Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สารสนเทศ ปี 2562

สารสนเทศ ปี 2562

Published by praphaphun.k, 2021-02-03 06:54:21

Description: สารสนเทศ ปี 2562 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี)

Keywords: สารสนเทศ 2562,information,bodin,2019

Search

Read the Text Version

คำนำ ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 แกไขเพิ่มเติม พุทธศักราช 2545 มุงพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สอดคลองกับสถานการณการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมมีองคความรูท่ี เปนสากลรูเทาทันตอความตองการทางวิทยากร มีทักษะและศักยภาพในการจัดการสื่อสารและเทคโนโลยีมี กระบวนการคิด และการปรับวิธกี ารทำงานอยางเหมาะสม ในปการศึกษา 2562 โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ไดกาวเขาสูโรงเรียนผูนำการ เปลี่ยนแปลงเปนโรงเรียนผูนำการใชหลักสูตรอัจฉริยภาพวิทยาศาสตร เทคโนโลยี คณิตศาสตร และ ภาษาตางประเทศ อันจะตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการในการพัฒนาผูเรียนใหมีความรู คูคุณธรรม อยางมีคุณภาพ ทั่วถึงและเสมอภาค เปนกำลังคน ที่มีทักษะและศักยภาพรองรับการพัฒนาประเทศที่ สอดคลองกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและการเปลี่ยนแปลงของโลกในศตวรรษที่ 21 โดยใช กระบวนการโคดดิ้ง (coding) เปนพื้นฐานในการแกปญหาอยางเทาทันและมีประสิทธิภาพ จำเปนอยางยิ่งท่ี จะตองใชขอมูลสารสนเทศจากหนวยงานตาง ๆ ของโรงเรียนโดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอน การจัดทำ งบประมาณ การวางแผนสรรหาบุคลากร การวางแผนการบริการทั้งในระยะสั้นและระยะยาว เพื่อใชในการ ตัดสินใจกำหนดทิศทางในการจัดการศึกษา การจัดทำสารสนเทศจึงมีความสำคัญอยางยิ่งตอการพัฒนา คุณภาพการศึกษา เพราะสารสนเทศเปนแหลงขอมูลในการอำนวยความสะดวกชวยใหโรงเรียนสามารถ ดำเนินงานอยางมีประสิทธภิ าพเปน แนวทางการพฒั นา และเปนทางเลือกใหมในการดำเนินงานตอ การจดั ทำสารสนเทศเลม น้ี สำเรจ็ ลงดวยความรวมมือจากคณะครู บุคลากรทุกหนว ยงานใน โรงเรยี นท่ีใหขอมลู อนั เปนประโยชนตอ การดำเนินงานเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรยี นตอไป ดร. วสิ ทิ ธิ์ ใจเถงิ ผูอำนวยการโรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สิงห สิงหเสน)ี ก

สารบญั สวนที่ 1 ขอ มูลท่ัวไปของโรงเรียน หนา สวนที่ 2 1.1 ประวตั ิโรงเรียน 1 1.2 ขอ มลู จำเพาะของโรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสนี) 2 สว นท่ี 3 1.3 ทำเนียบผบู รหิ าร 3 ภาคผนวก 1.4 แผนทต่ี ง้ั โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สิงหเสน)ี 6 1.5 แนวทางการจัดการศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) 7 1.6 โครงสรางการบรหิ าร 8 1.7 ขอมูลครูและบุคลากรทางการศึกษา 15 1.8 ขอ มลู นักเรยี นรายบคุ คล 18 1.9 ขอ มลู สารสนเทศหอ งสมุด 24 ขอมูลผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 25 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุมสาระการเรียนรู 35 การทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) 36 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 ปการศึกษา 2562 38 การทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้ันพน้ื ฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 6 ปการศึกษา 2562 39 การเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติ ขน้ั พนื้ ฐาน (O-NET) ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 3 40 การเปรียบเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ขน้ั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้นั มธั ยมศึกษาปท่ี 6 41 ผลการประเมนิ การอา น คิดวเิ คราะห และเขยี น นักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท่ี 1-6 42 ผลงานครู นักเรยี น และการศึกษาตอ ตารางแสดงผลงานผูบรหิ าร และครู ปก ารศกึ ษา 2562 43 ตารางผลงานของนักเรียนทส่ี รางช่ือเสยี ง ปก ารศึกษา 2562 44 ตารางแสดงผลการเขา ศึกษาตอ ระดบั อดุ มศึกษา 48 64 ข

สารบญั แผนภูมิ แผนภูมิที่ แสดงขอ มลู ขา ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา หนา 1.1 แสดงขอ มลู ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 18 1.2 จำแนกตามวิทยฐานะ 20 แสดงขอมลู ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา 1.3 จำแนกตามกลมุ สาระการเรียนรู 21 แสดงขอมูลขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 1.4 จำแนกตามกลมุ สาระการเรียนรู และวิทยฐานะ 22 แสดงขอมลู ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 1.5 จำแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา 23 แสดงจำนวนนักเรยี นแยกชัน้ และเพศ 1.6 แสดงสถติ ิผลขอ มูลโครงการรักการอา นสง เสริมพฒั นาทกั ษะ 24 1.7 การอา น คิดวิเคราะห และเขียน ประจำปการศึกษา 2562 25 แสดงสถติ กิ ารจำหนา ยหนังสอื ของศูนยหนังสือ 1.8 CU&BD ปก ารศึกษา 2561 – 2562 26 แสดงสถิตเิ ปรียบเทียบจำนวนทรัพยากรสารสนเทศในหองสมดุ 1.9 ปการศกึ ษา 2561 - 2562 28 แสดงสถติ จิ ำนวนผเู ขาใชหองสมุด 2562 1.10 แสดงจำนวนนักเรยี นทีเ่ ขาใชหองสมุด 2562 30 1.11 แสดงจำนวนนกั เรยี น ทยี่ ืมหนงั สอื หองสมุด 2562 31 1.12 แสดงจำนวนครเู ขา มาใชบ รกิ ารหอ งสมุด 2562 32 1.13 แสดงจำนวนครูนำนกั เรียนเขามาใชห อ งมัลตมิ เี ดยี 2562 33 1.14 34 ค

สารบญั แผนภมู ิ (ตอ ) แผนภมู ทิ ่ี แสดงผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลุมสาระการเรียนรู หนา 2.1 ทกุ ระดับชัน้ (ม.1-ม.6) ปก ารศึกษา 2562 36 2.2 แสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน (O-NET) 38 2.3 ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 3 ปก ารศึกษา 2562 39 2.4 แผนภูมแิ สดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขนั้ พ้ืนฐาน (O-NET) 40 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2562 2.5 แสดงเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้นื ฐาน 41 (O-NET) ชนั้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 3 ระดับโรงเรียน ปการศึกษา 2561 3.1 กับปการศกึ ษา 2562 จำแนกตามวชิ า 48 3.2 แสดงเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ั้นพืน้ ฐาน 64 (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 6 ระดบั โรงเรียน ปก ารศึกษา 2561 กับปก ารศกึ ษา 2562 จำแนกตามวิชา แสดงสถติ ผิ ลงานของนักเรียนทีส่ รา งชือ่ เสียง ปก ารศกึ ษา 2562 สถิตกิ ารเขาศึกษาตอระดับอุดมศึกษา ประจำปการศึกษา 2563 ของนักเรียนช้ันมธั ยมศึกษาปที่ 6 ปการศึกษา 2562 ง

1 สว นที่ 1 ขอ มูลทัว่ ไปของโรงเรยี น

2 1.1 ประวัตโิ รงเรียน โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) ตั้งอยูบนที่ดินจำนวน 39 ไร 3 งาน 86 ตารางวา ซึ่งเดิมเปนที่ดินของเจาพระยาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) สมุหนายกและแมทัพใหญในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระน่ังเกลา เจา อยหู วั แลวตกทอดมาจนถึงคุณหญงิ นครราชเสนี (เจือ สงิ หเสน)ี ผูเปน ทายาทได มอบที่ดินผืนดังกลาวนี้ใหกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อจัดตั้งโรงเรียนมัธยมศึกษา ในป พ.ศ. 2507 กระทรวงศึกษาธิการ ไดมอบให คุณหญิงบุญเลื่อน เครือตราชู ซึ่งเปนผูอำนวยการโรงเรยี นเตรียมอุดมศึกษา ในขณะนั้นเปนผูประสานงาน กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศตั้งโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) เมื่อ วนั ท่ี 30 เมษายน พ.ศ. 2514 และไดว างศิลาฤกษอาคารเรียนหลังแรก เม่ือวนั ท่ี 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 ในปก ารศึกษา 2514 กรมสามญั ศกึ ษาไดแตง ต้ัง นายเฉลมิ สิงหเสนี เปนอาจารยใหญคนแรก ไดรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 จำนวน 6 หองเรียน และนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 จำนวน 12 หองเรียน มีนักเรียนจำนวน 838 คน และ ครู-อาจารย 43 คน โดยใชสถานที่เรียนครั้งแรก ณ โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา เมื่อไดกอสรางอาคารเรียน ถาวรเสร็จส้ินเรียบรอยแลวจึงยายมาเรียน ณ ที่ตั้งปจจุบนั เมอื่ วนั ท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2516 วนั ที่ 23 กมุ ภาพนั ธ พ.ศ. 2515 พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยหู วั ภมู ิพลอดลุ ยเดชฯพระราชทาน พระบรมราชานุอนุญาตใหโรงเรียนใชตรา “พระเกี้ยว” เปนเครื่องหมายประจำโรงเรียน และโรงเรียนได อัญเชิญตราน้ปี ระดับอกเส้อื เหนืออักษรยอ “บ.ด.” สำหรับนกั เรยี นชั้นมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) เปนโรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญพิเศษประเภท สหศึกษา สังกัดเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ตั้งอยู ณ เลขที่ 40 รามคำแหง 43/1 แขวงพลับพลา เขตวังทองหลาง กรุงเทพมหานคร 10310 โรงเรยี นไดร บั การพฒั นาอยางรวดเรว็ และตอเน่อื ง เปนโรงเรยี นทม่ี ชี ื่อเสียงเปน ที่ยกยอง และ ยอมรับของประชาชนทั่วไป ทั้งนี้ ดวยความสามารถของผูบริหารโรงเรียน นับตั้งแต นายเฉลิม สิงหเสนี คุณหญิงพรรณชื่น รื่นศิรินางสงัด จิตตะยโศธร นางประจวบ ชำนิประศาสน คุณหญิงลักขณา แสงสนิท นายเฉลิมชัย รัตนกรี นายอัศวิน วรรณวินเวศร นางพรรณี เพ็งเนตร นายสิทธิรักษ จันทรสวาง นายอมรรัตน ปนเงิน ดร.สุวัฒน วิวัฒนานนท นางอารีรัสมิ์ วัฒนทองผิว นายกลาศักดิ์ จิตตสงวน และ นายวิสิทธิ์ ใจเถิง ดวยความรวมมือรวมใจของครู นักเรียน ทายาทสกุล “สิงหเสนี” สมาคมผูปกครองและ ครูบดินทรเดชา สมาคมนักเรียนเกาบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน คณะกรรมการเครือขายผปู กครองและผูอปุ การะคุณ

3 1.2 ขอ มลู จำเพาะของโรงเรยี นบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สิงหเสนี) ชื่อโรงเรยี น บดนิ ทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี Bodindecha (Sing Singhaseni) อกั ษรยอ บ.ด. วันสถาปนาโรงเรยี น 30 เมษายน พ.ศ.2514 วนั วางศลิ าฤกษอ าคารเรียนหลงั แรก 7 พฤษภาคม พ.ศ.2514 เครอ่ื งหมายประจำโรงเรยี น พระเกย้ี ว (โดยพระบรมราชานญุ าต) ปรชั ญาโรงเรียน ลูกบดนิ ทรเปน ผปู ระพฤติดีและมคี วามรู อัตลักษณล ูกบดินทร ลกู บดนิ ทรประพฤติดีมคี วามรู เอกลกั ษณ ความเปนเลศิ ทางวชิ าการ ควบคูคุณธรรมจรยิ ธรรม สีประจำโรงเรียน สนี ำ้ เงนิ สปี ระจำคณะ สเี หลือง คณะฉตั รบดินทร สชี มพู สเี ขยี ว คณะปนขตั ตยิ ะ สแี สด สีฟา คณะเตชะสงิ หราช https://www.bodin.ac.th คณะภูวนารถรตั นะ คณะภทั รพระเกย้ี ว เว็บไซต

4 1.2 ขอ มูลจำเพาะของโรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี พระพุทธรูปประจำโรงเรยี น พระพุทธบดนิ ทรพิทักษบ ริรกั ษศ ษิ ยา ศนู ยรวมใจชาวบดินทรเดชา เจา พระยาบดินทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสน)ี ดอกไมประจำโรงเรียน บัวนิลบุ ล หรอื บวั สนี ำ้ เงนิ วันสำคัญของโรงเรยี น วันคลายวันอสญั กรรมของเจาพระยาบดนิ ทรเดชา (สงิ ห สงิ หเสน)ี เพลงประจำโรงเรยี น วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน ของทุกป มารชบดนิ ทรเดชา

5 เพลงมารช ประจำโรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสนี) มารชบดนิ ทรเดชา คำรอง-ทำนอง พยงค มุกดา สถาบันศกึ ษาอนั ย่ิงใหญ เรียบเรียง ประยงค ชน่ื เยน็ ใหเปน ทรพั ยากรสยาม โรงเรียนบดนิ ทรเดชา สรางสรรคเยาวชนของไทย แดนลกู บดินทร บนถิน่ นี้มปี ระวตั ิ แมท ัพผูเจนจดั แหงรชั กาลท่ี 3 เจาพระยาบดินทรเดชา กลาสมนาม ผูปองปรามศึกศัตรจู ากบรู พา แดนบดนิ ทรถ่นิ เราภมู ิใจ ตราพระเก้ยี วเทดิ ไวใหส งา ดอกบวั นิลบุ ลโสภา จบั ตาสีนำ้ เงนิ เดน งาม การศึกษาศรัทธาของเราหมดจด มุง หาอนาคต เพื่อทดแทนคุณสยาม ตอ หนาอนุสาวรียที่งดงาม จะทำตามเจตนาแหงสถาบัน ชาวบดนิ ทรถนิ่ เยาวชนดี สามัคคศี ักดิ์ศรเี ราคงม่นั ยากเข็ญเปน เรื่องไมสำคัญ หมนั่ ขยันฉันจะกา วหนา ไป เชิงกีฬา เราเกงกลาทรหด จะแพชนะหมดจด มุงรสพระธรรมสดใส ลกู บดินทรถวิลไมตรมี ีวนิ ัย ลูกบดินทรปอ งถนิ่ ไทยเทิดไทยไชโย ไชโย ไชโย ไชโย

6 1.3 ทำเนยี บผูบริหาร

7 1.4 แผนท่ีตงั้ โรงเรียนบดินทรเดชา (สงิ ห สิงหเสน)ี ภาพแสดงแผนผังอาคารเรยี น

8 1.5 แนวทางการจดั การศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี การพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา ปการศกึ ษา 2559 – 2563 วิสัยทศั น (Vision) โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) เปนสถานศึกษาที่มีการบริหารและจัดการศึกษา เพ่อื มุง ใหผเู รยี นเปนเลศิ ทางวชิ าการสูม าตรฐานสากล ดำรงตนอยางมีความสุข เปน คนดมี คี ุณธรรมบนพ้ืนฐาน ของความเปน ไทย พนั ธกิจ (Mission) พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารและจัดการศึกษาดวยระบบคุณภาพตามหลักธรรมาภิบาล พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอน ที่เนนผูเ รียนเปนสำคัญ สงเสริมใหผูเรียนเปนผูประพฤติดีมีความรเู ปน พลโลก บนพ้นื ฐานตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ครแู ละบุคลากรไดรับการพฒั นา สูโรงเรียนมาตรฐานสากล พัฒนาสือ่ นวตั กรรมและแหลงเรยี นรู เปา ประสงคของโรงเรยี น 1. โรงเรยี นบรหิ ารจัดการศกึ ษาดว ยระบบคุณภาพ มีการกระจายอำนาจและการมสี วนรว มโรงเรียน 2. มหี ลักสูตรทส่ี งเสรมิ ความเปนเลิศตอบสนองตอความถนัดและศกั ยภาพตามความตองการของผูเรียน 3. โรงเรียนมีการจัดการเรียนการสอนทุกกลุมสาระการเรียนรูทุกอยางดวยภาษาอังกฤษ ยกเวนกลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย 4. นักเรียนมีความรับผิดชอบ มีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรูและเปนผูนำในทุกดานมีความ ภูมิใจในศิลปวัฒนธรรมไทย รักความเปนไทย มุงทำงานเพื่อสังคม และนอมนำหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งสกู ารดำรงชีวิต 5. ครไู ดรับการพฒั นาความรู เจตคตแิ ละทกั ษะปฏบิ ตั ิอยางตอ เนือ่ ง 6. โรงเรยี นพัฒนาส่ือนวตั กรรม สภาพแวดลอ มและแหลงเรยี นรู ทีเ่ ออ้ื ตอ การพัฒนาผูเรียน

9 คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค การพฒั นาผเู รียนใหเปนผูป ระพฤติดี มีความรู เปน พลโลกที่มีคุณภาพมาตรฐานสากล โดยได กำหนดคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค เพื่อกอใหเ กิดแกลูกบดนิ ทร ดังน้ี 1. รักชาติ ศาสน กษัตริย 8. มีจิตสาธารณะ 2. ซื่อสัตยสุจริต 9. เปนเลศิ วชิ าการ 3. มีวินยั 10. สื่อสารสองภาษา 4. ใฝเ รียนรู 11. ลำ้ หนา ทางความคิด 5. อยอู ยา งพอเพยี ง 12. ผลติ งานอยางสรา งสรรค 6. มุงม่ันในการทำงาน 13. รว มกนั รับผิดชอบตอสังคมโลก 7. รกั ความเปนไทย นโยบายการดำเนินงานของโรงเรยี น 1. ดานการบรหิ ารและการจดั การ - พัฒนาประสิทธภิ าพการบริหารและการจดั การเนน การมสี วนรว มจากทกุ ภาคสว น 2. ดานหลักสตู รและการจดั การเรยี นการสอน - จดั หลกั สูตรและกระบวนการเรยี นการสอน กจิ กรรมวดั และประเมินผลทีม่ คี ุณภาพ 3. ดา นพัฒนาครูและบคุ ลากร - พัฒนาครใู หสามารถจดั การเรียนการสอนไดอยา งมีคุณภาพ 4. ดานระเบยี บวินยั คณุ ธรรมจริยธรรม - ปลูกฝงคุณธรรม ความสำนกึ ในการเปน ชาติไทย และวิถีชวี ติ ตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพยี ง 5. ดานสภาพแวดลอ ม อาคาร สถานท่ใี หเ ปน แหลง เรยี นรูที่มีคุณภาพ - พัฒนาสภาพแวดลอม อาคารสถานที่ใหเ ปนแหลง เรยี นรูท ่มี ีคณุ ภาพ แผนการศึกษาแหง ชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 ยทุ ธศาสตรท่ี 1 การจัดการศกึ ษาเพื่อความม่ันคงของสังคมและประเทศชาติ ยทุ ธศาสตรท่ี 2 การผลติ และการพฒั นากำลงั คน การวิจยั และนวตั กรรม เพ่ือสรางขีด ความสามารถในการแขงขนั ของประเทศ ยทุ ธศาสตรท่ี 3 การพฒั นาศักยภาพคนทกุ ชวงวยั และการสรา งสังคมแหงการเรยี นรู ยุทธศาสตรที่ 4 การสรางโอกาส ความเสมอภาค และความเทาเทียมทางการศึกษา ยุทธศาสตรที่ 5 การจดั การศึกษาเพ่ือสรา งเสริมคุณภาพชวี ติ ทเี่ ปน มิตรกับสงิ่ แวดลอม ยทุ ธศาสตรท่ี 6 การพฒั นาประสิทธภิ าพของระบบบรหิ ารจดั การศกึ ษา

10 ยทุ ธศาสตรก ระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2560 – 2564 ยทุ ธศาสตรที่ 1 การพัฒนาหลกั สตู ร กระบวนการเรยี นการสอน การวดั และประเมินผล ยุทธศาสตรท ี่ 2 การผลิต พัฒนาครู คณาจารยและบคุ ลากรทางการศึกษา ยุทธศาสตรท่ี 3 การผลิตและพฒั นากำลังคน รวมท้งั งานวจิ ยั ทีส่ อดคลองกบั ความตองการ ของการพฒั นาประเทศ ยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การขยายโอกาสการเขา ถงึ บริการทางการศกึ ษา และการเรียนรูอยา ง ตอเน่อื งตลอดชีวติ ยทุ ธศาสตรท่ี 5 การสงเสรมิ และพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ลั เพ่ือการศึกษา ยุทธศาสตรท ี่ 6 การพัฒนาระบบบริหารจดั การและสง เสริมใหทกุ ภาคสวนมสี ว นรวมในการ จัดการศกึ ษา กลยุทธที่ 1 ยุทธศาสตร สพฐ. กลยุทธท่ี 2 การจัดการศึกษาเพ่ือความม่ันคง กลยุทธที่ 3 การจดั การศึกษาเพ่ือเพม่ิ ขีดความสามารถในการแขงขัน กลยุทธท ่ี 4 การพฒั นาคณุ ภาพผเู รยี นและสง เสริมการพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา กลยทุ ธท ่ี 5 การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทยี ม การเขาถึงบรกิ ารทางการศกึ ษา กลยทุ ธท ี่ 6 การจดั การศกึ ษาเพื่อสรา งเสริมคุณภาพชีวติ ทเี่ ปน มติ รกบั สิ่งแวดลอ ม การพฒั นาระบบบริหารจัดการและสงเสรมิ ใหทุกภาคสว นมีสวนรวมในการจดั การศึกษา กลยุทธที่ 1 กลยทุ ธ สพม.2 กลยุทธท ี่ 2 การจัดการศกึ ษาเพ่ือความมัน่ คง กลยทุ ธท ี่ 3 การจัดการศึกษาเพ่ือเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขัน การพัฒนาคุณภาพผเู รยี นและสง เสริมการพัฒนาครูและบุคลากร กลยุทธท ี่ 4 ทางการศึกษา การสรางโอกาส ความเสมอภาคและความเทาเทยี ม การเขาถงึ บริการ กลยทุ ธท่ี 5 ทางการศึกษา กลยทุ ธท่ี 6 การจดั การศกึ ษาเพ่ือสรางเสริมคณุ ภาพชวี ิตท่ีเปนมิตรกับสิ่งแวดลอ ม การพฒั นาระบบบริหารจัดการและสงเสริมใหทุกภาคสวนมีสวนรวม ในการจดั การศกึ ษา

11 กลยทุ ธท ี่ 1 กลยทุ ธโรงเรียน กลยุทธท่ี 2 บริหารจัดการตามหลักธรรมาภิบาลดวยการกระจายอำนาจและการมีสวนรวม กลยุทธท ่ี 3 กลยทุ ธท่ี 4 จัดการเรียนการสอนโดยเนนผูเรียนเปนสำคัญเพื่อมุงสูมาตรฐานสากล กลยทุ ธท่ี 5 พัฒนาศักยภาพของครูและบุคลากร พฒั นาคณุ ภาพผูเรียนใหม ีระเบียบวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม พฒั นาอาคารสถานที่ สภาพแวดลอม วสั ดุ อุปกรณ แผนงบประมาณ โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) มีบทบาทหนาที่ในการพัฒนาการศึกษา โดยไดรับการ สนบั สนนุ ดา นงบประมาณเพอ่ื ดำเนนิ การดงั นี้ 1. เงินงบประมาณ เปนเงินของรัฐที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดสรรมาให อันประกอบไปดว ยเงินหมวด เงินเดอื น คาจางลูกจาง ครุภณั ฑท ดี่ นิ และสิง่ กอสรา ง ตอบแทนใชสอย วัสดุ สาธารณปู โภค รวมทัง้ งบประมาณตามโครงการเฉพาะตามนโยบายของรัฐ 2. เงนิ อุดหนนุ การศึกษา เปนเงนิ งบประมาณทสี่ ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐานจัดสรร มาใหโดยคดิ เปนรายบุคคล (รายหัว) ดังนี้ (ปง บประมาณ 2562) นักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาตอนตน จำนวน 3,500 บาท / คน / ป นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จำนวน 3,800 บาท / คน / ป 3. เงินรายไดสถานศึกษา เปนเงินที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดอนุญาตให โรงเรยี นระดมทรัพยากรจากผูปกครองโดยไมเปนการบังคับ เน่อื งจากจดั กิจกรรมพัฒนาผูเรียนดวยบุคลากรที่ เช่ยี วชาญ กจิ กรรม วัสดุอปุ กรณท ส่ี งู กวา มาตรฐานกำหนด 4. เงินบรจิ าค เปนเงินทโ่ี รงเรยี นไดร ับจากผูปกครอง หนว ยงานองคก ารตาง ๆ มอบใหเพอื่ เปนการ สนบั สนนุ การจัดการศกึ ษาของโรงเรียนอยางไมม หี รือมีวตั ถปุ ระสงคเ ฉพาะ โรงเรียนจึงไดนำงบประมาณดงั กลาวมาจดั ทำแผนรายรับเพ่ือพัฒนาการศกึ ษาโดยกำหนดเปน แผน งบประมาณ ดงั นี้ การจดั สรรงบประมาณในการพัฒนาการศกึ ษา เปนแผนงบประมาณรายจายเพ่อื จา ยเปน 1. งบประมาณเพอ่ื พฒั นาดานวชิ าการ 2. งบประมาณเพื่อดำเนนิ การ (งบกลาง) 3. งบประมาณเพอ่ื กรณีพเิ ศษ (งบสำรองจา ย)

12 ดวยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานไดศึกษาและทำความเขาใจเกี่ยวกับแผนปฏิบัติราชการ ประจำปงบประมาณ 2562 ของโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสนี) แลว เห็นวาโครงการ/กิจกรรม เหมาะสม สอดคลองกับกลยุทธ ภารกิจหลัก และมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานตามระบบประกันคุณภาพ ของ สพฐ. และยังสอดคลองกับวสิ ยั ทศั น พันธกิจ และกลยุทธของโรงเรียน จึงพิจารณาเห็นชอบใหโรงเรียน ดำเนินงานตามกิจกรรม/โครงการในแผนปฏบิ ัตริ าชการท้ัง 16 โครงการ อนั ไดแ ก 1. โครงการพัฒนางานเพื่อการบริหารจัดการอยางมี 9. โครงการพัฒนาศักยภาพครแู ละบุคลากร ประสิทธิภาพ ทางการศกึ ษา 2. โครงการวจิ ยั คณุ ภาพการศกึ ษา 10. โครงการสมั พนั ธชมุ ชน 3. โครงการพฒั นาหลกั สตู รสถานศกึ ษา 11. โครงการพัฒนาอาคารสถานที่ เพื่อจดั สภาพแวดลอ มทเ่ี อื้อตอ การใชชวี ติ ในสถานศึกษาอยางมคี วามสขุ 4. โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน 12. โครงการพัฒนาเพือ่ การบรกิ ารสาธารณชน 5. โครงการพฒั นาระบบเครอื ขา ยและ 13. โครงการพฒั นาระบบสารสนเทศของโรงเรียน อินเทอรเ นต็ เพื่อสงเสริมและสนบั สนนุ การใชเทคโนโลยีในการเรียนการสอน 6. โครงการสงเสรมิ สนับสนนุ พเิ ศษ 14. โครงการขยายโอกาสทางการศกึ ษา 7. โครงการพัฒนาคุณภาพนกั เรียน 15. โครงการพฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา 8. โครงการสงเสรมิ คณุ ภาพมาตรฐาน 16. โครงการพัฒนาศักยภาพผเู รียนสคู วามเปนเลศิ ดา นความดมี คี ณุ ธรรม เพอื่ จะเกิดประโยชนสูงสุดตอผูเรยี น และขบั เคล่ือนโรงเรียนผนู ำการเปล่ียนแปลง เพื่อรองรบั การ กระจายอำนาจพรอมท้งั นอมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งมาสูส ถานศึกษา

13 จุดเนน (Priorities) จดุ เนน ที่ 1 ดา นพฒั นาผเู รียน 1. เพม่ิ ศักยภาพนกั เรยี นในดา นภาษา คณิตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยี กฬี าและศลิ ปะเพื่อ พัฒนาสคู วามเปน เลิศในระดับประเทศและสากล 2. นกั เรยี นรอ ยละ 85 มคี วามคิดสรางสรรค คิดเปนทำเปน สามารถใชค วามคิดระดับสูง มีเหตผุ ลและ วางแผนจัดการสูเปาหมายทต่ี ั้งไวไ ด 3. นกั เรียนทกุ คนมีทักษะการอา น การเขยี นเชิงวิเคราะหและใฝรใู ฝเรยี นแสวงหาความรูดวยตนเอง 4. นกั เรยี นมผี ลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นเฉลย่ี ในรายวชิ าพืน้ ฐาน ทุกกลมุ สาระการเรยี นรเู พ่ิมขนึ้ อยา ง นอ ยรอ ยละ 4 5. สงเสรมิ ใหน กั เรยี นทุกคนจัดกิจกรรม มหกรรมกีฬา ดนตรี ศลิ ปะและวัฒนธรรมไทยของโรงเรยี น 6. นักเรยี นทุกคนมคี วามสำนึกในความเปน ประชาธิปไตย ศรัทธาและยึดม่นั การปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั ริยท รงเปนประมุข ดำเนนิ ชวี ติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มี คุณธรรมจริยธรรม และมีสขุ ภาพจิตดี จดุ เนน ที่ 2 ดา นครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา 7. ครูและบุคลากรทางการศึกษาไมนอยกวารอยละ 80 จัดทำวจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมหรอื ไดร ับการ อบรมไมน อ ยกวารอยละ 80 และนำไปใชใ นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา จุดเนน ที่ 3 ดานการบรหิ ารจัดการ 8. มรี ะบบการประเมินคุณภาพภายในที่เขมแข็ง และพรอมรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกรอบส่ี 9. สง เสริมการจัดการศึกษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

14 โรงเรียนบดนิ ทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี เงินประมาณท่ีขออนมุ ัติ ปงบประมาณ 2562 ลำดับ รหัส กลุมงาน/กลุมสาระการเรียนรู เงินอุดหนนุ เงินรายได หมายเหตุ ท่ี รายหวั สถานศกึ ษา งบฯนโยบาย เรยี นฟรี 15 ป 1 100 กลุมบรหิ ารวชิ าการ 900,000 8,169,500 2 102.1 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย 165,000 80,000 3 102.2 กลมุ สาระการเรยี นรคู ณิตศาสตร 154,000 80,000 4 102.3 กลมุ สาระการเรียนรูวิทยาศาสตร 350,000 80,000 5 102.4 กลมุ สาระการเรยี นรสู งั คมศกึ ษา 220,000 80,000 ศาสนาและวฒั นธรรม 6 102.5 กลุมสาระการเรียนรูสขุ ศึกษา 490,000 280,000 และพลศึกษา 7 102.6 กลมุ สาระการเรยี นรศู ิลปะ 650,000 80,000 8 102.7 กลุมสาระการเรยี นรูการงานอาชพี และ 290,000 3,360,310 เทคโนโลยี 9 102.8 กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาตางประเทศ 148,000 5,130,900 10 102.9 กจิ กรรมพฒั นาผเู รียน * - 80,000 11 200 กลมุ บรหิ ารงบประมาณ 8,920,000 12,215,520 12 300 กลุมบริหารงานบุคคล 320,000 500,000 13 400 กลมุ บริหารทวั่ ไป 3,148,508 1,100,000 14 500 กลุมนโยบายและแผน 220,000 - รวม 15,975,508 31,236,230 งบสำรองจา ย รวมงบประมาณขออนุมัติ 352,852 47,564,590

15 1.6 โครงสรางการบริหาร ดร.วิสทิ ธิ์ ใจเถิง ผูอ ำนวยการโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสน)ี นายธงชยั อนิ ทรพาณิชย นายสุพฒั น อตั จริต นางสาวพรพชร สุนทรนนท รองผอู ำนวยการกลมุ บริหารงานบคุ คล รองผูอำนวยการกลุม บริหารวชิ าการ รองผูอำนวยการกลมุ บรหิ ารงบประมาณ นางดารณี แรงเขตวทิ ย ปฏิบตั หิ นา ท่รี องผูอำนวยการกลมุ บรหิ ารทัว่ ไป

16

17 แตงต้ังคณะกรรมการบรหิ ารจัดการงานเครือขายผปู กครอง โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห สงิ หเสน)ี ปการศกึ ษา 2562 1. นายปญ ญา ทาสระคู ประธานคณะกรรมการเครอื ขายผปู กครองระดับโรงเรยี น 2. นายสรุ กั ษ ตั้งเคียงสิรสิ นิ ประธานคณะกรรมการเครือขายผูปกครองระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 1 3. นางศิรพิ ร เตียอำรุง ประธานคณะกรรมการเครือขายผูป กครองระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปท่ี 2 4. นายปย ฐกรณ บวรเจริญพนั ธุ ประธานคณะกรรมการเครือขายผปู กครองระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 3 5. นางวรรณิดาพร แจม สุริยา ประธานคณะกรรมการเครือขายผปู กครองระดับชนั้ มัธยมศึกษาปท ่ี 4 6. นายคมสัน ต้ังสุวรรณศรี ประธานคณะกรรมการเครือขายผูป กครองระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปท ่ี 5 7. นางนฤมล ธนะสตู ร ประธานคณะกรรมการเครือขายผปู กครองระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปท ี่ 6 8. นายสมศักดิ์ สอดเสน รองประธานฝายวิชาการ/นายทะเบียน 9. นายสุรพฒั น ประถมภัฏ รองประธานฝายกิจกรรม 10. นายสธุ พิ ร มกุ โชควัฒนา รองประธานฝายระเบยี บวนิ ัย 11. นางศรญั ญา คำภมู ี เลขานุการ 12. นางนภัสวรรณ จิตตพิ ทั ธพงษ ผชู วยเลขานกุ าร 13. นางสาววัลผกา แขง็ ขน้ั เหรัญญกิ 14. นางสุพิชชา พงษเ พ่ิมมาศ ประชาสัมพนั ธ 15. นางสาวกุลญดา ศิรสิ วุ รรณ ปฎคิ ม

18 1.7 ขอ มลู ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ตารางแสดงขอ มลู ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา บคุ ลากร จำนวน (คน) ชาย หญงิ รวม ผูอำนวยการโรงเรยี น 1 0 1 รองผูอำนวยการโรงเรยี น 2 1 3 ขาราชการครู 67 134 201 ลูกจางประจำ 202 ครอู ัตราจาง 033 ลูกจา งชั่วคราว 14 48 62 รวม 86 186 272 ขอ มลู ณ วนั ท่ี 30 มนี าคม 2563 แผนภมู ิที่ 1.1 แสดงขอ มลู ขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 200 186 134 100 67 2 86 31 48 3 14 0 ชาย หญงิ จากแผนภูมิที่ 1.1 ตารางแสดงขอมูลขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา แยกเปนเพศ ชาย หญิง พบวามีจำนวนครูและบุคลากรรวม 272 คน โดยมีเพศหญิง (186 คน) มากกวาเพศชาย (86 คน)

19 ตารางแสดงขอมลู ขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามวิทยฐานะ ตำแหนง วิทยฐานะ ระดบั ขา ราชการครูและ ตำแหนง บุคลากรทางการศกึ ษา (คน) ชาย หญงิ รวม 1. ผอู ำนวยการโรงเรยี น เชีย่ วชาญ คศ.4 1 0 1 2. รองผอู ำนวยการ ชำนาญการ คศ.3 2 1 3 โรงเรยี น พิเศษ 3. ครู ครูผชู วย - 7 12 19 ครู คศ.1 29 63 92 ชำนาญการ คศ.2 23 43 66 ชำนาญการ คศ.3 7 16 23 พเิ ศษ เชยี่ วชาญ คศ.4 1 0 1 เช่ียวชาญพเิ ศษ คศ.5 0 0 0 รวม 70 135 205 4. ครูอตั ราจาง - -- 3 3 5. ลกู จางประจำ - -2 0 2 6. ลูกจา งช่ัวคราว - - 14 48 62 รวม 16 51 67 รวม 86 186 272 ขอ มูล ณ วนั ที่ 30 มนี าคม 2563

20 แผนภมู ทิ ่ี 1.2 แสดงขอมูลขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามวทิ ยฐานะ 100 92 90 80 70 63 66 60 50 43 ช ญ 40 29 23 26 รวม 30 17 20 19 2 2 10 9 7 12 0 จากแผนภูมิที่ 1.2 ตารางแสดงขอมูลขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามวิทยฐานะ พบวา กลมุ ที่มจี ำนวนสูงสดุ คือ อนั ดบั 1 คอื ครูไมม วี ทิ ยฐานะ จำนวน 92 คน เปนเพศชาย 29 คน , เพศหญงิ 63 คน อนั ดบั 2 คอื ชำนาญการ จำนวน 66 คน เปนเพศชาย 23 คน , เพศหญิง 43 คน อนั ดบั 3 คอื ชำนาญการพเิ ศษ จำนวน 26 คน เปนเพศชาย 9 คน , เพศหญิง 17 คน อันดบั 4 คอื ครผู ชู วย จำนวน 19 คน เปน เพศชาย 27 คน , เพศหญงิ 12 คน อนั ดับ 5 คือ เช่ยี วชาญ จำนวน 2 คน เปน เพศชาย 2 คน

21 ตารางแสดงขอ มลู ขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จำแนกตามกลุมสาระการเรยี นรู กลุมบริหาร จำนวน (คน) กลมุ สาระการเรยี นรู อัตรา ครู ครู ชำนาญ ชำนาญการ เช่ียวชาญ รวม จา ง ผูชว ย การ พเิ ศษ ผบู รหิ าร - --- 3 14 ภาษาไทย - 2 10 7 1 - 20 คณิตศาสตร - 2 16 10 4 - 32 วิทยาศาสตร - 1 17 17 3 - 38 สงั คมศึกษาฯ - 2 12 8 2 - 24 ภาษาตางประเทศ 1 7 9 11 2 - 30 ศิลปะ - -76 1 - 14 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 1 182 1 1 14 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 1 4 8 5 7 - 25 กิจกรรมพฒั นาผูเ รยี น - -5- 2 -7 รวม 3 19 92 66 26 2 208 ขอ มูล ณ วันท่ี 30 มนี าคม 2563 แผนภมู ิที่ 1.3 แสดงขอมูลขา ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรู กิจกรรมพัฒนาผูเรยี น อัตราจา ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี ครผู ูชว ย ครู สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา ชาํ นาญการ ศิลปะ ชํานาญการพเิ ศษ เชย่ี วชาญ ภาษาตา งประเทศ สงั คมศึกษาฯ วิทยาศาสตร คณติ ศาสตร ภาษาไทย ผูบ รหิ าร 0 10 20 30 40

22 จากแผนภูมิที่ 1.3 ตารางแสดงขอมูลขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามกลุมสาระ การเรียนรู พบวากลุมสาระที่มีจำนวนมากที่สุด คือ กลุมสาระฯ วิทยาศาสตร จำนวน 38 คน รองลงมา คือ กลมุ สาระฯ คณิตศาสตร จำนวน 38 คน ตามลำดบั และนอยท่สี ดุ คอื กิจกรรมพฒั นาผเู รียน จำนวน 7 คน แผนภูมิที่ 1.4 แสดงขอมูลขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามกลุมสาระการเรียนรู และวิทยฐานะ 100% 1 4 3 2 2 1 1 90% 1 80% 1 272 เชยี่ วชาญ 70% 7 10 8 11 6 5 ชาํ นาญการพิเศษ 60% 17 ชาํ นาญการ 50% ครู ครูผชู ว ย 40% 10 126 12 9 8 8 อัตราจา ง 30% 2 2 71 1 41 20% 3 117 7 1 5 10% 0% จากแผนภูมิที่ 1.4 ตารางแสดงขอมูลขาราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา จำแนกตามกลุมสาระ การเรียนรู และวิทยฐานะ พบวาภาพรวมของแตละกลุมบริหารและกลุมสาระฯ มีจำนวนครู ไมมีวิทยฐานะ มากที่สุด คิดเปนรอยละ 44.23 รองลงมา คือ ครูชำนาญการ คิดเปนรอยละ 31.73 ครูชำนาญการพิเศษ คิด เปนรอยละ 12.50 ครูผูชวย คิดเปนรอยละ 9.13 ครูอัตราจาง คิดเปนรอยละ 1.44 และครูเชี่ยวชาญ คิดเปน รอยละ 0.96

23 ตารางแสดงขอ มูลขาราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา จำแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา กลุม บริหาร วุฒกิ ารศึกษา รวม กลุมสาระการเรียนรู ผบู รหิ าร ป.ตรี ป.โท ป.เอก 4 ภาษาไทย 20 คณติ ศาสตร -31 32 38 วิทยาศาสตร 6 14 - 24 30 สงั คมศกึ ษาฯ 11 21 - 14 14 ภาษาตา งประเทศ 20 17 1 25 7 ศิลปะ 14 10 - 208 สขุ ศึกษาและพลศึกษา การงานอาชพี และเทคโนโลยี 23 7 - กจิ กรรมพฒั นาผูเ รยี น 86 - รวม ขอ มูล ณ วันท่ี 30 มีนาคม 2563 95 - 14 11 - 34 - 108 98 2 แผนภมู ิที่ 1.5 แสดงขอมูลขา ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาจำแนกตามวฒุ ิการศึกษา 120 100 80 60 40 ป.ตรี 20 0 ป.โท ป.เอก จากแผนภูมิที่ 1.5 แสดงขอมูลขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาจำแนกตามวุฒิการศึกษา พบวามีวุฒิการศกึ ษาปริญญาตรีมากที่สดุ 108 คน (รอยละ 51.92) รองลงมา คือ ปริญญาโท 98 คน (รอยละ 47.12) และปรญิ ญาเอก 2 คน (รอยละ 0.96)

24 1.8 ขอมูลนักเรียนรายบคุ คล ตารางแสดงจำนวนนักเรียนแยกชน้ั ,เพศ และจำนวนหอ งเรียน โรงเรยี นบดนิ ทรเดชา(สิงห สิงหเสนี) ชัน้ จำนวนนกั เรียน จำนวน หองเรียน ชาย หญงิ รวม 16 มธั ยมศกึ ษาปท่ี 1 340 343 683 16 16 มัธยมศึกษาปท่ี 2 298 373 671 48 17 มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 349 386 735 16 16 รวมมัธยมศึกษาตอนตน 987 1102 2089 49 97 มธั ยมศึกษาปท ่ี 4 316 395 711 มธั ยมศึกษาปท ี่ 5 262 361 623 มัธยมศึกษาปที่ 6 322 385 707 รวมมัธยมศกึ ษาตอนปลาย 900 1141 2041 รวม 1887 2243 4130 ขอมูล ณ วนั ที่ 10 มิถนุ ายน 2562 แผนภูมทิ ่ี 1.6 แสดงจำนวนนักเรียนแยกชั้นและเพศ 800 683 671 735 711 707 640000 340 343 395 623 316 298373 349386 361 322385 ชาย 262 หญิง รวม 200 0 จากแผนภูมิที่ 1.6 แสดงจำนวนนักเรียนแยกชั้น และเพศ พบวา มีนักเรียนหญิงมากกวา นักเรยี นชาย ทุกชั้นป และมีชั้นมัธยมศึกษาที่มีจำนวนมากที่สุด คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 (735 คน) ลงรองมาเปนช้ัน มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 (711 คน) ตามลำดบั และช้นั มธั ยมศกึ ษาท่ีมจี ำนวนนอยท่ีสดุ คือ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 5 (623 คน)

25 1.9 ขอมูลสารสนเทศหองสมุด ตารางแสดงผลขอมูลโครงการรกั การอา นสง เสรมิ พฒั นาทกั ษะ การอา น คดิ วเิ คราะห และเขียน ประจำปการศึกษา 2562 ระดับชั้น จำแนกกิจกรรมรายเดือน รวม พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. จำนวนครั้ง 2 4 3 2 1 - 3 3 4 3 - - 25 ม.1 1,366 2,732 2,049 1,366 683 - 2,049 2,049 2,732 2,049 - - 17,075 จำนวนครัง้ 2 4 3 4 1 - 3 3 2 3 - - 25 ม.2 1,342 2,684 2,013 2,684 671 - 2,013 2,013 1,342 2,013 - - 16,775 จำนวนครั้ง 2 3 3 3 1 - 3 3 3 3 - - 24 ม.3 1,468 2,202 2,202 2,202 734 - 2,202 2,202 2,202 2,202 - - 17,616 จำนวนครั้ง 2 3 3 3 1 - 3 3 3 3 - - 24 ม.4 1,426 2,139 2,139 2,139 713 - 2,139 2,139 2,139 2,139 - - 17,112 จำนวนครงั้ 2 3 3 4 1 - 3 3 2 3 - - 24 ม.5 1,246 1,869 1,869 2,492 623 - 1,869 1,869 1,869 1,869 - - 15,575 จำนวนคร้ัง 2 3 3 3 2 - 3 3 2 1 - - 22 ม.6 1,400 2,100 2,100 2,100 1,400 - 2,100 2,100 1,400 700 - - 15,400 รวม 8,248 13,726 12,372 12,983 4,824 - 12,372 12,372 11,064 10,972 - - 98,933 ขอ มูล ณ วนั ท่ี 5 มนี าคม 2563 แผนภมู ทิ ่ี 1.7 แสดงสถติ ิผลขอ มูลโครงการรักการอานสง เสรมิ พัฒนาทกั ษะ การอา น คิดวิเคราะห และเขียน ประจำปก ารศึกษา 2562 จากตารางแสดงผลขอมูล โครงการรักการอานสงเสริมพัฒนาทักษะการอาน คิดวิเคราะห และเขียน ประจำปการศึกษา 2562 พบวา ชั้นมัธยมศึกษาที่มีนักเรียนรวมกิจกรรมสูงที่สุด คือ ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 (18 เปอรเ ซ็นต) เรียงตามลำดับ และเขารว มกจิ กรรมนอยท่ีสุด คือ ช้นั มัธยมศกึ ษาปท ี่ 6 (15 เปอรเซน็ ต)

26 ตารางสถติ ยิ อดการจำหนายหนงั สือของศนู ยห นงั สือ CU&BD ปก ารศกึ ษา 2561 – 2562 ปการศึกษา เดือน 2561 2562 หมายเหตุ พฤษภาคม 64,802 56,137 เปด ภาคเรยี น 1/2562 มิถุนายน 48,758 34,260 - กรกฎาคม 26,784 19,815 สอบกลางภาค 1/2562 สิงหาคม 27,617 9,780 งานสปั ดาหรกั การอา น ป 2562 กันยายน 4,803 3,091 สอบปลายภาค 1/2562 ตลุ าคม 522 318 ปด ภาคเรียน - พฤศจิกายน 17,994 ธันวาคม 17,472 10,530 สอบกลางภาค 2/2562 มกราคม 38,082 23,985 งานมอบหนงั สือเปนสอื่ แทนใจป 2562 กมุ ภาพนั ธ 12,697 11,227 สอบปลายภาค 2/2562 มนี าคม 0 0 ปด ภาคเรยี น เมษายน 00 - รวม 241,537 187,137 แผนภมู ทิ ี่ 1.8 แสดงสถติ ิการจำหนายหนังสือของศูนยหนังสือ CU&BD ปก ารศึกษา 2561 – 2562 80,000 60,000 40,000 20,000 0 ป 2561 ป 2562

27 ตารางจำนวนทรัพยากรสารสนเทศในหอ งสมุด ปก ารศกึ ษา 2561 - 2562 ประเภท จำนวนส่งิ พมิ พ หมายเหตุ 1. หนังสือประกอบการศกึ ษาคน ควา ทวั่ ไป ป 2561 ป 2562 ไดแก 1.1 หนงั สืออานประกอบทวั่ ไป 134 185 1.2 หนงั สอื อา งองิ 70 46 1.3 หนังสอื คมู อื , แบบเรียน 180 143 1.4 หนงั สอื นวนิยาย 40 28 1.5 หนังสอื เยาวชน 40 26 1.6 หนังสอื กลุมสาระการเรียนรู 8 กลมุ สาระฯ 20 10 2. หนงั สือบรจิ าค * อยูทก่ี ลุมสาระฯ 232 155 รวม 537 593 3. ซีดี – รอม -- รวม 537 593 ตารางจำนวนทรพั ยากรสารสนเทศในหองสมดุ 1. หนังสือในหอ งสมุดมจี ำนวนทัง้ สิ้น 82,420 เลม 2. สือ่ ซดี ี – รอม 486 แผน 3. วารสารบอกรับ 15 ชื่อเร่อื ง 4. วารสารไดเปลา 20 ชือ่ เรื่อง 5. หนงั สือพิมพบอกรับ 9 ฉบบั / วนั *สำรวจเมอ่ื วันท่ี 5 มีนาคม 2563 *ซื้อดว ย บกศ 213 เลม

28 แผนภมู ทิ ่ี 1.9 แสดงสถิติเปรียบเทียบจำนวนทรัพยากรสารสนเทศในหอ งสมุด ปการศึกษา 2561 - 2562 250 232 200 185 150 134 180 155 143 100 7406 50 4208 4206 2100 00 ป 2561 ป 2562 จากแผนภูมแิ สดงสถิติเปรียบเทยี บจำนวนทรัพยากรสารสนเทศในหองสมุดปการศึกษา 2561 – 2562 พบวา มีจำนวนหนังสอื หนงั สืออานประกอบทั่วไป เพิ่มขนึ้ จากป 2561 (จำนวน 185 เลม) มากทส่ี ดุ

29 ตารางสถติ ิแสดงจำนวนผเู ขาใชห อ งสมดุ ปการศกึ ษา 2561 – 2562 เดือน ปก ารศึกษา (จำนวนคน) หมายเหตุ 2561 2562 พฤษภาคม 16,583 16,593 เปด ภาคเรียน 1/2562 มิถุนายน 30,261 30,271 - กรกฎาคม 26,067 26,077 สิงหาคม 27,493 27,503 สอบกลางภาค 1/2562 กนั ยายน 8,284 8,294 - ตลุ าคม พฤศจิกายน -- สอบปลายภาค 1/2562 ธันวาคม 29,801 25,620 ปดภาคเรียน มกราคม 32,263 24,149 25,576 28,600 - กมุ ภาพันธ - สอบกลางภาค 2/2562 มนี าคม 12,384 19,388 - งานมอบหนงั สือเปนส่อื แทนใจ เมษายน - - - - ป 2562 รวม สอบปลายภาค 2/2562 208,712 206,495 ปดภาคเรียน หมายเหตุ เฉลี่ยครเู ขา ใชหองสมุดวนั ละ 25 คน / วัน เฉล่ียนักเรียนเขาใชหองสมุดวันละ 935 คน / วัน เฉลย่ี ผเู ขา ใชหอ งสมุด รอ ยละ 23.37 หมายเหตุ ชวงเวลาทเี่ ขาใชหอ งสมุดมากทีส่ ดุ ตง้ั แตเ วลา 14.20 เปนตนไป เนื่องจากนักเรียนเลิกเรียนแลว ขอมลู ณ วันที่ 5 มนี าคม 2563

30 แผนภมู ทิ ี่ 1.10 แสดงสถติ จิ ำนวนผเู ขาใชหอ งสมดุ 2562 จํานวน (คน) 40,000 30,271 26,077 27,503 25,620 24,149 28,600 30,000 16,593 19,388 20,000 10,000 8,294 0 มถิ ุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน พเดฤือษนภาคม ธันวาคม มกราคม กมุ ภาพนั ธ พฤศจิกายน จากแผนภูมิที่ 1.10 แสดงสถิติจำนวนผูเขาใชหองสมุด 2562 พบวา เดือนที่มีผูเขาใชมากที่สุด คือ เดือนมถิ ุนายน 2562 (30,271 คน) รองลงมากคือ เดือน มกราคม 2563 (28,600 คน) ตามลำดับ และเดือนที่ มีผเู ขา ใชน อ ยทส่ี ุด คือ เดอื นกนั ยายน 2562 (8,294 คน) ตารางสถิตแิ สดงจำนวนนกั เรยี น ท่ีเขา ใชห องสมดุ ปการศกึ ษา 2562 เดือน จำนวนนกั เรียนท่เี ขาใช ( คน ) พฤษภาคม 16,495 มิถนุ ายน 30,302 กรกฎาคม 26,153 สงิ หาคม 27,492 กนั ยายน 8,294 พฤศจิกายน 25,200 ธนั วาคม 23,750 มกราคม 28,050 กมุ ภาพนั ธ 18,970 ขอ มลู ณ วันท่ี 5 มนี าคม 2563

31 แผนภูมิที่ 1.11 แสดงจำนวนนกั เรียนทเี่ ขา ใชห องสมุด 2562 40,000 30,302 27,492 25,20023,750 28,050 30,000 26,153 18,970 20,000 10,000 16,495 0 8,294 จํานวนนกั เรียนท่ีเขา ใช ( คน ) พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กนั ยายน พฤศจกิ ายน ธนั วาคม มกราคม กมุ ภาพนั ธ จากแผนภูมิที่ 1.11 แสดงจำนวนนักเรียนที่เขาใชหองสมุด 2562 พบวา เดือนที่มีนักเรียนเขาใชมาก ที่สุด คือ เดือนมิถุนายน 2562 (30,302 คน) รองลงมากคือ เดือน มกราคม 2563 (28,050 คน) ตามลำดับ และเดือนที่มนี กั เรียนเขา ใชนอ ยท่ีสดุ คอื เดอื นกันยายน 2562 (8,294 คน) ตารางแสดงสถิตกิ ารยืมหนังสือ สงิ่ พมิ พ ปการศกึ ษา 2562 หมวด เดือน 000 100 200 300 400 500 600 700 800 900 นว ย รส ค รวม พฤษภาคม 0 11 0 24 19 28 13 0 23 10 28 63 11 103 333 มิถนุ ายน 2 35 1 43 54 42 12 2 19 9 109 52 15 145 540 กรกฎาคม 3 12 1 27 26 36 7 1 17 6 122 64 12 136 470 สงิ หาคม 1 8 1 20 20 22 5 1 18 8 69 36 26 249 484 กนั ยายน - - - - - - - - - - - - - - - ตุลาคม - - - - - - - - - - - - - - - พฤศจกิ ายน 10 5 6 51 62 57 43 44 21 14 147 98 37 261 856 ธนั วาคม 12 6 5 49 58 56 41 46 26 13 128 89 40 251 820 มกราคม 8 9 11 55 61 50 38 47 30 18 125 79 42 271 844 กุมภาพันธ 0 2 0 25 29 27 18 28 17 16 96 65 21 182 526 มีนาคม - - - - - - - - - - - - - - - เมษายน - - - - - - - - - - - - - - - รวมท้ังหมด 36 88 25 294 329 318 177 169 171 94 824 546 204 1,598 4,573 ขอ มลู ณ วนั ท่ี 5 มีนาคม 2563

32 แผนภมู ิที่ 1.12 แสดงจำนวนนกั เรียน ท่ียืมหนังสอื หองสมดุ 2562 พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สิงหาคม พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กมุ ภาพันธ 1000 856 820 844 500 333 540 470 484 526 0 จํานวนหนงั สือทย่ี ืม ( เลม ) จากแผนภูมิที่ 1.12 สถิติแสดงจำนวนนักเรียน ที่ยืมหนังสือหองสมุด 2562 พบวา เดือนที่มีนักเรียน ยืมหนังสือมากที่สุด คือ เดือนพฤศจิกายน 2562 (856 คน) รองลงมากคือ เดือน มกราคม 2563 (844 คน) ตามลำดบั และเดอื นท่มี นี กั เรียนยมื หนงั สือนอ ยท่ีสดุ คือ เดอื นพฤษภาคม 2562 (333 คน) ตารางแสดงสถิติแสดงจำนวนครเู ขามาใชบ รกิ ารหองสมุด ปการศึกษา 2562 เดือน จำนวนครเู ขาใช ( คน ) พฤษภาคม 122 มถิ นุ ายน 174 กรกฎาคม 115 สิงหาคม 194 กนั ยายน 130 พฤศจิกายน 420 ธันวาคม 399 มกราคม 550 กุมภาพนั ธ 418 ขอมลู ณ วันที่ 5 มนี าคม 2563

33 แผนภมู ทิ ่ี 1.13 สถิตแิ สดงจำนวนครเู ขา มาใชบริการหองสมุด 2562 600 550 420 399 418 400 200 122 174 115 194 130 0 จาํ นวนครูเขาใช ( คน ) พฤษภาคม มถิ นุ ายน กรกฎาคม สิงหาคม กันยายน พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กมุ ภาพนั ธ จากแผนภูมิที่ 1.13 แสดงจำนวนครูเขามาใชบริการหองสมุด 2562 พบวา เดือนที่มีครูเขามาใช บริการมากที่สุด คือ เดือนมกราคม 2563 (550 คน) รองลงมากคือ เดือน พฤศจิกายน 2562 (420 คน) ตามลำดับ และเดือนทม่ี ีครูเขามาใชบริการนอ ยทส่ี ุด คอื เดือนกรกฎาคม 2562 (115 คน) กราฟสถิตแิ สดงจำนวนครนู ำนักเรียนเขามาใชหองมัลติมเี ดีย 2562 เดือน จำนวนนกั เรยี นทีเ่ ขา ใช ( คน ) พฤษภาคม 734 มิถุนายน 2,525 กรกฎาคม 1,346 สงิ หาคม 837 กนั ยายน 251 พฤศจิกายน 2,257 ธนั วาคม 1,632 มกราคม 3,105 กมุ ภาพันธ 1,152 ขอ มลู ณ วนั ที่ 5 มนี าคม 2563

34 แผนภูมทิ ่ี 1.14 แสดงจำนวนครนู ำนกั เรียนเขา มาใชหอ งมัลติมีเดีย 2562 3500 3,105 3000 2,525 2,257 2500 2000 1,632 1,152 1,346 1500 837 1000 734 251 500 0 จาํ นวนนกั เรียนทเ่ี ขาใช ( คน ) พฤษภาคม มิถุนายน กรกฎาคม สงิ หาคม กันยายน พฤศจกิ ายน ธนั วาคม มกราคม กุมภาพนั ธ จากแผนภูมิที่ 1.14 แสดงจำนวนครูนำนักเรียนเขามาใชหองมัลติมีเดีย 2562 พบวา เดือนที่มีครู นักเรียนเขา มาใชหองมัลตมิ ีเดยี มากทีส่ ุด คือ เดือนมกราคม 2563 (3,105 คน) รองลงมากคือ เดอื น มิถุนายน 2562 (2,525 คน) ตามลำดับ และเดือนทีม่ ีครนู ำนักเรยี นเขามาใชหองมัลติมีเดียนอ ยที่สุด คือ เดือนกันยายน 2562 (251 คน)

35 ส่วนท่ี 2 ขอ้ มูลผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน

36 2. ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน ตารางแสดงผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกระดับชัน้ (ม.1-ม.6) ปีการศึกษา 2562 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ จำนวน 4 3.5 3 ระดบั ผลกำรเรียน 1 0 อ่ืนๆ นักเรียนท่ีเขำ้ สอบ 2.5 2 1.5 ภาษาไทย 13922 5072 2531 2237 1517 1060 647 691 18 149 คณิตศาสตร์ 14429 4580 1652 1746 1914 1872 1531 923 36 175 วทิ ยาศาสตร์ 25525 12581 4119 3324 2334 1521 721 462 28 435 สงั คมศึกษาฯ 23309 8047 3988 3740 2774 2047 1425 1031 20 237 ภาษาต่างประเทศ 21083 12247 2222 1926 1735 1358 710 601 10 274 ศิลปะ 9580 7378 751 435 276 230 122 266 12 110 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 16351 14305 942 516 171 117 45 62 10 183 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 8484 6849 662 416 188 131 62 117 6 53 รวม 132683 71059 16867 14340 10909 8336 5263 4153 140 1616 แหลง่ ขอ้ มลู : งานวัดผล ข้อมลู ณ วันท่ี 30 มีนาคม 2563 แผนภมู ทิ ี่ 2.1 ตารางแสดงผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 4 ทกุ ระดับชน้ั (ม.1-ม.6) ปกี ารศึกษา 2562 3.5 3 16000 2.5 14000 2 12000 1.5 10000 1 8000 0 6000 อน่ื ๆ 4000 2000 0

37 จากแผนภูมิที่ 2.1 แสดงผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ทุกระดับชั้น (ม.1 - ม.6) ปกี ารศึกษา 2562 พบว่า 1. กลุม่ สาระการเรียนรทู้ ่ีมีนักเรียนเขา้ สอบ เรยี งลำดับจากมากไปหานอ้ ย คือ - กล่มุ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มีจำนวนผเู้ ขา้ สอบมากที่สดุ จำนวน 25525 คน - กลมุ่ สาระการเรียนรู้สังคมศกึ ษาฯ มีจำนวนผู้เขา้ สอบ เป็นอันดับ 2 จำนวน 23309 คน - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ มีจำนวนผเู้ ขา้ สอบ เป็นอนั ดบั 3 จำนวน 21083 คน - กลุ่มสาระการเรยี นรู้สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา มีจำนวนผู้เขา้ สอบ เปน็ อันดับ 4 จำนวน 16351 คน - กลมุ่ สาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ มีจำนวนผู้เข้าสอบ เปน็ อันดบั 5 จำนวน 14429 คน - กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย มจี ำนวนผเู้ ขา้ สอบ เปน็ อนั ดับ 6 จำนวน 13922 คน - กลุ่มสาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ มีจำนวนผเู้ ข้าสอบ เป็นอันดบั 7 จำนวน 9580 คน - กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพฯ มจี ำนวนผู้เข้าสอบ เป็นอันดับ 8 จำนวน 8487 คน 2. ผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้โดยภาพรวม พบว่ามีระดับผลการเรียนมากที่สุด คือ ระดับ 4 (71059 คน) รองลงมา คือ ระดับ 3.5 (16867 คน) ระดับ 3 (14340 คน) ระดับ 2.5 (10909 คน) ระดบั 2 (8336 คน) ระดับ 1.5 (5263 คน) ระดบั 1 (4153 คน) อ่นื ๆ (1616 คน) และ ระดบั 0 (140 คน) 3. ผลสมั ฤทธิก์ ารเรยี นรขู้ องกลมุ่ สาระฯ พบว่า - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีระดับผลการเรียน 4 มากที่สุด (5072 คน) รองลงมาคือ ระดับผล การเรียน 3.5 (2531 คน) ตามลำดับ และน้อยทสี่ ดุ คอื ระดับผลการเรียน 0 (18 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์มรี ะดบั ผลการเรียน 4 มากท่สี ดุ (4580 คน) รองลงมาคือ ระดับผล การเรยี น 2.5 (1914 คน) ตามลำดับ และนอ้ ยทสี่ ดุ คอื ระดับผลการเรียน 0 (36 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ มรี ะดบั ผลการเรยี น 4 มากทสี่ ดุ (12581 คน) รองลงมาคือ ระดับ ผลการเรยี น 3.5 (4119 คน) ตามลำดับ และน้อยทส่ี ดุ คือระดบั ผลการเรียน 0 (28 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาฯมีระดับผลการเรียน 4 มากที่สุด (8047 คน) รองลงมาคือ ระดับ ผลการเรียน 3.5 (3988 คน) ตามลำดับ และนอ้ ยท่ีสดุ คอื ระดบั ผลการเรียน 0 (20 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีระดับผลการเรียน 4 มากที่สุด (12247 คน) รองลงมาคือ ระดบั ผลการเรียน 3.5 (2222 คน) ตามลำดับ และน้อยทสี่ ุด คอื ระดับผลการเรยี น 0 (10 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ มีระดับผลการเรียน 4 มากที่สุด (7378 คน) รองลงมาคือ ระดับผลการ เรยี น 3.5 (751 คน) ตามลำดับ และนอ้ ยทสี่ ุด คอื ระดับผลการเรียน 0 (12 คน) - กลมุ่ สาระการเรียนรู้สขุ ศึกษาและพลศึกษา มรี ะดับผลการเรียน 4 มากทีส่ ดุ (14305 คน) รองลงมา คอื ระดบั ผลการเรยี น 3.5 (942 คน) ตามลำดับ และน้อยท่ีสุด คือระดบั ผลการเรียน 0 (10 คน) - กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี มีระดับผลการเรียน 4 มากที่สุด (6849 คน) รองลงมาคอื ระดบั ผลการเรยี น 3.5 (662 คน) ตามลำดับ และนอ้ ยท่ีสดุ คอื ระดับผลการเรียน 6 (18 คน)

38 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศกึ ษา 2562 วิชา ระดบั โรงเรยี น ระดับจงั หวัด ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 75.67 60.03 60.95 55.14 คณิตศาสตร์ 66.34 33.25 33.18 26.73 วิทยาศาสตร์ 48.18 32.25 32.37 30.07 ภาษาอังกฤษ 66.57 41.90 41.26 33.25 ขอ้ มลู ณ วนั ที่ 2 เมษายน 2563 สถาบันทดสอบทางการศกึ ษาแห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน) แผนภมู ิที่ 2.2 แสดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขัน้ พ้นื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศกึ ษา 2562 80 75.67 60.03 60.95 66.34 66.57 55.14 60 48.18 40 41.9 41.26 33.25 33.18 32.25 32.37 30.07 33.25 26.73 20 0 คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ภาษาไทย ระดบั โรงเรียน ระดบั จงั หวดั ระดบั เขตพื้นท่ี ระดบั ประเทศ จากแผนภูมิแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562 จำแนกตามรายวิชา พบว่า ผลคะแนน O-NET ระดับโรงเรียนทุกวิชา มีค่าสูงกว่าคะแนน รวมในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ โดยวิชาที่มีผลคะแนนระดับโรงเรียนสูงกว่า ระดับประเทศมากที่สุดคือ วิชาคณิตศาสตร์ โดยมีค่าสูงกว่าอยู่ที่ 39.61 และวิชาที่ได้ผลลคะแนนมากเป็น อนั ดบั หนึง่ คือวชิ าภาษาไทย (รอ้ ยละ75.67) และรองลงมาคอื วิชาภาษาอังกฤษ (รอ้ ยละ 66.57)

39 ตารางแสดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2562 วิชา ระดบั โรงเรยี น ระดับจังหวดั ระดบั เขตพื้นท่ี ระดบั ประเทศ ภาษาไทย 59.26 48.68 47.56 42.21 คณติ ศาสตร์ 57.34 34.63 32.12 25.41 วิทยาศาสตร์ 42.35 33.35 32.08 29.20 ภาษาองั กฤษ 55.69 40.05 36.57 29.20 สังคมศึกษาฯ 44.82 39.17 38.55 35.70 ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 2 เมษายน 2563 สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน) แผนภูมิท่ี 2.3 แผนภูมแิ สดงผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 ปีการศึกษา 2562 60 40 20 0 ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ สงั คมศกึ ษาฯ ระดับโรงเรยี น ระดบั จงั หวัด ระดบั เขตพ้นื ท่ี ระดบั ประเทศ จากแผนภมู แิ สดงผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2562 จำแนกตามรายวิชา พบว่า ผลคะแนน O-NET ระดับโรงเรียนทุกวิชา มีค่าสูงกว่าคะแนน รวมในระดับจังหวัด ระดับเขตพื้นที่ และระดับประเทศ โดยวิชาที่มีผลคะแนนระดับโรงเรียนสูงกว่า ระดับประเทศมากที่สุดคือ วิชาคณิตศาสตร์ โดยมีค่าสูงกว่าอยู่ที่ 31.93 และวิชาที่ได้ผลลคะแนนมากเป็น อนั ดบั หนงึ่ คือวชิ าภาษาไทย (รอ้ ยละ59.26) และรองลงมาคอื วิชาคณิตศาสตร์ (รอ้ ยละ 57.34)

40 ตารางแสดงการเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาติขน้ั พ้ืนฐาน (O-NET) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ระดับโรงเรียน ปกี ารศกึ ษา 2561 กับ ปกี ารศกึ ษา 2562 จำแนกตามวิชา วชิ า ปีการศกึ ษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562 ผลการพัฒนา คะแนน อันดับ ภาษาไทย คะแนน อนั ดบั 75.67 1 -2.09 คณติ ศาสตร์ 66.34 3 -3.16 วิทยาศาสตร์ 77.76 1 48.18 4 -8.61 ภาษาอังกฤษ 66.57 2 +8.20 69.50 2 56.79 4 58.37 3 จากตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดบั ชาตขิ น้ั พน้ื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 ระดับโรงเรียน ปีการศึกษา 2561 กับ ปีการศึกษา 2562 จำแนกตามวิชา พบว่า ผลคะแนน O-NET ม.3 ระดับโรงเรียน วิชาที่มีผลคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้นคือ วิชาภาษาอังกฤษ (ร้อยละ 8.20) และวิชาที่มีผลคะแนน ลดลงมากทสี่ ดุ คือ วชิ าวทิ ยาศาสตร์ (รอ้ ยละ 8.61) แผนภมู ิที่ 2.4 แสดงเปรียบเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พื้นฐาน (O-NET) ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 3 ระดับโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2561 กับ ปกี ารศกึ ษา 2562 จำแนกตามวิชา 80 60 40 20 0 ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาองั กฤษ ปกี ารศกึ ษา 2561 ปีการศึกษา 2562

41 ตารางเปรยี บเทยี บผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติข้นั พ้นื ฐาน (O-NET) ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6 ระดบั โรงเรียน ปกี ารศึกษา 2561 กับ ปีการศึกษา 2562 จำแนกตามวิชา วชิ า ปีการศึกษา 2561 ปีการศึกษา 2562 ผลการพัฒนา คะแนน อนั ดบั ภาษาไทย คะแนน อนั ดบั 59.26 1 -4.73 สงั คมศึกษาฯ 44.82 4 +1.57 คณิตศาสตร์ 63.99 1 57.34 3 -2.59 วทิ ยาศาสตร์ 42.35 5 +0.60 ภาษาอังกฤษ 43.25 4 55.69 2 +0.22 59.93 2 41.75 5 55.47 3 จากตารางเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 6 ระดับโรงเรียน ปีการศึกษา 2561 กับ ปีการศึกษา 2562 จำแนกตามวิชา พบว่า ผลคะแนน O-NET ม.6 ระดับโรงเรียน วิชาที่มีผลคะแนนพัฒนาเพิ่มขึ้นคือ วิชาสังคมศึกษา (ร้อยละ 1.57) รองลงมาคือ วิชา วทิ ยาศาสตร์ (รอ้ ยละ 0.60) และวิชาท่มี ีผลคะแนนลดลงมากท่ีสดุ คือ วิชาภาษาไทย (รอ้ ยละ 4.73) แผนภมู ทิ ี่ 2.5 แสดงเปรยี บเทียบผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ ้นั พื้นฐาน (O-NET) ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 6 ระดับโรงเรยี น ปกี ารศึกษา 2561 กับ ปีการศกึ ษา 2562 จำแนกตามวิชา 80 60 40 20 0 ภาษาไทย สงั คมศกึ ษาฯ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ปีการศึกษา 2561 ปีการศกึ ษา 2562

42 ตารางแสดงผลการประเมนิ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน นกั เรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1-6 ปีการศกึ ษา 2562 ระดับชัน้ จำนวนนักเรียน รอ้ ยละของนักเรียนตามระดับคณุ ภาพ ท้ังหมด (การอ่านคิด วเิ คราะห์ และเขยี น) ดเี ยยี่ ม ดี ผา่ น ไม่ผา่ น มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 683 100 0 0 0 มธั ยมศึกษาปที ี่ 2 671 100 0 0 0 มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 733 100 0 0 0 มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 713 100 0 0 0 มัธยมศึกษาปที ่ี 5 597 100 0 0 0 มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 696 100 0 0 0 จากตารางผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1-6 พบวา่ นักเรยี นทั้งหมดของโรงเรียนบดนิ ทรเดชา(สิงห์ สงิ หเสน)ี มผี ลการประเมนิ อย่ใู นระดับดเี ยี่ยมทุกระดบั ช้ัน

43 สวนที่ 3 ผลงานครู นักเรียน และการศกึ ษาตอ

44 ตารางแสดงผลงานผบู รหิ าร และครู ปการศึกษา 2562 โรงเรยี นบดินทรเดชา (สิงห สิงหเสน)ี ลำดบั ชื่อ - สกลุ รางวัลทีไ่ ดร บั รายละเอียดผลงาน หนว ยงาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1 นายวสิ ทิ ธิ์ ในเถิง รางวลั ปย ชนน รางวลั ปย ชนน กระทรวงศกึ ษาธิการ คนการศึกษา คนการศึกษา TEDET ประจำปก ารศกึ ษา 2562 2 นางสาวพรพชร รางวลั ปยชนน รางวลั ปย ชนน สุนทรนนท คนการศึกษา คนการศึกษา ประจำปการศึกษา 2562 3 นายสพุ ัฒน อตั จริต สถานศกึ ษาท่สี ง เสริม โลเ กยี รตคิ ณุ และ การยกระดบั เหรียญเชิดชูเกยี รติผู ผลสมั ฤทธิ์ของนักเรยี น มคี ุณูปการตอ การศกึ ษาไทย ภายใตโครงการ TEDET ปการศึกษา 2562 4 นางสาวนฌกร รางวลั ปย ชนน รางวลั ปย ชนน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผทู รงธรรม คนการศึกษา คนการศึกษา กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจำปการศึกษา 5 นางสาวเพญ็ นภา ศรโี ฉม รางวัลปย ชนน 2562 คนการศึกษา รางวลั ปย ชนน คนการศึกษา ประจำปการศึกษา 2562 6 นางเสาวลกั ษณ รางวลั ปยชนน รางวลั ปยชนน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร นงวานชิ จติ คนการศึกษา คนการศึกษา ประจำปการศึกษา 2562

45 ลำดบั ช่อื - สกลุ รางวัลท่ไี ดร ับ รายละเอียดผลงาน หนว ยงาน รางวลั ปย ชนน กระทรวงศกึ ษาธิการ 7 นางสาวหฤทย อนั ไธสง รางวัลปย ชนน คนการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ประจำปก ารศึกษา กระทรวงศกึ ษาธกิ าร คนการศึกษา 2562 สพฐ. 8 นางสาวอไุ รวรรณ รางวลั ปย ชนน รางวลั ปย ชนน สพฐ. สวสั ด์ิ คนการศึกษา คนการศึกษา ประจำปการศึกษา 9 นายพิทยา ทองเงิน รางวลั ปยชนน 2562 คนการศึกษา รางวลั ปย ชนน 10 นายพิทยา ทองเงิน รางวัลชนะเลิศ คนการศึกษา เหรียญทอง ประจำปก ารศึกษา 2562 11 นายพิทยา ทองเงนิ ชนะเลศิ ครผู ูฝก ซอมนักเรยี น การแขง ขนั อจั ฉรยิ ภาพทาง วิทยาศาสตร ระดบั ม.1 – 3 ในการ แขง ขนั ศลิ ปหัตถกรรม นกั เรียนคร้งั ท่ี 69 ระดับชาติ ครดู ใี นดวงใจ ระดับ ม.ตน ระดบั สหวิทยา เขตวังทองหลาง 12 นายสาธติ สมใจ รางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงาน The 40th ครูทจ่ี ัดการเรียนการ Thailand สอนภาษาอังกฤษ TESOL-PAC (Pan- ตามโครงการศาสตร Aisan พระราชาสกู าร consortium) Internal


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook