรม โรงพยาบาล หอสมุด ห้างสรรพสนิ คา้ อาคารนาดใหญ่ สถานบริการตามกฎหมายว่า ดว้ ยสถานริการ ท่าอากาศยาน หรอื อโุ มงค์ ตอ้ งทาด้วยวัสดุถาวรท่เี ปน็ วสั ดุทนไฟที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543),สืบคน้ เมอ่ื 5 กันยายน 2560 2-42

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE ตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ลาดบั หวั ข้อ ข้อกาหนดตามกฎหมาย หมวด 2 ส่วนต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ 21 ช่องทางเดินในอาคาร ต้องมคี วามกวา้ งไม่นอ้ ยกวา่ ตามทกี่ าหนดไว้ตอ่ ไปน้ี สว่ นที่ 2 พนื้ ท่ภี ายในอาคาร 2.อาคารอยู่อาศยั รวม หอพกั ตามกฎหมายว่าดว้ ยกฎหมายหอพัก สานกั งาน อาคาร สาธารณะ อาคารพาณชิ ย์ โรงงาน อาคารพิเศษ ความกว้าง 1.50 เมตร ข้อ 22 หอ้ งหรือส่วนของอาคาร ที่ใชใ้ นการทากิจกรรมต่าง ๆ ต้องมรี ะยะด่งิ ไม่น้อยกว่าตามที่ กาหนดไว้ดังต่อไปน้ี 2.ห้องทใ่ี ชเ้ ป็นสานักงาน ห้องเรียน ห้องอาคาร หอ้ งโถงภตั ตราคาร โรงงาน ระยะดิง่ 3.00 เมตร 3.หอ้ งขายสนิ ค้า ห้องประชุม หอ้ งคนไขร้ วม คลงั สนิ ค้า โรงครัว ตลาด และอ่นื ๆ ท่ี คลา้ ยกนั ระยะดงิ่ 3.50 เมตร 5.ระเบียง ระยะดิง่ 2.20 เมตร ระยะดง่ิ ตามวรรคหนึ่ง ใหว้ ัดจากพ้ืนถงึ พ้นื ในกรณขี องชั้นใต้หลงั คาให้วัดจากพ้นื ถึงยอดฝา หรือยอดผนังอาคาร และในกรณีของห้องหรือของอาคารที่อยู่ภายในโครงสร้างของหลังคา ให้วดั จากพ้ืนถงึ ยอดฝาหรือยอดผนังของหอ้ ง หรือสว่ นของอาคารดังกล่าวทีไ่ ม่ใชโ่ ครงสร้างของหลังคา หอ้ งในอาคารซ่ึงมรี ะยะด่งิ ระหวา่ งพืน้ ถึงพนื้ อกี ชั้นหนึง่ ต้งั แต่ 5 เมตรขนึ้ ไป จะทาพื้นช้ันลอย ที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ที่ 55 (พ.ศ. 2543),สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 25602-43

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) BUILDING CODEลาดบั หวั ขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายหมวด 2 สว่ นต่าง ๆ ของอาคาร (ต่อ) ในหอ้ งนน้ั ก็ได้ โดยพืน้ ชั้นลอยดงั กลา่ วน้ัน ต้องมีเนอ้ื ท่ไี ม่เกนิ รอ้ ยละสสี่ ิบของเน้อื ทีห่ ้อง ระยะด่ิงสว่ นที่ 2 พ้นื ทภี่ ายในอาคาร ระหว่างพ้ืนชัน้ ลอย ถึงพน้ื อกี ชั้นหนง่ึ ตอ้ งไมน่ ้อยกวา่ 2.40 เมตร และระยะด่งิ ระหวา่ งพนื้ ห้องถงึ พืน้ ช้ันลอยต้องไม่นอ้ ยกว่า 2.40 เมตร ดว้ ย หอ้ งน้า หอ้ งส้วม ตอ้ งมรี ะยะดง่ิ ระหว่างพื้นถึงเพดาน ไมน่ ้อยกวา่ 2 เมตรหมวด 2 สว่ นต่าง ๆ ของอาคาร ขอ้ 24 บันไดของอาคารอยอู่ าศัยรวม หอพกั ตามกฎหมายว่าดว้ ยหอพัก สานักงาน อาคารส่วนท่ี 3 บนั ไดของอาคาร สาธารณะ อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารพิเศษ สาหรับท่ใี ช้ช้นั ท่ีมพี ื้นทอี่ าคารเหนือข้ึนไปรวมกนั ไมเ่ กิน 300 ตารางเมตร ต้องมีความกวา้ งสทุ ธิไมน่ อ้ ยกว่า 1.20 เมตร แตส่ าหรบั บนั ไดของ อาคารดงั กลา่ ว ท่ีใช้กับพ้นื ที่มีพ้ืนท่อี าคารชั้นเหนือขึน้ ไปรวมกันเกิน 3 เมตร ต้องมคี วามกวา้ ง สทุ ธิไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร ถ้าความกวา้ งสทุ ธิของบนั ไดน้อยกวา่ 1.50 เมตร ตอ้ งมีบันไดอยา่ ง นอ้ ยสองบนั ได และแต่ละบันไดตอ้ งมีความกวา้ งสุทธขิ องบนั ไดไมน่ อ้ ยกวา่ 1.20 เมตร บันไดของอาคารทเ่ี ป็นทช่ี ุมนุมของคนจานวนมาก เช่น บนั ไดห้องประชมุ หรอื หอ้ งบรรยายที่ มพี ืน้ ที่รวมกนั ต้ังแต่ 500 ตารางเมตรข้ึนไป หรอื บันไดหอ้ งรบั ประทานอาหาร หรือสถานบรกิ ารท่ี มพี ้ืนทีร่ วมกนั ตั้งแต่ 1,000 ตารางเมตรขึ้นไป หรือบนั ไดของแตล่ ะชนั้ ของอาคารนัน้ ท่ีมพี ้นื ที่ รวมกันตง้ั แต่ 2,000 ตารางเมตรขึ้นไป ตอ้ งมคี วามกวา้ งไม่น้อยกว่า 1.50 เมตร อย่างนอ้ ยสอง บนั ได ถา้ มบี ันไดเดียวตอ้ งมีความกว้างไมน่ ้อยกวา่ 3 เมตร บันไดทีส่ ูงเกิน 4 เมตร ต้องมชี านพกั บันไดทุกช่วง 4 เมตร หรือน้อยกว่าน้ัน และที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สืบค้นเมื่อ 5 กันยายน 2560 2-44

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE ตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) ลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมาย หมวด 2 สว่ นต่าง ๆ ของอาคาร (ต่อ) ระยะดง่ิ จากบันไดหรอื ชานพักบนั ไดถึงสว่ นตา่ สุดของอาคารทอี่ ยเู่ หนือขน้ึ ไปต้องสงู ไม่น้อยกว่า ส่วนที่ 3 บันไดของอาคาร 2.10 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหนา้ บนั ไดต้องมีความกว้างและความยาวไม่นอ้ ยกวา่ ความกว้างสทุ ธิอง บนั ได เว้นแตบ่ นั ไดท่ีมคี วามกว้างสุทธิเกนิ 2 เมตร ชานพักบันไดและพื้นหนา้ บันไดจะมคี วามยาวไม่ เกิน 2 เมตรก็ได้ บันไดตามวรรคหนง่ึ และวรรคสองต้องมีลูกต้งั สูงไมเ่ กนิ 18 เซนตเิ มตร ลกู นอนเม่ือหกั ส่วนท่ี ข้ันบนั ไดเหล่ือมกันออกและเหลอื ความกวา้ งไม่น้อยกว่า 25 เซนตเิ มตร และตอ้ งมรี าวกนั ตก บนั ไดที่ มคี วามกว้างสุทธเิ กนิ 6 เมตร และชว่ งบันไดสงู เกนิ 1 เมตร ตอ้ งมีราวบันไดท้ังสองข้าง บริเวณ จมูกบนั ไดต้องมีวสั ดุกันลื่น ข้อ 25 บันไดตามขอ้ 24 ตอ้ งมรี ะยะห่างไมเ่ กนิ 40 เมตร จากจดุ ทีไ่ กลสดุ องพื้นช้ันน้นั ขอ้ 26 บันไดตามข้อ 23 และขอ้ 24 ท่เี ปน็ แนวโคง้ เกิน 90 องศา จะไมม่ ีชานพักบันไดก็ได้ แตต่ อ้ ง มีความกวา้ งเฉล่ียของลูกนอนไมน่ อ้ ยกวา่ 22 เซนติเมตร สาหรับบนั ไดตามข้อ 23 และไมน่ ้อยกวา่ 25 เซนตเิ มตร สาหรบั บันไดตามขอ้ 24 ที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สบื คน้ เม่อื 5 กนั ยายน 25602-45

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) BUILDING CODEลาดบั หวั ข้อ ข้อกาหนดตามกฎหมายหมวด 3 ทวี่ ่างภายนอกอาคาร ข้อ 33 อาคารแตล่ ะหลงั หรือหน่วยต้องมที ่ีว่างตามกาหนดดงั ต่อไปนี้ (2) ห้องแถว ตึกแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ และอาคารอืน่ ซึ่งไม่ได้ใชเ้ ปน็ ทอ่ี ยู่ อาศัย ต้องมที ี่ว่างไมน่ อ้ ยกว่า 10 ใน 100 สว่ น ของพ้ืนทชี่ ้ันใดช้ันหนึง่ ที่มากที่สดุ ของอาคาร แต่ ถ้าอาคารดังกลา่ วใช้เป็นทีอ่ ยอู่ าศยั ด้วยตอ้ งมีทีว่ า่ งตาม (1)หมวด 4 แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร ข้อ 40 การก่อสร้างหรือดัดแปลงอาคารหรอื ส่วนของอาคารจะตอ้ งไม่ล้าเข้าไปในท่สี าธารณะ เวน้ แตจ่ ะไดร้ ับอนญุ าต จากเจา้ พนกั งานทมี่ อี านาจดูแลรักษาท่สี าธารณะน้ัน ขอ้ 41 อาคารท่กี อ่ สร้างหรือดัดแปลงใกลถ้ นนสาธารณะท่มี ีความกวา้ งน้อยกว่า 6 เมตร ใหร้ ่น แนวอาคารหา่ งจากกงึ่ กลางถนนสาธารณะอยา่ งนอ้ ย 3 เมตร อาคารท่ีสูงเกนิ สองช้ันหรอื เกิน 8 เมตร หอ้ งแถว ตกึ แถว บา้ นแถว อาคารพาณิชย์ โรงงาน อาคารสาธารณะ ป้ายหรือสง่ิ ท่สี ร้างข้นึ สาหรบั ติดหรอื ต้งั ป้าย หรอื คลังสนิ ค้า ท่กี ่อสรา้ งหรือ ดัดแปลงใกล้ถนนสาธารณะ (1) ถ้าถนนสาธารณะน้ันมีความกว้างต้งั แต่ 10 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารหา่ งจาก กง่ึ กลางถนนสาธารณะอย่างนอ้ ย 6 เมตร (2) ถ้าถนนสาธารณะนั้นมคี วามกวา้ งตง้ั แต่ 10 เมตรขึ้นไป แตไ่ มเ่ กิน 20 เมตร ให้ร่นแนว อาคารห่างจากเจตถนนอยา่ งน้อย 1 ใน 10 ของความกว้างของถนนสาธารณะที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สืบค้นเมอ่ื 5 กนั ยายน 2560 2-46

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE ตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมาย หมวด 4 แนวอาคารและระยะตา่ ง ๆ ของอาคาร (ต่อ) (3) ถ้าถนนสาธารณะน้ันมีความกวา้ งเกิน 20 เมตรขึ้นไป ให้ร่นแนวอาคารห่างจากเขตถนน สาธารณะอย่างน้อย 2 เมตร ข้อ 43 ให้อาคารตามขอ้ 41 และขอ้ 42 ตอ้ งมีส่วนตา่ สุดของกันสาดหรอื สว่ นย่นื สถาปัตยกรรม สูงจากระดบั ทางเท้าไม่นอ้ ยกวา่ 3.25 เมตร ท้ังนี้ไม่นับสว่ นตบแต่งทีย่ ่ืนจากผนงั ไมเ่ กิน 50 เซนติเมตร และต้องมที ่อรบั น้าจากกันสาดหรอื หลงั คาตอ่ แนบหรือฝังในผนงั หรอื เสาอาคารลงสู่ท่อ สาธารณะหรือบอ่ พัก ขอ้ 44 ความสูงของอาคารไม่ว่าจากจดุ หน่ึงจดุ ใด ตอ้ งไม่เกนิ 2 เทา่ ของระยะราบ วัดจากจุดนั้นไป ต้ังฉากกบั แนวเขตด้านตรงข้ามของถนนสาธารณะทีอ่ ยู่ใกล้อาคารนั้นทีส่ ดุ ความสูงของอาคารให้วดั แนวดิ่งจากระดบั ถนนหรือระดบั พ้นื ดินทก่ี ่อสร้างขนึ้ ไปถึงส่วนของ อาคารทส่ี ูงทีส่ ดุ สาหรับอาคารทรงจ่ัวหรอื ปน้ั หยาใหว้ ัดถงึ ยอดผนงั ช้ันสูงสุด ขอ้ 47 รว้ั หรอื กาแพงทส่ี รา้ งขึ้นติดต่อหรือห่างจากถนนสาธารณะนอ้ ยกว่าความสงู ของรัว้ ให้ ก่อสร้างไดส้ งู ไม่เกิน 3 เมตร เหนอื ระดบั ทางเท้าหรือถนนสาธารณะ ข้อ 48 การกอ่ สร้างอาคารในท่ีดินเจา้ ของเดยี วกัน ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ดงั ต่อไปน้ี (1) ผนงั ของอาคารด้านที่มี หนา้ ตา่ ง ประตู ช่องระบายอากาศหรอื ช่องแสง หรือระเบียบ ของอาคารตอ้ งมีระยะหา่ งจากผนงั ของอาคารอื่น ดา้ นที่มี หน้าต่าง ประตู ช่องระบายอากาศหรือ แสง ทีม่ า : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สืบค้นเมือ่ 5 กนั ยายน 25602-47

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับที่ 55 (พ.ศ. 2543) BUILDING CODEลาดบั หวั ขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายหมวด 4 แนวอาคารและระยะต่าง ๆ ของอาคาร (ตอ่ ) ชอ่ งแสงหรอื ระเบยี งของอาคาร ดังตอ่ ไปน้ี (ก) อาคารที่มีความสูงไมเ่ กิน 9 เมตร ผนงั หรอื ระเบียงของอาคารตอ้ งอยหู่ ่างจากผนังหรือ ระเบียงของอาคารอน่ื ที่มีความสูงไม่เกิน 9 เมตร ไมน่ อ้ ยกว่า 4 เมตร (ข) อาคารท่มี ีความสงู ไมเ่ กิน 9 เมตร ผนังหรือระเบียงของอาคารต้องอยหู่ า่ งจากผนงั หรือ ระเบียงของอาคารอน่ื ทีม่ ีความสงู ไม่เกิน 9 เมตร ไม่น้อยกวา่ 5 เมตร (ค) อาคารท่มี คี วามสงู ไม่เกนิ 9 เมตร แต่ไมถ่ ึง 23 เมตร ผนงั หรือระเบียงของอาคารต้อง อยูห่ า่ งจากผนงั หรือระเบียงของอาคารอ่นื ท่ีมีความสงู ไมเ่ กนิ 9 เมตร แต่ไมถ่ งึ 23 เมตร ไม่นอ้ ย กว่า 6 เมตร (2) ผนงั ของอาคารดา้ นทเ่ี ปน็ ผนังทึบตอ้ งมีระยะหา่ งจากผนงั ของอาคารอนื่ ดา้ นท่มี ีหนา้ ตา่ ง ประตู ช่องระบายอากาศหรือช่องแสงหรือระเบยี งของอาคาร ดังต่อไปน้ี (ก) อาคารที่มีความสงู ไม่เกิน 15 เมตร ผนงั ของอาคารต้องอยู่หา่ งจากผนงั หรือระเบยี งของ อาคารอน่ื ทม่ี ีความสงู ไมเ่ กนิ 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 2 เมตร (ข) อาคารท่ีมคี วามสูงไม่เกิน 15 เมตร ผนังของอาคารตอ้ งอยหู่ ่างจากผนังหรือระเบยี งของ อาคารอน่ื ท่มี ีความสงู ไม่เกิน 9 เมตรแตไ่ ม่ถึง 23 เมตร ไมน่ อ้ ยกว่า 3 เมตร (ค) อาคารทม่ี คี วามสูงไม่เกนิ 15 เมตรแตไ่ มถ่ งึ 23 เมตร ผนังของอาคารต้องอยหู่ า่ งจาก ผนงั หรือระเบยี งของอาคารอ่ืนทีม่ คี วามสงู ไมเ่ กิน 9 เมตร ไม่น้อยกว่า 3 เมตรที่มา : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สบื ค้นเม่อื 5 กนั ยายน 2560 2-48

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE ตารางท่ี 2.3 : กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543) ลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมาย หมวด 4 แนวอาคารและระยะตา่ ง ๆ ของอาคาร (ต่อ) (ง) อาคารทมี่ ีความสูงเกิน 15 เมตร แตไ่ ม่ถึง 23 เมตร ผนังของอาคารตอ้ งอยู่หา่ งจาก ผนังหรอื ระเบยี งของอาคารอืน่ ทมี่ ีความสงู เกิน 9 เมตร แต่ไม่ถงึ 23 เมตร ไมน่ ้อยกวา่ 3.50เมตร (3) ผนังของอาคารทีม่ คี วามสูงเกนิ 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้านทเี่ ป็นผนังทึบต้องอยู่ ห่างจากผนังของอาคารอนื่ ท่ีมีความสูง 15 เมตร แต่ไม่ถึง 23 เมตร ด้านทเี่ ป็นผนังทึบไม่น้อยกว่า 1 เมตร สาหรับอาคารท่ีมีลักษณะตาม (2) และ (3) ผนังของดาดฟา้ ของอาคารด้านที่อยูใ่ กลก้ บั อาคารอ่นื ใหท้ าการก่อสรา้ งเปน็ ผนงั ทึบสงู จากพ้ืนดาดฟา้ ไม่น้อยกวา่ 1.80 เมตร ทีม่ า : http://download.asa.or.th/กฎกระทรวงฉบับท่ี 55 (พ.ศ. 2543),สบื ค้นเม่อื 5 กันยายน 2560 ตารางที่ 2.4 : กฎกระทรวง ให้ใชบ้ ังคับผังเมืองรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556 ลาดบั หัวขอ้ ขอ้ กาหนดตามกฎหมาย หมวด 2 แผนผงั และข้อกาหนด (10) ท่ีดินประเภท ส. ทีก่ าหนดไว้เป็นสนี า้ เงิน ใหเ้ ปน็ ทด่ี นิ ประเภทสถาบนั ราชการ การ ส่วนที่1 สาธารณปู โภคและสาธารณูปการ มีวัตถปุ ระสงค์เพ่อื เป็นสถาบนั ราชการและการดาเนิน กจิ การของรัฐทเี่ กีย่ วกบั สาธารณูปโภค สาธารณปู การ หรอื สาธารณะประโยชน์ จาแนก แผนผังกาหนดการใชท้ ีด่ ินตามทีไ่ ดจ้ าแนกประเภท เป็นบรเิ วณ ส.- ๑ ถงึ ส.-๗๔ ที่มา : http://www.bsa.or.th/กฎกระทรวง ให้ใช้บังคับผังเมอื งรวม กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2556,สบื ค้นเม่อื 6 กันยายน 25602-49

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKกฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพล BUILDING CODEตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรบั ผพู้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราลาดบั หัวขอ้ ขอ้ กาหนดตามกฎหมายข้อ 2 ในกฎกระทรวงน้ี ส่ิงอานวยความสะดวกสาหรับผพู้ ิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชรา หมายความว่า สว่ น ของอาคารที่สรา้ งขนึ้ และอุปกรณอ์ ันเป็นส่วนประกอบของอาคารที่ติดอยภู่ ายในและภายนอก อาคารเพอื่ อานวยความสะดวกในการใชอ้ าคารสาหรับผูพ้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราขอ้ 3 สงิ่ อานวยความสะดวกสาหรบั ผู้พกิ ารหรือ อาคารประเภทและลกั ษณะตอ่ ไปน้ี ตอ้ งจดั ใหม้ สี งิ่ อานวยความสะดวกสาหรับผูพ้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชรา ทุพพลภาพ และคนชราตามท่ีกาหนดในกฎกระทรวงนี้ ในบรเิ วณทีเ่ ปิดให้บรกิ ารแก่บุคคลทั่วไป (๑) โรงพยาบาล สถานพยาบาล ศูนยบ์ ริการสาธารณสขุ สถานอี นามัย อาคารท่ีทาการ ของราชการ รัฐวสิ าหกิจ องคก์ ารของรฐั ท่ีจดั ต้ังขนึ้ ตามกฎหมาย สถานศกึ ษา หอสมดุ และ พพิ ิธภณั ฑสถานของรฐั สถานีขนสง่ มวลชน เชน่ ทา่ อากาศยาน สถานีรถไฟ สถานรี ถ ทา่ เทียบ เรอื ทมี่ ีพ้ืนทสี่ ่วนใดของอาคารทเี่ ปดิ ใหบ้ รกิ ารแกบ่ ุคคลท่ัวไปเกนิ 300 ตารางเมตรขอ้ 4 หมวด 1 ขอ้ 4 อาคารตามข้อ 3 ตอ้ งจัดให้มปี ้ายแสดงสง่ิ อานวยความสะดวกสาหรบั ผ้พู ิการหรอื ปา้ ยแสดงสิ่งอานวยความสะดวก ทุพพลภาพ และคนชรา ตามสมควร โดยมีรายละเอียดดงั นี้ (1) สญั ลกั ษณ์รูปผพู้ กิ าร (2) เครื่องหมายแสดงทางไปสู่สิง่ อานวยความสะดวกสาหรับผพู้ ิการหรือทุพพลภาพ และ คนชรา (3) สญั ลักษณ์ หรือตวั อกั ษรแสดงประเภทของสงิ่ อานวยความสะดวกสาหรบั ผพู้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรบั ผ้พู ิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สืบค้นเมอื่ 7 กนั ยายน 2560 2-50

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE(ตอ่ ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผ้พู ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชราลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายขอ้ 4 หมวด 1 (ต่อ) (5) สัญลักษณ์รูปผู้พิการ เครื่องหมายแสดงทางไปสูส่ ่ิงอานวยความสะดวกสาหรับผู้ ปา้ ยแสดงสง่ิ อานวยความสะดวก พกิ ารหรอื ทพุ พลภาพ และคนชรา และสญั ลักษณ์หรอื ตัวอกั ษรแสดงประเภทของส่ิงอานวยความ สะดวกสาหรับผพู้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา ตามข้อ 4 ให้เป็นสีขาวโดยพนื้ ปา้ ยเป็นสีน้าเงนิ หรือเป็นสนี า้ เงนิ โดยพ้ืนปา้ ยเป็นสขี าว (6) ป้ายแสดงสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับผูพ้ กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชรา ต้องมี ความชัดเจน มองเหน็ ได้งา่ ย คิดอยู่ในตาแหน่งทไ่ี ม่ทาใหส้ บั สน และต้องจัดใหม้ ีแสงสว่างเป็นพเิ ศษ ทัง้ กลางวันและกลางคืนข้อ 4 หมวด 2 (7) อาคารตามขอ้ 3 หากระดบั พ้นื ภายในอาคาร หรอื ระดบั ภายในอาคารกบั ภายนอก ทางลาดและลิฟต์ อาคาร หรอื ระดับพื้นทางเดนิ ภายนอกอาคารมคี วามต่างระดับกนั เกิน 20 มิลลิเมตร ให้มีทาง ลาดหรอื ลิฟตร์ ะหวา่ งพื้นทตี่ า่ งระดบั กนั แต่ถ้ามีความตา่ งระดับไมเ่ กนิ 20 มลิ ลเิ มตร ตอ้ งปาด มุมพื้นสว่ นท่ีต่างระดบั กนั ไมเ่ กิน 45 องศา (8) ทางลาดให้มีลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี (1) พื้นผิวทางลาดต้องเป็นวัสดุทีไ่ มล่ ื่น (2) พ้นื ผวิ ของจุดต่อเน่ืองระหว่างพืน้ กับทางลาดต้องเรยี บไม่สะดุด (3) ความกว้างสทุ ธิไมน่ ้อยกว่า 900 มลิ ลเิ มตร ในกรณที ่ีทางลาดมคี วามยาวของทุก ช่วงรวมกันต้งั แต่ 6,000 มิลลเิ มตร ขนึ้ ไป ต้องมีความกว้างสทุ ธไิ มน่ อ้ ยกวา่ 1,500 มิลลเิ มตร (4) มีพน้ื ทีห่ น้าทางลาดเป็นท่วี า่ งยาวไมน่ ้อยกวา่ 1,500 มลิ ลิเมตร ทีม่ า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สบื ค้นเมอ่ื 7 กันยายน 25602-51

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK(ต่อ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผพู้ กิ ารหรอื ทพุ พลภาพ และคนชรา BUILDING CODEลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายขอ้ 4 หมวด 2 (ต่อ) (5) ทางลาดต้องมคี วามลาดชันไม่เกิน 1:12 และมีความยาวชว่ งละไม่เกิน 6,000 ทางลาดและลิฟต์ มลิ ลิเมตร ในกรณีท่ีทางลาดยาวเกิน 6,000 มิลลิเมตร ต้องจดั ให้มีชานพกั ยาวไม่นอ้ ยกว่า 1,500 มิลลิเมตร คัน่ ระหว่างแต่ละชว่ งของทางลาด ( 6 ) ทางลาดดา้ นทไี่ มม่ ีผนังกัน้ ให้ยกขอบสูงจากพืน้ ผวิ ของทางลาดไม่น้อยกว่า 50 มลิ ลิเมตร และมีราวกันตก (7) ทางลาดทม่ี คี วามยาวตงั้ แต่ 2,500 มิลลิเมตร ขนึ้ ไป ต้องมรี าวจับทงั้ สองดา้ นโดยมี ลกั ษณะดงั ต่อไปน้ี (ก) ทาดว้ ยวสั ดเุ รยี บ มีความม่ันคงแขง็ แรง ไมเ่ ป็นอนั ตรายในการจับและไม่ลน่ื (ข) มลี ักษณะกลม โดยมีเสน้ ผา่ นศูนย์กลางไมน่ อ้ ยกวา่ 30 มลิ ลเิ มตร แตไ่ มเ่ กิน 40 มิลลิเมตร (ค) สงู จากพืน้ ไม่นอ้ ยกว่า 800 มลิ ลิเมตร แตไ่ มเ่ กนิ 900 มลิ ลิเมตร (ง) ราวจับดา้ นทอ่ี ยูต่ ิดผนังให้มีระยะหา่ งจากผนังไมน่ ้อยกวา่ 50 มลิ ลเิ มตร มีความสงู จากจุดยืดไม่นอ้ ยกวา่ 120 มลิ ลิเมตร และผนงั บริเวณราวจับต้องเป็นผนังเรยี บ (จ) ราวจับตอ้ งยาวต่อเน่อื ง และส่วนทย่ี ึดตดิ กับผนังจะตอ้ งไม่กดี ขวางหรอื อปุ สรรคตอ่ การใช้ของคนพิการทางการมองเหน็ (ฉ) ปลายของราวจับให้ยนื่ เลยจากจุดเรม่ิ ต้นและจุดสิ้นสุดของทางลาดไมน่ ้อยกว่า 300 มิลลิเมตร (8) มปี า้ ยแสดงทศิ ทาง ตาแหนง่ หรอื หมายเลขชนั้ ของอาคารทคี่ นพิการทางการมองเหน็ และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตง้ั อยู่บริเวณทางขึน้ และทางลงของทางลาดท่เี ชื่อม ระหว่างชนั้ ของอาคารท่ีมา : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสิง่ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สืบค้นเมื่อ 7 กันยายน 2560 2-52

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE (ตอ่ ) ตารางที่ 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผพู้ กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชรา ลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมาย ข้อ 4 หมวด 2 (ตอ่ ) (9) ให้มสี ัญลักษณ์รูปผู้พกิ ารตดิ ไวใ้ นบริเวณทางลาดที่จัดไวใ้ หแ้ กผ่ ูพ้ ิการหรอื ทพุ พลภาพ ทางลาดและลฟิ ต์ และคนชรา ข้อ 9 อาคารตามขอ้ 3 ท่ีมจี านวนช้ันตง้ั แตส่ องชัน้ ขึน้ ไปต้องจัดใหม้ ีบิลิฟตห์ รอื ทางลาดที่ ผพู้ ิการหรอื ทพุ พลภาพ และคนชราใช้ไดร้ ะหว่างชนั้ ของอาคาร ลิฟต์ท่ผี พู้ กิ ารหรอื ทพุ พลภาพ และคนชราใช้ได้ตอ้ งสามารถข้ึนลงไดท้ ุกช้ัน มีระบบควบคมุ ลิฟต์ทผ่ี ้พู กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราสามารถควบคุมได้เอง ใชง้ านได้อยา่ งปลอดภยั และจดั ไวใ้ บบรเิ วณทผี่ ู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราใชไ้ ดส้ ะดวก ให้มสี ัญลกั ษณร์ ูปผพู้ ิการติดไว้ทชี่ ่องประตูดา้ นนอกลิฟตท์ จ่ี ัดไว้ให้ผ้พู กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชราใช้ได้ ข้อ 10 ลิฟตท์ ี่ผู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราใช้ไดท้ ี่มลี ักษณะเปน็ หอ้ งลิฟต์ตอ้ งมี ลกั ษณะ ดงั ตอ่ ไปนี้ (1) ขนาดของลิฟตต์ ้องมีความกวา้ งไมน่ ้อยกว่า 1,100 มิลลเิ มตร และยาวไมน่ อ้ ยกว่า 1,400 มิลลเิ มตร (2) ชอ่ งประตูลิฟต์ตอ้ งมีความกวา้ งสุทธิไม่นอ้ ยกว่า 900 มลิ ลเิ มตร และตอ้ งมรี ะบบแสง เพือ่ ปอ้ งกนั ไม่ให้ประตลู ฟิ ตห์ นบี ผู้โดยสาร (3) มีพนื้ ผิวตา่ งสัมผัสบนพ้ืนบรเิ วณหน้าลฟิ ต์กวา้ ง 300 มลิ ลิเมตร และยาว 900 มิลลิเมตร ซึง่ อยู่ห่างจากประตลู ฟิ ต์ไม่นอ้ ยกว่า 300 มิลลเิ มตร แต่ไมเ่ กนิ 600 มลิ ลิเมตร (4) ปุ่มกดเรียกลฟิ ต์ ปุม่ บงั คบั ลฟิ ต์ และปุ่มสญั ญาณแจ้งเหตฉุ กุ เฉนิ ตอ้ งมลี กั ษณะ ดงั ตอ่ ไปน้ี ทีม่ า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสงิ่ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรบั ผู้พิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สืบค้นเมื่อ 7 กนั ยายน 25602-53

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE(ตอ่ ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผ้พู ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชราลาดบั หัวขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายข้อ 4 หมวด 2 (ตอ่ ) (ก) ปุ่มลา่ งสดุ อยสู่ ูงจากพน้ื ไม่นอ้ ยกวา่ 900 มิลลเิ มตร ปุม่ บนสุดอย่สู งู จากพืน้ ไมเ่ กนิ ทางลาดและลฟิ ต์ กว่า 1,200 มลิ ลิเมตร และหา่ งจากมุมภายในหอ้ งลฟิ ตไ์ ม่นอ้ ยกวา่ 400 มลิ ลิเมตร ในกรณที ่ี ห้องลฟิ ต์มีนาดกวา้ งและยาวน้อยกวา่ 1,500 มลิ ลิเมตร (ข) มขี นาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลางไมน่ ้อยกว่า 20 มิลลเิ มตร มอี กั ษรเบรลล์กากบั ไว้ทกุ ปุ่มเมอ่ื กดปมุ่ จะตอ้ งมีเสียงดงั และมแี สง (ค) ไม่มีสิง่ กีดขวางบริเวณที่กดปมุ่ ลฟิ ต์ (5) มีราวจับโดยรอบภายในลิฟต์ โดยราวมีลักษณะตามทก่ี าหนดในขอ้ 8 (ก) (ข) (ค) และ (ง) (6) มตี วั เลขและเสยี งบอกตาแหนง่ ชั้นตา่ ง ๆ เม่อื ลฟิ ตห์ ยุด และข้ึนหรอื ลง (7) มปี ้ายแสดงหมายเลขชน้ั และแสดงทิศทางบริเวณโถงหน้าประตลู ิฟต์ และตดิ อยูใ่ น ตาแหน่งทเ่ี ห็นได้ชัดเจน (8) ในกรณีทลี่ ฟิ ต์ขดั ขอ้ งให้มที ้ังเสียงและแสงไฟเตอื นภัยเป็นไฟกะพรบิ สแี ดง เพ่ือใหค้ น พกิ ารทางการมองเห็นและคนพกิ ารทางการไดย้ ินทราบ และให้มไี ฟกระพริบสเี ขียวเปน็ สัญญาณให้ คนพิการทางการไดย้ ินไดท้ ราบว่าผทู้ ีอ่ ยู่ขา้ งนอกรบั ทราบแล้วว่าลิฟต์ขัดข้องและกาลังใหค้ วาม ช่วยเหลอื อยู่ (9) มีโทรศัพท์แจง้ เหตฉุ กุ เฉินภายในลิฟต์ซงึ่ สามารถตดิ ต่อกับภายนอกได้ โดยตอ้ งอยู่สูง จากพน้ื ไม่น้อยกว่า 900 มิลลเิ มตร แตไ่ มเ่ กนิ 1,200 มิลลิเมตร (10) มรี ะบบการทางานท่ีทาใหล้ ฟิ ต์เลื่อนมาอยูต่ รงทจี่ อดชัน้ ระดบั พน้ื ดินและประตลู ิฟต์ ตอ้ งเปดิ โดยอัตโนมตั เิ ม่ือไฟฟ้าดบัทมี่ า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรบั ผ้พู ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สบื คน้ เมอื่ 7 กนั ยายน 2560 2-54

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE (ต่อ) ตารางที่ 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรอื ทพุ พลภาพ และคนชรา ลาดบั หวั ข้อ ขอ้ กาหนดตามกฎหมาย ขอ้ 4 หมวด 3 ข้อ 11 อาคารตามข้อ 3 ต้องจดั ใหม้ ีบันไดที่ผูพ้ กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชราใชไ้ ด้ บันได อย่างน้อยช้นั ละ 1 แห่ง โดยมีลกั ษณะดังต่อไปนี้ (1) มคี วามกว้างสุทธิไมน่ ้อยกวา่ 1,500 มิลลเิ มตร (2) มชี านพักทกุ ระยะในแนวดง่ิ ไมเ่ กนิ 2,000 มิลลิเมตร (3) มรี าวบันไดท้ังสองขา้ ง โดยให้ราวมลี กั ษณะตามที่กาหนดไว้ในขอ้ 8 (7) (4) ลกู ต้งั สูงไม่เกิน 150 มิลลิเมตร ลกู นอนเม่ือหักส่วนท่ีข้นั บันไดเหล่ือมกันออกแลว้ เหลือความกวา้ งไมน่ อ้ ยกวา่ 280 มลิ ลิเมตร และมขี นาดสมา่ เสมอตลอดช่วงบนั ได ในกรณีท่ี ข้ันบนั ไดเหล่ือมกนั หรอื มจี มกู บันไดให้มีระยะเหล่อื มกันได้ไมเ่ กนิ 20 มลิ ลเิ มตร (5) พ้นื ผิวของบันไดต้องใช้วัสดุทไี่ ม่ล่ืน (6) ลูกตั้งบันไดห้ามเปดิ เปน็ ชอ่ งโลง่ (7) มีป้ายแสดงทศิ ทาง ตาแหน่ง หรือหมายเลขช้นั ของอาคารทคี่ นพิการทางการมองเหน็ และคนชราสามารถทราบความหมายได้ ตง้ั อยู่บริเวณทางขนึ้ และทางลงของบนั ไดทีเ่ ชือ่ มระหวา่ ง ช้ันของอาคาร ข้อ 4 หมวด 3 ข้อ 12 อาคารตามขอ้ 3 ตอ้ งจัดให้มีท่ีจอดรถสาหรบั ผู้พิการหรอื ทพุ พลภาพ และคนชรา ทีจ่ อดรถ อย่างน้อยตามอตั รา ดังนี้ (1) ถา้ จานวนทจ่ี อดรถตั้งแต่ 10 คนั แต่ไมเ่ กิน 50 คัน ใหม้ ีทจ่ี อดรถสาหรับผพู้ กิ ารหรอื ทพุ พลภาพ และคนชราอยา่ งน้อย 1 คนั ทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสิง่ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผพู้ ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สืบคน้ เมอ่ื 7 กันยายน 25602-55

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK(ตอ่ ) ตารางที่ 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พกิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชรา BUILDING CODEลาดบั หวั ขอ้ ขอ้ กาหนดตามกฎหมายข้อ 4 หมวด 3 (ต่อ) (2) ถ้าจานวนทีจ่ อดรถตัง้ แต่ 51 คนั แต่ไม่เกนิ 100 คนั ให้มีทจี่ อดรถสาหรับผพู้ กิ าร ทีจ่ อดรถ หรอื ทพุ พลภาพ และคนชราอยา่ งนอ้ ย 2 คนั (3) ถา้ จานวนท่ีจอดรถตง้ั แต่ 101 คนั ขึน้ ไป ใหม้ ที ีจ่ อดรถสาหรับผ้พู ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชราอย่างน้อย 2 คัน และเพิม่ ขน้ึ อกี 1 คัน สาหรับทกุ ๆ จานวนรถ 100 คนั ทีเ่ พิม่ ขึ้น เศษของ 100 คนั ถ้าเกนิ กว่า 50 คนั ใหค้ ดิ เป็น 100 คัน ข้อ 13 ทจี่ อิ ดรถสาหรับผพู้ ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชราให้จดั ไว้ใกลท้ างเข้าออก อาคารให้มากทีส่ ุด มีลกั ษณะไมน่ านกบั ทางเดินรถ มพี ้ืนผิวเรยี บ มีระดับเสมอกัน และมี สัญลกั ษณ์รปู ผพู้ กิ ารน่ังเกา้ อีล้ ้ออยู่บนพืน้ ท่จี อดรถด้านที่ตดิ กับทางเดนิ รถ มีขนาดกว้างไม่น้อย กวา่ 900 มิลลเิ มตร และยาวไม่น้อยกว่า 900 มิลลิเมตร และมีปา้ ยขนาดกวา้ งไม่น้อยกวา่ 300 มิลลิเมตร และยาวไมน่ ้อยกว่า 300 มลิ ลิเมตร ตดิ อยูส่ งู จากพนื้ ไม่น้อยกวา่ 2,000 มิลลเิ มตร ในตาแหน่งทีเ่ ห็นชัดเจน ข้อ 14 ท่ีจิอดรถสาหรบั ผู้พิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชราต้องเป็นสี่เหลี่ยมผนื ผา้ กวา้ ง ไมน่ ้อยกวา่ 2,400 มิลลเิ มตร และยาวไมน่ ้อยกวา่ 6,000 มิลลเิ มตร และจดั ให้มีทว่ี ่างข้างที่ จอดรถกวา้ งไม่นอ้ ยกว่า 1,000 มลิ ลิเมตร ตลอดความยาวของท่ีจอดรถ โดยทว่ี า่ งดงั กล่าว ต้องมลี ักษณะพื้นผิวเรยี บและมรี ะดบั เสมอกบั ท่จี อดรถขอ้ 4 หมวด 5 ขอ้ 15 อาคารตามขอ้ 3 ตอ้ งจดั ใหม้ ีทางเข้าอาคารเพ่ือใหผ้ พู้ ิการหรอื ทุพพลภาพ และ ทางเขา้ อาคาร ทางเดินระหวา่ งอาคาร และทาง คนชราเข้าใชไ้ ดโ้ ดยมีลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้ เชื่อมระหว่างอาคาร (1) เป็นพน้ื ผิวเรียบเสมอกัน ไมล่ ื่น ไม่มสี ่ิงกดี วาง หรอื ส่วนของอาคารยน่ื ถา้ ออกมาเปน็ อุปสรรคหรอื อาจทาให้เกิดอนั ตรายตอ่ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราทีม่ า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสง่ิ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สบื ค้นเม่อื 7 กนั ยายน 2560 2-56

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE (ตอ่ ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา ลาดบั หัวข้อ ข้อกาหนดตามกฎหมาย ขอ้ 4 หมวด 5 (ตอ่ ) (2) อยู่ในระดบั เดยี วกบั พ้นื ถนนภายนอกอาคารหรือพื้นลานจอดรถ ในกรณีทอี่ ยู่ตา่ ง ทางเขา้ อาคาร ทางเดินระหว่างอาคาร และทาง ระดับต้องมที างลาดที่สามารถขึน้ ลงไดส้ ะดวก และทางลาดนใ้ี หอ้ ยู่ใกล้ท่ีจอดรถ เชอ่ื มระหวา่ งอาคาร ขอ้ 16 ในกรณที ่มี ีอาคารตามข้อ 3 หลายอาคารอย่ภู ายในบรเิ วณเดียวกนั ทมี่ ีการใช้ อาคารร่วมกนั จะมีรั้วล้อมหรอื ไม่กต็ าม ต้องจัดใหม้ ีทางเดินระหว่างอาคารน้นั และจากอาคารแต่ ละอาคารนัน้ ไปสู้ทางสาธารณะ ลานจอดรถหรืออาคารจอดรถ ทางเดินตามวรรคหนึง่ ตอ้ งมลี ักษณะ ดังต่อไปนี้ (1) พนื้ ทางเดนิ ตอ้ งเรียบ ไมล่ ื่น และมคี วามกวา้ งสุทธิไม่นอ้ ยกวา่ 1,500 มิลลิเมตร (2) หากมีทอ่ ระบายน้าหรือรางนา้ บนพ้ืนต้องมฝี าปดิ สนทิ ถ้าฝาเปน็ ตะแกรงหรือแบบรู ตอ้ งมขี นาดของชอ่ งตะแกรงหรอื เสน้ ผ่านศนู ย์กลางของรูกว้างไม่เกนิ 13 มิลลิเมตร แนวร่อง หรือแนวของรางจะตอ้ งขวางกบั แนวทางเดนิ (3) ในบริเวณที่เป็นทางแยกหรือทางเล้ยี วใหม้ พี ืน้ ผิวต่างสัมผัส (4) ในกรณที ่ีมีส่งิ กีดขวางที่จาเปน็ บนทางเดิน ต้องจัดให้อยใู่ นแนวเดียวกัน โดยไมก่ ีดขวาง ทางเดิน และจดั ให้มพี ื้นผิวต่างสมั ผัสหรือมีการกนั้ เพือ่ ใหท้ ราบก่อนถงึ สง่ิ กีดวาง และอยหู่ า่ งสง่ิ กดี ขวางไม่น้อยกว่า 300 มลิ ลเิ มตร (5) ป้ายหรอื สง่ิ อ่นื ใดทีแ่ ขวนอย่เู หนือทางเดนิ ต้องมีความสงู จากพื้นทางเดินไม่นอ้ ยกว่า 2,000 มลิ ลิเมตร (6) ในกรณีท่พี ้ืนทางเดินกับพืน้ ถนนมีระดับตา่ งกนั ให้มพี ้ืนลาดทมี่ ีความลาดชันไมเ่ กิน 1:10 ท่ีมา : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสง่ิ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สืบคน้ เมื่อ 7 กนั ยายน 25602-57

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK(ต่อ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผพู้ กิ ารหรอื ทพุ พลภาพ และคนชรา BUILDING CODEลาดบั หวั ข้อ ข้อกาหนดตามกฎหมายขอ้ 4 หมวด 5 ขอ้ 17 อาคารตามข้อ 3 ท่มี ที างเชอ่ื มระหวา่ งอาคาร ต้องมผี นังหรือราวกันตกทัง้ สอง ทางเขา้ อาคาร ทางเดนิ ระหว่างอาคาร และทาง ด้านโดยมรี าวจบั ซง่ึ มีลักษณะตามขอ้ 8 (ก) (ข) (ค) (ง) และ (จ) ท่ีผนงั หรอื ราวกันตกนน้ั และมี ทางเดินซ่ึงมีลกั ษณะตามขอ้ 16 (1) (2) (3) (4) และ (5) เช่ือมระหวา่ งอาคารขอ้ 4 หมวด 6 ข้อ 18 ประตูของอาคารตามขอ้ 3 ตอ้ งมลี ักษณะ ดังต่อไปนี้ ประตู (1) เปดิ ปิดไดง้ า่ ย (2) หากมธี รณีประตู ความสูงขอ้ งธรณีประตตู ้องไมเ่ กินกว่า 20 มิลลเิ มตร และใหข้ อบทัง้ สองด้านมคี วามลาดเอียงไม่เกิน 45 องศา เพ่อื ใหเ้ กา้ อล้ี ้อหรือผู้พิการหรือทพุ พลภาพ และ คนชรา ท่ใี ชอ้ ุปกรณ์ช่วยเดินสามารถขา้ มสะดวก (3) ช่องประตูต้องมคี วามกว้างสทุ ธไิ มน่ ้อยกวา่ 900 มลิ ลเิ มตร (4) ในกรณีท่ปี ระตูเป็นแบบบานเปดิ ผลกั เขา้ ออก เมื่อเปิดออกสทู่ างเดินหรอื ระเบยี งต้องมี พื้นท่ีวา่ งนาดกวา้ งไม่น้อยกวา่ 1,500 มลิ ลเิ มตร และยาวไม่น้อยกวา่ 1,500 มิลลเิ มตร (5) ในกรณีทป่ี ระตูเป็นแบบบานเลอ่ื นหรอื แบบบานเปิดใหม้ มี อื จบั ทีม่ ีขนาดเทา่ กบั ราวจับ ตามข้อ 8 (7) (ข) ในแนวดิ่งทั้งดา้ นในและด้านนอกของประตูซึง่ มีปลายดา้ นบนสงู จากพืน้ ไม่น้อย กว่า 1,000 มิลลเิ มตร และปลายดา้ นลา่ งไม่เกิน 800 มลิ ลิเมตร แต่ไม่เกิน 900 มิลลิเมตร ยาวไปตามความกวา้ งของประตู ( 6 ) ในกรณีที่ประตเู ป็นกระจกหรือลูกฟักเปน็ กระจก ใหต้ ดิ เคร่อื งหมายหรอื แถบสีที่ สังเกตเห็นได้ชดั (7) อปุ กรณ์เปดิ ปดิ ประตตู ้องเปน็ ชนดิ ก้านบิดหรือแกนผลกั อยสู่ งู จากพื้นไมน่ ้อยกวา่ 1,000 มิลลเิ มตร แต่ไม่เกนิ 1,200 มลิ ลเิ มตรท่ีมา : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสง่ิ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผ้พู ิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สืบคน้ เมอื่ 7 กันยายน 2560 2-58

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE (ต่อ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผพู้ ิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชรา ลาดบั หัวข้อ ขอ้ กาหนดตามกฎหมาย ข้อ 4 หมวด 6 (ตอ่ ) ประตตู ามวรรคหนงึ่ ตอ้ งไม่ติดตง้ั อุปกรณ์ชนิดท่ีบังคับใหป้ ระตปู ดิ ได้เองอาจทาให้ประตู ประตู หนบี หรอื กระแทกผ้พู กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชรา ขอ้ 19 ขอ้ กาหนดตามขอ้ 18 ไม่ใชบ้ งั คบั กับประตูหนไี ฟและประตเู ปิดปิดโดยใชร้ ะบบ อตั โนมตั ิ ข้อ 4 หมวด 7 ขอ้ 20 อาคารตามข้อ 3 ทจ่ี ัดให้มหี ้องสว้ มสาหรบั บคุ คลทว่ั ไป ต้องจดั ให้มหี ้องส้วม หอ้ งส้วม สาหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชราเข้าใช้ได้อยา่ งน้อย 1 หอ้ งในห้องสว้ มหรอื จะจดั แยก ออกมาอยใู่ นบริเวณเดยี วกันกับห้องสว้ มสาหรบั บุคคลทวั่ ไปกไ็ ด้ ขอ้ 21 ห้องสว้ มสาหรบั ผพู้ ิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชรา ตอ้ งมลี กั ษณะ ดังตอ่ ไปนี้ ( 1 ) มีพืน้ ที่วา่ งภายในหอ้ งส้วมเพื่อใหเ้ กา้ อล้ี อ้ สามารถหมนุ ตัวกลับได้ซ่ึงมีเสน้ ผา่ น ศูนยก์ ลางไม่นอ้ ยกวา่ 1,500 มิลลเิ มตร (2) ประตูของห้องท่ีตัง้ โถส้วมเป็นแบบบานเปิดออกส่ภู ายนอก โดยตอ้ งเปดิ คา้ งได้ไม่นอ้ ย กวา่ 90 องศา หรือเป็นแบบบานเลอ่ื น และมีสัญลักษณ์รปู ผู้พกิ ารติดไว้ทีป่ ระตูด้านหนา้ หอ้ งส้วม ลักษณะของประตนู อกจากท่กี ลา่ วมาข้างตน้ ใหเ้ ปน็ ไปตามทกี่ าหนดในหมวด 6 (3) พืน้ หอ้ งสว้ มตอ้ งมรี ะดบั เสมอกบั พ้ืนภายนอก ถ้าเป็นพน้ื ต่างระดับต้องมลี ักษณะเปน็ ทางลาดตามหมวด 2 และวสั ดุปพู ืน้ หอ้ งสว้ มต้องไม่ลื่น (4) พื้นห้องสว้ มตอ้ งมีความลาดเอยี งเพียงพอไปยงั ช่องระบายนา้ ทิ้งเพ่ือที่จะไม่ให้มีน้าขงั บนพื้น (5) มโี ถสว้ มชนดิ นัง่ ราบ สงู จากพื้นไม่น้อยกว่า 450 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 500 มิลลิเมตร มีพนักงานพิงหลังท่ใี ห้ผู้พิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชราท่ไี มส่ ามารถนงั่ ทรงตวั ได้เอง ทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผูพ้ ิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สบื คน้ เมือ่ 7 กันยายน 25602-59

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK(ต่อ) ตารางที่ 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผูพ้ กิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชรา BUILDING CODEลาดบั หวั ขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายขอ้ 4 หมวด 7 (ต่อ) ใชพ้ งิ เองไดแ้ ละที่ปล่อยนา้ เปน็ ชนิดคันโยก ปุ่มกดขนาดใหญห่ รอื ชนดิ อนื่ ท่ีผพู้ กิ ารหรอื หอ้ งสว้ ม ทพุ พลภาพ และคนชราสามารถใช้ได้อย่างสะดวก มีดา้ นขา้ งดา้ นหนึง่ ของโถส้วมอยูช่ ดิ ผนังโดยมี ระยะหา่ งวัดจากก่งึ กลางโถส้วมถงึ ผนังไม่น้อยกว่า 450 มลิ ลิเมตร แตไ่ มเ่ กนิ 500 มลิ ลิเมตร ตอ้ งมรี าวจับที่ผนัง ส่วนด้านท่ีไมช่ ดิ ผนงั ให้มีท่ีวา่ งมากพอท่ีผู้พกิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชราที่ นงั่ เกา้ อล้ี ้อสามารถเขา้ ไปใชโ้ ถส้วมได้โดยสะดวก ในกรณีทีด่ า้ นขา้ งของโถส้วมทั้งสองด้านอยู่หา่ ง จากผนงั เกนิ 500 มลิ ลเิ มตร ต้องมีราวจบั ที่มีลักษณะตาม (7) (6) มรี าวจับบริเวณด้านที่ชิดผนังเพือ่ ชว่ ยในการพยุงตวั เป็นราวจบั ในแนวนอนและแนวด่ิง โดยมีลักษณะ ดังตอ่ ไปนี้ (ก) ราวจับในแนวนอนมีความสงู จากพืน้ ไม่นอ้ ยกว่า 650 มิลลเิ มตร แตไ่ ม่เกิน 700 มลิ ลิเมตร และใหย้ ่นื ล้าออกมาจากดา้ นหน้าโถส้วมอีกไมน่ ้อยกว่า 250 มลิ ลิเมตร แตไ่ ม่เกนิ 300 มิลลเิ มตร (ข) ราวจบั ในแนวดิง่ ตอ่ จากปลายของราวจับในแนวนอนดา้ นหน้าโถสว้ มมคี วามยาววัด จากปลายของราวจับในแนวนอนข้ึนไปอยา่ งน้อย 600 มิลลเิ มตร ราวจบั ตาม (6) (ก) และ (ข) อาจเปน็ ราวต่อเน่อื งกนั ก็ได้ (7) ดา้ นขา้ งโถสว้ มด้านท่ีไม่ชิดผนงั ให้มีราวจบั ติดผนังแบบพับเก็บได้ในแนวราบ เม่อื กาง ออกใหม้ ีระบบบล็อกทผ่ี ูพ้ ิการหรอื ทพุ พลภาพ และคนชราสามารถปลดลอ็ กไดง้ า่ ย มีระยะหา่ งจาก ขอบของโถสว้ มไม่นอ้ ยกวา่ 150 มิลลเิ มตร แต่ไมเ่ กนิ 200 มิลลิเมตร และมีความยาวไม่นอ้ ย กว่า 550 มิลลเิ มตร (8) นอกเหนอื จากราวจับตาม (6) และ (7) ตอ้ งมรี าวจับเพ่ือนาไปสู่สขุ ภณั ฑ์อ่ืน ๆ ภายใน หอ้ งส้วม มคี วามสูงจากพน้ื ไม่น้อยกวา่ 800 มลิ ลเิ มตร แต่ไมเ่ กนิ 900 มลิ ลเิ มตรทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสิง่ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรบั ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และคนชรา,สบื คน้ เมื่อ 7 กนั ยายน 2560 2-60

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BUILDING CODE(ต่อ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดสิ่งอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรอื ทพุ พลภาพ และคนชราลาดบั หัวขอ้ ขอ้ กาหนดตามกฎหมายข้อ 4 หมวด 7 (ต่อ) (9) ติดต้ังระบบสญั ญาณแสงและสัญญาณเสยี งใหผ้ พู้ ิการหรอื ทุพพลภาพ และคนชรา ห้องสว้ ม สามารถแจ้งเหตหุ รือเรยี กหาผชู้ ่วยในกรณที เ่ี กิดเหตุฉุกเฉนิ ไว้ในห้องสว้ ม โดยมปี มุ่ กดหรอื ปุ่ม สัมผสั ให้สญั ญาณทางานซ่ึงติดตัง้ อยู่ในตาแหน่งทผี่ พู้ กิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราสามารถใช้ งานได้สะดวก (10) มีอ่างล้างมือโดยมีลักษณะ ดังตอ่ ไปน้ี (ก) ใตอ้ ่างลา้ งมอื ด้านทต่ี ิดผนังไปจนถึงขอบอ่างเป็นที่ว่าง เพ่อื ใหเ้ ก้าอี้ล้อสามารถสอดเข้า ไปได้ โดยขอบอา่ งอยหู่ ่างจากผนงั ไม่นอ้ ยกว่า 450 มลิ ลิเมตร และตอ้ งอยูใ่ นตาแหน่งท่ีผพู้ กิ าร หรอื ทุพพลภาพ และคนชราเข้าประชดิ ได้โดยไม่มสี ิง่ กดี วาง (ข) มีความสงู จากพ้ืนถึงขอบบนของอา่ งไม่นอ้ ยกว่า 750 มลิ ลิเมตร แต่ไม่เกิน 800 มลิ ลเิ มตร และมรี าวจบั ในแนวนอนแบบพับเกบ็ ได้ในแนวดง่ิ ทัง้ สองขา้ งของอ่าง (ค) ก๊อกนา้ เป็นชนิดก้านโยกหรอื กา้ นกดหรือก้านหมนุ หรอื อัตโนมัติ ข้อ 22 ในกรณีที่ห้องส้วมสาหรบั ผู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราอยู่ภายในหอ้ งสว้ มที่ จดั ไวส้ าหรบั บคุ คลทั่วไป และมที างเข้ากอ่ นถงึ ตัวห้องส้วม ต้องจัดให้หอ้ งส้วมสาหรบั ผู้พกิ ารหรอื ทุพพลภาพ และคนชราอยู่ในตาแหน่งทผี่ ู้พกิ ารหรือทุพพลภาพ และคนชราสามารถถึงได้ โดยสะดวก หอ้ งสว้ มสาหรบั บุคคลทั่วไปตามวรรคหนึ่ง หากได้จัดสาหรบั ผชู้ ายและผ้หู ญงิ ต่างหาก จากกันให้มีอกั ษรเบรลล์แสดงให้ร้วู า่ เปน็ หอ้ งส้วมหรอื หญงิ ตดิ ไว้ทผี่ นังทางเขา้ ในตาแหนง่ ที่ สามารถสัมผสั ได้ดว้ ย ทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สืบค้นเม่อื 7 กนั ยายน 25602-61

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK(ตอ่ ) ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง กาหนดส่ิงอานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผูพ้ กิ ารหรือทพุ พลภาพ และคนชรา BUILDING CODEลาดบั หวั ขอ้ ข้อกาหนดตามกฎหมายข้อ 4 หมวด 7 (ตอ่ ) ข้อ 23 ในกรณที เี่ ป็นห้องส้วมสาหรบั สาหรบั ผ้ชู ายท่มี ีใช่ห้องส้วมสาหรับผู้พิการหรือ ห้องสว้ ม ทพุ พลภาพ และคนชราตามขอ้ 20 และขอ้ 21 ให้มีทีถ่ ่ายปสั สาวะที่มรี ะดับเสมอพนื้ อย่างน้อย 1 ที่ โดยมรี าวจับในแนวนอนอยูด่ ้านบนของทถ่ี ่ายปสั สาวะยาวไมน่ อ้ ยกว่า 500 มิลลิเมตร แต่ไม่ เกิน 600 มิลลเิ มตร มีความสงู จากพน้ื ไม่นอ้ ยกวา่ 1,200 มิลลิเมตร แต่ไม่เกิน 1,300 มลิ ลเิ มตร และมีราวจับดา้ นข้างของท่ีถ่ายปสั สาวะทง้ั สองขา้ ง มีความสงู จากพน้ื ไม่น้อยกว่า 800 มิลลเิ มตร แต่ไมเ่ กนิ 1,000 มลิ ลเิ มตร ซึ่งย่นื ออกมาจากผนงั ไม่น้อยกว่า 550 มิลลเิ มตร แตไ่ ม่เกนิ 600 มิลลิเมตร ข้อ 24 ราวจบั หอ้ งสว้ มใหม้ ีลักษณะตามที่กาหนดในขอ้ 8 (7) (ก) และ (ข)ข้อ 4 หมวด 8 ขอ้ 25 อาคารตามขอ้ 3 ตอ้ งจดั ให้มีพ้ืนผิวต่างสัมผสั สาหรับคนพิการทางการมองเหน็ ที่ พ้ืนผิวตา่ งสัมผัส พ้ืนบรเิ วณตา่ งระดับทมี่ ีระดบั ต่างกนั เกนิ 200 มิลลเิ มตร ทที่ างข้ึนและทางลงของทางลาดหรือ บันไดทีพ่ ื้นด้านและด้านหลงั ประตูทางเข้าอาคาร และทพี่ น้ื ดา้ นหน้าของประตูหอ้ งส้วม โดยมีขนาด กวา้ ง 300 มิลลเิ มตร และมีความยาวเทา่ กับและขนานไปกบั ความกว้างของช่องทางเดนิ ของพ้นื ต่างระดับ ทางลาด บนั ได หรอื ประตู และขอบของพืน้ ผวิ ต่างสัมผสั อยหู่ ่างจากจุดเริ่มตน้ ของทาง ขน้ึ หรือทางลงของพื้นตา่ งระดับ ทางลาด บันได หรือประตไู ม่นอ้ ยกว่า 300 มิลลิเมตร แต่ไมเ่ กิน 350 มลิ ลเิ มตร ในกรณีของสถานีขนส่งมวลชน ใหข้ อบนอกองพ้นื ผิวต่างสมั ผสั อยู่ห่างจากขอบของชาน ชาลาไม่น้อยกวา่ 600 มิลลเิ มตร แต่ไมเ่ กินกว่า 650 มิลลิเมตรทม่ี า : http://www.elevatordesigner.com/กฎกระทรวง กาหนดสง่ิ อานวยความสะดวกในอาคาร สาหรับผู้พิการหรือทพุ พลภาพ และคนชรา,สบื คน้ เมอ่ื 7 กันยายน 2560 2-62

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKบทท่ี การศึกษาและวเิ คราะห์ทต่ี ัง้ โครงการ 3-1 ท่ีตั้งโครงการ ขอ้ มลู พ้ืนฐาน 3-2 การเลอื กท่ีตั้งโครงการ 3-3 ประวตั ทิ ่ีตงั้ โครงการ 3-4 ที่ตง้ั โครงการ 3-7 กฎหมายผังเมอื ง 3-17 การเข้าถึงโครงการ 3-233-1 ภาพที่3.1 : ภาพลายเส้นแปลนศนู ยบ์ ริการโลหติ

ภาพที่3.2 : ย่านปทุมวนั LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BANGKOK 3.1 ที่ตั้งโครงการ 3.1.1 จังหวัดกรุงเทพมหานคร “มหานคร” เมืองแห่งสวรรค์ เป็นเมืองหลวงท่ีมีประชากรมากที่สุดในประเทศ ไทยและเป็นความเจริญของประเทศ เป็นศูนย์กลางการปกครอง เศรษฐกิจ การศึกษา วัฒนธรรม รวมทั้งระบบการขนส่งที่ดี มีสถานท่ีท่องเท่ียวมากมาย 3.1.2 ลักษณะพื้นท่ี เขตปทุมวัน ซึ่งเป็นย่านรวมกลุ่มวัยรุ่น วัยเรียน และคน ทา งาน ที่ใช้ชีวิตอยู่ในพื้นที่ตรงน้ันตามช่วงเวลาที่ต่างกันออกไปไม่ว่าจะเป็นเร่ืองของ การเที่ยว ช็อปปิ้ง เรียนพิเศษ ทานอาหาร ซึ่งเป็นจุดศูนย์รวมใจกลางเมืองท่ีเป็นท่ี รู้จักของประเทศไทยและยังเป็นศูนย์รวมห้างสรรพสินค้าและมีรถไฟฟ้าสถานีสยาม ซึ่ง เป็นสถานีเปล่ียนเส้นทางสายสุขุมวิท และสายสีลม จากการวิเคราะห์เขตปทุมวัน ย่านที่มีผู้คนรู้จักและเป็นศูนย์กลางเมืองกรุงเทพฯ เพราะมีสถานที่ท่องเท่ียวหลากหลายรูปแบบ เป็นแหล่งพาณิชยกรรม สถานท่ีราชการ มหาวิทยาลัย สวนสาธารณะ ซ่ึงมีกลุ่มเป้าหมายผู้ใช้งาน ของโครงการพัฒนาพ้ืนท่ี สร้างแรงบันดาลใจเพ่ือแบ่งปัน “เลือดคือชีวิต” เพราะมีทั้งวัยทางาน วันรุ่น วัยเรียน 3-2

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ใจกลางเมือง3.1.3 การเลือกท่ีตั้งโครงการ LAND เปน็ ทท่ี ี่รจู้ กั เกยี่ วกบั การใหโ้ ลหติ Giveรูจ้ กั ในเรอื่ งของจิตอาสา เป็นสถานทีท่ ี่ใคร ๆ กร็ จู้ ัก GIVE ภาพที3่ .3 : ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติแหล่งรวมการบริจาคตา่ ง ๆ อยใู่ กลก้ ับสถานทท่ี อ่ งเทย่ี ว แหล่งรวมสังคม มีกจิ กรรมต่าง ๆ ข้ึนบอ่ ยมาก3-3

ประวัติงานบริการโลหิตของไทย LB INSPIRATION FOR SHARING PARK วงการแพทยไ์ ด้ให้ความสาคัญและสนใจเรื่องราวเกย่ี วกบั 3.1.4 ประวัติท่ีต้ังโครงการโลหิตและถา่ ยโลหิตมากอ่ นท่ีสภากาชาดไทย จะมารบั ผิดชอบเพยี งแต่ไมเ่ ปน็ ท่รี ู้จกั แพรห่ ลายนกั โดยเรมิ่ ที่โรงพยาบาลศริ ิราชเป็นแห่งแรก จนกระท่ังสงครามโลกคร้งั ที่ 2 สงบลง กองกาลังทหารประชาชาตไิ ดน้ า พลาสมาแหง้ เขา้ มาใช้รักษาในประเทศไทยและแจกจา่ ยใหก้ ับโรงพยาบาลตา่ งๆ ทง้ั พ.ศ. 2473 ศาสตราจารย์ คารล์ บคั แมน ศาสตราจารย์ ในกรงุ เทพฯและตา่ งจังหวดั ซึ่งพลาสมาแหง้ นนั้ มีคุณภาพดกี ว่านา้ เกลือและน้าตาลแผนกสูตนิ ารีเวชกรรม มหาวิทยาลยั เพนซลิ วาเนยี ได้เข้ามาเปน็ กลูโคสศาสตราจารย์ประจาแผนกสูตินารเี วชกรรมโรงพยาบาลศริ ริ าชไดท้ าการถา่ ยโลหิตใหก้ ับสภุ าพสตรที ่านหนง่ึ ซง่ึ ตกเลอื ดจากการคลอด ขณะเดียวกัน ช่วงระยะเวลานีร้ ฐั บาลได้สง่ แพทย์ไปศกึ ษาทอี่ เมริกาเพ่ือนาบุตร โดยใชว้ ธิ กี ารเจาะโลหติ ใสล่ งขวดท่ีมีโซเดียมซิเตรทแล้วเทลงใน ความรดู้ า้ นการถา่ ยโลหิตกลบั มาเพ่อื ชว่ ยชีวติ ผปู้ ่วย สง่ ผลใหค้ วามคดิ ท่ีจะกอ่กระบอกแกว้ ถ่ายให้กับผรู้ บั โลหติ ซ่ึงปรากฏว่าการถ่ายโลหติ วธิ ีน้ีไม่ ต้ังธนาคารเลือดในประเทศไทยเรมิ่ เป็นจรงิเปน็ ผลดนี ัก ผูร้ ับโลหติ มอี าการหนาวส่นั ตามมา พ.ศ. 2492 แพทยท์ ีก่ ลับจากประเทศอเมรกิ าได้นาเอาความรู้และประสบ- พ.ศ. 2480 สงครามในทวีปยโุ รปส่อความรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ การณด์ า้ นงานบริการโลหติ มาริเรม่ิ ก่อต้ังธนาคารเลอื ดและเรม่ิ กระจายไปยงั ภูมิภาคอืน่ ๆ รวมท้งั ภมู ิภาคเอเชยี ดว้ ย ซงึ่ ในขณะนน้ั งานบรกิ ารโลหิตในประเทศไทย ยงั ไม่พฒั นากา้ วหน้าเท่าที่ พ.ศ. 2493 โรงพยาบาลเชียงรายประชานเุ คราะห์ จงั หวัดเชยี งรายควรโลหติ ยังเป็นของหายากห่างไกลความสาคัญและจาเป็นในสายตา กอ่ ต้งั ธนาคารเลือดขึน้ เป็นแหง่ แรกในประเทศไทยของประชาชนท่ัว ๆ ไป พ.ศ. 2494 โรงพยาบาลหญงิ ก่อตัง้ ธนาคารเลือดเปน็ แหง่ ท่ี 2 พรอ้ มกับ พ.ศ. 2484-2488 สงครามโลกครงั้ ที่ 2 ได้ขยายตัวเขา้ จัดอบรมความรู้ดา้ นงานบรกิ ารโลหิตให้กบั เจ้าหนา้ ทีเ่ ทคนคิ การแพทย์ เจ้าหน้าท่ีมาในประเทศไทย มีการสู้รบเกดิ ขึน้ ในหลายพน้ื ทสี่ ง่ ผลใหป้ ระชาชน ปฏิบตั ิการทางธนาคารเลอื ดและสง่ ออกไปยงั โรงพยาบาลต่าง ๆ ทัว่ ประเทศคนไทยจานวนมากเสยี ชีวติ และบาดเจบ็ ในขณะท่ีกิจกรรมการถา่ ยโลหติ เพ่ือช่วยชวี ติ ผบู้ าดเจบ็ ยงั คงต้องใช้น้าเกลือและนา้ ตาลกลโู คส พ.ศ. 2495 ศาสตราจารย์ นายแพทยเ์ ฉลิม บรู ณะนนท์ ผ้อู านวยการอยู่ ซึง่ คณุ ภาพน้ันเทยี บโลหิตไมไ่ ด้ กองวทิ ยาศาสตร์ สภากาชาดไทย นามติท่ปี ระชุมสนั นบิ าด คร้ังท่ี 17 เสนอต่อ กรรมการสภากาชาดไทย เพ่ือขอจัดแผนกบรกิ ารโลหติ ขน้ึ ในกองวิทยาศาสตร์ (ที่มา : หนังสือรายงานการปฏิบัตงิ านและผลงาน ศนู ย์บรกิ ารโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย,2560) 3-4

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงมีพระราชดารัสชมเชยการบริจาคโลหิตว่า เป็นบุญกุศลอันยิ่งใหญ่ ได้ช่วยคนรอดตายไว้ได้มาก แม้มีเงินก็ช่วยอะไรไม่ได้ หากไม่มีคนใจกุศลเช่นน้ี การบริจาคโลหิตดูโดยเผิน ๆ ก็น่ากลัวอันตราย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ “ข้ึนช่ือว่ากาชาดก็เป็นท่ีรู้กันดีว่า หมายถึง ผู้ช่วยด้วยเมตตาด้วยกรุณาอย่างยิ่งต่อทุกชีวิต ไม่เลือก ชาติ ศาสนา หรือ ฐานะจะยากจนมีดีช่ัวอย่างไร กาชาดมิใส่ใจ ช่วยได้เพียงไรกาชาดจะช่วย นับเป็น งานบุญที่ยิ่งใหญ่ ผู้ร่วมงานด้วยจิตใจเป็นบุญเช่นนี้ ควรได้รับอนุโมทนาสาธุการอย่างยิ่ง” สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก (ท่มี า : หนงั สือรายงานการปฏิบตั ิงานและผลงาน ศูนยบ์ รกิ ารโลหติ แห่งชาติ สภากาชาดไทย,2560)3-5

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย เปน็ หนว่ ยงานของสภากาชาดไทยทีไ่ ด้รับมอบหมายจากรฐั บาล ให้มีหน้าทหี่ ลกั ในการจัดหาโลหติ ใหม้ ีปรมิ าณเพยี งพอ ความปลอดภยั และมคี ณุ ภาพสูงสดุ จากผ้บู รจิ าคโลหติ ทไ่ี มห่ วังสง่ิ ตอบแทนเพ่อื นาไปใช้รักษาผู้ปว่ ยทว่ั ประเทศ (ท่มี า : หนังสือรายงานการปฏิบัติงานและผลงาน ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย,2560) ภาพท่3ี .4 : กาชาดไทยรบั บรจิ าคโลหิต ท่มี า :http://news.sanook.com,สืบคน้ เมอ่ื 10 กนั ยายน 2560 ถา้ พดู ถึงการบริจาคโลหติ หรือเพียงแค่คณุ Search Internet กจ็ ะพบวา่ สภากาชาดไทยขึ้นเป็นอนั ดบั แรก ๆ เปน็ สถานทที่ คี่ นสนใจและรบั รขู้ ่าวสารตา่ ง ๆ เก่ยี วกับการบริจาคโลหติ ไดเ้ ปน็อยา่ งดี ไม่วา่ จะเปน็ เหลา่ ดาราหรือศลิ ปนิ ทช่ี กั จูงใจคนใหม้ าบริจาคโลหติ ดว้ ยการทีต่ นเองมาเป็นบุค-คลตัวอย่างนนั่ กถ็ ือเป็นการสร้างแรงจงู ใจแบบหน่ึง แตส่ ภากาชาดไทยก็ยงั มปี ระกาศขาดแคลนอยู่เสมอ ภาพท3ี่ .5 : การบรจิ าคโลหิต ที่มา :http://news.sanook.com,สืบคน้ เมือ่ 10 กันยายน 2560 3-6

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย 3.2 กี่ตั้งโครงการ กิจกรรมของสภากาชาดไทย เช่น  การบรจิ าคโลหติ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ  การบรจิ าคดวงตา สภากาชาดไทย  การบริจาครา่ งกาย  การบริจาคอวัยวะ ภาพท3่ี .6 : ติดตอ่ สภากาชาดไทย  การบริจาคเงิน ท่ีมา :https://www.redcross.or.th/print/contactus,สืบคน้ เม่ือ 11 กันยายน 2560  ลงทะเบียนสเต็มเซลล์ ตามหาคู่3-7  จติ อาสา เช่น แพ็คของเมอื่ เกิดอทุ กภยั ร่วมทาจติ อาสาต่าง ๆ เพอ่ื ช่วยเหลอื เพื่อนมนุษย์

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK3.2.1 ลักษณะกายภาพที่ต้ัง ท่ีตั้งโครงการ อยู่ในเขตพ้ืนท่ีของสภากาชาดไทย ซ่ึงเป็นที่รู้จักในเร่ืองของการบริจาคโลหิต SITE สภาพแวดลอ้ มขา้ งเคียงโดยรอบบริเวณที่ตั้งโครงการ ศูนย์ตา่ ง ๆภาพท่ี3.7 : ลานจอดรถช่ัวคราวศนู ย์บรกิ ารโลหติ แหง่ ชาติ ของสภากาชาดไทยทีต่ งั้ โครงการมีขอบเขตดังนี้ E ดา้ นทศิ ตะวันออก ถนนอังรีดูนังต์ ด้านทศิ ตะวนั ตก อาคารศนู ย์บรกิ ารโลหติ แหง่ ชาติ W ดา้ นทศิ ใต้ ถนนในโครงการของสภากาชาดไทย S ดา้ นทิศเหนือ อาคาร4ช้นั (พลาสมา) NE W SN 3-8

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK N 3.2.2 การกาหนดขนาดที่ต้ังโครงการ 48.00 90.00 SITE ภาพที่3.8 : ลานจอดรถช่วั คราวศนู ย์บรกิ ารโลหิตแหง่ ชาติ 92.00 48.003-9 พ้ืนที่ท้ังหมดของที่ตั้ง 4,800 เมตร ขนาดท่ีต้ัง 2 ไร่ ดา้ นทิศตะวันออก 48.00 เมตร ด้านทิศตะวนั ตก 48.00 เมตร ดา้ นทศิ ใต้ 103.00 เมตร ดา้ นทิศเหนือ 100.00 เมตร

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK3.2.3 กิจกรรมเดิมของพ้ืนที่ ACTIVITYภาพที3่ .9 : กิจกรรมตามเทศกาล ภาพท่ี3.11 : กิจกรรมตามเทศกาลทมี่ า :https://www.redcross.or.thk,สบื คน้ เม่ือ 12 กันยายน 2560 ท่ีมา :https://www.redcross.or.th,สบื ค้นเม่ือ 12 กนั ยายน 2560ภาพที่3.10 : กิจกรรมตามเทศกาล ภาพท3่ี .12 : กิจกรรมตามเทศกาลที่มา :https://www.redcross.or.th,สืบค้นเมอ่ื 12 กนั ยายน 2560 ที่มา :https://www.redcross.or.th,สบื ค้นเมอ่ื 12 กันยายน 2560 3-10

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 3.2.4 ลักษณะโดยรอบของที่ต้ัง ลักษณะการเข้าถึง ภาพแผนท่ี3.1 : ภาพถา่ ยทางอากาศย่านองั รดี นู ังต์ ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ ท่มี า : ภาพจากการวเิ คราะห์,2560 สภากาชาดไทย ถนนพระราม 4 ถนนพญาไท ที่ตั้งโครงการ ถนนอังรีดูนังต์ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ ถนนพระราม 1 ถนนองั รีดูนังต์ ถนนราชดาริ3-11

3.2.5 การเข้าถึงโครงการ LB INSPIRATION FOR SHARING PARK BTS MRT SIAM SAMYAN 15 MINUTE 10 MINUTE 3 MINUTE 5 MINUTE ภาพท3ี่ .13 : การเข้าถงึ โครงการท่ีมผี ู้มาใช้บริการมากท่ีสดุ 3-12 ทีม่ า : ภาพจากการวิเคราะห์,2560

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ลักษณะการเข้าถึง การคมนาคม 3.2.6 ลักษณะโดยรอบของทต่ี ั้ง จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ศูนย์บริการโลหิตแห่งชาติ จามจุรี สภากาชาดไทย วดั หวั ลาโพง สยาม ภาพแผนท่ี3.2 : ภาพถ่ายทางอากาศย่านอังรดี นู งั ต์ สวนลมุ พนิ ี ทมี่ า : ภาพจากการวิเคราะห์,25603-13 MRT สามยา่ น BTS ราชดาริ BTS สยาม

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKภาพท่3ี .14 : จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย ภาพที่3.15 : จามจุรีสแควร์ ภาพท่ี3.16 : วดั หัวลาโพงทม่ี า :http://www.chula.ac.th ทีม่ า : http://condoable.com ที่มา : www.gerryganttphotography.comภาพที3่ .17 : สยาม ภาพท3่ี .18 : สวนลุมพนิ ีที่มา :http://www.thaihrhub.com ท่ีมา :http://minpininteraction.com 3-14

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 3.2.7 ลักษณะการจราจร การจราจรหนาแน่นบางเวลา เพราะเป็นอีกหน่ึงเส้นทางที่สามารถไปสยามได้ - ถนนอังรีดูนังต์ หนาแน่นในช่วง 9.00-10.00, 12.00-13.00, หนาแน่นมากในช่วงเย็น 16.00-20.00 (โดยเฉพาะเสาร์อาทิตย์) ภาพแผนที่3.3 : ภาพถา่ ยทางอากาศย่านองั รดี ูนังต์ ท่มี า : ภาพจากการวิเคราะห์,25603-15

3.2.8 ลักษณะภูมิประเทศ LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ภาพแผนท3ี่ .4 : ภาพถา่ ยทางอากาศ เขตท่ีราบภาคกลาง ท่มี า : ภาพจากการวิเคราะห์,2560 ท่รี าบภาคกลาง ไดแ้ ก่ บริเวณทร่ี าบลมุ่ แม่น้าตอนกลางและตอนลา่ งทั้งหมด ซึ่ง ประกอบด้วยแมน่ ้าเจ้าพระยาและสาขาที่ ไหลมาจากที่สงู โดยรอบแล้วไหลลงสู่อา่ ว ไทยทอ่ี ยู่ตอนใต้ของภาคภมู ิประเทศของ ท่รี าบภาคกลาง เปน็ ท่ีราบดนิ ตะกอนที่ หนาและกว้างขวางมากทีส่ ดุ ของประเทศ 3.2.8 ลักษณะภมู ิอากาศ จังหวัดกรุงเทพมหานคร แบง่ ออกเป็น 3 ฤดูกาล  ฤดูหนาว ชว่ งเดอื น ตลุ าคมถึงกุมพาพนั ธ์ ซึ่งเปน็ ฤดมู รสมุ ตะวนั ออกเฉยี งเหนือ  ฤดรู อ้ น ตั้งแต่กลางเดอื น กุมภาพันธถ์ งึ กลาง เดอื นพฤษภาคม ช่วงอากาศร้อนทส่ี ดุ คอื เดือนเมษายน  ฤดฝู น ตั้งแตก่ ลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตลุ าคม เดือน กันยายนเปน็ ชว่ งท่ีฝนตกหนกั ที่สุดมีความชนื้ สูงทีส่ ุด 3-16

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK SITE SELECTION 3.3 กฎหมายผังเมือง ราคาท่ีดิน 400,000 / ตรว / บาท ภาพท่3ี .19 : ผังสกี รุงเทพมหานคร เขตพ้ืนที่สีน้าเงิน ส-๔๙3-17 ค่า FAR - ค่า OSR - ที่ดินประเภท สถาบันราชการ การสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKเขต ปทุมวัน บรร ัทดทองสถานที่สาคัญ สนาม ีกฬาแห่งชาติ สยาม ราชก ีรฑา สโมสร เพลิน ิจต ัหวลาโพง สาม ่ยาน จุฬาลงกร ์ณมหาวิทยาลัย สภากาชาดไทย สวนลุม ิพ ีน ภาพท3ี่ .20 : สถานที่สาคัญย่านปทมุ วัน ที่มา : ภาพจากการวเิ คราะห์,2560 3-18

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 3.4.1 การวิเคราะห์ด้านผังเมือง EDGE DISTRICTS PATH NODE LANDMARK ภาพที่3.21 : การวิเคราะหผ์ ังเมือง ท่ีมา : ภาพจากการวเิ คราะห์,25603-19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook