Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความสำคัญของกฎหมาย 1.กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม มีส่วนช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม เช่น กฎหมายอาญา ซึ่งหากประชาชนเคารพและนำมาเป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ละเมิดสิทธิส่วน

ความสำคัญของกฎหมาย 1.กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม มีส่วนช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม เช่น กฎหมายอาญา ซึ่งหากประชาชนเคารพและนำมาเป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ละเมิดสิทธิส่วน

Published by Benyapa Trongkaew, 2021-10-31 05:36:02

Description: ความสำคัญของกฎหมาย 1.กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม มีส่วนช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในสังคม เช่น กฎหมายอาญา ซึ่งหากประชาชนเคารพและนำมาเป็นหลักสำคัญในการดำเนินชีวิต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ละเมิดสิทธิส่วน

Search

Read the Text Version

กฎหมายกับ การดำเนิ นชีวิตประจำวัน

ความสำคัญของกฎหมาย 1.กฎหมายช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยของสั งคม มีส่ วนช่วยรักษาความสงบเรียบร้อยในสั งคม เช่น กฎหมายอาญา ซึ่งหากประชาชนเคารพและนำมาเป็ น หลักสำคัญในการดำเนิ นชีวิต ไม่เบียดเบียนผู้อื่น ไม่ ละเมิดสิ ทธิส่ วนบุคคล ทุกคนก็สามารถอยู่ร่วมกันได้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข 2.กฎหมายเป็ นกฎเกณฑ์กติกาของการอยู่ร่วมกันใน สั งคม มีสภาพบังคับที่เป็ นบรรทัดฐานเดียวกันกับผู้ ฝ่าฝืนหรือกระทำความผิด มีขั้นตอนในการตัดสิ นเพื่ อให้ ปั ญหาที่เกิดขึ้ นยุติลงด้วยความเป็ นธรรม

3.กฎหมายมีส่ วนผลักดันให้ประชาชนรู้จัก สิ ทธิและหน้ าที่ หากประชาชนรู้จักหน้ าที่ที่ ต น เ อ ง จ ะ ต้ อ ง ป ฎิ บั ติ แ ล ะ ไ ด้ ป ฎิ บั ติ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง ครบถ้วน ย่อมได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองดีของ ประเทศ 4 . ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ ป ฏิ บั ติ ต า ม ข้ อ บั ญ ญั ติ ข อ ง กฎหมายถือเป็นสิ่ งสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่ง เพราะการอยู่ในชาติใด เกิดในประเทศใดหรือ แ ม้ แ ต่ ค น ต่ า ง ช า ติ ที่ เ ดิ น ท า ง เ ข้ า ไ ป ใ น ป ร ะ เ ท ศ อื่ น ก็ต้องรู้และเคารพกฎหมายของประเทศนั้ น

ลักษณะสำคัญของกฎหมาย ก ฎ ห ม า ย ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย ลั ก ษ ณ ะ สำ คั ญ 4 ป ร ะ ก า ร 1 . เ ป็ น ข้ อ บั ง คั บ ข อ ง รัฐ ม า จ า ก รัฐ า ธิปั ต ย์ คื อ ผู้ มี อำ น า จ สู ง สุ ด ข อ ง รัฐ ซึ่ง จ ะ เ ป็ น ใ ค ร ย่ อ ม ขึ้ น อ ยู่ กั บ ร ะ บ บ ก า ร เ มื อ ง ก า ร ป ก ค ร อ ง ร ะ บ บ เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ข อ ง สั ง ค ม นั้ น ๆ ป ก ติ ใ น ร ะ บ อ บ ป ร ะ ช า ธิป ไ ต ย คื อ ป ร ะ ช า ช น ใ น ร ะ บ อ บ เ ผ ด็ จ ก า ร คื อ หั ว ห น้ า ค ณ ะ ป ฏิ วั ติ ห รือ หั ว ห น้ า ค ณ ะ รัฐ ป ร ะ ห า ร ใ น ร ะ บ อ บ ส ม บู ร ณ า ญ า สิ ท ธิร า ช ก็ คื อ พ ร ะ ม ห า ก ษั ต ริย์ 2 . เ ป็ น คำ สั่ ง ห รือ ข้ อ บั ง คั บ ที่ ใ ช้เ ป็ น ก า ร ทั่ ว ไ ป ภ า ย ใ น เ ข ต ข อ ง รัฐ นั้ น ๆ อ ย่ า ง เ ส ม อ ภ า ค แ ล ะ เ ท่ า เ ที ย ม กั น

3.เป็ นคำสั่ งหรือข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอ จนกว่าจะมีการยกเลิก เช่น คำสั่ งคณะปฏิวัติ แ ม้ เ ว ล า จ ะ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ไ ป ก็ ยั ง ค ง ใ ช้อ ยู่ ต่ อ ไ ป 4.เป็ นข้อบังคับหรือคำสั่ งที่ประชาชนต้อง ปฏิบัติตาม ผู้ฝ่าฝืนจะถูกลงโทษ กฎหมายจึง มี ส ภ า พ บั ง คั บ คื อ ก า ร ล ง โ ท ษ ผู้ ก ร ะ ทำ ผิ ด สภาพบังคับนี้ เองที่ทำให้ กฎหมายศั กดิ์ สิ ทธิ์

ประเภทของกฎหมาย แบ่งที่มาของกฎหมาย มี 2 ประเภท 1.กฎหมายลายลักษณ์อักษร หมายถึง กฎหมายที่ร่างขึ้นเป็นตัวบท กฎหมายหรือตัวหนั งสือและดำเนิ นการผ่านขั้นตอนอย่างมีระเบียบ แบบแผน มีที่มาจากการบัญญัติของบุคคลหรือองค์กรที่มีอำนาจสูงสุด ในรัฐหรือประเทศ ประเทศที่ใช้กฎหมายแบบนี้ เช่น ฝรั่งเศส เยอรมัน อิตาลี ญี่ปุ่น ไทย เป็นต้น 2.กฎหมายไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง กฎหมายที่ไม่ได้ร่าง ขึ้นเป็นตัวบทกฎหมายหรือตัวหนั งสือและไม่ได้ดำเนิ นการผ่านขั้นตอน อย่างมีระเบียบแบบแผน การตัดสินหรือวินิ จฉัยยึดเอาจารีตประเพณี เป็นหลัก จึงมีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่ งว่า กฎหมายจารีตประเพณี ประเทศที่ใช้กฎหมายประเภทนี้ เช่น อังกฤษ ออสเตรเลีย นิ วซีแลนด์ เป็นต้น

แบ่งกฎหมายตามลักษณะความสั มพันธ์ 1.กฎหมายเอกชน หมายถึง กฎหมายที่บัญญัติถึงความสัมพันธ์ ระหว่างเอกชนกับเอกชนในฐานะที่เท่าเทียมกัน ประเภทของกฎหมาย เอกชน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1.1 ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ หมายถึง เป็นกฎหมาย ระหว่างเอกชนต่อเอกชนว่าด้วยสิทธิหน้ าที่และความรับผิดชอบของ บุคคลทั่วไป มีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องทางแพ่ง และทางพาณิชย์เข้าไว้ ด้วยกันเป็นหมวดหมู่ ประกอบด้วยสาระ 6 บรรพ คือ

บรรพ 1 เป็นบทบัญญัติทั่วไป เกี่ยวกับบุคคลและสิ่ งที่บุคคลต้องเกี่ยวข้องในชีวิต ประจำวัน นั บตั้งแต่ สภาพบุคคล ประเภทบุคคล ทรัพย์และนิ ติกรรม ความ ส า ม า ร ถ ข อ ง บุ ค ค ล บรรพ 2 ว่าด้วยเรื่องหนี้ บรรพ 3 ว่าด้วยเอกเทศสั ญญา 23 ประเภท เช่น สั ญญาซื้อขาย สั ญญาเช่าทรัพย์ สั ญญาค้ำประกัน สั ญญาหุ้นส่ วนบริษั ท เป็นต้น บรรพ 4 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับทรัพย์สิ นและสิ ทธิต่างๆ เกี่ยวกับทรัพย์สิ น เช่น สิ ทธิครอบครอง สิ ทธิอาศั ย เป็นต้น บรรพ 5 เป็นบทบัญญัติเกี่ยวกับครอบครัว เริ่มตั้งแต่การหมั่น ความสั มพันธ์ ระหว่างสามีภรรยา บิดามารดากับบุตร บุตรบุญธรรม ทรัพย์สิ นระหว่างสามี และ ภรรยา ค่าอุปการะเลี้ยงดู บรรพ 6 เป็นบทบัญญัติว่าด้วยเรื่องมรดก ตั้งแต่การตกทอดแห่งทรัพย์มรดกการ เป็นทายาท สิ ทธิโดยธรรมในการรับมรดกพินั ยกรรมวิธีการจัดการแบ่งและแบ่ง ปั น ท รั พ ย์ ม ร ด ก ก า ร จั ด ก า ร กั บ ม ร ด ก ที่ ไ ม่ มี ผู้ รั บ

1.2 กฎหมายอื่น ๆ กฎหมายที่กำหนดความสั มพันธ์ระหว่างเอกชนต่อ เอกชนในฐานะเท่าเทียมกัน อันมีลักษณะเป็นกฎหมายเอกชนยังมีอยู่อีกมาก ได้แก่ พระราชบัญญัติที่มีลักษณะพิเศษอื่น อย่างเช่น ประมวลกฎหมายที่ดิน ซึ่งจำกัดสิ ทธิในการมีที่ดินของบุคคลบางประเภท เช่น คนต่างด้าว เป็นต้น พระราชบัญญัติควบคุมค่าเช่านา พระราชบัญญัติแรงงานสั มพันธ์ซึ่งมี ลักษณะเป็นกึ่งกฎหมายมหาชนและกึ่งกฎหมายเอกชน เพราะมีบทบัญญัติให้ เจ้าพนั กงานเข้าไปเกี่ยวข้อง เช่น เป็นผู้ไกล่เกลี่ยข้อพิพาทแรงงานระหว่าง ลูกจ้างและนายจ้าง

2.กฎหมายมหาชน หมายถึง เป็นกฎหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลใน ทางการค้า อุตสาหกรรม การกสิ กรรม และการธนาคาร หรือกฎหมายระหว่าง รัฐกับเอกชน หรือระหว่างองค์กรของรัฐกับเอกชนในฐานะที่ฝ่ายหนึ่ งเป็นผู้ใช้ อำนาจ และอีกฝ่ายหนึ่ งเป็นผู้อยู่ใต้อำนาจปกครอง กฎหมายมหาชนแบ่งออก เ ป็ น 1.กฎหมายอาญา คือ กฎหมายที่บัญญัติถึงความผิด และลักษณะโทษที่ผู้กระทำผิด จ ะ ไ ด้ รั บ 2.กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา เป็นกฎหมายว่าด้วยการจับกุมคุมขัง การฟ้อง ร้อง และการพิจารณาพิพากษา 3.กฎหมายปกครอง เป็นกฎหมายที่ว่าด้วยการจัดระเบียบทางการปกครองของ ประเทศ หรือการบริหารราชการ แบ่งเป็น 3 ส่ วน คือ ส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค และส่ วนท้องถิ่น 4.กฎหมายรัฐธรรมนูญ เป็นกฎหมายสูงสุดว่าด้วยการจัดระเบียบการปกครอง 5 . พ ร ะ ธ ร ร ม นูญ ศ า ล ยุ ติ ธ ร ร ม

3. กฎหมายระหว่างประเทศ คือ กฎหมายที่ว่าด้วยความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ กับรัฐ หรือประชาชนในรัฐหนึ่งต่อประชาชนในอีกรัฐหนึ่ง แยกเป็น 3 แผนก คือ 3.1 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีเมือง คือ กฎเกณฑ์ข้อบังคับว่าด้วยความ สั มพันธ์และสิ ทธิหน้ าที่ระหว่างรัฐที่เป็นภาคีสมาชิกพึงต้องปฏิบัติต่อกัน 3.2 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีบุคคล คือ กฎหมายที่กำหนดความ สัมพันธ์ระหว่างรัฐต่อรัฐกัน เมื่อมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติต่อกันเมื่อเกี่ยวข้อง ในด้านต่าง ๆ 3.3 กฎหมายระหว่างประเทศแผนกคดีอาญา กฎหมายที่กำหนดความสัมพันธ์ ระหว่างรัฐต่อรัฐในความร่วมมือขจัดปัญหาอาชญากรรมข้ามชาติ

การแบ่งประเภทของกฎหมายตามเนื้ อหา 1.1 กฎหมายสารบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กล่าวถึงสิ ทธิและหน้ าที่ของ บุคคลโดยตรงทั้งทางแพ่งและทางอาญา ได้แก่ ประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิ ชย์ กฎหมายอื่นๆ ซึ่งกำหนดสิ ทธิและหน้ าที่ของบุคคล ในทางแพ่ง เช่น พ.ร.บ. แรงงาน พ.ร.บ. ควบคุมการเช่านา เป็นต้น ประมวลกฎหมายอาญา กฎหมายอื่นๆ ซึ่งกำหนดความผิดและโทษ ทางอาญาไว้ เช่น พ.ร.บ. จราจร, พ.ร.บ. การทะเบียนราษฎร์ , พ.ร.บ. อาวุธปืน เป็นต้น

1.2 กฎหมายวิธีสบัญญัติ เป็นกฎหมายที่กล่าวถึงการนำกฎหมาย สารบัญญัติ มาใช้บังคับแก่คู่กรณีทั้งทางแพ่งและทางอาญา เพื่อให้กฎหมายสารบัญญัติมีผลบังคับเด็ดขาดและจริงจัง ได้แก่ ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา พระธรรมนูญศาล ยุติธรรม กฎหมายราชทัณฑ์ เป็นต้น

ลำดับชั้นกฎหมายหรือศั กดิ์ของกฎหมายไทย 1. รัฐธรรมนูญ คือ กฎหมายสูงสุดที่ใช้ในการปกครองประเทศ กฎหมายใดจะมีบทบัญญัติขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญไม่ได้ 2. พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรง ตราขึ้นโดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา เป็นกฎหมายที่ สำคัญรองลงมาจากกฎหมายรัฐธรรมนูญ เนื่ องจากบังคับใช้ใน ปัจจุบัน 3.พระราชบัญญัติ คือ กฎหมายอีกรูปแบบหนึ่ งซึ่งมีความจำเป็น เร่งด่วนที่จะต้องมีกฎหมายเพื่อบังคับใช้ 4.พระราชกำหนด คือ กฎหมายอีกรูปแบบหนึ่ งซึ่งมีความจำเป็น เร่งด่วนที่จะต้องมีกฎหมายเพื่อใช้บังคับ พระมหากษัตริย์ทรง ตราขึ้นโดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี

5.พระราชกฤษฎีกา คือ กฎหมายที่พระมหากษัตริย์ทรง ตราขึ้น โดยคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี 6.กฎกระทรวง คือกฎหมายที่รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม กฎหมายแม่บทออกโดยผ่านความเห็นชอบจากคณะ รัฐมนตรี เพื่อดำเนิ นการตามที่กฎหมายแม่บทวางอำนาจ ไว้ 7.กฎหมายที่ตราโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เป็น หนึ่ งในรูปแบบของการจัดระเบียบราชการบริหารแผ่นดิน 3 ส่วน คือ ส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น