Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

Published by warinthida.chongnoii, 2017-11-09 02:07:27

Description: LB INSPIRATION FOR SHARING PARK-EBOOK.compressed

Search

Read the Text Version

LB LIFE BLOODINSPIRATIONFORSHARING PARKWARINTHIDA WANNAWAT ARCH.THESIS.RMUTT.2017



โครงการพัฒนาพื้นท่ีสร้างแรงบนั ดาลใจเพ่ือแบง่ ปัน \"เลอื ดคือชวี ิต\" วรนิ ธิดา วรรณวัฒน์วทิ ยานพิ นธ์นเ้ี ป็นสว่ นหนงึ่ ของการศึกษาตามหลกั สตู รสถาปตั ยกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บุรี 2560



LB INSPIRATION FOR SHARING PARK WARINTHIDA WANNAWATA THESIS IN PARTAIL FULFLMENT OF THE REQUIMENT FOR THE BACHELOR OF ARCHITECTURE DIVISION OF ARCHITECTURAL TECHNOLOGY FACULTY ARCHITECTURE RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY THANYABURI 2017



LB INSPIRATION FOR SHARING PARKCONTENTS สารบัญ 0 1 2 1-1 บทที2่ การประมวลเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 2-1สารบญั หนา้ บทที่1 บทนา ความสาคัญของเรื่อง วตั ถปุ ระสงค์โครงการ 1-2 คาจากดั ความและความหมาย 2-2 ขอบเขตของการศกึ ษาบทคัดย่อ ก ขัน้ ตอนและวธิ ีการศึกษา ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รบั 1-4 ประวตั คิ วามเปน็ มา 2-3กติ ตกิ รรมประกาศ ข 1-4 เปา้ ประสงคน์ โยบาย 2-19สารบัญ ค 1-5 หลักการออกแบบทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2-20สารบญั ภาพ งสารบญั ตาราง สารบญั แผนภูมิ จ 1-6 กรณีศกึ ษาอาคารตัวอยา่ ง 2-35 กฎหมายที่เกย่ี วข้องกับโครงการ 2-42 ค

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK CONTENTS สารบัญ 3 3-1 4 4-1 3-2 4-2 บทที่3 การศกึ ษาและวเิ คราะหท์ ต่ี งั้ โครงการ 3-3 บทท4ี่ การศกึ ษารายละเอยี ดโครงการ 4-5 ที่ตั้งโครงการ ขอ้ มูลพ้ืนฐาน 3-4 ความเป็นมาของโครงการ วัตถปุ ระสงค์ 4-7 การเลือกที่ตัง้ โครงการ 3-7 การกาหนดโครงสร้างการบริหารงาน 4-8 ประวัตทิ ่ตี ้งั โครงการ 3-17 กลุ่มเปา้ หมาย 4-9 ที่ตัง้ โครงการ 3-23 รายละเอยี ดผ้ใู ช้โครงการ 4-16 กฎหมายผังเมือง กิจกรรมภายในโครงการ 4-21 การเข้าถงึ โครงการ งานระบบต่าง ๆ 4-22 รายรบั รายจ่ายโครงการ มลู คา่ รวมของโครงการค

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK CONTENTS สารบัญ 5 6 APPENDIXแนวคดิ ในการออกแบบ 5-X สรปุ รายระเอยี ดโครงการ 6-X บรรณานกุ รม 7-1แปลน 5-X ขอ้ เสนอแนะโครงการ 6-X ประวัติผู้ศกึ ษา 7-Xรปู ดา้ น 5-XX ภาคผนวก 7-Xรปู ตัด 5-XXทัศนยี ภาพภายใน 5-XXทัศนียภาพภายนอก 5-XX ค

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 1 2PHOTO CONTENTS สารบัญรูปภาพ (ต่อ) ภาพท1่ี .1 : Give Blood 1-1 ภาพที่1.2 : Come Back 1-3 ภาพที่2.10 : Save energy 2-17 ภาพท1่ี .3 : Blood 1-3 ภาพท1่ี .4 : Saving my life 1-4 ภาพที่2.11 : Ecoinnova 2-17 1-6 2ภาพที่1.5 : Give Blood ภาพที่2.12 : Green climate fund 2-20 ภาพท่ี2.13 : Green climate fund 2-20 ภาพที่2.14 : Exhibition 2-21 ภาพท2่ี .15 : Exhibition 2-22 ภาพท2่ี .1 : Give Blood 2-1 ภาพท2ี่ .16 : Danish national maritime museum permanent exhibition 2-24 ภาพท2่ี .2 : กรุ๊ปเลอื ด 2-3 ภาพท่ี2.3 : What is blood 2—6 ภาพที่2.17 : Audain art museum / patkau architects 2-24 ภาพที2่ .4 : การผา่ ตดั 2-6 ภาพท2ี่ .5 : อบุ ตั เิ หตุ 2-6 ภาพท2่ี .18 : LILLIAD - Learning centre 'Innovation' / Auer Weber 2-24 ภาพที่2.6 : การคลอด 2-6 ภาพท่ี2.7 : การจูงใจ 2-10 ภาพท2่ี .19 : Danish national maritime museum permanent exhibition 2-25 ภาพท2่ี .8 : แรงจูงใจ 2-11 ภาพที่2.9 : สร้างแรงจูงใจ 2-12 ภาพที2่ .20 : Danish national maritime museum permanent exhibition 2-25 ภาพท่2ี .21 : Audain art museum / Patkau Architects 2-26 ภาพท2่ี .22 : Audain art museum / Patkau Architects 2-26 ภาพที่2.23 : LILLIAD - Learning centre 'Innovation' / Auer Weber 2-27 ภาพท2่ี .24 : LILLIAD - Learning centre 'Innovation' / Auer Weber 2-27ง

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK3PHOTO CONTENTS 3 สารบัญรูปภาพ (ต่อ) (ต่อ)ภาพท3่ี .1 : ภาพลายเสน้ แปลนศนู ย์บริการโลหติ 3-1 ภาพที3่ .17: สยาม 3-14ภาพที่3.2 : ย่านปทมุ วัน 3-2 ภาพที่3.18 : สวนลมุ พินี 3-14ภาพท3่ี .3 : ศนู ยบ์ ริการโลหติ แหง่ ชาติ 3-3 ภาพท3่ี .19 : ผังสกี รุงเทพมหานคร 3-17ภาพท3่ี .4 : กาชาดไทยรับบรจิ าคโลหิต 3-6 ภาพท3่ี .20 : สถานทส่ี าคญั ย่านปทุมวนั 3-18ภาพที่3.5 : การบริจาคโลหิต 3-6 ภาพที่3.21 : การวเิ คราะหผ์ งั เมือง 3-19ภาพที่3.6 : ติดตอ่ สภากาชาดไทย 3-7 ภาพที่3.22 : การวเิ คราะหท์ ีต่ ัง้ โครงการ 3-20ภาพที3่ .7 : ลานจอดรถช่วั คราวศูนยบ์ รกิ ารโลหติ แหง่ ชาติ 3-8 ภาพท3่ี .23 : ภาพถา่ ยทางอากาศวิเคราะหโ์ ซนนิ่ง 3-23ภาพที3่ .8 : ลานจอดรถช่ัวคราวศนู ย์บรกิ ารโลหิตแหง่ ชาติ 3-9 ภาพท่3ี .24 : ภาพถ่ายทางอากาศวเิ คราะห์โซนนิง่ 3-24ภาพท่ี3.9-3.12 : กิจกรรมตามเทศกาล 3-10ภาพท3่ี .13 : การเข้าถึงโครงการ 3-12ภาพท3่ี .14 : จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 3-14ภาพท3่ี .15 : จามจุรสี แควร์ 3-14ภาพท3่ี .16 : วัดหวั ลาโพง 3-14 ง

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK PHOTO CONTENTS 4 4 สารบัญรูปภาพ (ต่อ) (ต่อ) ภาพท4่ี .1 : Active 4-1 ภาพที4่ .14 : Office 4-11 ภาพที4่ .2 : Get Blood 4-2 ภาพท4่ี .3 : คิด 4-3 ภาพที่4.15 : Parking 4-12 ภาพที่4.4 : เขา้ ใจ 4-3 ภาพที่4.5 : Inspiration Space 4-4 ภาพท่4ี .16 : กจิ กรรมภายในโครงการ 4-15 ภาพที่4.6 : สภากาชาดไทย 4-5 ภาพท4่ี .7 : ประชาสมั พนั ธ์ 4-6 ภาพที่4.17 : โครงสร้างเหลก็ 4-16 ภาพท่4ี .8 : ผใู้ ช้งาน 4-7 ภาพท่4ี .9 : รายละเอยี ดโครงการ 4-9 ภาพที่4.18 : โครงสรา้ งคอนกรีตเสรมิ เหลก็ 4-16 ภาพที4่ .10 : Sharing 4-9 ภาพท4่ี .11 : library 4-10 ภาพท4่ี .20 : กาแพงกันดนิ 4-19 ภาพท่4ี .12 : Exhibition 4-10 ภาพที่4.13 : Museum 4-11 ภาพท4ี่ .20 : ผนังรับน้าหนกั 4-20 ภาพที่4.20 : ผนงั กระจก 4-21 ภาพท4ี่ .20 : ไฟฟ้า LED 4-22 ภาพท่ี4.19 : ระบบแอร์ 4-23 ภาพท4่ี .20 : MDB 4-24 ภาพท4่ี .21 : ระบบประปา 4-25 ภาพที่4.22 : ระบบดบั เพลงิ 4-26 ภาพที่4.23 : เงินเหรียญ 4-27ง

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKTABLE CONTENTS CHART CONTENTS สารบัญตาราง สารบัญแผนภูมิบทท่ี 2 2-15 แผนภูมริ ูปภาพท่1ี .1 : ขน้ั ตอนและวธิ กี ารศกึ ษา 1-5ตารางที่ 2.1 : การใหแ้ ละการรบั โลหิต 2-40 แผนภูมิรูปภาพท2่ี .1 : จานวนโลหติ ท่ตี ้องการ 2-7ตารางท่ี 2.2 : ตารางสรุปการศึกษาอาคารตัวอยา่ ง 2-42 แผนภูมริ ูปภาพท่ี4.1 : โครงสร้างการบริหารงาน 4-5ตารางที่ 2.3 : กฎกระทรวงฉบบั ท่ี 55 (พ.ศ. 2543) 2-49 แผนภมู ิรปู ภาพท่4ี .1 : ความตอ้ งการตามวัยของผูใ้ ช้งาน 4-7ตารางท่ี 2.4 : กฎกระทรวง ให้ใช้บงั คับผงั เมอื งรวม กทม 2-50 แผนภูมิรปู ภาพที4่ .2 : จานวนเปอร์เซน็ ต์ของโปรแกรม 4-12ตารางท่ี 2.5 : กฎกระทรวง สาหรับผพู้ ิการหรอื ทพุ พลภาพ 4-8 MAP CONTENTS และคนชรา 4-13บทท่ี4 4-14 สารบัญแผนท่ีตารางท4่ี .1 : รายละเอียดกล่มุ เปา้ หมายโครงการตารางที่4.2 : องค์ประกอบโครงการ ภาพแผนท3่ี .1 : ภาพถา่ ยทางอากาศยา่ นอังรดี นู งั ต์ 3-11ตารางที่4.3 : องคป์ ระกอบโครงการ ภาพแผนท่3ี .2 : ภาพถา่ ยทางอากาศยา่ นอังรดี นู ังต์ 3-13 ภาพแผนท3ี่ .3 : ภาพถา่ ยทางอากาศย่านอังรีดูนงั ต์ 3-15 ภาพแผนท3่ี .4 : ภาพถ่ายทางอากาศ 3-16 ฉ

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK บทท่ี บทนา 1-1 ความสาคัญของเร่อื ง 1-2 วัตถุประสงคโ์ ครงการ 1-4 ขอบเขตของการศึกษา 1-4 ขั้นตอนและวธิ ีการศกึ ษา 1-5 ประโยชน์ทคี่ าดวา่ จะได้รบั 1-6 ภาพท1่ี .1 : Give blood ทม่ี า : http://www.richwake.com,สบื คน้ เม่ือ 24 สงิ หาคม 25601-1

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 1.1 ความสาคัญของเร่ือง INTRODUCTION 1.1.1 จากอดตี จนถึงปัจจุบัน เกดิ วิกฤติขาด แคลนโลหติ อย่บู ่อยครงั้ เพราะโลหติ จาเป็นตอ่ การชว่ ยเหลือชีวติ ของมนษุ ย์ ทาให้มคี วาม ตอ้ งการใช้โลหิตสูงมากโดย 77% เกดิ จาก อบุ ตั เิ หตกุ ารคลอดการผ่าตัด ฯลฯ อีก 33% นาโลหิตไปใชเ้ ฉพาะในโรคเลอื ด เช่น โรคโลหติ จาง โรคธารสั ซีเมยี ฮึโมฟเี ลยี เป็นตน้ ทาให้ โลหติ ทสี่ ่งไปยงั โรงพยาบาลต่าง ๆ ท่ีตอ้ งการ ไมเ่ พยี งพอ เพราะคนส่วนใหญ่มกั บรจิ าคโลหติ ตามเทศกาล ทาใหช้ ว่ งก่อนและหลงั เทศกาล จะมผี ้บู รจิ าคโลหติ ลดลง 1.1.2 ปจั จุบันสภากาชาดไทยต้องการโลหิต ดงั น้ี กรปุ๊ A 500 ถุง กรุ๊ปB 550 ถุง กรุ๊ป O 800 ถุง กรุ๊ปAB 150 ถุงต่อวัน (ทม่ี า https://www.redcross.or.th) ซ่ึงทาง ศนู ยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทย มี เป้าประสงคว์ า่ .. “มีโลหิตในปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของประเทศ”(ทมี่ า : หนงั สอื รายงานการปฏิบตั ิงานและผลงาน ศนู ยบ์ ริการโลหติ แห่งชาติ สภากาชาดไทย,สบื คน้ เม่อื 30 สิงหาคม2560) 1-2

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ทาความเขา้ ใจ สรา้ งแรงบนั ดาลใจ เตรียมความพร้อม ใหโ้ ลหิต กลับมาอีกครง้ั ภาพท1่ี .2 : Come back ท่ีมา : ภาพจากการวิเคราะห์,2560 จากปญั หาภาวะโลหิตขาดแคลนทีเ่ กิดขึน้ กไ็ ด้รับความสนใจจากประชาชนคน ไทยมากข้ึนแตย่ ังมกี ลมุ่ ผใู้ ช้งานท่ียังขาดความกล้าความเขา้ ใจในการบริจาคโลหิต ว่า การบรจิ าคโลหิตสง่ ผลดีอยา่ งไรนาไปใชใ้ นรูปแบบใดเกดิ ผลดีแบบไหนการเตรยี มพรอ้ ม ในการบริจาคโลหิตเพ่ือกลบั มาใหอ้ กี ครง้ั เพอ่ื ช่วยเพ่ือนมนุษยโ์ ดยการให้โลหิตทเี่ ปรียบ เสมือนการให้ชวี ิตนนั่ เองจากปัญหาที่กล่าวมา จึงเกิดการสนใจศึกษาเรื่องของพ้ืนท่ีใน การสร้างแรงบนั ดาลใจเพือ่ แบง่ ปนั “เลือดคือชีวิต” เพ่อื แกป้ ัญหาทเี่ กดิ ขึ้นในอดตี และปจั จบุ นั ให้คนสนใจบริจาคโลหติ มากข้ึนรบั รูข้ ่าวสารความรู้ตา่ ง ๆ ทีเ่ ก่ียวกับการให้ ชวี ิตด้วยโลหติ ดว้ ยการเจาะกลมุ่ ผูใ้ ชง้ านท่ีมาประจา มาเปน็ เพอื่ นมาบรจิ าคโลหิตครงั้ แรกไดใ้ ช้เวลาและไดเ้ ตรียมความพรอ้ มในการเปน็ ผู้ใหเ้ พื่อ “กลับมา” อีกคร้ัง ภาพที1่ .3 : Blood ทีม่ า : http://www.freepik.com,สบื คน้ เมอื่ 24 สิงหาคม 25601-3

1.2 วัตถุประสงค์ของการศึกษา LB INSPIRATION FOR SHARING PARK OBJECTIVE1.2.1 เพ่อื ศึกษาความร้คู วามเข้าใจในเร่ืองของโลหติ1.2.2 เพอื่ ศึกษาทฤษฎีในการออกแบบทม่ี ีความเหมาะสมในการจงู ใจมนุษย์1.2.3 เพื่อศึกษาและวิเคราะหท์ ตี่ ัง้ โครงการทเ่ี หมาะสมและสอดคล้องกบั โครงการ1.2.4 เพอ่ื ออกแบบพื้นท่สี รา้ งแรงบนั ดาลใจในเรอื่ งของการบริจาคโลหติ 1.3 ขอบเขตของการศึกษา SCOPE 1.3.1 ศึกษาวิธกี ารเตรียมตวั ประโยชนเ์ รื่องการใหโ้ ลหติ 1.3.2 ศกึ ษาปญั หา คาถามจากผบู้ รจิ าคโลหิต 1.3.3 ศกึ ษาข้ันตอน วิธกี ารจงู ใจเพื่อเป็นผู้ให้ 1.3.4 ศึกษาพืน้ ท่อี าคารศนู ยบ์ รกิ ารโลหิตแหง่ ชาติ สภากาชาดไทยภาพท่ี1.4 : saving my lifeทีม่ า : https://itsmedicaltalk.tumblr.com,สบื คน้ เม่ือ 24 สิงหาคม 2560 1-4

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 1.4 ข้ันตอนและวิธีการศึกษา เหตผุ ลท่ีทาให้เกดิ โครงการ ปัญหาทเ่ี กิดข้ึน เป้าประสงค์นโยบาย ความชอบ/ความสนใจ ภาวะโลหติ ขาดแคลน มโี ลหิตเพยี งพอต่อความต้องการของประเทศ เปน็ สิ่งทท่ี าประจาทกุ 3เดอื น การศึกษาขอ้ มูลเบอ้ื งต้น ขอ้ มลู จากหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง ข้อมูลการศกึ ษาอาคารตัวอย่าง ขอ้ มูลการสารวจพืน้ ท่ี อาคารตวั อยา่ งต่างประเทศ ศูนยบ์ รกิ ารโลหิตแห่งชาติ สถานท่ตี ั้งโครงการ สภากาชาดไทย อาคารศนู ย์บรกิ ารโลหติ แหง่ ชาติ บริบทโดยรอบโครงการ ทางเดินเชื่อมตอ่ อาคาร ความเป็นไปไดข้ องโครงการ กลุ่มผูใ้ ช้โครงการ กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้อง ปญั ญาทางกายภาพ กฎกระทรวง ผงั สี ข้อบญั ญตั ิ ผู้บริจาคประจา เปา้ ประสงคน์ โยบาย ผ้บู รจิ าคครัง้ แรก แนวคดิ ในการออกแบบ วิเคราะห์ ความตอ้ งการของผใู้ ช้งาน องคป์ ระกอบหลกั -รอง รปู แบบโครงการ แผนภมู ิรปู ภาพที1่ .1 : ขนั้ ตอนและวธิ ีการศึกษา ขั้นตอนการนาเสนอ1-5

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK1.5 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รับ BENEFITS1.5.1 เพ่อื ทราบถงึ ความตอ้ งการ ความเข้าใจในเรือ่ งของโลหิต1.5.2 เพอ่ื ทราบถงึ ความเหมาะสมเพ่ือใชใ้ นการจูงใจมนษุ ย์1.5.3 เพื่อทราบถึงสถานท่ีทเ่ี ปน็ จุดศนู ยร์ วมของโลหิตและไดว้ เิ คราะห์พนื้ ที่เพ่ือให้กจิ กรรมต่าง ๆทย่ี ังขาดไดเ้ กดิ ข้ึน1.5.4 เพื่อรับร้ขู ั้นตอน วธิ กี ารดาเนินการให้โลหิตเพ่ือศึกษาตอ่ เป็นแรงจงู ใจเพื่อการใหม้ ากยงิ่ ขนึ้ ภาพที่1.5 : Give blood ท่มี า : http://31.media.tumblr.com/df0b95709ba59d039b488 สบื ค้นเมอื่ 24 สงิ หาคม 2560 1-6

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK บทท่ี ภาพท่ี2.1 : give blood การประมวลเอกสารที่เกี่ยวขอ้ ง 2-1 ทม่ี า : http://clinical-laboratory,สบื คน้ เมอื่ 29 สิงหาคม 2560 คาจากดั ความและความหมาย 2-22-1 ประวัติความเปน็ มา 2-3 เปา้ ประสงคน์ โยบาย 2-19 หลกั การออกแบบท่เี กยี่ วข้อง 2-20 กรณศี ึกษาอาคารตัวอย่าง 2-35 กฎหมายทีเ่ กยี่ วข้องกบั โครงการ 2-42

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK2.1 คาจากัดความและความหมาย 2.1.2 ความหมาย เพื่อ” คาแปล เหตดุ ้วย, เพราะดว้ ย, เพราะ, เพราะว่า, ด้วย2.1.1 คาจากัดความ พื้นท่ี” คาแปล ขนาดของพ้ืนผิว เช่น หาพน้ื ที่, (พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) อาณาบริเวณ เช่น ตรวจพ้ืนที่,ลักษณะของพื้นดิน แบ่งปัน” คาแปล แบง่ สว่ นใหบ้ ้าง, แบ่งให้บางส่วนโครงการพฒั นาพื้นทส่ี ร้างแรงบันดาลใจ เพอื่ แบง่ ปัน (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔)“เลือดคือชีวิต” หมายถึง เปน็ พน้ื ท่ีส่งเสริม เพือ่ สร้าง (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) เลือด” คาแปล ของเหลวปรกตมิ สี ีแดง อยูใ่ นหลอดแรงบันดาลใจในการบรจิ าคโลหิตเพอื่ แบง่ ปันและชว่ ย เลอื ดและหวั ใจของคนและสัตว์ ประกอบดว้ ยน้าเลือดเหลือชวี ติ เพื่อนมนษุ ย์ และเพ่อื ใหผ้ คู้ นตระหนักถงึ การ สร้าง” คาแปล เนรมิต,ทาให้มใี ห้เป็นขึน้ ด้วยวิธี และเมด็ เลือด สว่ นท่เี ป็นสแี ดงเกดิ จากสใี นเมด็ เลือดใหด้ ว้ ยการแบ่งปนั สงิ่ ทต่ี นเองมีอยูใ่ หเ้ กิดประโยชนส์ ูง ตา่ งๆกนั เชน่ สรา้ งบ้าน สร้างเมอื ง สรา้ งชอ่ื เสียง แดงสุด (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) คือ” คาแปล สัน. เทา่ กบั , ไดแ้ ก่ (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) แรง” คาแปล อทิ ธิพลภายนอกใด ๆ ที่ ชีวิต” คาแปล ความเป็น, ตรงข้ามกับ ความตาย เปล่ยี นแปลงหรือพยายามทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) สถานะ (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) บันดาล” คาแปล ใหเ้ กิดมีข้นึ เป็นขน้ึ ด้วยแรงอานาจ ของส่ิงใดสิ่งหน่ึง เชน่ บนั ดาลโทสะ (พจนานกุ รม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) ใจ” คาแปล สง่ิ ท่ีทาหนา้ ทีร่ ู้ รูส้ ึก นึก และคดิ เชน่ ใจก็คิดว่าอยา่ งน้ัน (พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๕๔) 2-2

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ความสาคัญของระบบเลือด 2.2 ประวัติความเป็นมา ระบบเลือดนน้ั เปน็ ระบบหน่งึ ท่ีมีความสาคญั ตอ่ รา่ งกาย 2.2.1 ความเป็นมา เพราะมลี ักษณะสาคัญคือการให้ออกซเิ จนหล่อเลยี้ งแก่ อวยั วะ ต่าง ๆ หรือควบคมุ ใหก้ ารทาหนา้ ทขี่ องอวัยวะท่จี าเป็นต่อชีวิต ภาพท่2ี .2 : กรุป๊ เลือด ดาเนนิ ตอ่ ไปอยา่ งปกติปญั หาตา่ ง ๆ ทเี่ กิดขึ้นเก่ยี วขอ้ งกบั ทม่ี า : https://board.postjung.com,สืบค้นเม่ือ 29 สิงหาคม 2560 ระบบเลอื ดนนั้ มลี ักษณะคล้ายคลึงกนั กบั เลือด ซง่ึ เป็นของเหลว กลา่ วคือ มีความไวและเกดิ แทรกซ้อนความผิดปกตขิ องโรค2-3 เกือบทกุ โรคของรา่ งกาย การทาความเขา้ ใจกบั ความรู้พนื้ ฐาน ของระบบเลอื ดจึงมีความจาเป็นอย่างมาก เพื่อให้ผูศ้ กึ ษาได้มี ความรูเ้ รอ่ื งทวั่ ๆ ไปของเลอื ดเม่อื มคี วามรู้พ้นื ฐานแล้วเม่ือพบ ความผิดปกตขิ องระบบเลอื ดกจ็ ะทาให้สามารถค้นหาสาเหตุ ปจั จัยต่าง ๆ และเลอื กแนวทางการรกั ษาได้ถูกตอ้ ง (ที่มา : การพยาบาลโรคเลอื ดในเด็ก จารุวรรณ สนองญาติ, สืบค้นเมือ่ 29 สิงหาคม 2560)

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK2.2.2 เกร็ดความรู้ ส่วนประกอบของเลือดเลือด ประกอบด้วย 2 ส่วน 2.2.2.1. ส่วนท่ีเปน็ ของเหลว มี 2.2.2.2. สว่ นทเ่ี ป็นของแข็ง มี 45%  เซลลเ์ ม็ดเลือดขาว  เกลด็ เลอื ดหรอื แผน่ เลอื ด55% โดยปรมิ าตร เรียกว่า นา้ เลอื ด โดยปรมิ าตร ได้แก่หรือพลาสมา (Plazma) ประกอบดว้ ย (White Blood Cell) รปู ร่างกลมมี (Blood Platelet) ไม่ใช่เซลล์ แต่น้าประมาณ 91% นอกนน้ั เป็นสารอน่ื ๆ  เซลล์เม็ดเลอื ดแดง ขนาดใหญ่กวา่ เซลลเ์ มด็ เลือดแดงแตม่ นี เป็นชิน้ ส่วนของเซลล์ มีรปู รา่ งกลมได้แก่ สารอาหารตา่ ง ๆ เอนไซมแ์ ละแกส๊ วนน้อยกว่า ไม่มีสี มีนวิ เคลียส แหลง่ ที่ ไม่มสี ีไม่มีนิวเคลยี สมีอายุประมาณ 4นา้ เลือดจะทาหนา้ ที่ลาเลยี งอาหารไปยัง (Red Blood Cell) รปู รา่ งค่อนขา้ ง สร้างเม็ดเลือดขาว คอื มา้ ม ไขกระดูก วนั ทาหนา้ ที่ชว่ ยในการแข็งตวั ของเซลล์และนาของเสยี รวมทง้ั ก๊าซคารบ์ อน กลมแบนตรงกลางบุ๋ม ไม่มีนวิ เคลียสมสี ี และตอ่ มน้าเหลืองทาหน้าทีท่ าลายเชอ้ื เลือดไดออกไซด์จากเซลล์ไปยังอวัยวะขับถ่าย แดง เรยี กวา่ ฮีโมโกลบนิ Hemoglo- โรค มีอายุประมาณ 7 -14 วนัเพือ่ กาจัดออกนอกร่างกายนักวทิ ยา- bin) ทาหน้าท่ีลาเลียงก๊าซออกซเิ จนไปศาสตร์ชาวองั กฤษชือ่ วิลเลียม ฮารว์ ยี ์ ยงั สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย แหลง่ ท่ีเป็นผทู้ พ่ี บการค้นพบการหมุน เวียนของ สร้างเมด็ เลอื ดแดงคอื ไขกระดกู มอี ายอุ ยู่เลือด และอธิบายว่าเลอื ดมีการไหลไปใน ประมาณ 110-120 วันหลัง จากน้ันทศิ ทางเดียวกัน จะถูกสง่ ไปทาลายทต่ี บั และมา้ ม(ทมี่ า : http://www.thaigoodview.com,สบื ค้นเมอื่ 29 สิงหาคม 2560) 2-4

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKส่ิงขัดขวางในการสร้างเลือด นอกจากนี้ยาบางชนดิ ยงั เป็นพษิ ต่อไขกระดกู ประเด็นสาคัญ ชนดิ ท่ีรจู้ กั กนั ดี คอื ยาตา้ นมะเรง็ ทใ่ี ชใ้ นเคมบี าบดัปัจจัยภายนอกท่ีมีผลทาให้การสร้างเลือดลดลง โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ยางรกั ษาโรคมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาว ไขกระดูกซ่ึงเป็นโรงงานสร้างเลือดของร่าง เฉยี บพลนั หลังจากได้รบั ยา 1 สปั ดาห์ ไขกระดกู จะ กายอาจถูกทาลายด้วยสาเหตุจากปัจจัยภายนอก ไขกระดูกหรอื โรงงานสรา้ งเลอื ดอาจถูกทาลายได้ กลับมาทางานเหมอื นเดมิ จานวนเมด็ เลอื ดก็จะกลับ เช่น การได้รับสารกัมมันตภาพรังสีหรือยาบางดว้ ยสาเหตตุ ่าง ๆ ซึง่ สาเหตจุ ากภายนอกกไ็ ดแ้ ก่ การ เขา้ สู่ระดบั ปกติ ดงั นัน้ ในระหว่างท่ีได้รบั ยาจาเป็น ชนิด หรือสาเหตุจากปัจจัยภายใน เช่น เน้ืองอกได้รบั สารกมั มนั ตภาพรงั สีหรอื ยาบางชนิด ส่วนสาเหตุ ต้องระวังเรอื่ งการติดเชื้อ การมีเลอื ดออกงา่ ยและ ชนิดร้ายแรง ในอวัยวะที่เกยี่ วข้องกับการสร้างภายใน ได้แก่ การเจ็บปว่ ยจากโรคมะเร็งเมด็ เลือดขาว หา้ มเลอื ดไดย้ ากด้วยหรือแมแ้ ตย่ าปฏิชีวนะบางชนิด เลือด หรือการเจ็บป่วยเน่ืองจากโรคมะเร็งเม็ดหรือมีเนือ้ งงอกชนดิ รา้ ยแรงในอวยั วะทเ่ี ก่ียวข้องกับการ กอ็ าจมีผลต่อการสรา้ งเม็ดเลอื ดดว้ ย เลือดขาว เป็นต้นสรา้ งเลือด (เชน่ แพร่กระจายเข้าสไู่ ขกระดูก) จุดสาคัญที่ต้องระวังมาก คือไม่ว่ายาชนิด ตง้ั แตม่ ีการค้นพบรงั สเี อกซ์ (X-ray) โดยเรนิ ต์- ใดก็อาจทาลายไขกระดูกท้ังสิ้นดังนั้นในกรณีท่ีต้องเกน (Roentgen) เมอื่ ปี ค.ศ. 1895 ทาให้ปจั จุบนั สาร ได้รับยาเป็นเวลานานจึงจาเป็นต้องได้รับการตรวจกัมมนั ตภาพรังสีถูกนามาประยกุ ต์ใชง้ านตา่ ง ๆ อยา่ ง เลือดอย่างสม่าเสมอกว้างขวาง เชน่ การแพทย์ วศิ วกรรม เป็นตน้ แตใ่ นทางกลบั กันพบวา่ อนั ตรายของสารเหลา่ นีก้ าลงั กอ่ ปัญหาไม่ว่าจะเป็นการระเบิดท่ีมีอนุภาพทาลายล้างในฉับพลนั เช่นระเบิดปรมาณู หรืออบุ ตั เิ หตทุ ่โี รงไฟฟ้าเชอรโ์ นบิล หรอื จะเปน็ อันตรายทสี่ ่งผลเรอื้ รงั เนอื่ งจากการใช้งาน เช่น งานด้านรงั สีบาบดั แลว้ ร่างกายต้องรบั เอาสารรังสีทลี ะน้อยเป็นเวลานานก็ล้วนทาให้ไขกระดกู สูญเสยี การทางานบางครง้ั อาจสญู เสยี ไปอยา่ งส้นิ เชงิ ไมส่ ามารถฟ้นื ตวั ไดอ้ กี วา่บางครั้งเพียง 3 ถึง 4 สัปดาหภ์ ายหลงั ไดร้ บั สารก็อาจเสยี ชีวติ ได้ (ทีม่ า : หนงั สอื รจู้ กั และเข้าใจเลือดส่งิ มหัศจรรย์ในรา่ งกายเรา,สืบคน้ เมอื่ 30 สิงหาคม2560)2-5

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKเลือดก็เหมือนมนุษย์ คือ ต่างก็มีอายุขัยจากัดเลือดถูกสร้างขึ้นใหม่ทุกวันและถูกทางายท้ิงไปทุกวัน ในทกุ ๆ วนั ร่างกายของเราจะสร้างเมด็ เลอื ด ประเด็นสาคัญเซลล์ผิวหนงั เซลลใ์ นระบบสืบพันธุ์ เซลล์ในระบบทางเดินอาหาร และเซลล์อื่น ๆ ขนึ้ มาใหม่เป็นจาเปน็ จานวนมาก เม็ดเลือดแดงมีอายุขัยเฉล่ียประมาณ 120 วันส่วนเม็ดเลือดขาวมีอายุเพียง 10 ชั่วโมง แต่ถ้า เมด็ เลือดแดงสร้างขน้ึ ในไขกระดูก และไหลวนเวยี น อยู่ในเน้ือเย่ือ (ภายนอกหลอดเลือด) จะมีอายุราวอยู่ในกระแสเลอื ดของรา่ งกาย ทาหนา้ ท่ีในการขนสง่ ออก 4-5 วันซเิ จน ในขณะเดียวกันตัวมันจะแกต่ วั ลงและมอี ายขุ ัยจากดัโดยเฉล่ยี คือ 120 วัน และจะถกู ทาลายไปในทสี่ ุด สว่ นอายุขัยของเมด็ เลือดขาว แต่ละชนิดจะแตกต่างกนั ไป นวิ โทรฟลิ ซึ่งปกติมีจานวนมากที่สดุ เมอ่ื ออกจากไขกระดกู มาอยใู่ นกระแสเลอื ดแล้ว ก็จะแบง่ เป็น 2กลุม่ คอื กลุ่มทไี่ หลไปกับกระแสเลือด ไปตามส่วนตา่ ง ๆของรา่ งกาย กับกลมุ่ ทีเ่ กาะอยกู่ บั ผนงั ของหลอดเลอื ดแล้วคอ่ ย ๆ เคลือ่ นตัวลดั เลาะไปตามผนังดา้ นในของหลอดเลอื ด เมอ่ื เกดิ การติดเช้ือ กลุ่มท่ีอยตู่ ามผนังหลอดเลือดจะลอดผา่ นผนังหลอดเลอื ด พบวา่ อายุขัยของนิวโทรฟลิ ทีอ่ ยภู่ ายในหลอดเลือดมอี ายุสัน้ มากเพยี ง 10ชั่วโมง แตเ่ ม่ือมาอย่ใู นเน้อื เย่อื ต่าง ๆ จะมีอายรุ าว 4-5วนั(ทม่ี า : หนังสือรูจ้ กั และเข้าใจเลอื ดส่ิงมหัศจรรยใ์ นร่างกายเรา,สบื ค้นเม่ือ 30 สิงหาคม2560) 2-6

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK พัฒนาการของเม็ดเลือดไขกระดูก อีริโทรบลาสต์ ในกระแสเลือด เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์ไมอีโลไซต์ เรติคูโลไซต์ สเต็มเซลล์ของ เซลล์เม็ดเลือดแดง เซลล์เม็ดเลือดขาวสเต็มเซลล์ เซลล์ต้ังตน้ ของ เซลล์ไมอีโลไซต์ เซลล์ตั้งต้นของเซลล์ เซลล์เมกะคาริโอไซต์ เกล็ดเลือด เมกะคาริโอไซต์ ต่อมไทมัส เซลล์ลิมโฟไซต์ชนิเซลลท์ ี ต่อมทอนซีล ไสต้ ิ่ง ป็นต้น เซลล์ลิมโฟไซต์ชนิเซลล์บี (ทม่ี า : หนังสือรูจ้ ักและเข้าใจเลอื ดสง่ิ มหัศจรรยใ์ นร่างกายเรา,สบื ค้นเมอื่ 30 สิงหาคม2560)2-7

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKการสร้างและทาลายเม็ดเลือดการสร้างเม็ดเลือด การทาลายเม็ดเลือด เม็ดเลือดแดง อยู่ในกระแสเลือด มีอายุราว 10 ชั่วโมง อายรุ าว 120 วนั อยู่ในเน้ือเย่ือ อายุ4 ถึง 5 วัน เซลล์นิวโทรฟิลไขกระดูก เซลล์ในระบบเร ิตคูโลเอนโดทีเลียมของ ัตบและม้ามเม็ดเลือดขาว เซลล์ลิมโฟไซต์ เซลล์ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที ตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน มีอายุขัย 10 ชั่วโมง เซลล์ทีจดจา มีอายุขัยหลายเดือนถึงหลายปี เซลล์ลิมโฟไซต์ชนิดเซลล์ที สร้างแอนติบอดี มีอายุขัย 10 ช่ัวโมง เซลล์บีจดจา มีอายุขัยหลายสัปดาห์ถึงหลายเดือนเกล็ดเลือด 2 ใน 3 ไหลเวียนไปตามกระแสเลือด อายุไขราว 10 วัน 1 ใน 3 สะสมไว้ในม้าม(ที่มา : หนงั สือรูจ้ กั และเข้าใจเลือดส่ิงมหัศจรรย์ในร่างกายเรา,สบื คน้ เมอื่ 30 สิงหาคม2560) 2-8

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK เร่ืองของเลือดท่ีไหลเป็นปกติ เลือด 1. การเปล่ียนแปลงของผนังหลอดเลือด 2. การเปลี่ยนแปลงของกระบวนการแข็งตัวของเลือด 3. การเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียนเลือด 4. การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบในเลือด ไม่มี มี เลือดไหล เลือดข้น เป็นปกติ (ทมี่ า : หนงั สอื ร้จู กั และเข้าใจเลือดสิง่ มหัศจรรย์ในร่างกายเรา,สืบค้นเมอื่ 30 สิงหาคม2560)2-9

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKเรื่องของเลือดข้น เลือด สาเหตุ1. เม็ดเลือดมีจานวนมากขึ้น 2. องค์ประกอบในพลาสมาผิดปกติ ภายในเลือดมีเม็ดเลือดแดงเพ่ิมข้ึน ปริมาณโปรตีนสูงผิดปกติ ความหนืดของเลือดสูงขึ้น ความเข้มข้นของไกลโคโปรตีน ส่งผลต่อการไหลเวียนของเลือด เลือดข้น(ท่มี า : หนงั สอื รู้จกั และเข้าใจเลือดสิ่งมหัศจรรย์ในรา่ งกายเรา,สืบคน้ เม่ือ 30 สิงหาคม2560) 2-10

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK เรื่องของเลือดหนืด เลือด สาเหตุ1. การเปลี่ยนแปลงขององค์ประกอบ 2. ความผิดปกติของการหลั่ง ในเลือด อินซูลิน ความผิดปกติของระดับน้าตาล กลูโคส ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น เลือดหนืด (ทม่ี า : หนงั สือรู้จักและเข้าใจเลอื ดสิ่งมหัศจรรย์ในรา่ งกายเรา,สบื ค้นเม่ือ 30 สิงหาคม2560)2-11

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKเรื่องของหลอดเลือดเส่ือมสภาพ เลือด สาเหตุ1. การเปล่ียนแปลงของผนังหลอด 2. การเปลี่ยนแปลงของกระบสนการ เลือด แข็งตัวของเลือด คอเรสเตอรอลเข้ามาเกาะสะสม ความผิดปกติของการแข็งตัวของ เพิ่มพูน เลือด หลอดเลือดแดงแข็งตัว 3. การเปล่ียนแปลงของการ ไหลเวียนของเลือด จากล่ิมเลือด หลอดเลือดแดงแข็งตัว หลอดเลือด เสื่อมสภาพ(ทม่ี า : หนงั สอื รู้จกั และเข้าใจเลือดสง่ิ มหัศจรรย์ในร่างกายเรา,สบื คน้ เม่ือ 30 สิงหาคม2560) 2-12

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ประเด็นสาคัญ A BAB เลือดกับโรคใกล้ตัว อาการเจ็บป่วยเน่ืองจากความศิวิไลซ์ ได้แก่ โรคเบาหวาน อาการหัวใจขาดแคลนเลือด เลือด อาการเจ็บปว่ ยเนื่องจากความศวิ ิไลซ์ แตเ่ ดมิ ออกในสมอง ความดันโลหิตสูง และมะเร็ง เป็นต้น เรียกว่า “โรควัยกลางคน” เปน็ โรคทีเ่ กี่ยวขอ้ งอยา่ ง ล้วนแต่เก่ียวข้องกับเลือดอย่างใกล้ชิดผลของการ ใกลช้ ดิ กบั การดาเนนิ ชวี ิตประจาวัน เชน่ พฤตกิ รรม ตรวจเลือดทาให้ทราบถึงการเจ็บป่วยและเป็นหัวใจ การกิน การออกกาลงั กาย การพกั ผ่อน การสบู บหุ รี่ สาคัญที่ช่วยให้แพทย์สามารถวินิจฉัยโรคได้ผลถูก และการดื่มสรุ า ต้องแม่นยาอีกด้วย อาการเจบ็ ปว่ ยดงั กลา่ ว ไดแ้ ก่ เบาหวาน โรค หวั ใจขาดเลอื ด เลือดออกในสมอง ความดันโลหิตสูง เปน็ ต้น โรคเหล่าน้คี าดวา่ มสี าเหตุเกีย่ วกบั การขาดการ ออกกาลังกาย นอกจากน้ียงั เกย่ี วขอ้ งกบั การรับประ ทานอาหารทีม่ ีแคลอรีส่ ูงความไวต่ออินซลู ินของอวัยวะ ตา่ ง ๆ ลดลง ปริมาณเน้อื เยื่อไขมันพอกพนู ความดัน โลหติ สงู ขึน้ การสูญเสียแคลเซยี มต่อกระดูก สาเหตุ ตา่ ง ๆ มาจากการดาเนินงานชีวิตในโลกปจั จุบนั หากจะตรวจสอบอาการป่วย มี 3 ประเภท คอื ประเภทแรกคือ การตรวจนบั เม็ดเลอื ด ประเภททีส่ อง คอื การตรวจเลอื ดทางชีวเคมี ประเภทที่สาม คอื การตรวจภูมิคมุ้ กนั (ทีม่ า : หนังสอื รูจ้ กั และเข้าใจเลือดสงิ่ มหัศจรรยใ์ นรา่ งกายเรา,สืบค้นเมอ่ื 30 สิงหาคม2560)2-13

AO LB INSPIRATION FOR SHARING PARK B หมู่เลือด ABO และ Rh ประเด็นสาคัญ หมู่เลือดทตี่ อ้ งคานึงก่อนการใหเ้ ลือดมี 2 แบบ บริเวณผิวของเม็ดเลือดแดงมีแอนติเจน คือ หมู่ ABO และหมู่ Rh แอนติเจนทใี่ ช้การแบง่ หมู่ มากมาย การกาหนดหมู่เลือดกาหนดความ แบบ ABO น้นั มี 2 ชนดิ คือ ชนดิ A และ B เลอื ดที่ แตกต่างของชนิดแอนติเจนดังกล่าว หากให้ มีแอนตเิ จน A จะเป็นเลือดหมู่ A ถา้ มีแอนตเิ จน B จะ เลือดข้ามหมู่กัน โดยมีชนิดของแอนติเจนต่าง เปน็ เลอื ดหมู่ B หรอื หากมีแอนตเิ จนทงั้ 2 ชนิด จะเป็น กันจะเกิดปฏิกิริยาปฏิเสธการให้เลือดน้ัน เลือดหมู่ AB และถา้ ไมม่ แี อนตเิ จนชนดิ ใดเลย จะเป็น เลอื ดหมู่ O สว่ นหมเู่ ลือด Rh น้นั เป็นหมเู่ ลอื ดที่แบง่ โดย พจิ ารณาจากการมีหรือไม่มโี ปรตนี ชนดิ ทเี่ รยี กวา่ แฟก เตอร์ดี (D-factor) อยู่บนผวิ เมด็ เลือดแดง หากมีแฟก เตอร์ดกี ็เรียกวา่ Rh บวก (Rh+) หากไมม่ กี จ็ ะเรยี กวา่ Rh ลบ (Rh-) ในประเทศญป่ี นุ่ พบผมู้ ี Rh- นอ้ ยมาก มีอัตราเพียง 1 ใน 250 คน การใหเ้ ลือด Rh+ กบั ผรู้ ับทีเ่ ป็น Rh- ผูร้ ับจะสร้างแอนตบิ อดข้ี ้นึ มาต่อต้าน จนอาจเกิดอันตรายถึงชีวิตได้ (ในประเทศไทย ผู้ท่ีมีหมู่เลือด Rh- มีเพียง 0.3% หรือ 3 คน ใน 1,000 คนเท่านั้น จึงเป็นหมู่ เลือดที่หายาก) (ทีม่ า : หนงั สอื รู้จกั และเข้าใจเลือดส่ิงมหัศจรรยใ์ นรา่ งกายเรา,สบื ค้นเมือ่ 30 สิงหาคม2560) 2-14

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ตารางท่ี 2.1 : การใหแ้ ละการรับโลหติ หมู่โลหิต O A B AB หม่โู ลหิต หมายถงึ สารชีวเคมีพวกกลัยโคโปรตีน หรือกลบั ประเด็นสาคัญ โกลโคลพิ ดิ (Glycolipids) ทร่ี ่างกาย สร้างข้ึนและปรากฏบนผวิ เม็ดโลหิตต่าง ๆ โดยเฉพาะเมด็ โลหติ แดงอาจพบบนเซลลเ์ น้อื เยื่อ การให้เลือดผิดหมู่ ทาให้เกิดความเข้ากันไม่ได้ของเลือด ซ่ึงเม่ือเกิดข้ึนแล้วเม็ดเลือด ตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เช่น ผม ผิวหนัง ในโลหติ บางหมู่ เช่น ABH จะถูกทาลาย และเกิดอาการผิดปกติตามมา หรืออาจพบในพลาสมาหรอื นา้ คดั หล่ังในโลหติ บางหมู่ การให้และการรับเลือดในหมู่เลือด 1.คนเลอื ดกรุ๊ป Rh-ve ตอ้ งรับจาก Rh-ve เท่าน้ันแต่ตอ้ งดกู รุป๊ เลอื ดตามระบบ ABO ดว้ ย (หากคนเลอื ดกรปุ๊ Rh-ve รบั เลือด จาก Rh+veอาการขา้ งเคียงจะย่ิงรุนแรงมากขน้ึ ในคร้ังถดั ๆ ไป) 2.คนเลอื ดกร๊ปุ O รับได้จาก O เท่านนั้ แตใ่ หก้ ับกรปุ๊ อน่ื ได้ทุกกร๊ปุ 3.คนเลอื ดกรุ๊ป AB รับไดจ้ ากทกุ กร๊ปุ แตใ่ ห้เลือดแก่ผอู้ นื่ ได้เฉพาะ คนทเ่ี ป็นเลือดกรปุ๊ AB 4.คนเลือดกรุ๊ป A รับได้จาก A,O ใหไ้ ดก้ บั A,AB 5.คนเลือดกรุป๊ B รบั ไดจ้ าก B,O ให้ได้กับ B,AB (ท่มี า : http://www.thaigoodview.com,สืบค้นเม่อื 29 สิงหาคม 2560)2-15

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK2.2.3 ปัญหาท่ีเกิดข้ึน : ภาวะโลหิตขาดแคลน เลือด คือ สิ่งท่ีสาคัญมากในชีวิต ในปัจจุบันมนุษย์เรามีความต้องการใช้โลหิตมากถึง 100% ดังนี้ 77% สาเหตุเกิดจากอุบัติเหตุ การคลอดการผ่าตัด ฯลฯ อีก23% คือ การนาโลหิตไปใช้เฉพาะโรคเลือดอาทิ โรคโลหิตจาง โรคธารัสซีเมีย เกล็ดโลหิตต่า ฮีโมฟีเลีย เป็นต้น ภาพท่ี2.4 : การผา่ ตดั ภาพท2่ี .5 : อุบตั ิเหตุ ท่ีมา : http://www.tlcthai.com/women,สบื คน้ เม่ือ 30 สิงหาคม 2560 ทม่ี า : http://ewt.prd.go.th/ewt/prsamutprakan สืบค้นเมอ่ื 30 สิงหาคม 2560 23% 77% โรคเลือด การผา่ ตดั อุบตั ิเหตุภาพท2ี่ .4 : What is blood การคลอดที่มา : https://www.icanteachmychild.com ภาพท2ี่ .6 : การคลอด สบื ค้นเมือ่ 30 สิงหาคม 2560 ท่ีมา : http://www.toei-anim.co.jp/tv สืบค้นเทื่อ 30 สิงหาคม 2560 2-16

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ความต้องการโลหติ ปจั จบุ ันศนู ยบ์ ริการโลหิตแห่งชาติ สภากาชาดไทยต้องจัดหาโลหิตให้ได้วนั ละ 1,800-2,000 ยนู ิต เดอื นหนง่ึ ไม่ตา่ กว่า 58,000 ยูนติ จึงจะ เพียงพอจา่ ยให้กับผปู้ ว่ ยตามโรงพยาบาลต่าง ๆ ท่วั ประเทศ โดยแบ่งเป็น หมู่โลหติ ทจ่ี าเป็นตอ้ งจดั หาโลหติ เฉลยี่ ในแตล่ ะวัน ดงั น้ี (ท่มี า : https://www.redcross.or.th,2560) แผนภมู ริ ูปภาพท2่ี .1 : จานวนโลหติ ทีต่ ้องการ โดยทว่ั ไป การบริจาคโลหิต 1 คน บรจิ าคได้ 1 หนว่ ย ซง่ึ จะมีปริมาณโลหติ 350-450 มลิ ลลิ ติ ร ข้ึนอยูก่ บั น้าหนกั ตวั ของผู้บรจิ าค ผทู้ ีม่ ีน้าหนกั ตัว 50 กโิ ลกรมั ขนึ้ ไป สามารถบริจาคครัง้ หนึง่ ได้ 450 มลิ ลิลติ ร สว่ นผู้ทีม่ นี ้าหนักตวั 45-50 มิลลลิ ติ ร บรจิ าคได้ 350 มิลลลิ ิตร (ท่ีมา : https://www.redcross.or.th, สืบคน้ เมอื่ 29 สิงหาคม 2560) VS2-17

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKการบรจิ าคโลหติการบริจาคโลหิตโดยทว่ั ไปคอื ทกุ 3 เดอื น (ปีละ 4 คร้ัง) ซ่ึงศนู ยบ์ ริการโลหิตแหง่ ชาติ สภากาชาดไทย ถอื เป็นแนวปฏบิ ัตอิ ยู่ข้อดขี องการบริจาคโลหติ 4 1 ได้ตรวจสุขภาพทกุ 3เดอื น2 คณุ จะมสี ุขภาพแข็งแรงข้ึนกระตุ้นใหไ้ ขกระดกู ผลติ ลดความเส่ียงจากมะเรง็ ไดห้ ลายชนิด เชน่ มะเรง็ ตับ มะเร็งปอด มะเร็งลาไส้ใหญ่ มะเรง็ กระเพาะอาหาร เมด็ โลหติ ใหม่ขึน้ มาแทนระบบไหลเวียนของเลือดจะ ฯลฯ ดขี ึ้น ทาให้รา่ งกายแข็งแรงตามมา ไดร้ ับสทิ ธพิ ิเศษเร่อื งของการรกั ษา พ่งึ มมี าได้ไม่นาน3 คณุ ไม่ต้องกลัววา่ บรจิ าคเลือดแลว้ จะทาให้คณุ 5อว้ น มันกลบั ทาให้คุณมีรูปร่างที่ดขี ึ้น ชว่ ยให้ผวิ พรรณเปล่งปลัง่ มีน้ามีนวลและยงั ชว่ ยใหห้ น้าใส(ที่มา : https://www.redcross.or.th,สบื ค้นเมอ่ื 29 สิงหาคม 2560) 2-18

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.3 นโยบายเก่ียวข้อง นโยบายบริการโลหิตระดับชาติ วิสยั ทศั น์ งานบรกิ ารโลหิตของประเทศได้มาตรฐานสากล และ เป้าประสงค์นโยบาย NATIONAL BLOOD POLICY ทนั สมยั ประชาชนได้รับโลหติ ส่วนประกอบของโลหิต และ ผลติ ภัณฑโ์ ลหิตท่ปี ลอดภยั มีคณุ ภาพและเพยี งพอเพอื่ 1.การบริหารจดั การงานบรกิ ารโลหติ ของประเทศมปี ระสทิ ธภิ าพและ การรักษาโดยใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศบริการจดั การ ฐานขอ้ มลู มกี ารประสานงานอย่างเป็นเอกภาพโดยศูนย์บริการโลหติ แห่งชาติ สภา- กาชาดไทย เป็นองคก์ รหลัก พนั ธกจิ 2.มโี ลหติ ในปริมาณเพียงพอต่อความต้องการของประเทศ รฐั บาลใหก้ ารสนบั สนุนงานบริการโลหติ แหง่ ชาติ ให้ ดาเนนิ การได้อย่างมมี าตรฐานและมีประสทิ ธิภาพ โดยไมแ่ สวง 3.ผู้ป่วยไดร้ ับโลหิตที่ปลอดภัย ตามหลกั การขององค์การอนามัยโลก หาผลประโยชน์และให้ศนู ย์บริการโลหิตแหง่ ชาติ สภากาชาด โดยเริม่ จากการจดั หาโลหิตในประชากรทีม่ คี วามเสีย่ งต่าการคดั กรองผู้ ไทยเป็นองค์กรหลักในการดาเนินงานบริการโลหิตรวมท้งั การ บรจิ าคโลหิตและโลหติ ทุกยนู ติ ต้องผา่ นการตรวจกรองการตดิ เชอ้ื ตาม กาหนดมาตรฐาน การติดตามด้านคณุ ภาพ และการประเมนิ มาตรฐานและตรวจความเข้ากนั ไดข้ องโลหิตบริจาคผูป้ ่วย ให้บริการโลหติ ของประเทศโดยรัฐบาลให้ความสนบั สนนุ ดา้ น นโยบายงบประมาณและอัตรากาลงั อยา่ งเพยี งพอมีกระทรวง 4.งานบรกิ ารโลหิตมีคุณภาพในทกุ กระบวนการและทกุ ระดบั สาธารณะสุขกระทรวงมหาดไทย กระทรวงศึกษาธิการกระ- ทรวงกลาโหมรวมทง้ั สว่ นราชการอ่ืน ๆ และองคก์ รทเี่ กยี่ ว 5.มกี ารใช้โลหติ อยา่ งเหมาะสม มีเกณฑ์และแนวปฏบิ ตั ิไปในทางเดยี วกัน ขอ้ งใหค้ วามร่วมมอื สนบั สนุน 6.มีกฎระเบียบและกฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกับงานบริการโลหิตตามความ เหมาะสมและจาเป็น 7.การวิจัยและพัฒนางานบรกิ ารโลหิต ไดร้ บั การสง่ เสรมิ สนับสนนุ อย่าง ตอ่ เนือ่ ง (ท่ีมา : หนงั สือรายงานการปฏิบัตงิ านและผลงาน ศนู ยบ์ ริการโลหิตแหง่ ชาติ สภากาชาดไทย,สืบคน้ เมือ่ 30 สิงหาคม2560)2-19

ภาพท่ี2.7 : การจูงใจ LB INSPIRATION FOR SHARING PARKทม่ี า : http://www.independent.co.uk,สบื ค้นเม่อื 31 สงิ หาคม 2560 2.4 หลักการออกแบบในเร่ืองท่ีเกี่ยวข้อง 2.4.1 การสร้างแรงจูงใจ ในประเทศท่ีกาลังพัฒนานั้นการบรจิ าคโลหิต เป็นของใหม่และประชาชนให้ความสนใจยงั ไมม่ ากนัก ส่วนหน่ึงเป็นเพราะขาดความรู้ทีว่ า่ โลหิตเป็นปจั จยั สาคัญอย่างหนึง่ ของการชว่ ยชวี ติ ผปู้ ่วย หลายคน ไมอ่ ยากบรจิ าคโลหติ เพราะกลวั จะเป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพของตนเอง หลายคนบริจาคโลหติ เพราะ ตอ้ งการเงินหรือไม่กบ็ ริจาคโลหิตโดยเจาะจงผู้รบั ซึง่ เปน็ สมาชกิ ในครอบครัวเท่านั้นการเปลยี่ นความเชอื่ และเจตคติเหลา่ น้ีสามารถกระทาไดโ้ ดยการใหค้ วาม รู้ข้อมูลที่ถกู ตอ้ ง และสร้างแรงจงู ใจในทางบวกให้ ประชาชนตระหนักถงึ ความตอ้ งการโลหติ ในแต่ละ สถานท่แี ละเกดิ การตดั สินใจท่จี ะบริจาคโลหิต 2-20

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.4.1.1 ทฤษฎีของการจูงใจ (Theories of Motivation) คาวา่ “แรงจูงใจ” มาจากคากริยาในภาษาละติน ว่า ภาพท2่ี .8 : แรงจงู ใจ “Movere”(Kidd, 1973:101)ซึ่งมคี วามหมายตรงกบั คาใน ทมี่ า : http://www.charpashe.com/article/223,สืบคน้ เมื่อ 31 สิงหาคม 2560 ภาษาองั กฤษว่า “to move” อันมีความหมายว่า “เป็นส่งิ ท่ี โนม้ นา้ ว หรือมกั ชกั นาบุคคลเกดิ การกระทาหรอื ปฏิบตั กิ าร (Yo move a person to a course of action) ดงั นั้น แรงจูงใจจึงไดร้ ับความสนใจมากในทุก ๆ วงการ สรุปได้วา่ การจงู ใจเป็นกระบวนการที่บุคคลถูกกระตนุ้ จากส่ิงเรา้ โดยจงใจให้กระทาหรอื ดน้ิ รนเพอื่ ให้บรรลุจุดประ- สงค์บางอย่างซึ่งจะเหน็ ไดพ้ ฤติกรรมทีเ่ กดิ จากการจูงใจ เปน็ พฤติกรรมที่มิใชเ่ ป็นเพยี งการตอบสนองสงิ่ เรา้ ปกตธิ รรมดา ยกตวั อย่างลกั ษณะของการตอบสนองส่งิ เร้าปกติคือ การ ขานรับเมือ่ ไดย้ นิ เสยี งเรียก แตก่ ารตอบสนองสิ่งเร้าจัดว่าเปน็ พฤติกรรมที่เกดิ จากการจงู ใจเช่น พนกั งานตั้งใจทางานเพ่ือ หวงั ความดีความชองเปน็ กรณีพิเศษ (ที่มา : http://motivation-srisupan.blogspot.com,สบื ค้นเม่ือ 31 สิงหาคม 2560)2-21

LB INSPIRATION FOR SHARING PARKภาพที่2.9 : กลยุทธ์สรา้ งแรงจูงใจ MOTIVATIONท่มี า : https://mgronline.com/weekly/detail/9520000087257,สืบคน้ เมื่อ 31 สงิ หาคม 2560 2-22

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK แรงจูงใจต่อพฤติกรรมของบุคคลในแต่ละสถานการณ์ 1 4 ความตอ้ งการอย่างเดยี วกนั 7 พฤตกิ รรมทแ่ี ตกตา่ งกนั ได้ ถ้าบุคคลมคี วามสนใจในสิง่ ใดก็จะเลือกแสดง ทัศนคตทิ ่ีมตี ่อสิง่ ใดสงิ่ หนึง่ ก็มีผลต่อพฤตกิ รรม ทาใหบ้ ุคคลมี พฤตกิ รรมและมคี วามพอใจที่จะทากิจกรรมนน้ั ๆ นั้น เช่น ถ้ามีทศั นคติที่ดตี ่อการทางาน กจ็ ะ รวมทงั้ พยายามทาใหเ้ กิดผลเร็วทีส่ ุด ทางานดว้ ยความทุ่มเท 8 2 5 แรงจูงใจทแี่ ตกต่างกัน ทาใหก้ ารแสดงออกของ ความต้องการจะเปน็ แรงกระตุ้นทที่ าใหท้ า ความมุ่งหวงั ทตี่ ่างระดบั กัน ก็เกดิ แรงกระตุน้ ท่ี พฤติกรรมทเี่ หมอื นกันได้ กิจกรรมต่าง ๆ เพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการ ต่างระดับกนั ด้วย คนที่ตง้ั ระดับความมุ่งหวงั ไว้ นั้น สูงจะพยายามมากกวา่ ผูท้ ต่ี ้ังระดับความมงุ่ หวัง 9 ไวต้ า่ 3 พฤติกรรมอาจสนองความต้องการไดห้ ลาย ๆ 6 คา่ นยิ มทเ่ี ป็นคุณคา่ ของสง่ิ ตา่ ง ๆ เช่นคา่ นิยม ทางและมากกว่าหน่งึ อยา่ งในเวลาเดยี วกนั เชน่ ทางเศรษฐกจิ สงั คม ความงาม จรยิ ธรรม การแสดงออกของความต้องการในแตล่ ะสงั คม วิชาการ เหลา่ นี้จะเปน็ แรงกระตนุ้ ใหเ้ กิดแรงขับ จะแตกต่างกนั ออกไป ตามขนบธรรมเนียม ตัง้ ใจทางาน เพื่อไว้ขึ้นเงินเดอื นและได้ชือ่ เสยี ง ของพฤติกรรมตามคา่ นิยมน้นั ประเพณีและวัฒนธรรมของสังคมของตน ย่ิงไป กวา่ นนั้ คนในสังคมเดียวกัน ยังมีพฤติกรรมใน เกยี รติยศ ความยกย่องและยอมรบั จากผูอ้ ่ืน การแสดงความต้องการที่ตา่ งกนั อีกด้วยเพราะ สิ่งเหล่านี้เกิดจากการเรียนรู้ของตน (ท่มี า : http://motivation-srisupan.blogspot.com,สืบค้นเมื่อ 1 กนั ยายน 2560)2-23

NEED LB INSPIRATION FOR SHARING PARKDRIVESINCENTIVES 2.4.1.1 แรงจูงใจภายใน (Intrinsic Motives) MOTIVATION แรงจูงใจมี 2 ลักษณะดังน้ี แรงจงู ใจภายในเป็นส่งิ ผลักดันจากภาย ในตัวบุคคลซงึ่ อาจจะเป็นเจตคติ ความคดิ ความสนใจ ความตั้งใจ การมองเหน็ คณุ ค่า ความพอใจ ความต้องการ ฯลฯ สงิ่ ตา่ ง ๆ ดงั กล่าวนี้มอี ทิ ธพิ ลตอ่ พฤติกรรมคอ่ นข้าง มาก เชน่ คนงานทเ่ี หน็ องค์การ คอื สถานท่ีให้ ชวี ติ แกเ่ ขาและครอบครัว เขาก็จะจงรักภักดี ต่อองค์กร และองคก์ รบางแหง่ ขาดทุนในการ ดา เนนิ การกไ็ มไ่ ดจ้ า่ ยค่าตอบแทนที่ดแี ตด่ ้วย ความผกู พันพนกั งานก็ร่วมกนั ลดคา่ ใช้จา่ ย และช่วยกนั ทางานอย่างเต็มที่AROUSAL 2.4.1.2 แรงจงู ใจภายนอก (Extrinsic Motives)EXPECTANCYGOAL SETTING แรงจูงใจภายนอก เป็นส่งิ ผลกั ดันภาย นอกตวั บคุ คล ทีม่ ากระตุ้นให้เกิดพฤติกรรม อาจจะเปน็ การไดร้ ับรางวัลเกียรตยิ ศ ชอ่ื เสยี ง คาชม หรอื ยกยอ่ ง แรงจงู ใจนไ้ี ม่คงทนถาวร บคุ คลแสดงพฤติกรรมเพอื่ ตอบ สนองสง่ิ จงู ใจ ดงั กล่าวเฉพาะกรณีทีต่ อ้ งการส่ิงตอบแทน เท่าน้นั (ท่มี า : http://motivation-srisupan.blogspot.com สบื คน้ เมื่อ 1 กนั ยายน 2560) 2-24

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK SHARING 2.4.2 การแบ่งปัน สภาพสงั คมไทยในปัจจุบันมีการเปลยี่ นแปลงอยตู่ ลอดเวลา วถิ ชี ีวิตของคนไทยแบบดัง้ เดมิ กาลงั เส่อื ม หาย ความอบอุ่น ความมีนา้ ใจและการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสนั ตเิ ร่มิ ลดน้อยเสอื่ มถอยลงไป การรับเอาวฒั นธรรม คา่ นยิ มตะวนั ตกและความเจริญทางดา้ นวตั ถุเกดิ ขน้ึ อย่างรวดเร็วจนทาให้เกดิ ปัญหาซบั ซ้อนมากมายในสังคม เพราะสังคมต่างมองและยอมรบั วา่ คา่ นิยมเหล่านี้จะนาตัวเองไปสคู่ วามทันสมัย ความเจริญรุ่งเรอื งเทา่ เทียมกับ อารยประเทศได้ จนทาให้สงั คมกลายเป็นสงั คมทีแ่ กง่ แย่งชงิ ดชี ิงเดน่ เกิดความเห็นแก่ตัวมากย่งิ ข้ึน จนทาใหล้ ืม ไปว่าแทท้ ่ีจริงแลว้ สิง่ ท่สี งั คมควรใหค้ วามสาคัญและไมค่ วรละเลยกค็ ือการอยู่ร่วมกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสุข การช่วยเหลือแบง่ ปนั รว่ มมอื ซ่ึงกนั และกนั ในสังคม และจุดเริ่มต้นท่ีจะทาใหส้ ังคมเปน็ สงั คมท่ีเจรญิ อย่างแท้จรงิ ก็คือ การศกึ ษาของเดก็ ปฐมวัย เพราะเด็กวัยน้ีเปรียบเหมอื นผ้าขาว จะทาใหม้ สี ีสันอยา่ งไรกไ็ ด้ สสี นั ทเี่ ราต่าง ต้องช่วยกันบรรจงแต่งแต้มด้วยวธิ ีการท่เี หน็ ว่า จะทาให้ผืนผา้ ทกุ ผืนเปน็ ผืนผ้าที่สวยงาม สมบรู ณม์ ากท่สี ดุ (ท่ีมา : http://taamkru.com,สบื ค้นเมอ่ื 2 กนั ยายน 2560) เด็กในช่วงอายุ 4-6 ขวบ มี 33% เด็กในช่วงอายุ 7-10 ขวบ มี พฤติกรรมแบ่งปนั คิดเป็น 33% พฤติกรรมแบ่งปันคิดเปน็ 77% และมพี ฤตกิ รรมเหน็ แก่ตวั คิด 77% และพฤตกิ รรมเห็นแก่ตัวคิดเปน็ เป็น 67% 23%2-25

SHARING LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.4.2 การแบ่งปัน “การให้” คือการแบ่งปันสิ่งที่เรามี หรือส่ิงท่ีเราสามารถให้แก่ผู้อื่นได้ และเป็นประโยชน์กับคนท่ีได้รับ “การให้” นั้น หากได้มอบให้ผู้อ่ืนโดยไม่หวังส่ิงตอบแทนและบริสุทธิ์ใจ จะทาให้ผู้ท่ีมอบนั้นได้รบั ความสุข ที่เป็นความทรงจายาวนาน มิใช่ความสุขเพียงชั่วครู่ “การให้เป็นเรื่องของ ‘จิตใจ’ ซ่ึงไม่ใช่เร่ืองของวัตถุ วัตถุเป็นเพียงส่ือเท่านั้นที่นาไปสู่ความรู้สึกทาง ด้านจิตใจของทั้งผู้ให้และผู้รับ เช่น การแสดงออกซึ่งความรัก ความห่วงใย ความปรารถนาดีด้วยการ พูดจากันดี ๆ แบ่งปันความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ดีให้กันก็เป็นการให้” (ที่มา : http://taamkru.com,สืบค้นเมื่อ 2 กนั ยายน 2560) 2-26

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.4.3 หลักการออกแบบอาคารประหยดั พลังงาน โดยท่ัวไปแลว้ การออกแบบหรอื สร้างบ้านเพอ่ื ความเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดลอ้ มสามารถพิจารณาไปในดา้ นหลัก ๆ ได้ 2 ดา้ นคือ การ เลือกใช้เทคโนโลยี และการเลอื กวสั ดุและพืชพนั ธ์ุ โดยมีรายละเอยี ดแต่ละ ด้านดังต่อไปน้ี ภาพที2่ .10 : Save energy ภาพท่ี2.11 : Ecoinnovación ท่มี า : http://www.itech.ubru.ac.th/Itech/index.php,สบื คน้ เม่ือ 1 กันยายน 2560 ท่มี า : http://aztes.es/ecoinnovacion,สืบค้นเม่ือ 1 กนั ยายน 25602-27

2.4.3.1.ด้านเทคโนโลยี (Eco-design Technology) LB INSPIRATION FOR SHARING PARKเทคโนโลยที ีเ่ หมาะสมสาหรบั บา้ นประกอบไปด้วย 3 ด้าน คือดา้ นพลงั งาน ดา้ นการระบบรดน้าต้นไม้ และการออกแบบ 1.1 การเลือกใช้ระบบผลิตน้าร้อนจากพลังงานแสงอาทิตย์ดว้ ยระบบธรรมชาติ (Passive Design) โดยมีรายละเอยี ด (Solar Collector)ดังนี้ เป็นอุปกรณผ์ ลติ นา้ รอ้ นโดยอาศยั หลักการเปลย่ี นพลังงาน จาก รังสแี สงอาทิตย์ มาเพิ่มอุณหภมู ิให้น้ามอี ุณหภูมิสูงขึ้นซึ่งสามารถ(ทม่ี า : http://www2.dede.go.th,สบื ค้นเมือ่ 1 กนั ยายน 2560) นามาทดแทนระบบผลิตนา้ รอ้ นจากเคร่อื งใช้ไฟฟา้ หรือแหล่งพลัง งานอื่นๆ โดยจะมปี ระโยชน์ในการลดการใช้พลงั งานเหล่านั้นลงไป 1.2 ระบบการส่งน้ารดต้นไม้แบบก่ึงอัตโนมัติ........................... (Semi-Automatic Water Irrigation System - SWI) เนือ่ งจากการรดนา้ ตน้ ไม้ เปน็ กิจกรรมหลกั ของการดูแลรักษา สภาพของภมู ิทัศน์ ระบบการส่งน้าเปน็ ประเดน็ ท่ีสาคัญเปน็ อยา่ ง ยิง่ เพราะระบบท่นี ิยมใชเ้ ป็นระบบท่อี าศัยแรงดนั นา้ จากจกั รกล แต่ ระบบดงั กลา่ วใช้พลงั งานไฟฟ้าในการขบั เคลื่อน จึงเปน็ การเพ่ิมต้น ทุนในการบรหิ ารจัดการในระยะยาว ดงั นั้นระบบท่เี ห็นควรนามา พิจารณาใช้คอื ระบบท่ีลดการใช้เครอ่ื งจกั รกลในกจิ กรรมดังกลา่ ว และพยายามปล่อยใหก้ ารไหลแบบธรรมชาตดิ ้วยแรงโนม้ ถว่ ง และ ระบบการไหลซมึ ผ่านวตั ถพุ รุนน้าเป็นตวั ขับเคล่ือนการไหล 1.3 แนวทางการออกแบบอาคารแบบประหยัดพลังงาน โดยทั่วไปแล้วการออกแบบอาคารประหยดั พลังงานนัน้ มีแนวทาง การออกแบบ 2 รปู แบบ คือ แบบอาศยั เคร่อื งจักรกล (Active Design) และแบบเน้นพ่งึ พาธรรมชาติ (Passive Design) ซึง่ ท้ัง สองรปู แบบพยายามจะให้เกดิ ภาวะอย่สู บายแต่มีภาคปฏิบตั ติ า่ งกัน ทง้ั น้ี การออกแบบและนาไปกอ่ สร้าง ควรเลอื กใหส้ อดคลอ้ งกับ สถานการณ์และบรบิ ทรอบขา้ ง เช่น การออกแบบเพ่อื ตอบสนอง ความตอ้ งการพืน้ ฐานของผู้อยู่อาศยั ในเร่ืองพ้ืนทใ่ี ช้สอยการเช่อื ม ตอ่ พ้นื ท่ใี ชง้ านและความยืดหยุน่ ในการวางตาแหน่งอาคาร 2-28

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK 2.4.3.2 เทคโนโลยีการเลือกวัสดุและพืชพันธุ์ (eco-material technology and planting) ในส่วนน้ีจะเนน้ ไปท่วี สั ดุท่ีไม่ใชส่ ่วนของอาคารโดยตรง ซ่งึ จะเน้นไปท่ีวัสดสุ ่วนภูมทิ ศั นแ์ ละงานบรเิ วณอื่น ๆ เช่น ท่ีจอดรถ ทางเท้า และถนน เป็นต้น โดยมวี ตั ถุประสงคเ์ พอ่ื ชะลออัตราการไหลของน้าผวิ ดินทีเ่ กดิ จากฝนตก (ลดการสึกก่อนของพนื้ ผวิ ) เพ่ิมพน้ื ทส่ี ีเขียวแต่ ยงั คงความแขง็ แรง ในขณะทกี่ ารเลอื กต้นไมท้ ี่เหมาะสมน้ัน จะมสี ่วนชว่ ยในการประหยดั คา่ ใช้จ่ายในการทานุบารงุ ดูแลและยังไมเ่ ปน็ การ ทาลายระบบนเิ วศน์เดมิ ของพื้นทอ่ี กี ทางหนึ่งด้วย จงึ นาเสนอรูปแบบการออกแบบโดยเนน้ การเลอื กวัสดุมาใชง้ านในแตล่ ะจุดดังตอ่ ไปน้ี 2.1 เลือกใช้บล็อกหญ้าในการปูที่จอดรถ (Grass Block) 2.2 เลือกใช้พืชท้องถิ่น (Native Plant) ที่จอดรถเป็นท่โี ลง่ ท่ปี กตอิ ยู่กลางแจ้งและเปน็ ที่รบั น้าฝนโดยตรง ทั้งน้ี การเลอื กใช้พืชทอ้ งถ่นิ นั้นมปี ระโยชน์หลายเรื่องโดยเฉพาะอย่างยง่ิ การ โดยท่ัวไปท่ีจอดรถอาจเทคอนกรตี ปกติก็สามารถใชง้ านตามวัตถุประ- ลดปญั หาการบารงุ รกั ษา เนอ่ื งจากพชื ทอ้ งถิ่นมักทนต่อสภาพท้องถ่ิน สงคแ์ ล้วแต่ปญั หาของลานคอนกรีต คือการสะท้อนความร้อนจากแสง ทนตอ่ โรคไดด้ อี ีกท้งั ยังไม่เป็นการทาลายระบบนเิ วศน์เดิมของพื้นท่ี อาทิตยไ์ ปยังพ้ืนท่รี อบขา้ งรวมไปถงึ การทไี่ มส่ ามารถหน่วงการไหลของ เนื่องจากตน้ ไมม้ กั เป็นท่ีอยูอ่ าศยั ของสัตวท์ ้องถ่ินอน่ื ๆ ซง่ึ สัตวบ์ าง น้าได้ดที าใหอ้ าจเกิดการไหลทเี่ รว็ เกินไปจนสร้างความเสยี หายสกึ กร่อน ประเภทตอ้ งอาศยั พชื หรือตน้ ไม้บางชนิดเทา่ นั้นนอกจากนต้ี าแหน่งของ ได้ ดังนั้นควรเลอื กใช้ Grass Block แทน เพอื่ ใหห้ ญา้ ลดการสะทอ้ น การวางต้นไม้ใหญ่ในด้านทีเ่ หมาะสมกจ็ ะช่วยทาใหล้ ดความร้อนเขา้ สู่ ของแสงอาทิตย์และเพิม่ สัดส่วนพนื้ ผวิ ท่ีนา้ ซึมผา่ นไดง้ ่ายโดยมตี ัวอย่าง อาคารซ่งึ การออกแบบควรคานึงถงึ จดุ น้ดี ว้ ย ของ Grass Block (ทม่ี า : http://www2.dede.go.th,สบื ค้นเมื่อ 2 กนั ยายน 2560)2-29

ภาพท2่ี .12 : Green Climate Fund LB INSPIRATION FOR SHARING PARKที่มา : http://www.alepaint.com,สบื ค้นเมอ่ื 1 กันยายน 2560 2.4.4 การให้แสงสว่างสาหรับห้องจัดแสดงภาพท2่ี .13 : Green Climate Fundที่มา : http://www.alepaint.com,สบื คน้ เม่ือ 2 กันยายน 2560 โครงสร้างของอาคารและที่กันไฟเพื่อประกันความแน่ใจในการสงวนรักษาวัตถุ โครงสรา้ งอาคารต้อง จาเปน็ ป้องกนั ไดเ้ สมอ แสงธรรมชาติเป็นแสงท่ีให้ปริมาตรท่ีนุ่มนวลและไม่เปลี่ยนแปลงสีของวัตถุที่จัด แสดงแสงสว่างในส่วนห้องจัดแสดงที่นิยมในกันแพร่หลายในห้องจัดแสดงแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคอื 1) แสงพุ่งตรงจากหลังคาการนาแสงธรรมชาติมาใช้โดยส่องแสงมาจากหลังคา น้ันสถาปนิกจะต้อง ออกแบบหลังคาเป็นกระจกฝ้าซ่ึงกรองแสงไวโอเลตแต่อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยในเขตร้อน ถ้าใช้วิธีดังกล่าวน้ีควรออกแบบหลังคาให้ระดับหลังคาเพดานสูง เอาไว้ท้งั นเ้ี พ่ือสะดวกในการกรองแสงดว้ ยผ้าดิบ 2) แสงจากผนังด้านข้างนี้ใช้สะท้อนแสงเหนือตู้แสดงอีกทีหนึ่งเพราะฉะน้ัน ในการ ออกแบบผนังด้านข้างสถาปนิกควรกาหนดระดับของผนังช้ันล่างให้เท่ากับระดับเพดาน ของตู้ เพราะเหตุว่าในการสะท้อนแสงด้านข้างลงบนตู้น้ันจะต้องใช้กระจกเงา 45 องศา สะท้อนแสงอีกชั้นหนึ่งในกรณีท่ีพิพิธภัณฑ์มีเพดานสูงจากพื้นประมาณ 2.20 เมตรผนัง ดา้ นข้างควรจะอยใู่ นระดบั เดีย่ วกับตู้ สว่ นเจาะผนังน้นั ไมค่ วรมากจนเกนิ ไป (ท่ีมา : http://oknation.nationtv.tv),สืบคน้ เมอื่ 2 กนั ยายน 2560) 2-30

LB INSPIRATION FOR SHARING PARK ภาพท่ี2.14 : exibition ท่ีมา : http://www.archdaily.com,สืบค้นเม่ือ 2 กันยายน 2560 2.4.5 การออกแบบนิทรรศการ (Exhibition) การออกแบบนิทรรศการ (Exhibition) โดยทั่วไปคือการจัดนาเอาภาพถ่าย ภาพเขียน สถิติ แผนภูมิหรือ วัสดุกราฟฟิคอ่ืน ๆ ได้แก่ ของจริง หุ่นจาลอง โสตทัศนูปกรณ์บางประเภท เช่น ภาพยนตร์ ภาพน่ิง (Slide) จัดแสดงพร้อมคาบรรยายประกอบ การอภิปรายและการสาธิตเรื่องต่าง ๆ ที่ น่าสนใจหรือกาลังอยู่ในความสนใจของกลุ่มประชาชนที่เลือกมาเป็นเป้าหมาย ความแตกต่างของคาว่านิทรรศการกับการ จัดดิสเพลย์ ( Display) นิทรรศการมลี กั ษณะเป็นส่ือความหมายสองทาง (Two-way communication) ระหว่างสถาบันผู้จัดนิทรรศการกับประชาชนหรือกลุ่มเป้าหมายที่มาชม ผู้ชมสามารถสอบถามเจ้าหน้าที่ผู้จัด ถึงเร่ืองราวความเป็นไปของการจัดแสดงส่วนดิสเพลย์เป็นการสื่อความหมายแบบเอกวิถีหรือเรียกว่าแบ บทางเดียว (One-way communication) มีความหมายเพียงเพอื่ ชีแ้ จงแถลงขา่ วรายงานเรือ่ งราวเหตุการณห์ รอื ชักชวนใหผ้ ู้ชมเกดิ ความสนใจเรอื่ งใดเร่อื งหนึ่ง (ทีม่ า : http://oknation.nationtv.tv,สืบคน้ เมอื่ 2 กนั ยายน 2560)2-31


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook