Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กรอบสมรรถนะ 2564 (ฉบับสมบูรณ์)

กรอบสมรรถนะ 2564 (ฉบับสมบูรณ์)

Published by พิทยา ก้องเสียง, 2022-11-15 09:51:18

Description: กรอบสมรรถนะ 2564 (ฉบับสมบูรณ์)

Search

Read the Text Version

0 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ฉบบั แก้ไขเพิม่ เตมิ มถิ ุนายน 2564 หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

1 คำนำ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรยี นรู้ กลุ่มมาตรฐานการศึกษา ได้ดำเนินการกำหนดกรอบ สมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งเป็นการดำเนินการต่อยอดจากการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนและ การศึกษาผลการทดลองใช้กรอบสมรรถนะในการพัฒนาผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น โดยการดำเนินการในคร้ังน้ีสำนักงานเลขาธิการสภา การศึกษาได้วิเคราะห์ทบทวนความสอดคล้องของกรอบสมรรถนะการศึกษาขั้นพ้ืนฐานท้ัง 10 สมรรถนะ กับ (1) กรอบสมรรถนะของร่างหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2) มาตรฐานการศึกษาชาติ (DOE) (3) กรอบมาตรฐานอาชีวศึกษา และ (4) กรอบสมรรถนะของหน่วยงานอ่ืน ๆ รวมถึงจัดทำรายละเอียดสมรรถนะย่อยของกรอบสมรรถนะการศึกษาข้ันพื้นฐานทั้ง 10 สมรรถนะให้ ครอบคลุมผ้เู รียนระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานในทกุ ช่วงวยั และทกุ ช่วงช้ัน รวมทั้งไดด้ ำเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลการวิพากษ์ (รา่ ง) กรอบสมรรถนะหลัก ของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้งาน และผู้มีส่วนเก่ียวข้อง ทั้งจากการสำรวจและการสนทนากลุ่ม เพ่ือนำความคิดเห็น และข้อมูลมาปรับปรุงและเรียบเรียงกรอบสมรรถนะดังกล่าวให้สมบูรณ์ย่ิงข้ึน จนนำมาสู่การดำเนินการโครงการวิจัยการทดลองใช้กรอบสมรรถนะ หลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4-6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในครั้งนี้ ท้ังน้ี เพ่ือให้ได้กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนท่ีสามารถ นำไปใช้ได้จริงในสถานศึกษาระดับประถมศึกษาและการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตลอดจนเพ่ือเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายสู่การพัฒนาหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานไดอ้ ย่างเปน็ รปู ธรรมตอ่ ไป ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

2 สารบัญ หน้า บทนำ ……………………………………………………………………………………………………………………... 4 กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดับการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน …………………………………………. 9 สมรรถนะในความฉลาดรูพ้ ื้นฐาน ..…………………………………………………………………….. 13 1) สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพอื่ การส่อื สาร …………………………………………….. 15 2) สมรถนะหลกั ด้านภาษาองั กฤษเพ่ือการส่ือสาร ………………………………….……… 21 3) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตรใ์ นชีวิตประจำวนั ………………………………………. 25 4) สมรรถนะหลกั ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวทิ ยาศาสตร์ ………….. 28 สมรรถนะหลักสำคญั 7 สมรรถนะ ……………………………………………….…………… 33 1) สมรรถนะหลักด้านทกั ษะชีวติ และความเจรญิ แหง่ ตน ………………..……………… 35 2) สมรรถนะหลกั ด้านทักษะอาชีพและการเป็นผ้ปู ระกอบการ …….…………………… 44 3) สมรรถนะหลกั ด้านการคิดขน้ั สงู และการพัฒนานวตั กรรม …………………………… 49 4) สมรรถนะหลักด้านการรเู้ ท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดจิ ิทัล …………………………… 56 5) สมรรถนะหลักด้านการสือ่ สาร …………………………………………………………………… 62 6) สมรรถนะหลกั ด้านการทำงานแบบรวมพลงั เปน็ ทีม และมีภาวะผู้นำ …………… 71 7) สมรรถนะหลกั ด้านการเปน็ พลเมอื งตนื่ ร้ทู ่ีมีสำนึกสากล …………….………………… 77 ภาคผนวก: การเปรยี บเทยี บกรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดับการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ……. 82 ฉบบั เผยแพร่ พ.ศ.2562 และฉบับแกไ้ ขเพ่ิมเตมิ สิงหาคม 2563 และมโนทัศนส์ ำคญั รายช่ือคณะทำงานร่างกรอบสมรรถนะหลักฯ ……………………………………………………….………. 91 หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

3 กรอบสมรรถนะหลกั ของผูเ้ รียนระดบั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน ฉบับแกไ้ ขเพิม่ เติม สงิ หาคม 2563 หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

4 บทนำ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา ได้ดำเนินการโครงการวิจัยและพัฒนากรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น สำหรับหลักสูตร การศึกษาข้ันพื้นฐาน โดยเผยแพร่กรอบสมรรถนะหลักระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 และสมรรถนะระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานแก่หน่วยงานการศึกษาและ ผู้สนใจ เพ่ือนำกรอบสมรรถนะหลักไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนกับผู้เรียนในโรงเรียนสังกัดหน่วยงานต่าง ๆ ท่ีจัดการศึกษาให้กับนักเรียนในระดับ ประถมศึกษาตอนต้น ต่อมาในช่วงปลายปี 2562 มีหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีบทบาทในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาได้นำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรยี น ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานทีพ่ ัฒนาและเผยแพรไ่ ปใช้ในการดำเนนิ การพัฒนาสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนทกุ ระดบั อย่างตอ่ เน่ืองเพอื่ การจัดการศึกษาตามภารกิจ ทไี่ ดร้ บั มอบหมายตามแนวทางการปฏริ ูปการศกึ ษาของประเทศ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา โดยสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ กลุ่มมาตรฐานการศึกษา เล็งเห็นความสำคัญของการจัด การศึกษาท่ีใช้สมรรถนะเป็นฐานท่ีมีความสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน คณะทำงานจึงได้ดำเนินการพัฒนา (ร่าง) กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียน ระดับประถมศึกษาปีท่ี 4–6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐานต่อเนื่องจากกรอบสมรรถนะผู้เรียนระดับประถมศึกษาตอนต้น และกรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะของระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยการพัฒนาปรับปรุงให้ครอบคลุมในทุกมิติของเป้าหมายการจัดการศึกษา โดยได้ดำเนินการวิเคราะห์แ ละ ทบทวนกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานกับข้อมูลกรอบสมรรถนะผู้เรียนและผลลัพธ์ทางการศึกษาเพ่ิมเติม ได้แก่ (1) มาตรฐาน การศึกษาของชาติ ในรูปของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education : DOE) (2) ร่างกรอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน 5 สมรรถนะของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (สพฐ.) ซึ่งเป็นเอกสารนำเสนอในท่ีประชุมคณะกรรมการยกร่างแนวทางการพัฒนาหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน วันที่ 3 มกราคม พ.ศ.2563 และ (3) ร่างสมรรถนะหลกั ผู้เรียน (Core Competency) ในโครงการวิจัยเพื่อค้นหาและพัฒนา ผลลัพธท์ ่ีคาดหวงั ต่อผเู้ รียนและกรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียน ซ่ึงสนับสนุนโดยสำนกั งานคณะกรรมการสง่ เสริมวิทยาศาสตร์ วจิ ัย และนวตั กรรม (สกสว.) ซ่ึง เป็นเอกสารนำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการยกร่างแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน วันท่ี 6 -7 ธันวาคม พ.ศ.2562 (4) สมรรถนะหลักของโรงเรียนรุ่งอรุณ : ซ่ึงเป็นเอกสารนำเสนอในท่ีประชุมคณะกรรมการยกร่างแนวทางการพัฒนาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน วันท่ี 6 -7 ธันวาคม พ.ศ.2562 (5) เกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับ ปวช. 2562 และสมรรถนะย่อยระดับอาชีวศึกษา และ (6) ร่างพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รบั อนญุ าต

5 จากการทบทวนและวิเคราะห์ข้อมูลตามกระบวนการวิจัยดังกล่าว พบว่า มีประเด็นท่ีสอดคล้องและแตกต่างท่ีเป็นประโยชน์ซ่ึงสามารถนำมาใช้ใน การพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 4–6 ได้เป็นอย่างดี และเนื่องจากการพัฒนารายละเอียดกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนมี ลักษณะต่อเน่ืองท่ีเชื่อมต่อสมรรถนะของผู้เรยี นทุกระดับช่วงชั้น คณะทำงานจึงได้จัดทำกรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 เพิ่มเติมให้ ครบทุกระดับช่วงชั้น เพ่ือให้กรอบสมรรถนะหลักของผูเ้ รียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4–6 สำหรับหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีจัดทำขน้ึ มีความสมบูรณ์ย่ิงข้ึน โดยวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมลู ผลการวจิ ัยที่ได้จากการศึกษาความคิดเห็นและข้อเสนอแนะของผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้หลักสูตรและผู้มสี ่วนเกี่ยวข้อง และนำมา ปรับปรุงพัฒนากรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 4–6 กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3 สำหรับหลักสูตร การศึกษาขนั้ พ้ืนฐานใหเ้ หมาะสมตามกระบวนการวิจัยพฒั นาเพือ่ ให้ไดก้ รอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนทมี่ คี วามเหมาะสมสอดคลอ้ งกบั พัฒนาการของผ้เู รียนแต่ ละช่วงวัย ครอบคลุมในมโนทัศน์ท่ีสำคัญของสมรรถนะ และมีความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในทางปฏิบัติสำหรับผู้เรียนทุกระดับตามหลักสูตรการ ศึกษาข้ัน พนื้ ฐาน กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานและระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6 ท่ีพัฒนาขึ้น สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษาได้ ดำเนนิ การวิจัยและพัฒนาจากกรอบสมรรถนะสำคัญ 10 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) ภาษาไทยเพือ่ การส่ือสาร (2) คณิตศาสตร์ในชีวติ ประจำวัน (3) กระบวนการสืบ สอบทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ (4) ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสาร (5) ทกั ษะชีวิตและความเจรญิ แห่งตน (6) ทักษะอาชีพและการเป็นผปู้ ระกอบการ (7) ทักษะการคิดขั้นสูงและนวัตกรรม (8) การรู้เท่าทันส่ือสารสนเทศและดิจิทัล (9) การทำงานแบบรวมพลัง เป็นทีม และมีภาวะผู้นำ และ (10) การเป็น พลเมอื งตื่นรทู้ ี่มจี ติ สำนกึ สากล จากผลการวิจัยและพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 และระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีข้อค้นพบด้านนโยบายของ กระทรวงศึกษาธิการท่ีมีความก้าวหน้าในการจัดการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานในการปฏิรูปการศึกษาที่สำคัญ และแนวโน้มการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน โดยการจัดการศกึ ษาตามหลกั สูตรฐานสมรรถนะของหน่วยงานหลักท่ีเกยี่ วขอ้ ง อาทิ ผลลพั ธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศกึ ษา (Desired Outcomes of Education : DOE) ของมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 และร่างกรอบหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 5 สมรรถนะของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) ตลอดจนข้อเสนอจากผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้ใช้หลักสูตรและผู้เกี่ยวข้อง ท่ีเป็นข้อมูลสำคัญท่ีคณะทำงานนำมาสังเคราะห์และพัฒนา กรอบสมรรถนะ หลักของผูเ้ รยี นระดับการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

6 อยา่ งไรกต็ าม สำนักงานเลขาธิการสภาการศกึ ษาได้ให้ความสำคญั ในการวางกรอบหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานระดับชาติฐานสมรรถนะในภาพกวา้ ง และการกำหนดแนวทางการประเมินคุณภาพผู้เรียนที่สะท้อนความต้องการสร้างพลเมืองที่สอดคล้องกับนโยบายของภาครัฐและความเปล่ยี นแปลงของวิถีใหม่ ในโลกอนาคต ซึ่งเป็นส่วนสำคัญท่ีต้องให้ความสำคัญต่อความรับผิดชอบด้านคุณภาพการศึกษา ดังนั้น การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะจึงควรสะท้อน ความต้องการจากหลายภาคส่วนท้ังเก่ียวกับเน้ือหาสาระท่ีใช้ในการจัดการศึกษาและคุณภาพของผู้เรียนท่ีต้องการให้เกิดข้ึน กระบวนการพัฒ นากรอบ สมรรถนะหลักผู้เรียน หลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐานจึงควรตอบสนองต่อการผสานแนวคิดของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาครู และการพัฒนา สถานศกึ ษา ท่จี ะตอบสนองต่อสภาพปัญหา ความตอ้ งการ และเง่ือนไขต่าง ๆ ในการพฒั นาคุณภาพผเู้ รียนตามที่คาดหวงั ที่มกี ารเปลยี่ นผ่านไปสู่การใช้วธิ กี ารที่ มีสมรรถนะเป็นฐาน จึงจำเปน็ ต้องมีวิธีการดำเนนิ การท่ีมีความเป็นไปได้ ในการนำไปส่กู ารปรับใช้สมรรถนะเป็นฐาน เพื่อเสริมสร้างระบบการศึกษาและระบบ การเรียนรู้ในช่วงเวลาท่ีต้องใช้เพ่ือให้มีระยะเวลาท่ีเหมาะสมในการเปลี่ยนผ่าน (Managing the Transition) และช่วงเปล่ียนผ่านจากการเน้นเนื้อหาวิชา (Subject-Based) ไปสหู่ ลกั สตู รฐานสมรรถนะ (Competence-Based Curriculum) อยา่ งรอบคอบ จากข้อค้นพบจากผลการวิจัยดังกล่าว คณะทำงานได้พัฒนากรอบสมรรถนะหลัก 10 สมรรถนะระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานท่ีเป็นสมรรถนะสำคัญใน การพฒั นาเด็กและเยาวชนไทยในชว่ งเวลา 12 ปี ในการศึกษาส่กู ารพัฒนากรอบสมรรถนะหลักทีส่ ำคญั ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพเด็กไทย ที่มีคุณลักษณะของคนไทยที่ต้องการ คือ คนไทยที่ดี มีคุณธรรม และมีความสุข คนไทยท่ีมีความสามารถสูง และพลเมืองไทยที่ใส่ใจสังคมและมีจิตสำนึก สากล บนพื้นฐานการเป็นคนไทยที่ฉลาดรู้ มีค่านิยมร่วมและคุณธรรม โดยการจัดกลุ่มบูรณาการสมรรถนะหลักของผู้เรียน 10 สมรรถนะ ไว้ในสมรรถนะ หลักระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน (Core Competencies of Learners at Basic Education) ที่ประกอบด้วยสมรรถนะหลักสำคัญ 7 สมรรถนะ ประกอบไป ด้วย (1) สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็น ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ซ่ึงเป็นสมรรถนะที่ช่วยให้เด็กและเยาวชเป็นคนไทยท่ีดี มีคุณธรรม และมีความสุข ส่วน (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดข้ันสูงและการพัฒนานวัตกรรม (Higher- Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลักด้าน การรู้เท่าทันสื่อ สารสนเทศ และดิจทิ ัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลักด้านการสอื่ สาร (Communication) เป็นสมรรถนะ ที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยท่ีมีความสามารถสูง สำหรับ (6) สมรรถนะหลักด้านการทำงานแบบรวมพลังเป็นทีมและมีภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) และ (7) สมรรถนะหลักด้านการเป็นพลเมืองต่ืนรู้ที่มีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) เป็น หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รบั อนุญาต

7 สมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นพลมอื งไทยที่ไส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล ท้ังนี้สมรรถนะหลักระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 7 สมรรถนะ ดังกล่าวนี้ มีพ้ืนฐานจากความฉลาดร้พู น้ื ฐาน (Basic Literacy) คา่ นิยมรว่ มและคณุ ธรรม เพ่อื การเปน็ พลเมอื งไทยในฐานะพลเมืองโลกทมี่ คี ุณภาพในโลกอนาคต สำหรับสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) ถือเป็นสมรรถนะหลักที่สำคัญจำเป็นและเป็นสมรรถนะพ้ืนฐานที่ เป็นเคร่ืองมือสำคัญในการเรียนรู้ (Learning Tools) สมรรถนะเหล่านี้เป็นสมรรถนะสำคัญซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของความฉลาดรู้ในด้านน้ันๆ หรือเรียกได้ว่าเป็น ความฉลาดรู้ (Literacy) ทต่ี ้องพฒั นาแก่ผเู้ รียนให้ถงึ ระดับทเี่ รียกได้ว่าเปน็ \"สมรรถนะ\" โดยสมรรถนะในความฉลาดรพู้ ้ืนฐาน ประกอบดว้ ย 4 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร (2) สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษ/ ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร (3) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ ในชีวิตประจำวัน และ (4) สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในส่วนของค่านิย มร่วมและคุณธรรม ยึดตามท่ีระบุอยู่ใน มาตรฐาน การศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 ซ่งึ ถอื เป็นแกน่ และรากฐานสำคญั ในการแสดงออกซง่ึ สมรรถนะต่าง ๆ ทำความรู้จักกับ “สมรรถนะหลัก” ใหม้ ากย่งิ ข้ึน สมรรถนะหลกั สำคญั 7 สมรรถนะ และสมรรถนะในความฉลาดรู้ พื้นฐาน 4 สมรรถนะ ในกรอบสมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดบั สมรรถนะมี 2 ลกั ษณะ ไดแ้ ก่ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานนี้ มลี กั ษณะเปน็ สมรรถนะหลกั (Core/ Generic Competency) หรือสมรรถนะท่วั ไป 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency/ Generic Competency) หรือสมรรถนะทั่วไป สมรรถนะแกน สมรรถนะกลาง มลี กั ษณะ เป็นสมรรถนะข้ามวิชาหรือครอ่ มวชิ า คือเปน็ สมรรถนะท่ีสามารถพัฒนาให้เกิดขน้ึ แก่ผ้เู รียนได้ในสาระการเรียนรตู้ ่าง ๆ ทหี่ ลากหลาย หรอื นำไปประยุกต์ใชใ้ นการพัฒนาผู้เรียนให้เรยี นรู้สาระต่าง ๆ ได้ดีข้ึน ลึกซึ้งขึ้น สมรรถนะในลักษณะนี้ กลา่ วได้ว่าเปน็ สมรรถนะท่มี ี ลกั ษณะ “Content – free” คือ ไม่เกาะติดเน้ือหา หรอื ไม่ขน้ึ กับเนอื้ หา 2. สมรรถนะเฉพาะ (Specific Competency) เป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา/ สาขาวิชา ซึ่งจำเป็นสำหรับวิชานั้น ๆ อาทิ กลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยมีสมรรถนะเฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะด้านการประพันธ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมีสมรรถนะด้านการวาด ภาพ การปนั้ กล่าวคือ สาระวิชาต่าง ๆ จะมสี มรรถนะเฉพาะวิชาของตน หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ได้รับอนุญาต

8 คำว่า สมรรถนะ “หลัก” ของผู้เรยี น ในทนี่ ี้ จงึ สอื่ ความหมาย 2 ประการ คอื 1) สมรรถนะหลัก ทห่ี มายถงึ สมรรถนะทวั่ ไป หรอื สมรรถนะแกน (Generic Competency/ Core Competency) ตามลกั ษณะหรอื ประเภทของสมรรถนะ มลี ักษณะเปน็ สมรรถนะข้ามวิชาหรือครอ่ มวชิ า และมลี กั ษณะ “Content – free” ครจู งึ สามารถนำไปใชใ้ น ออกแบบการจัดการเรียนรูใ้ นกลมุ่ สาระ/ รายวชิ า/ กิจกรรมต่าง ๆ ได้อยา่ งหลากหลาย 2) สมรรถนะหลัก ทีห่ มายถึง สมรรถนะที่มีความสำคัญจำเป็นสำหรับการพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยในช่วงเวลา 12 ปีของการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน เพื่อพัฒนาเด็กไทยให้มีคุณลักษณะของคนไทยที่มีคุณภาพ ซึ่งสมรรถนะหลักต่าง ๆ เหล่านี้ได้ผ่านการตรวจสอบโดย ผู้ทรงคุณวุฒิและผ่านกระบวนการวิจัยที่หลากหลายท้ังการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพเพ่ือยืนยันว่าสมรรถนะเหล่าน้ี เป็นสมรรถนะท่สี ำคัญและจำเป็นต่อการพัฒนาคุณภาพของเดก็ และเยาวชนไทยอยา่ งแท้จรงิ  ท้ังนี้ กรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รียนมิใชห่ ลกั สตู ร  แต่เป็นเปา้ หมายในการพฒั นาผู้เรียนระดับการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน การนำกรอบสมรถนะหลักไปใช้ในการจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน จึงจำเป็นต้องวิเคราะหเ์ ช่อื มโยงกบั หลักสูตรที่ใช้อยู่ในขณะนัน้ กรอบสมรรถนะหลักผเู้ รียนระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน สามารถแสดงได้ดังแผนภาพ ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ได้รับอนุญาต

9 คนไทยท่ีดี มีคณุ ธรรม และความสุข มีพ้นื ฐานมน่ั คงทางกาย จติ สังคม และอารมณ์ มีทักษะชีวติ และความพร้อมด้านทักษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการท่ีดี พลเมืองไทยทใี่ สใ่ จสังคมและ คนไทยที่มคี วามสามารถสูง มจี ติ สำนกึ สากล มีทกั ษะการคิดขั้นสงู สามารถใช้ สามารถทำงานแบบรวมพลงั และสร้างสรรคส์ อื่ นวัตกรรม และ เพือ่ พฒั นาตน พัฒนาสงั คม สอื่ สารไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพใน รปู แบบและช่องทางทหี่ ลากหลาย ประเทศชาติ และโลก คนไทยที่ฉลาดรู้ มคี วามรูแ้ ละฉลาดใช้ความร้พู ้ืนฐานภาษาไทย ภาษาองั กฤษ คณติ ศาสตร์ และวทิ ยาศาสตร์ ในการเรยี นรู้ และการดำเนนิ ชีวิตประจำวนั สมรรถนะในความฉลาดรพู้ ื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) ประกอบดว้ ย 4 สมรรถนะ ไดแ้ ก่ (1) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพ่อื การสือ่ สาร (Thai Language for Communication) (2) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาอังกฤษ เพอื่ การสื่อสาร (English for Communication) (3) สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวัน (Matหh้าeมmคaดั tลicอsกinสำEเvนeาryเผdยaแyพLรif่ eอ)า้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต และ (4) สมรรถนะหลักด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind)

10 สมรรถนะหลกั ของผู้เรียนระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กรอบสมรรถนะหลักของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานน้ีเป็นสมรรถนะสำคัญที่เด็กและเยาวชนไทยต้องได้รับการพัฒนาในช่วงเวลา 12 ปีของ การศึกษาขั้นพ้ืนฐานเพื่อให้ก้าวทันและดำรงชีวิตได้อย่างมีคุณภาพในโลกแห่งการเปลี่ยนแปลง ท้ังน้ี เพ่ือให้เด็กไทยมีคุณลักษณะของคนไทยท่ีสมบูรณ์อัน ประกอบไปด้วยคนไทยที่ดี มีคุณธรรม และความสุข คนไทยที่มีความสามารถสูง และพลเมืองไทยท่ีใส่ใจสังคมและมีจิตสำนึกสากล บนพ้ืนฐานของ การเป็นคนไทยที่ฉลาดรู้ ซ่ึงมีค่านิยมร่วมและคุณธรรมเป็นพ้ืนฐาน สมรรถนะหลักท่ีสำคัญนี้ประกอบไปด้วย (1) สมรรถนะหลักด้านทักษะชีวิตและ ความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ซ่ึงเป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยท่ีดี มีคุณธรรม และความสุข ส่วน (3) สมรรถนะหลักด้านการคิดขั้นสูงและ การพัฒนานวัตกรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลักด้านการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศ และดิจิทัล (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลักด้านการส่ือสาร (Communication) เป็นสมรรถนะท่ีช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็นคนไทยที่มี ความสามารถสูง สำหรับ (6) สมรรถนะหลักดา้ นการทำงานแบบรวมพลังเป็นทีม และมีภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) และ (7) สมรรถนะหลักด้านการเป็นพลเมืองตื่นรู้ท่ีมีสำนึกสากล (Active Citizenship with Global Mindedness) เป็นสมรรถนะที่ช่วยให้เด็กและเยาวชนเป็น พลเมืองไทยที่ใส่ใจสงั คมและมีจติ สำนึกสากล ท้งั นี้ สมรรถนะดงั กลา่ วมีพ้ืนฐานมาจากสมรรถนะในความฉลาดรพู้ น้ื ฐานและค่านิยมร่วมและคณุ ธรรม สมรรถนะหลกั ของผู้เรียนข้างต้นสามารถพัฒนาได้ผ่านการศึกษาสาระวชิ าหรือศาสตรส์ าขาวชิ าตา่ ง ๆ การกำหนดขอบข่าย การเรยี นรู้ การจดั ประสบการณ์และกิจกรรม ตลอดจนการเรียนรผู้ ่านประเด็นสำคัญในปัจจุบัน และการเรยี นรู้จากบรบิ ทตา่ ง ๆ หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

11 สำหรับค่านิยมร่วมและคุณธรรม ซ่ึงถือเป็นแก่นและรากฐานสำคัญในการแสดงออกซึ่งสมรรถนะต่าง ๆ ในที่นี้ยึดถือตามที่ระบุไว้ในมาตรฐาน การศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 ในรูปแบบของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ ซ่ึงได้ระบุไว้ว่าค่านิยมร่วมประกอบไปด้วยความเพียรอันบริสุทธ์ิ ความพอเพียง วิถี ประชาธิปไตย ความเท่าเทียมเสมอภาค คุณธรรมคือลักษณะนิสัยและคุณธรรมพ้ืนฐานท่ีเป็นความดีงาม เช่น ความมีวินัย ความขยัน ความซ่ือสัตย์ ความรับผิดชอบ ฯลฯ ซ่ึงหมายความรวมถึงค่านิยมร่วมและคุณธรรมที่เป็นไปตามหลักศาสนา บรรทัดฐาน หรือแนวปฏิบัติท่ีชุมชนหรือบริบทน้ันๆ ยึดถือ ค่านยิ มร่วมและคุณธรรมนถี้ ือเป็นแกน่ และรากฐานสำคัญในการแสดงออกซ่งึ สมรรถนะตา่ ง ๆ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

12 อย่างไรก็ดี กรอบสมรรถนะหลักของผ้เู รยี นน้ียังมใิ ช่หลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน เป็นเพียงองคป์ ระกอบหน่ึง ของหลักสูตรที่มีความสำคัญมากเพราะเป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียน ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานผ่าน การออกแบบหลักสูตรสถานศกึ ษา การออกแบบรายวิชาหรือกจิ กรรมพัฒนาผเู้ รียน หรือการออกแบบกจิ กรรมการเรียนรู้ในระดับ การเรยี นการสอนในชน้ั เรียน ซึง่ จำเปน็ ตอ้ งวเิ คราะหเ์ ชอื่ มโยงกับหลกั สูตรท่ใี ช้อย่ใู นขณะนน้ั ในที่นี้ การกำหนดคำอธบิ ายสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชขี้ องแต่ละสมรรถนะ ได้พิจารณาร่วมกันจากท้ัง (1) พัฒนาการของผู้เรียน และ (2) ธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของแต่ละสมรรถนะ ให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันในทุกระดับ โดยได้จำแนกระดับสมรรถนะออกเป็น 4 ระดั บ ดังนี้ คำอธิบายระดบั ระดับ 1 หมายถึง ระดบั สมรรถนะของผูเ้ รียนวยั เด็กตอนกลาง อายุ 7 – 9 ปี ระดบั 2 หมายถงึ (เทยี บเทา่ ระดบั ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1-3 ตามหลักสูตรปัจจุบนั ) ระดบั 3 หมายถงึ ระดบั สมรรถนะของผูเ้ รยี นวัยเด็กตอนปลาย อายุ 10 – 12 ปี ระดบั 4 หมายถงึ (เทียบเทา่ ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ตามหลักสูตรปจั จุบัน) ระดบั สมรรถนะของผู้เรียนวัยรุน่ ตอนตน้ อายุ 13 – 15 ปี (เทยี บเท่าระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 1-3 ตามหลักสตู รปจั จบุ ัน) ระดับสมรรถนะของผเู้ รยี นวยั รุ่นตอนกลาง อายุ 16 – 18 ปี (เทียบเท่าระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 4-6 ตามหลกั สูตรปัจจบุ ัน) มรี ายละเอียดของแต่ละสมรรถนะในระดับการศึกษาขน้ั พื้นฐานมีดงั น้ี ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต

13 สมรรถนะในความฉลาดรู้พนื้ ฐาน (Competencies in Basic Literacy) 4 สมรรถนะ ในส่วนของ สมรรถนะในความฉลาดร้พู ้นื ฐาน (Competencies in Basic Literacy) นั้นสามารถอธบิ ายได้ดงั นี้ ความฉลาดรู้พ้ืนฐาน ( Basic Literacy) หมายถึงความรอบรู้ในศาสตร์/ สาระ/ เรื่องใด ๆ ที่เป็นความจำเป็นพื้นฐานสำหรับทุกคน เพ่ือใช้ใน การดำรงชวี ิตในสังคม ซงึ่ ในความฉลาดรู้แตล่ ะเร่ือง จะประกอบไปด้วย ความรู้ (knowledge) ทักษะ (skill) เจตคติ (attitude) และคณุ ลักษณะ (attribute) ในเร่ืองน้ันๆ รวมไปถึงสมรรถนะ (competency) ที่เกิดจากการนำความรู้ ทักษะ เจตคติและคุณลักษณะ ในเร่ืองน้ันๆ ไปใช้ประโยชน์ในชีวิต ซึ่งจะส่งผลให้ การเรียนรู้เกิดเป็นความฉลาดรู้ สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานแต่ละเรื่องมีทั้งสมรรถนะเฉพาะที่จำเป็นสำหรับการเรียนรู้เฉพาะเร่ือง และสมรรถนะหลัก หรอื สมรรถนะทว่ั ไป (core competency) ที่สามารถนำไปใชห้ รอื นำไปพฒั นาให้แก่ผู้เรียนได้ในเรอ่ื งอ่นื ๆ ในทางการศึกษา ประเทศไทยจัดให้ความฉลาดรู้ทางภาษา (ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ) คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ เป็นพ้ืนฐานสำคัญที่จำเป็น สำหรบั ผู้เรยี นทุกคน สำหรับสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) นั้นถอื เป็นสมรรถนะหลกั พื้นฐานสำคญั จำเป็นท่ีเป็นเครื่องมอื สำคัญ ในการเรียนรู้ (Learning Tools) สมรรถนะเหล่าน้ีเป็นสมรรถนะสำคัญซึ่งเป็นส่วนหน่ึงของความฉลาดรู้ในด้านน้ันๆ หรือเรียกได้ว่าเป็นความฉลาดรู้ (Literacy) ท่ีต้องพัฒนาแก่ผู้เรียนให้ถึงระดับที่เรียกได้ว่าเป็น \"สมรรถนะ\" โดยสมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานท่ีสำคัญจำเป็นสำหรับผู้เรียนทุกคน ประกอบดว้ ยสมรรถนะหลกั 4 สมรรถนะ ได้แก่ (1) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพอ่ื การสื่อสาร (Thai Language for Communication) (2) สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาอังกฤษเพอ่ื การสื่อสาร (English for Communication) (3) สมรรถนะหลักด้านคณติ ศาสตรใ์ นชีวติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) และ (4) สมรรถนะหลกั ด้านการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

14 รายละเอยี ดคำอธบิ ายสมรรถนะ ระดบั สมรรถนะ และพฤติกรรมบง่ ชี้ของแต่ละสมรรถนะ มดี งั นี้ สมรรถนะในความฉลาดรูพ้ นื้ ฐาน (Competencies in Basic Literacy) หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนญุ าต

15 สมรรถนะท่ี 1 ในความฉลาดรพู้ น้ื ฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพอื่ การสื่อสาร (Thai Language for Communication) สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai Language for Communication) หมายถึง ความสามารถในการสื่อสารโดยใช้ภาษาไทย เป็นเครื่องมือ ในการรับ แลกเปล่ียน และถ่ายทอดสาร ผ่านช่องทางหลากหลายอย่างถูกต้อง เหมาะสม มีวิจารญาณ มีเจตนาที่ดี อยู่บนพื้น ฐานของค่านิยม และคุณธรรม เพื่อแจง้ ขอ้ มลู รบั ทราบข้อมลู ให้ความรู้ เรียนรู้ สร้างความเพลิดเพลิน ชักจูง/ โน้มน้าว/ จูงใจ ตัดสินใจหรือกระทำการใดๆ อนั นำไปสู่การสร้าง ความเข้าใจท่ีตรงกัน ชีวิตท่ีมีคุณภาพ ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม จรรโลงสังคมให้ดีข้ึน รวมถึงการสืบสาน ถ่ายทอดและต่อยอดส่ิงที่ดีงามของ ภมู ิปญั ญาและวฒั นธรรมไทย โดยใชก้ ารฟงั ดู พูด อ่านและเขยี น สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพอื่ การสื่อสาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 การรับสาร การสง่ / ถา่ ยทอดสาร การแลกเปลี่ยน/ สนทนา การสบื สาน ระดับ 1 คำอธบิ าย ส า ม า ร ถ ใช้ ภ า ษ า ไท ย เป็ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ ว จ น ภ า ษ า สามารถใช้ภาษาท้ังวจนภาษา สามารถใช้ภาษาไทยในการรับรู้ สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมือใน เคร่ืองมือในการรับข้อมูล ความรู้ อ วั จ น ภ า ษ า ง่ า ย ๆ ภ า พ อ วั จ น ภ า ษ า ง่า ย ๆ ภ า พ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยใน การรับสารจากส่ือท่ีมีภาพ สัญลักษณ์ ความรสู้ ึก ความคิดเห็น จากสอื่ ที่ สัญลักษณ์ เป็นเครื่องมือใน ใน สัญ ลักษณ์ เป็นเครื่องมือใน ชุมชนใกล้ตัว จากแหล่งข้อมูลใน มีภาพ สัญลักษณ์ คำศัพท์ง่ายๆ การถ่ายทอด ข้อมูล ความรู้ คำศัพท์ง่ายๆ ประโยค ข้อความส้ัน ๆ ประโยค ข้อความสั้น ๆ ที่มี ความรู้สึก ความคิดเห็น ความ การ แลกเปล่ียน สนทนา ผ่าน รูปแบบต่าง ๆ ท้ัง สื่อของจริง ที่ มี โค รงส ร้างไม่ ซั บ ซ้ อ น ร วม ถึ ง โครงสร้างไม่ซับซ้อน สามารถ ต้ อ ง ก า ร ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ช่องทางต่าง ๆ ในการสื่อสาร ส่ือสิ่งพิมพ์ สื่อวิทยุโทรทัศน์ อวัจนภาษาจากแหล่งข้อมูลรูปแบบ เข้าใจอวัจนภาษาของผู้ส่งสาร จิ น ต น า ก า ร ผ่ า น ช่ อ งท า ง ระหว่างบุคคล ในลักษณะของ รวมถึงส่ืออิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือทำ ต่ าง ๆ อ ย่ างก ระ ตื อ รือ ร้น แ ล ะ การสื่อสารสองทาง ให้ความ ความเข้าใจ เรียนรู้ เห็นคุณค่า ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

16 สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพือ่ การสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 การรับสาร การสง่ / ถา่ ยทอดสาร การแลกเปลี่ยน/ สนทนา การสืบสาน เพลิดเพลิน เลือกใช้วจนภาษาง่าย ๆ จากแหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ รูปแบบต่าง ๆ ในการส่ือสาร สนใจกับคู่สนทนา สามารถจับ และใชภ้ าษาไทยอย่างง่าย ๆ ใน อ วั จ น ภ า ษ า ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อ ย่ า ง ก ร ะ ตื อ รื อ ร้ น แ ล ะ ภายในตนเอง ระหว่างบุคคล ประเด็นของบทสนทนา และ การถ่ายทอด สืบสานส่ิงดีงาม แลกเปลี่ยนหรือสนทนา ข้อมูล ความรู้ เพลิดเพลิน เพื่อรับทราบข้อมูล ในลักษณะของการสื่อสารทาง โต้ตอบได้ตรงตามบทสนทนา ของภูมปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทย ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการ เรียนรู้ สร้างความเพลิดเพลิน เ ดี ย ว อ ย่ า ง มี คุ ณ ธ ร ร ม ปรับเปลี่ยนบทบาทเป็นทั้งผู้รับ ในรูปแบบต่าง ๆ ตามศักยภาพ ประสบการณ์ จินตนาการ ผ่านช่องทาง ตัดสินใจหรือกระทำการใด ๆ อัน สร้างสรรค์ เหมาะสมกับบุคคล และผู้ส่งสารบทสนทนานั้น ๆ ตามวัย สู่ชุมชนอ่ืนโดยใช้การฟัง นำไปสู่ การพัฒนาความสามารถ กาลเทศะ บรบิ ท วัฒนธรรม ตรง ต่าง ๆ อย่างมีคุณธรรม สร้างสรรค์ ในการใช้ภาษา ก่อประโยชน์ ตามรูปแบบภาษาไทย เพื่อเป็น เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ ดู พูด อา่ น และเขียน เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บริบท ให้แก่ตนเองและครอบครัว โดย การจั ดระบ บ ความ คิดข อ ง บริบท วัฒนธรรม มีคุณธรรม วัฒนธรรม เห็นคุณค่าและสืบสานสิ่งดี ใช้การฟัง ดู อา่ น ตนเอง ให้ข้อมูล สร้างความ สร้างสรรค์ เพอ่ื ให้ขอ้ มูล สร้าง งามของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย เพลิดเพลิน แสดงความต้องการ ความเพลิดเพลิน แสดงความ ตามศักยภาพตามวัย เพื่อให้ข้อมูล อั น น ำ ไ ป สู่ ก า ร พั ฒ น า ต้องการ อันนำไปสู่การพัฒนา รับทราบข้อมูล เรียนรู้ สร้างความ ความสามารถในการใชภ้ าษาไทย ความสามารถในการใช้ภาษา เพ ลิ ด เพ ลิ น แ ส ด งค วาม ต้ อ งก าร การสร้างความเข้าใจท่ีตรงกัน การสร้างความเข้าใจท่ีตรงกัน ตัดสินใจหรอื กระทำการใด ๆ อันนำไปสู่ ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและ ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและ การพัฒนาความสามารถในการใช้ภาษา ครอบครัว โดยใช้การพูด เขียน ครอบครัว โดยใช้การพูด เขียน การสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ก่อ (พิมพ์ type) (พิ ม พ์ -type) ผ่ าน สื่ อ สั งค ม ประโยชน์ให้แก่ตนเองและครอบครัว ออนไลน์ สือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ โดยใชก้ ารฟงั ดู พดู อา่ น และเขยี น หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

17 สมรรถนะหลกั ด้านภาษาไทยเพอื่ การสื่อสาร (Thai Language for Communication) ระดับ สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 การรับสาร การส่ง/ ถ่ายทอดสาร การแลกเปล่ียน/ สนทนา การสบื สาน ระดบั 2 คำอธบิ าย ส า ม า ร ถ ใช้ ภ า ษ า ไท ย เป็ น สามารถใช้จนภาษาที่มีการรวม สามารถใช้ภาษาทั้งวจนภาษาท่ี สามารถใช้ภาษาไทยในการรับรู้ สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมือใน เค ร่ืองมื อใน การรับ ข้อมู ล หรือซ้อนความ อวัจนภาษา มี ก า ร ร ว ม ห รื อ ซ้ อ น ค ว า ม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย การรับสารจากสื่อที่มีภาพ สัญลักษณ์ ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น ภาพ สัญลักษณ์ ในการถ่ายทอด อวัจนภาษา ภาพ สัญลักษณ์ ภู มิ ภ า ค ข อ ง ต น เอ ง จ า ก คำศั พ ท์ ท่ี ไม่ ตรงความห ม าย เป็ น จากส่ือท่ี มี ภ าพ สั ญ ลั กษ ณ์ ข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก ความ เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ ใ น ก า ร แหล่งขอ้ มูลในรปู แบบต่าง ๆ ท้ัง ทางการ ประโยค ข้อความท่ีมีการรวม คำศัพท์ท่ีไม่ตรงความหมาย เป็น แ ล ก เป ลี่ ย น ส น ท น า ผ่ าน ความ ซ้อนความ รวมถงึ อวจั นภาษาของ ทางการ ประโยค ข้อความท่ีมี คิ ด เ ห็ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ช่องทางต่าง ๆ ในการส่ือสาร สื่อของจริง ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือวิทยุ ผู้ส่งสาร จากแหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ก า ร ร ว ม ค ว า ม ซ้ อ น ค ว า ม ประสบการณ์ จินตนาการ ผ่าน ระหว่างบุคคล ในลักษณะของ โ ท ร ทั ศ น์ ร ว ม ถึ ง สื่ อ อยา่ งกระตือรือร้น เพลินเพลนิ มเี หตผุ ล ส า ม า ร ถ เ ข้ า ใ จ เ จ ต น า ช่องทาง รูปแบบต่าง ๆ ในการ การสื่อสารสองทาง ให้ความ อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือทำความ สามารถสรุปความ เปรียบเทียบ ตัดสิน จุ ด ป ร ะ ส งค์ ค ว า ม รู้ สึ ก ท่ี สอ่ื สารกับตนเอง ระหวา่ งบุคคล สนใจกับคู่สนทนา สามารถจับ เข้าใจ เรียนรู้ ประเมินค่า เห็น ส ารท่ี รับ เลื อก ใช้ วจ น ภ าษ าที่ มี ส่งผ่านอวัจนภาษาของผู้ส่งสาร กลุ่ม ที่ประชุมชน ในลักษณะ ประเด็นของบทสนทนา โต้ตอบ คุณ ค่า และใช้ภาษาไทยท่ีมี โค ร งส ร้ างร วม ค วา ม ซ้ อ น ค วา ม จากแหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ ของการสื่อสารทางเดียว อย่าง อธิบายความตรงตามเป้าหมาย โค ร ง ส ร้ า ง ก า ร ร ว ม ค ว า ม อ วั จ น ภ า ษ า ใ น ก า ร ถ่ า ย ท อ ด อย่างกระตือรือร้น มีเหตุผล ถู ก ต้ อ งต า ม โค ร งส ร้ า งท า ง ข อ ง ก า ร ส น ท น า ป รั บ เป ลี่ ย น การซ้อนความ ก่ึงทางการ ใน แลกเปลี่ยนหรือสนทนา ข้อมูล ความรู้ สามารถสรุปความ เปรียบเทียบ ภาษาไทย มีคณุ ธรรม สร้างสรรค์ บทบาทเปน็ ทง้ั ผู้รับและผูส้ ง่ สาร การถ่ายทอด สืบสานส่ิงดีงาม ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการ ตัดสินสารที่รับ เพ่ือ รับทราบ เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บทสนทนาน้ัน ๆ เหมาะสมกับ ของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย ประสบการณ์ จินตนาการ ผ่านช่องทาง ข้ อ มู ล เรี ย น รู้ ส ร้ า งค ว า ม บริบท วัฒนธรรม เพ่ือให้ข้อมูล บุ ค ค ล ก า ล เท ศ ะ บ ริ บ ท ในรูปแบบต่าง ๆ ตามศักยภาพ ต่าง ๆ อย่างมีคุณธรรม สร้างสรรค์ เพลิดเพลิน ตัดสินใจหรือกระทำ ทบทวนการเรียนรู้ สร้างความ วัฒนธรรม อย่างมีคุณธรรม ตามวัย สู่ชุมชน ภูมิภาคอื่นโดย เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บริบท การใด ๆ อันนำไปสู่ พั ฒ นา เพลิดเพลิน โน้มน้าว อันนำไปสู่ สร้างสรรค์ เพ่ือให้ขอ้ มูล เรียนรู้ ใชก้ ารฟงั ดู พดู อ่าน และเขียน ความรู้ความสามารถตนเอง ก่อ สร้างความเพลิดเพลิน โน้มน้าว วัฒนธรรม เห็นคณุ ค่าและถ่ายทอดสง่ิ ดี ประโยชน์ให้แก่ตนเอง ครอบครัว การสร้างความเข้าใจท่ีตรงกัน อันนำไปสู่การสร้างความเข้าใจ งามของภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โรงเรียน ชุมชนใกล้ตัวโดยใช้การ แ ก้ ปั ญ ห า พั ฒ น า ค ว า ม รู้ ท่ีตรงกัน แก้ปัญ หา พัฒ นา ตามศักยภาพตามวัย เพื่อให้ข้อมูล ฟงั ดู อ่าน ค ว า ม ส า ม า ร ถ ต น เอ ง ก่ อ ความรู้ความสามารถตนเอง ก่อ รับทราบข้อมูล เรียนรู้ สร้างความ ประโยชน์ใหแ้ ก่ตนเอง ครอบครัว หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

18 สมรรถนะหลักดา้ นภาษาไทยเพ่ือการสอ่ื สาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การสืบสาน เพลิดเพลิน โน้มน้าว ตัดสินใจหรือ การส่ง/ ถ่ายทอดสาร การแลกเปล่ียน/ สนทนา กระทำการใด ๆ อันนำไปสู่ การสร้าง ความเข้าใจที่ตรงกัน แก้ปัญหา พัฒนา โรงเรียน ชุมชนใกล้ตัวโดยใช้การ ป ร ะ โ ย ช น์ ใ ห้ แ ก่ ต น เ อ ง ค วาม รู้ค วาม ส าม ารถ ต น เอ ง ก่ อ ประโยชน์ให้แ ก่ตนเอง ครอบครัว พูด เขียน (พมิ พ์ type) ครอบครัว โรงเรียน ชุมชนใกล้ โรงเรียน ชุมชนใกล้ตัวโดยใช้การฟัง ดู พดู อ่าน และเขยี น ตัวโดยใช้การพูด เขียน (พิมพ์ type)ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ ส่ือ อิเลก็ ทรอนิกส์ ระดับ 3 คำอธบิ าย สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเครื่องมี ส า ม า ร ถ ใช้ วั จ น ภ า ษ า ท่ี มี สามารถใช้ภาษาท้ังวัจนภาษาที่ สามารถใช้ภาษาไทยในการ สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคร่อื งมีใน การ ใน ก า ร รั บ ข้ อ มู ล ค ว า ม รู้ โครงสร้างซับซ้อน อวัจนภาษา มีโครงสรา้ งซับซ้อน อวัจนภาษา เข้าถึง รับ รู้ ภู มิ ปั ญ ญ าแ ล ะ รับ สารจากสื่อท่ีมีกราฟิก คำศัพท์เชิง ความรู้สึก ความคดิ เห็น จากส่อื ที่ กราฟฟิก เป็นเคร่ืองมีใน การ กราฟิก ในเป็นเคร่ืองมือใน วฒั นธรรมไทย ภูมิภาคของอืน่ ๆ วิชาการ มีนัยแฝง ประโยค ข้อความที่มี มีกราฟิก คำศัพท์วิชาการ มีนัย ถ่ า ย ท อ ด ข้ อ มู ล ค ว า ม รู้ แ ล ก เป ล่ี ย น ส น ท น า ผ่ าน จากแหล่งข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ โครงสร้างทางภาษาที่ซับซ้อน รวม แ ฝ ง ป ระ โย ค ข้ อค วาม ที่ มี ความรู้สึก ความคิดเห็น ความ ช่องทางต่าง ๆ ในการสื่อสาร ท้ัง ส่ือของจริง ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อ ถึงอ วัจ น ภ าษ าขอ งผู้ ส่ งส าร จ าก โครงสร้างทางภาษาท่ีซับซ้อน ต้ อ ง ก า ร ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ระหว่างบุคคล ในลักษณะของ วิ ท ยุ โ ท ร ทั ศ น์ ร ว ม ถึ ง สื่ อ แหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ อย่างมี ส า ม า ร ถ ตี ค ว า ม เจ ต น า จินตนาการ ผ่านช่องทางต่าง ๆ การสื่อสารสองทาง อย่างมี อิเล็กทรอนิกส์ เพ่ือวิเคราะห์ เห ตุ ผล เจ ตค ติ ที่ ดี วิจารณ ญ าณ ความรู้สึกจากอวัจนภาษาของผู้ ผ่ าน ช่ องท างต่ าง ๆ ใน ก าร ส ม า ธิ จ ด จ่ อ กั บ คู่ ส น ท น า พจิ ารณา เรียนรู้ ประเมนิ คา่ เหน็ สามารถวิเคราะห์ วิพากษ์ ประเมินค่า ส่ งส า ร วิ เค ร า ะ ห์ วิ พ า ก ย์ สอ่ื สารกับตนเอง ระหว่างบุคคล สามารถจับประเด็นของบท คุณ ค่า และใช้ภาษาไทยท่ีมี สารท่ีได้รับ เลือกใช้วัจนภาษาที่มี ป ระเมิ น ค่ าส ารท่ี ได้ รับ จาก กลุ่ม ท่ีประชุมชน สาธารณะ ส น ท น า ตี ค วาม ค วาม คิ ด โครงสร้างทางภาษาท่ีซับซ้อน โครงสร้างซับซ้อน อวัจนภาษา ในการ แหล่งข้อมูลรูปแบบต่าง ๆ อย่าง ในลักษณะของการส่ือสารทาง ค วาม รู้สึ ก แ ล ะ โต้ ต อ บ ได้ ในการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อ ถ่ายทอด แลกเปลยี่ นหรอื สนทนา ข้อมลู มีเจตคติท่ีดี มีวิจารณญาณ เพ่ือ เดียว อย่างถูกต้องตามโครงสร้าง สอดคล้องความเป้าหมายของ สืบสานและต่อยอดส่ิงดีงามของ ความรู้ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความ รับทราบข้อมูล เรียนรู้ สร้าง ท า งภ า ษ า ไท ย มี คุ ณ ธ ร ร ม การสนทนา ปรบั เปล่ียนบทบาท ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมไทย หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รับอนุญาต

19 สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพ่อื การสอื่ สาร (Thai Language for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 การรบั สาร การส่ง/ ถา่ ยทอดสาร การแลกเปล่ียน/ สนทนา การสบื สาน ต้องการ ประสบการณ์ จนิ ตนาการ ผ่าน ความเพลิดเพลิน ตัดสินใจหรือ สร้างสรรค์ เหมาะสมกับบุคคล เป็นทั้งผู้รับและผู้ส่งสารบท ในรูปแบบต่าง ๆ ตามศักยภาพ ช่องทางต่าง ๆ อย่างถูกต้อง มีคุณธรรม กระทำการใด ๆ อันนำไปสู่การ กาลเทศะ บริบท วัฒ นธรรม สนทนานั้น ๆ เหมาะสมกับ ตามวัย สู่ชุมชม ภูมิภาคอ่ืนอย่าง ส ร้ า งส ร ร ค์ เห ม า ะ ส ม กั บ บุ ค ค ล ส ร้ า งค ว า ม เข้ า ใจ ที่ ต ร งกั น เพอื่ แจง้ ขอ้ มูล ทบทวนการเรยี นรู้ บุ ค ค ล ก า ล เท ศ ะ บ ริ บ ท ภาคภูมิใจ โดยใช้การฟัง ดู พูด กาลเทศะ บริบท วัฒนธรรม สืบสาน แก้ปัญหา พัฒนาชีวิตที่มีคณุ ภาพ สร้างความเพลิดเพลิน โน้มน้าว วั ฒ น ธ ร ร ม มี คุ ณ ธ ร ร ม อา่ น และเขยี น และต่อยอดส่ิงดีงามของภูมิปัญญาไทย ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและ จูงใจ อันนำไปสู่การสร้างความ สร้างสรรค์ เพ่ือแจ้งข้อมูล และวัฒนธรรมไทยตามศักยภาพตามวัย ส่วนรวม โดยใช้การฟงั ดู อา่ น เข้าใจท่ีตรงกัน แก้ปัญหา พัฒนา เรียนรู้ สร้างความเพลิดเพลิน อย่างภาคภูมิใจ เพือ่ แจ้งข้อมลู รับทราบ ชีวิตท่ีมีคุณภาพ ก่อประโยชน์ ชักจูง อันนำไปสู่การสร้าง ขอ้ มลู เรียนรู้ สร้างความเพลดิ เพลนิ ชัก ให้แก่ตนเองและส่วนรวม โดยใช้ ความเข้าใจท่ีตรงกัน แก้ปัญหา จูง ตัดสินใจหรือกระทำการใด ๆ อัน การพูด เขียน (พมิ พ์ type) พั ฒ น าชี วิต ที่ มี คุ ณ ภ าพ ก่ อ นำไปสู่การสร้างความเข้าใจที่ตรงกัน ประโยชน์ให้ แก่ตนเองและ แก้ปัญหา พัฒนาชีวิตที่มีคุณภาพ ก่อ ส่วนรวม โดยใช้การพูด เขียน ประโยชน์ให้แกต่ นเองและสว่ นรวม โดย (พิ ม พ์ type) ผ่ าน ส่ื อ สั งค ม ใชก้ ารฟัง ดู พดู อา่ น และเขียน ออนไลน์ ส่ืออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ระดับ 4 ส า ม า ร ถ ใช้ ภ า ษ า ไท ย เป็ น ส า ม า ร ถ ใ ช้ วั จ น ภ า ษ า สามารถใช้ภาษาท้ัง วัจนภาษา ส า ม า ร ถ ใ ช้ ภ า ษ า ไ ท ย ใ น คำอธบิ าย เครอื่ งมือในการรับข้อมลู ความรู้ อวจั นภาษา กราฟิกเป็นเคร่อื งมือ อ วั จ น ภ า ษ า ก ร า ฟิ ก เป็ น การเข้าถึง รับรู้ ภูมิปัญญาและ ความรสู้ ึก ความคิดเห็น จากส่อื ท่ี ใน การถ่ายทอด ข้อมูล ความรู้ เคร่ืองมือใน การแลกเปลี่ยน วัฒนธรรมไทย ท่ีเป็นมรดกของ สามารถใช้ภาษาไทยเป็นเคร่ืองมีใน มีกราฟิก คำศัพท์เฉพาะทาง มี ค ว า ม รู้ สึ ก ค ว า ม คิ ด เห็ น สนทนา ผ่านช่องทางต่าง ๆ ใน ชาติ จากแหล่งข้อมูลในรูปแบบ การรับสารจากส่ือที่มีกราฟิก คำศัพท์ นัยแฝง ประโยค ข้อความท่ีมี ความต้องการ ประสบการณ์ การสื่อสาร ระหว่างบุคคล ใน ต่ าง ๆ ทั้ ง สื่ อของจ ริง ส่ื อ เฉพาะทาง มีนัยแฝง ประโยค ข้อความ โครงสร้างทางภาษาท่ีซับซ้อน จินตนาการ ผ่านช่องทางต่าง ๆ ลักษณะของการสื่อสารสองทาง ส่ิงพิมพ์ ส่ือวิทยุโทรทัศน์ รวมถึง ที่มีโครงสร้างทางภ าษาที่ซับ ซ้อน เน้ื อ ห า มี ค ว า ม เ ป็ น น า ม ธ ร ร ม ผ่านช่องทางต่าง ๆ ผ่านช่องทาง มี ส ม าธิจ ด จ่ อกับ คู่ ส น ท น า สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อวิเคราะห์ เนื้อหามีความเป็นนามธรรม รวม ถึงอวัจนภาษาของผู้ส่งสาร สามารถ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

20 สมรรถนะหลักด้านภาษาไทยเพอ่ื การสือ่ สาร (Thai Language for Communication) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 วิเคราะห์ ไตร่ตรอง วิพากษ์ วิจารณ์ การรบั สาร การส่ง/ ถ่ายทอดสาร การแลกเปล่ียน/ สนทนา การสืบสาน ประเมินค่าสารที่ได้รับจากแหล่งข้อมูล รูปแบบต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล เจตคติท่ี ตี ค ว า ม ท ำ น า ย เจ ต น า ต่าง ๆ ในการสื่อสารกับตนเอง สามารถจับประเด็นของบท พิจารณา เรยี นรู้ ประเมินคา่ เห็น ดี วิจารณญาณ เลือกใช้วัจนภาษา อวจั นภาษาในการถา่ ยทอด แลกเปลี่ยน ความรู้สึกจากอวัจนภาษาของ ระหว่างบุคคล กลุ่ม ท่ีประชุม- ส น ท น า ตี ค วาม ค วาม คิ ด คุณค่า และใช้ภาษาไทยท่ีมี หรือสนทนา ข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก ค ว า ม คิ ด เห็ น ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ผู้ส่งสาร ไตร่ตรอง ประเมินค่า ชน สาธารณะ ในลักษณะของ ค วาม รู้สึ ก แ ล ะ โต้ ต อ บ ได้ ประโยค ข้อความที่มีโครงสร้าง ประสบการณ์ จินตนาการ ผา่ นชอ่ งทาง ตา่ ง ๆ อย่างถูกต้องตามหลักการการใช้ สารที่ได้รับ จากแห ล่งข้อมู ล การส่ื อส ารท างเดี ย ว อย่ าง สอดคล้องกับความเป้าหมาย ท า ง ภ า ษ า ท่ี ซั บ ซ้ อ น ใ น ภาษาไทย มีคุณ ธรรม สร้างสรรค์ เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ บริบท รปู แบบต่าง ๆ อย่างมีเจตคติที่ดี ถูกต้องหลักการใช้ภาษาไทย มี ของการสนทนา ปรับเปล่ียน ก าร ส ร้างส ร ร ค์ ผ ล งา น เพื่ อ วัฒนธรรม สืบสานและต่อยอดสิ่งดี งามของภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรม มีวิจารณญาณ เพื่อแจ้งข้อมูล คณุ ธรรม สร้างสรรค์ เหมาะสม บทบาทเปน็ ทั้งผู้รบั และผสู้ ง่ สาร สืบสานและต่อยอดส่ิงดีงามของ ไท ย ต าม ศั ก ย ภ าพ ต าม วัย อ ย่ าง ภาคภูมิใจ เพื่อแจ้งข้อมูล รับทราบ รับทราบข้อมูล เรียนรู้ สร้าง กับ บุ ค คล กาลเทศ ะ บ ริบ ท บ ท ส น ท น า น้ั น ๆ อ ย่ า ง ภมู ิปัญญาไทยและวฒั นธรรมไทย ข้อมูล ให้ความรู้ เรียนรู้ สร้างความ เพลิดเพลิน ชักจูง ตัดสินใจหรือกระทำ ความเพลิดเพลิน ตัดสินใจหรือ วัฒนธรรม เพ่ือแจ้งข้อมูล ให้ เหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ ในรูปแบบต่าง ๆ ตามศักยภาพ การใด ๆ อันนำไปสู่การสร้างความ เข้าใจที่ตรงกัน แก้ปัญหา พัฒนาชีวิตที่ กระทำการใด ๆ อันนำไปสู่การ ความรู้ สร้างความเพลิดเพลิน บริบท วัฒนธรรม ถูกต้องตาม ตามวัย อย่างภาคภูมิใจ โดยใช้ มีคุณภาพ ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเอง และสังคม จรรโลงสังคมให้ดีขึ้นโดยใช้ ส ร้ า งค ว า ม เข้ า ใจ ที่ ต ร งกั น โน้มนา้ วจูงใจ อันนำไปสู่การสรา้ ง ห ลั ก ก า ร ใช้ ภ า ษ า ไท ย มี การฟัง ดู พูด อ่าน และเขยี น การฟงั ดู พูด อ่าน และเขียน แกป้ ัญหา พัฒนาชีวิตท่ีมีคุณภาพ ความเข้าใจท่ีตรงกัน แก้ปัญหา คุณธรรม สร้างสรรค์ เพื่อแจ้ง ก่อประโยชน์ให้แก่ตนเองและ พั ฒ น าชี วิต ท่ี มี คุ ณ ภ าพ ก่ อ ข้อมูล เรียนรู้ ให้ความรู้ สร้าง สังคม จรรโลงสังคมให้ดีขึ้นโดย ประโยชน์ให้แก่ตนเองและสังคม ความเพลิดเพลิน ชักจูง อัน ใช้การฟัง ดู อา่ น จรรโลงสังคมให้ดีข้ึนโดยใช้การ นำไปสู่การสร้างความเข้าใจท่ี พูด เขยี น (พิมพ์ type) ตรงกัน แก้ปัญหา พัฒนาชีวิตที่ มีคุณภาพ ก่อประโยชน์ให้แก่ ตนเองและสังคม จรรโลงสังคม ให้ดีข้ึนโดยใช้การพูด เขียน (พิ ม พ์ type) ผ่ าน สื่ อ สั งค ม ออนไลน์ สอ่ื อิเลก็ ทรอนกิ ส์ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

21 สมรรถนะท่ี 2 ในความฉลาดรู้พื้นฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการสือ่ สาร (English for Communication) สมรรถนะหลักด้านภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสาร (English for Communication) หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษเป็นเคร่ืองมือ ในการส่ือสาร แลกเปล่ียนและถ่ายทอดข้อเท็จจริง อารมณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น และความต้องการ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจอันดี และสามารถเข้าถึงข้อมูล ต่าง ๆ ในโลกได้อย่างเสรี มปี ระสิทธภิ าพ สร้างสรรค์ เหมาะสมกบั บรบิ ททางสังคมและวัฒนธรรมท่หี ลากหลาย ภาษาอังกฤษเป็นภาษาสากล (International Language) สำหรับการส่ือสารกับผู้คนร่วมวัฒนธรรมและต่างวัฒนธรรม เพิ่มโอกาสในการเข้าถึง แหลง่ ขอ้ มูลและส่ือต่าง ๆอย่างเสรี การมีสมรรถนะภาษาอังกฤษในระดับที่สอ่ื สารไดด้ ีช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้เรียนในฐานะพลเมืองของประเทศไทยและ โลก ดงั นน้ั ผูเ้ รียนชาวไทยจึงจำเปน็ ตอ้ งมสี มรรถนะดา้ นภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร 3 สมรรถนะ ดังน้ี สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษเพ่อื การสือ่ สาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 การรบั ส่งสาร การเรียนร้ภู าษา การสร้างความบนั เทงิ และสนุ ทรียภาพ ระดบั 1 คำอธบิ าย ส า ม า ร ถ แ ล ก เป ลี่ ย น ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว สามารถพูด ฟัง เขียน อ่านในใจ อ่านออก สามารถพูด ฟัง เขยี น อา่ น แลกเปลี่ยน หรอื สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลส่วนตัว ข้อเท็จจริง ข้อเท็จจริง อารมณ์ ความรู้สึกและความ เสียง แลกเปล่ียน หรือรับส่ือภาษาอังกฤษ รับสื่อใช้ภาษาอังกฤษเพื่อให้เกิดความสนุก อารมณ์ ความรู้สึกและความต้องการในบริบท ต้องการในบริบทที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต ในระดับคำ วลี และประโยคที่ไม่ซับซ้อน เพลิดเพลิน ประทับใจ หรือมีความรู้สึก การดำรงชีวิตที่พบไดบ้ ่อยดว้ ยภาษาต่างประเทศ พ้ืนฐานของผู้เรยี นด้วยภาษาต่างประเทศใน ได้อยา่ งถูกตอ้ งในระดับทสี่ ื่อความหมายได้ ร่วมกับสารท่ีได้รับหรือส่งได้อย่างเสรีแม้มี อย่างง่าย เหมาะสมชัดเจน สร้างสรรค์ และ ระดับคำ วลี และประโยคที่ไม่ซับซ้อนได้ โด ย ต ร ะ ห นั ก ถึ งค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ ง ขอ้ จำกัดด้านความรแู้ ละทักษะทางภาษา ม่ันใจในระดับอ่านออกเขียนได้ ส่ือสารได้ เป็น โดยสารนั้นอยู่ในระดับท่ีสามารถส่ือความได้ ภาษาอังกฤษในฐานะภาษาสากลซ่ึงเป็น พ้ืนฐานทีด่ ีเพียงพอตอ่ การพฒั นาตอ่ ไป ตามวัตถปุ ระสงค์ เหมาะสม สร้างสรรค์ และ เคร่ืองมือส่ือสารระหว่างบุคคลที่มีความ ม่ันใจ หลากหลายด้านภาษาและวฒั นธรรม หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

22 สมรรถนะหลกั ดา้ นภาษาองั กฤษเพื่อการส่ือสาร (English for Communication) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การรบั สง่ สาร การเรยี นรภู้ าษา การสรา้ งความบนั เทงิ และสนุ ทรียภาพ ระดบั 2 คำอธบิ าย สามารถรับและเข้าใจถึงใจความสำคัญของสาร ส า ม า ร ถ แ ล ก เป ลี่ ย น ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว สามารถพูด ฟัง เขียน อ่าน แลกเปล่ียน สามารถพูด ฟงั เขียน อา่ น แลกเปลยี่ น หรือ ในรูปแบบ ต่าง ๆ ท่ีสามารถพบได้ในการ ข้อเท็จจริง อารมณ์ ความรู้สึกและความ หรือรับสื่อภาษาอังกฤษในระดับคำ วลี รับสื่อใช้ภาษาอังกฤษเพื่อให้เกิดความสนุก ดำรงชีวติ และสามารถสื่อสารกับบุคคลด้วยการ ต้องการในบริบทการดำรงชวี ิตตามปกติวิสัย และประโยคได้อย่างถูกต้องในระดับที่ส่ือ เพลิดเพลิน ประทับใจ หรือมีความรู้สึก พูด การเขียน หรือการส่งสารด้วยวิธีการอ่ืนๆ ของผู้เรียนและตามบริบทชุมชนของผู้เรียน ความหมายได้ตรงตามความต้องการโดย ร่วมกับสารที่ได้รับหรือส่งได้และสามารถ เพื่อส่งข้อความอันประกอบด้วยใจความสำคัญ ในระดับคำ วลี หรือประโยคท่ีซับซ้อนข้ึน เข้าใจถึงโครงสรา้ งทางภาษาซง่ึ สมั พันธ์กับ เข้าถึงกลุ่มคนในวงจำกัดอย่างเสรีแม้มี โดยสารนน้ั อย่ใู นระดับท่ีสามารถส่ือความได้ ความหมายและเปน็ ประโยชน์ต่อการเรียน ข้อจำกดั ดา้ นความรูแ้ ละทักษะทางภาษา รายละเอยี ดพอสังเขป และความคดิ เหน็ ผา่ นการ ตามวัตถุประสงค์อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ ภาษาต่างประเทศอื่น ๆ ต่อไป ตระหนัก ส่ือสารแบบเผชิญหน้าและช่องทางการส่ือสาร มปี ระสทิ ธิภาพ และมัน่ ใจ ถึงความสำคัญของภาษาอังกฤษในฐานะ อื่ น ๆ ได้ อ ย่ า ง เห ม า ะ ส ม ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ภาษาสากลซ่ึงเป็ นเคร่ืองมือสื่อสาร มีประสิทธิภาพ และม่ันใจ ก่อให้เกิดผลอันดีต่อ ระหว่างบุคคลที่มีความหลากหลายด้าน การดำรงชวี ิตประจำวัน ภาษาและวัฒนธรรม ระดับ 3 คำอธิบาย สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลทั้งข้อเท็จจริง สามารถแลกเปล่ียนข้อมูลต่าง ๆ ในบริบท สามารถพูด ฟัง เขียน อ่าน แลกเปล่ียน สาม ารถใช้ภ าษ าส ร้างห รือช่ืนชม บ ท ความคิดเห็น ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก การดำรงชีวิตที่โดยทั่วไปและในบริบทอ่ืนท่ี หรือรับส่ือภาษาอังกฤษในระดับคำ ประพันธ์ เพลง วรรณกรรม และศิลปะทาง ความตอ้ งการที่สามารถพบได้ในการดำรงชีวิตท่ี อาจพบ ได้ทั้ งจากการป ระกอบ อาชีพ ประโยค ข้อความ และใช้ท่าทางเพ่ือสื่อ ภาษาอื่น ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการ การเดินทาง การปฏิสัมพันธ์กับบุคคลร่วม ความหมายได้อย่างถูกต้องตรงตามความ ข อ งต น เอ งให้ เกิ ด ส นุ ก เพ ลิ ด เพ ลิ น โดยทั่วไปและในบริบทอ่ืนที่อาจพบได้ท้ังจาก และต่างวัฒนธรรมด้วยคำ วลี ประโยค ต้องการโดยเข้าใจถึงโครงสร้างทางภาษา ประทับใจ หรือมีความรู้สึกร่วม สะท้อน การประกอบอาชีพ การเดินทาง การปฏิสมั พันธ์ ขอ้ ความและท่าทางซ่ึงมคี วามหมายทางตรง ซึ่งสัม พันธ์กับ ความ ห มาย และเป็ น ความคิด จิตวิญญ าณ เหตุการณ์ หรือ ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รบั อนญุ าต

23 สมรรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษเพือ่ การสอื่ สาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 การรบั สง่ สาร การเรียนรภู้ าษา การสร้างความบันเทิงและสุนทรียภาพ กบั บคุ คลร่วมและตา่ งวัฒนธรรม เพอื่ ส่งข้อความ หรือมีความหมายโดยนัยโดยสารน้ันอยู่ใน ประโยชน์ต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ อารมณ์ของผู้คนร่วมและต่างวัฒนธรรม อนั ประกอบด้วยใจความสำคญั รายละเอยี ด และ ระดับที่สามารถสื่อความไดต้ ามวัตถปุ ระสงค์ อื่น ๆ ต่อไป มีความเป็นธรรมชาติ โดย สามารถเข้าถึงกลุ่มคนท่ัวไปได้ สามารถ ความคิดเห็นอย่างมีวิจารณญาณ เคารพในสิทธิ เหมาะสม สร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพ และ ตระหนักถึงความเป็นภาษาโลกของ ประเมินคุณค่าอันนำไปสู่การสร้างรสนิยม เสรีภาพของบุคคล และช่ืนชมความหลากหลาย ม่ันใจ แสดงถึงความเคารพในสิทธิ เสรีภาพ ภาษาองั กฤษซง่ึ ใช้โดยพลเมอื งโลก ของตนเองและตวั ตนได้ชัดเจนมากข้ึน ทางวัฒนธรรม ผ่านการส่ือสารแบบเผชิญหน้า ของบุคคล และช่ืนชมความหลากหลายทาง และช่องทางการสื่อสารอ่ืนๆ ได้เหมาะสม วฒั นธรรม สร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพ และม่นั ใจ ก่อให้เกิด ผลอันดีต่อการดำรงชีวติ ระดบั 4 คำอธิบาย สามารถแลกเปลี่ยน ข้อมูลท้ังข้อเท็จจริง สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลต่าง ๆ ในบริบท สามารถพูด ฟัง เขียน อ่าน แลกเปลี่ยน สาม ารถใช้ภ าษ าส ร้างห รือช่ืนชม บ ท ความคิดเห็น ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก การดำรงชีวิตท่ีโดยทั่วไปและในบริบทอ่ืนที่ หรือรับสื่อภาษาอังกฤษในระดับคำ ประพันธ์ เพลง วรรณกรรม และศิลปะทาง ความต้องการได้ อย่างมีประสิทธิภาพ มี อาจพบ ได้ท้ังจากการป ระกอบ อาชีพ ประโยค ข้อความ และใช้ท่าทางเพื่อส่ือ ภาษาอ่ืนๆ เพ่ือตอบสนองความต้องการของ วิจารณญาณ มีรสนยิ ม แสดงออกถงึ ความเคารพ การเดินทาง การปฏิสัมพันธ์กับบุคคลร่วม ความหมายได้อย่างถูกต้องตรงตามความ ตนเองให้เกิดสนุก เพลิดเพลิน ประทับใจ และต่างวัฒนธรรมด้วยคำ วลี ประโยค ต้องการโดยเข้าใจถึงโครงสร้างทางภาษา หรือมีความรู้สึกร่วม สะท้อนความคิด จิต ใน สิ ท ธิ เส รีภ าพ ข อ งบุ ค ค ล แ ล ะ ช่ื น ช ม ขอ้ ความและท่าทางซึ่งมีความหมายทางตรง ซ่ึงสัม พันธ์กับ ความ ห มาย และเป็ น วิญญาณ เหตุการณ์ หรืออารมณ์ของผู้คน ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ในฐานะ หรือมีความหมายโดยนัย โดยสารน้ันอยู่ใน ประโยชน์ต่อการเรียนภาษาต่างประเทศ ร่วมและต่างวัฒนธรรมอย่างลึกซึ้งและเสรี พลเมืองโลก ผ่านการสื่อสารระหว่างบุคคล ระดบั ท่ีสามารถส่อื ความได้ตามวตั ถปุ ระสงค์ อื่น ๆ ต่ อไป มี ความเป็ นธรรม ชาติ สามารถเข้าถึงกลุ่มคนทั่วไปหรือกลุ่มคนท่ีมี การสื่อสารระหวา่ งกลุ่มใหญ่ การส่อื สารมวลชน เหมาะสม สร้างสรรค์ มีประสิทธิภาพ มี คำนึงถึงบริบทที่แตกต่างของการใช้ภาษา รสนิยมเดียวกันได้ สามารถประเมินคุณค่า และการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม ท้ังแบบ วิจารณญาณ มรี สนิยม และมนั่ ใจ แสดงออก โดยตระหนักถึงความเป็นภาษาโลกของ และสะท้อนความคิด ความรู้สึก คุณค่า เผชญิ หนา้ และผ่านช่องทางการส่อื สารอืน่ ๆ ได้ ถึงความเคารพในสิทธิ เสรีภาพของบุคคล ภาษาอังกฤษซ่ึงใช้โดยพลเมืองโลก และ ตัวตน รสนยิ มท่ีมคี วามชดั เจนได้ ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

24 สมรรถนะหลักดา้ นภาษาองั กฤษเพอ่ื การสอื่ สาร (English for Communication) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 การรบั สง่ สาร การเรียนรู้ภาษา การสรา้ งความบนั เทิงและสนุ ทรียภาพ เหมาะสม สรา้ งสรรค์ มีประสิทธิภาพ และมัน่ ใจ และช่ืนชมความหลากหลายทางวัฒนธรรม ส า ม าร ถ น ำวิธีก าร จ า ก ก า รเรีย น รู้ กอ่ ใหเ้ กดิ ผลอันดตี ่อการดำรงชีวติ และสงั คมโลก ในฐานะพลเมืองโลก ผ่านการส่ือสาร ภาษาอังกฤษไปกำหนดวิธีการเรียนรู้ ระหวา่ งบุคคล การส่ือสารระหว่างกลุ่มใหญ่ ภาษาต่างประเทศได้ด้วยตนเองตามความ การส่ือสารมวลชน และการสื่อสารระหว่าง สนใจ วัฒนธรรม ไม่มีข้อจำกัดทางภาษาและ วัฒนธรรมเป็นเครื่องขวางก้ัน หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

25 สมรรถนะท่ี 3 ในความฉลาดรพู้ นื้ ฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตรใ์ นชวี ติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) สมรรถนะหลักด้านคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) หมายถึง ความสามารถในนำความรู้ทางคณิตศาสตร์ ไปเชอื่ มโยงกับปัญหา สถานการณใ์ นชวี ิตประจำวันที่ผ้เู รียนพบ ทำใหผ้ ู้เรยี นมองเห็นความเช่ือมโยงระหว่างคณิตศาสตรก์ ับโลกท่เี ป็นจรงิ เป็นการประยกุ ต์เพื่อ นำไปใช้ในชีวิตประจำวัน หรือใช้ในการทำงานที่เหมาะสมตามวัย เป็นการบูรณาการสาระของคณิตศาสตร์กับอีกหลายๆ สาขาวิชาเข้าด้วยกันเพ่ือให้เกิด การเรียนรูอ้ ย่างมคี วามหมาย สมรรถนะหลกั ดา้ นคณติ ศาสตร์ในชวี ิตประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 การแกป้ ญั หา การให้เหตผุ ล การสอื่ สาร การเชอ่ื มโยง การคดิ สร้างสรรค์ ระดับ 1 คำอธบิ าย สามารถแกป้ ญั หาทางคณติ ศาสตร์ ใช้ความรทู้ างคณิตศาสตร์ท่ี ใชค้ วามรู้ทางคณิตศาสตร์ที่ ใช้ศพั ท์ สญั ลักษณ์ แผนภูมิ บอกความเช่ือมโยงทาง คิดและคำนวณ ได้อย่าง แผนภาพ อย่างง่ายเพ่ือ คณิตศาสตร์กับปัญหาหรือ คล่องแคล่ว ว่องไว แม่นยำ ให้คำอธิบายในคำตอบของตัวเอง มีในการแก้ปัญหาในชีวิต มี อธิบายความคิดของตน ส่ื อ ส า ร ใ ห้ ผู้ อื่ น เข้ า ใ จ ใ น สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท่ตี นเอง เป็นขั้นตอน และเริ่มมี แ ล ะ ให้ เห ตุ ผ ล ท า ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ประจำวัน โดยคำนึงถึง ด้ ว ย ภ า ษ า อ ย่ า ง ง่ า ย ความคิดของตนเอง ได้ พบในชีวิตจริง และอธิบาย แนวทางของตนเอง ใน อย่างไม่เป็นทางการส่ือสารและ ความสมเหตุสมผลตามวยั สมเหตุสมผลตามวัย และ อ ย่ างห ล าก ห ล าย แ ล ะ ได้อยา่ งสมเหตสุ มผล แก้ปัญหา เพ่ือแก้ปัญหา สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ หาความสัมพันธ์อย่างง่าย เหมาะสมกับวัย เน้ือหา ร ว ม ท้ั ง ส า ม า ร ถ เช่ื อ ม โ ย ง ท า ง และนำไปใชค้ าดการณ์ได้ และสถานการณ์ รวมทั้ง ตามวัย ทางคณิตศาสตร์ท่ีเกิดข้ึน คณิตศาสตร์ และคิดสร้างสรรค์ บอกความ สมั พันธ์ระหว่าง ในสถานการณ์ต่าง ๆ ใน ในระดับเนื้อหาที่เรียนเพื่อนำไป ภาษาในชีวิตประจำวันกับ ชีวิตประจำวัน ได้อย่าง ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ ภาษาและสัญลักษณ์ทาง เหมาะสม คณิตศาสตร์ได้ เหมาะสม กับเนอ้ื หาและสถานการณ์ หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รบั อนญุ าต

26 สมรรถนะหลกั ด้านคณติ ศาสตร์ในชีวติ ประจำวนั (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 การแกป้ ญั หา การให้เหตุผล การสื่อสาร การเชื่อมโยง การคดิ สรา้ งสรรค์ ระดับ 2 คำอธบิ าย มี ทั ก ษ ะ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ใชค้ วามรู้ทางคณติ ศาสตรท์ ี่ ใช้ความรทู้ างคณติ ศาสตร์ ใช้ศัพท์ สัญลักษณ์ แผนภูมิ อธบิ ายความรู้และหลักการ มี ค ว า ม คิ ด ริ เ ริ่ ม คิ ด คณิ ตศาสตร์ ให้ คำอธิบ ายใน มีในการแก้ปัญหาในชีวิต ท่ีมี เพื่อสนับสนุนความคิด แผนภาพ เพ่ือสอ่ื ความหมาย ทางคณิตศาสตร์อย่างง่าย หลากหลายและสามารถ คำตอบของตวั เองอย่าง ให้เหตุผล ประจำวันที่เหมาะสมกบั วัย ของตนเองอย่างสมเหตุ- ทางคณิตศาสตร์ ให้ผู้อ่ืน ที่ ส ะ ท้ อ น ใ ห้ เห็ น ถึ ง ป รับ เป ลี่ ย น ก ล ยุ ท ธ์ใน ทางคณิตศาสตร์ สื่อสารและส่ือ โ ด ย ใช้ ก ร ะ บ ว น ก า ร ส ม ผ ล ต า ม วัย ห าแ ล ะ เข้าใจความคิดของตนเอง ค วาม เชื่ อ ม โย งภ าย ใน การแก้ปัญหาให้เหมาะสม ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ อธิบายความสัมพันธ์อย่าง ได้อย่างหลากหลาย มี คณิ ต ศ าส ตร์ เชื่อม โย ง ตามสถานการณใ์ นชวี ิต รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงทาง อ ย่ า ง เห ม า ะ ส ม แ ล ะ ง่ายสร้างและใช้ข้อความ ประสิทธิภาพ เหมาะสม คณติ ศาสตรก์ ับศาสตร์อน่ื ๆ ประจำวนั คณิตศาสตร์ และคิดสร้างสรรค์ คำนึงถึงความสมเหตุสมผล คาดการณ์พร้อม ให้เหตุผล กั บ วั ย เน้ื อ ห า แ ล ะ และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์ ในระดับเนื้อหาที่เรียนเพ่ือนำไป ของคำตอบทไ่ี ด้ เบื้องต้น เพื่อสนับสนนุ หรือ สถานการณ์ กับชีวิตประจำวัน อย่าง ประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั ได้ คดั ค้าน สมเหตุสมผลตามวยั ระดบั 3 คำอธิบาย มีทักษะการแก้ปัญ หาการให้ แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ระบุ ค วาม สัม พั น ธ์ของ นำเสนอและอธิบายข้อมูล เชื่อมโยงความรู้หรือปัญหา ใช้ความคิดคล่องความคิด เหตุผล การส่ือสารและการสื่อ โดยประยุกต์ความรู้ความ ข้ อ มู ล เพ่ื อ ยื น ยั น ห รื อ ท่ีส่ือความหมายให้ผู้อื่น ทางคณิตศาสตร์กับส่ิงท่ี ยืด ห ยุ่น ความคิ ดริเริ่ม ความหมาย การเช่ือมโยงทาง เขา้ ใจทางคณิตศาสตร์ โดย คั ด ค้ า น ข้ อ ส รุ ป ห รื อ เข้ า ใจ ต ร ง กั น ไ ด้ ต า ม ตนเองพบได้อย่างถูกต้อง และความละเอียดลออ ใน คณิ ตศาสตร์และการคิดอย่าง เ ลื อ ก ก ร ะ บ ว น ก า ร ข้อความคาดการณ์นั้น ๆ วัตถุประสงค์โดยใช้การพูด และเหมาะสม ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห าท าง สร้างสรรค์เพื่อให้รู้เท่าทันการ แก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ อย่างสมเหตุสมผล หรือใช้ และเขียน วัตถุ รูปภาพ คณิ ตศาสตร์แล ะขย าย เปล่ียนแปลงของระบบเศรษฐกิจ ที่ เ ห ม า ะ ส ม ใ น ก า ร เ ห ตุ ผ ล แ บ บ อุ ป นั ย ก ร า ฟ สั ญ ลั ก ษ ณ์ ท า ง ค ว า ม คิ ด ที่ มี อ ยู่ เดิ ม เพื่ อ สังค ม วัฒ นธรรม แล ะ ส ภ าพ แก้ปัญหาและดำเนินการ ( Inductive Reasoning) คณิตศาสตร์ และตัวแทน ส ร้ า ง แ น ว คิ ด ให ม่ โ ด ย ใช้ แวดล้อม นำความรู้ความสามารถ จน ได้ คำตอบ ท่ี ส ม เห ตุ ในการสร้างความสัมพันธ์ อ่นื ๆ คณิตศาสตร์เป็นฐานเพอื่ ให้ สมผล ขอ้ ความคาดการณ์ หรือใช้ รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รบั อนญุ าต

27 สมรรถนะหลกั ดา้ นคณติ ศาสตร์ในชวี ติ ประจำวัน (Mathematics in Everyday Life) ระดับ สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 การแกป้ ญั หา เจตคติ ทักษะท่ีมีไปประยุกต์ใน การให้เหตุผล การส่อื สาร การเชอื่ มโยง การคิดสรา้ งสรรค์ การเรี ย น รู้สิ่ งต่ าง ๆ แ ล ะ ใน สภาพการณ์ใหม่ เพื่อให้ได้มาซ่ึง เ ห ตุ ผ ล แ บ บ นิ ร นั ย ตา่ ง ๆ ท่เี กดิ ขึ้นในสงั คม ความรู้ใหม่และนำไปประยุกต์ใช้ ในชวี ิตประจำวันได้ ( Deductive Reasoning) ในการตรวจสอบข้อสรุป และสร้างเหตุผลสนับสนุน ที่ชัดเจน ระดบั 4 คำอธิบาย แก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ระบุถึงความสัมพันธ์ของ ออกแบบการนำเสนอและ เช่ือมโยงความรู้หรือปญั หา ใช้ความคิดคล่อง ความคิด โดยประยุกต์ความรู้ความ ข้อ มู ล เพ่ื อ ยื น ยั น ห รือ อธิบายเพ่ือส่ือความหมาย ทางคณิตศาสตร์กับความรู้ ยืด ห ยุ่น ความคิ ดริเร่ิม มีทักษะด้านการแก้ปัญหา การให้ เขา้ ใจทางคณิตศาสตร์ เพ่ือ คั ด ค้ า น ข้ อ ส รุ ป ห รื อ ให้ผู้อื่นเข้าใจตรงกัน ได้ ปัญหา หรือสถานการณ์อื่น และความคิดละเอียดลออ เหตุผล การส่ือสารและการส่ือ ทำความเข้าใจปัญหา ระบุ ข้ อ ค ว า ม ค าด ก า ร ณ์ นั้ น ๆ ตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ ที่ตนเองพบ ซึ่งอาจเป็น ใน ก า ร คิ ด แ ก้ ปั ญ ห า ท า ง ความหมายทางคณิ ตศาสตร์ ก า ร เช่ื อ ม โย ง ท า งค ณิ ต ศ า ส ต ร์ และการคิดอย่างสร้างสรรค์ ประเด็นปัญหา วิเคราะห์ อย่างสมเหตุสมผล และใช้ การพูดและเขียน วัตถุ ก า ร เชื่ อ ม โย ง ภ า ย ใน คณิ ตศาสตร์ และขยาย เพื่อให้รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลง ปัญหา วางแผนแก้ปัญหา เ ห ตุ ผ ล แ บ บ อุ ป นั ย รูปภาพ กราฟ สัญลักษณ์ คณิ ต ศ าส ตร์ เช่ือม โย ง ความคิดท่ีมีอยู่เดิม เพ่ือ ข อ งร ะ บ บ เศ ร ษ ฐ กิ จ สั งค ม แ ล ะ ด ำเนิ น ก าร จ น ได้ (Inductive Reasoning) ท างค ณิ ต ศ าส ต ร์ แ ล ะ คณติ ศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ สร้างแนวคิดใหม่ ปรับปรุง วัฒนธรรมและสภาพแวดล้อมนำ คำตอบท่ีสมเหตุสมผล ในการสร้างความสัมพันธ์ ตัวแทนอื่น ๆ ได้อย่างมี และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์ หรือพัฒนาองค์ความรู้ทาง และ ข้อความคาดการณ์ ประสทิ ธภิ าพ กับชีวิตประจำวัน ได้อย่าง คณิตศาสตร์ หรือศาสตร์ ความรู้ความสามารถ เจตคติ และใช้เหตุผลแบบนิรนัย มีประสทิ ธิภาพ อ่ืนๆ โดยใช้คณิตศาสตร์ ทักษะที่มี ไปประยุกต์ใช้ในการ (Deductive Reasoning) เป็นฐาน เพ่ือให้รู้เท่าทัน เ รี ย น รู้ สิ่ ง ต่ า ง ๆ แ ล ะ ใ น ในการตรวจสอบข้อสรุป การเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่ สถานการณ์ใหม่ๆ เพ่ือให้ได้มาซึ่ง และสร้างเหตุผลสนับสนุน เกิดขึ้นในสงั คม ความรู้ใหม่หรือการสร้างสรรค์ส่ิง ที่นา่ เช่ือถือ ใหม่ๆ และนำไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวันได้ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

28 สมรรถนะที่ 4 ในความฉลาดรู้พ้ืนฐาน (Competencies in Basic Literacy) สมรรถนะหลกั ดา้ นการสืบสอบทางวทิ ยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) สมรรถนะหลักด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) หมายถึง ความสามารถใน การสืบเสาะหาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ อธิบายปรากฏการณ์รอบตัวโดยใช้เครื่องมือหรือวิธีการที่เหมาะสม เช่ือมโยงความสัมพั นธ์ของ ปรากฏการณ์อย่างเป็นเหตุเป็นผล แสดงข้อคิดเห็นในการโต้แย้งโดยใช้หลักฐานและเหตุผลประกอบอย่างสมเหตุสมผล และเป็นผู้มีคุณลักษณะหรือ ลกั ษณะนสิ ยั ของบคุ คลที่เกิดจากการศึกษาหาความรู้ดว้ ยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สมรรถนะหลักดา้ นการสบื สอบทางวิทยาศาสตร์และจติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะที่ 5 การเชือ่ มโยง การอธิบาย การสบื เสาะ การโต้แยง้ กระบวนการออกแบบ เหตุและผล ปรากฏการณ์ หาความรู้ ในประเด็นสำคญั ทางวศิ วกรรม ระดบั 1 คำอธบิ าย 1.ร ะ บุ ผ ล ข อ ง 2. อธิบายปรากฏการณ์ 4. ต้ังคำถามเกี่ยวกับ 5. สนทนาด้วยการรับ 6. ร ะ บุ ปั ญ ห าท่ี ค วร ช่างสงั เกต สนใจปรากฏการณ์รอบตัว ช่างสงั เกต มี ป รากฏ การณ์ ต่ าง ๆ และการเปลี่ยนแปลง ปรากฏการณ์ที่พบใน ฟังและให้ ความคิ ด แก้ไข นำเสนอแนวทาง ค วาม คิ ด ส ร้างส รรค์ ใน การต้ั งค ำถ าม ต าม และ/ หรือระบุเหตุของ ตา่ ง ๆ ในชวี ิตประจำวัน ชีวิตประจำวัน โดย สนับสนุนหรือคัดค้าน ใหม่ในการแก้ปัญ ห า ด้วยการใช้หลักเหตุผลที่ อ า จ เป็ น ค ำ ถ า ม ท่ี เกี่ ย ว กั บ ค ว า ม รู้ แ ล ะ ท ด ส อ บ วิธี ก า ร จินตนาการท่ีอาจเป็นหรอื ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ระบุ ผลทเี่ กิดขึน้ ไม่ซับซอ้ น เหตุและ/หรือผล และอธิบายปรากฏการณ์ใน สามารถหาคำตอบได้ รวมท้ังปัญหาที่โต้แย้ง แก้ปญั หาน้ัน 3. ส ร้างแ ล ะ /ห รือ ใช้ หรือเป็นคำถามจาก กั น ด้ วย ก ารชี้ แ จ ง ชีวติ ประจำวัน โดยใช้เครื่องมอื หรือวธิ ีการอย่างง่าย เค ร่ื อ ง มื อ อ ย่ า ง ง่ า ย จินตนาการ ประกอบการอธิบาย ใช้หลักฐานและให้เหตุผล ป ระกอ บ การอธิบ าย เหตุผลโดยมีหลักฐาน สนับสนุนหรือคัดค้านความคิดเห็น ใจกว้าง รับฟัง ป ร า ก ฏ ก า ร ณ์ ห รื อ ประกอบ ความคดิ เหน็ และกล้าเสนอความคิดเห็นของตน การเปลีย่ นแปลงต่าง ๆ หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รับอนญุ าต

29 สมรรถนะหลักดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตร์และจติ วิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 การเชอื่ มโยง การอธบิ าย การสบื เสาะ การโต้แย้ง กระบวนการออกแบบ เหตุและผล ปรากฏการณ์ หาความรู้ ในประเดน็ สำคัญ ทางวศิ วกรรม ระดับ 2 คำอธบิ าย ช่างสังเกต อยากรู้อยากเห็น และต้ังคำถามอย่าง 1. ระบุเหตุและผลของ 3. อธิบายปรากฏการณ์ 5. ต้ังคำถามเกี่ยวกับ 7. สนทนาด้วยการรับ 8. ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ท่ี เป็นวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับปรากฏการณ์รอบตัว ปรากฏการณ์ท่ีเกดิ ข้นึ ใน ต่าง ๆ โดยใช้หลักฐานท่ี ปรากฏการณ์ที่พบใน ฟังและให้ ความคิ ด เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ รวบ รวม ห รือส ำรวจ ชีวิตประจำวัน ซ่ึงเป็น สนับสนุนหรือคัดค้าน การแก้ปัญหา กำหนด ออกแบบแนวทางการสำรวจตรวจสอบบนพ้ืนฐาน ชีวิตประจำวัน คำถามที่นำไปสู่การ เก่ียวกับข้อกล่าวอ้าง เกณ ฑ์ อุป สรรคและ ของวิทยาศาสตร์ เพ่ือให้ได้คำตอบของคำถามที่ 2. อ ธิ บ า ย ไ ด้ ว่ า ตรวจสอบได้ เป็นวิทยาศาสตร์ รวมทั้งคำตอบในเร่ืองท่ีอยากรู้ ความสัมพันธ์ใดๆ อาจ 4. สร้างและ/ห รือใช้ สืบ เส าะห าค วาม รู้ แ ล ะ ย อ ม รั บ ใน ข้ อ ข้อจำกัดที่สอดคล้อง ระบุเหตุและผลของปรากฏการณ์ในชีวิตประจำวัน เ ป็ น ห รื อ ไ ม่ เ ป็ น เครื่องมือห รือวิธีการ สามารถหาคำตอบได้ กล่าวอ้างที่มีหลักฐาน แล ะต รงกั บ ป ระเด็ น และอธิบ ายลักษณ ะของความ สัม พันธ์ของ ความสัมพันธ์ในเชิงเหตุ อ ย่ า ง ง่ า ย เ พ่ื อ โ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น ส นั บ ส นุ น โด ย ไม่ ปั ญ ห า น ำ สู่ ประกอบ การอธิบ าย สนบั สนุนหรอื คัดคา้ น ลำเอียง แม้ข้อกล่าว การพิจารณาวิธีการใหม่ ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น โดยใช้เครื่องมือหรือวิธีการ และผล ปรากฏการณ์หรือการ 6. ออกแบบแนวทาง อา้ งนัน้ จะแตกตา่ งจาก ในการแกป้ ัญหาท่เี ปน็ ไป อย่างง่ายประกอบการอธิบาย ใช้หลักฐานและให้ เปล่ียนแปลงต่าง ๆ โดย การสืบเสาะหาความรู้ ข้ อ ก ล่ า ว อ้ า ง ข อ ง ได้ ปรบั ปรงุ แนวทางการ เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านความคิดเห็น ยอมรับ คำนึงถึงข้อจำกัด และ โด ย ค ำ นึ งถึ งค วา ม ตนเองโดยมีหลักฐาน แ ก้ปั ญ ห านั้ น โด ย ใช้ คำอธิบายหรือความคดิ เหน็ ทม่ี ีความแตกต่างกนั เส น อ แ น ะ แ น ว ท า ง เ ป็ น ไ ป ไ ด้ ใ น ป ร ะ ก อ บ เพื่ อ ใช้ ข้อมูลจากการทดสอบ การปรับปรุงเคร่ืองมือ ก า ร ด ำ เนิ น ก า ร ใน ป ร ะ เ มิ น ค ว า ม หรอื วธิ กี ารนน้ั ชวี ิตประจำวนั นา่ เชอื่ ถือของข้อกล่าว อา้ ง ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

30 สมรรถนะหลกั ด้านการสืบสอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละจิตวิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะที่ 5 การเชือ่ มโยง การอธบิ าย การสบื เสาะ การโตแ้ ย้ง กระบวนการออกแบบ เหตุและผล ปรากฏการณ์ หาความรู้ ในประเด็นสำคัญ ทางวศิ วกรรม ระดบั 3 คำอธบิ าย 1. ใช้ความสัมพันธ์เชิง 3. อธิบายปรากฏการณ์ 5. ตั้งคำถามเก่ียวกับ 7. ต้ังคำถามและตอบ 9 .ร วบ ร ว ม ข้ อ มู ล ท่ี อยากรู้อยากเห็น มุ่งมั่นอดทนในการศึกษาหา เห ตุ แ ล ะ ผ ล ใน ก า ร ต่าง ๆ ท้ังปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ตา่ ง ๆ ท่ี คำถามที่เก่ียวกับข้อ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ความรู้ มีความรอบคอบในการรวบรวมหลักฐาน อธิบายและพยากรณ์ ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ พบในชีวิตประจำวัน โ ต้ แ ย้ ง โ ด ย ร ะ บุ แ ก้ ปั ญ ห า ท่ี มี ค ว า ม อย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพ่ือใช้ในการอธิบายและ ปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ท่ีเป็นผล ซ่งึ เป็นคำถามท่นี ำไปสู่ ราย ละเอียด พ ร้อม ซับซ้อนในระดับชุมชน พยากรณ์ปรากฏการณ์ท่ีอาจเป็นปรากฏการณ์ 2. จำแนกความสัมพันธ์ จ ากก ารก ระ ท ำข อ ง การสืบเสาะหาความรู้ ขยายความในเรื่องที่ ร่ ว ม กั บ ผู้ อ่ื น อ ย่ า ง ธรรมชาติหรือปรากฏการณ์ท่ีเป็นผลจากการ ของปรากฏการณ์ต่าง ๆ มนุษย์ โดยระบุเหตุผล 6. ออกแบบแนวทางท่ี เก่ียวข้อง แ ล ะ ห ลั ก ฐ า น ท่ี ใช้ ส ร้ า ง ส ร ร ค์ โ ด ย มี ก า ร สนับสนนุ คำอธบิ ายน้นั กระทำของมนุษย์ ออกแบบแนวทางการสำรวจ ออกเป็นความสัมพันธ์ 4. สร้างและ/ห รือใช้ หลากหลายในการสืบ 8. รั บ ฟั ง ค ว า ม คิ ด กำหนดเกณฑ์ อุปสรรค ตรวจสอบอย่างหลากหลายบนพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เชิงเหตุและผล และที่ เคร่ืองมือห รือวิธีการ เสาะหาความรู้ โดย เปรียบเทียบข้อโต้แย้ง แ ล ะ ข้ อ จ ำ กั ด ท่ี ประเมินและเลือกดำเนินการสืบเสาะหาความรู้ ไม่ใช่ความสัมพันธ์เชิง อยา่ งงา่ ยเพอื่ ประกอบ คำนึงถึงความเป็นไป ใน ป ร ะ เ ด็ น เ ดี ย ว กั น สอดคล้องและตรงกับ เพื่อให้ได้คำตอบของคำถามที่กำหนด ใช้หลักฐาน เหตุและผล การอธิบายปรากฏการณ์ ได้ ใน การป ฏิ บั ติ ใน และวิพากษ์โดยใช้การ ประเด็นปัญหา นำสู่การ และเหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านข้อวิพากษ์ รับฟัง ห รื อ ก า ร เป ล่ี ย น แ ป ล ง ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น วิเค ราะ ห์ ห ลั กฐาน พิจารณาวิธีการใหม่ใน และยอมรับคำอธิบายหรือข้อโต้แย้งท่ีหลากหลาย ป ร ะ เมิ น แ น ว ท า ง ท่ี สนับสนุนหรือคัดค้าน ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ท่ี รวมท้ังให้เหตุผลประกอบความน่าเชื่อถือของ ต่ าง ๆ โด ย ค ำนึ งถึ ง ออกแบบ เพื่อเลือก โดยปราศจากอคติ เหมาะสมและเป็นไปได้ ขอ้ โตแ้ ยง้ ของตน ข้อจำกัดของเคร่ืองมือ และดำเนินการตาม ด้วยการทำการทดสอบ ห รื อ วิ ธี ก า ร นั้ น แนวทางดังกล่าว เพ่ือ พร้อมมกี ารปรบั ปรงุ ด ำเนิ น การป รับ ป รุง ได้มาซ่ึงคำตอบของ เครื่องมือห รือวิธีการ คำถามทก่ี ำหนดไว้ อย่างเหมาะสม รวมท้ัง เสนอแนะแนวทางการ ปรับปรุงเครื่องมือหรือ วิธกี ารนน้ั ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ได้รบั อนญุ าต

31 สมรรถนะหลักดา้ นการสบื สอบทางวทิ ยาศาสตรแ์ ละจติ วิทยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดบั สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 การเชื่อมโยง การอธิบาย การสืบเสาะ การโต้แย้ง กระบวนการออกแบบ เหตแุ ละผล ปรากฏการณ์ หาความรู้ ในประเดน็ สำคัญ ทางวิศวกรรม ระดับ 4 คำอธบิ าย ใฝ่เรียนรู้ อยากร้อู ยากเห็น รับผิดชอบในการ 1. สร้างข้อกล่าวอ้างหรือ 2. อธบิ ายปรากฏการณ์ 4. ต้ังคำถามเกี่ยวกับ 6. โต้ แ ย้ งป ร ะ เด็ น 7. ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล ที่ แสวงหาความรู้ รอบคอบในการรวบรวมหลักฐาน คำอธิบายประกอบการให้ ต่าง ๆ ท้ังปรากฏการณ์ ปรากฏการณ์ท่ีพบใน ต่าง ๆ โดยให้เหตุผล เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร อย่างเป็ นวิทยาศาสต ร์ เพ่ื อใช้ใน การสร้าง เหตุผลโดยใช้หลักฐานเชิง ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ แ ล ะ ชีวิตประจำวัน โดย สนับสนุนหรือคัดค้าน แ ก้ ปั ญ ห า ที่ มี ค ว า ม คำอธบิ ายประกอบการให้เหตผุ ล และเปน็ หลักฐาน ประจักษ์ ในการจำแนก ปรากฏการณ์ท่ีเป็นผล อาจเป็นปรากฏการณ์ พร้อมท้ังมีหลักฐาน ซั บ ซ้ อ น ทั้ งใน ร ะ ดั บ ประกอบการอธิบายและจำแนกความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์เชิงเหตุผล จ ากก ารก ระ ท ำข อ ง ท างธรรม ชาติ แ ล ะ เชิงประจักษ์เพื่อการ ชุมชน สังคม และโลก ปรากฏการณ์ท่ีอาจเปน็ ปรากฏการณธ์ รรมชาตหิ รือ และความสัมพันธ์ท่ีไม่ใช่ มนุษย์ โดยระบุเหตุผล ปรากฏการณ์ท่ีเป็นผล ตัดสนิ ใจเลือกเหตผุ ลท่ี ร่วมกับผู้อนื่ อยา่ งสร้าง ปรากฏการณ์ที่เป็นผลจากการกระทำของมนุษย์ ความสัมพนั ธ์เชงิ เหตุผล แ ล ะ ห ลั ก ฐ า น ที่ ใช้ จากการกระทำของ ดี นา่ เชอ่ื ถือมากที่สุด สรรค์โดยการกำหนด อ อ ก แ บ บ แ น ว ท า ง ก า ร ส ำ ร ว จ ต ร ว จ ส อ บ อ ย่ า ง สนับสนุนคำอธิบายน้ัน ม นุ ษ ย์ โด ย ค ำถาม รับฟังและให้ความคิด จัดลำดับ และประเมิน หลากหลายบนพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ เพื่อประเมิน คำนึงและยอมรับผลท่ี ดั ง ก ล่ า ว แ ส ด ง ถึ ง สนับสนุนหรือคัดค้าน เกณ ฑ์ อุป สรรคและ และเลือกดำเนินการสำรวจตรวจสอบเพ่ือให้ได้ เกดิ ขึน้ จากคำอธิบายนน้ั วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ท่ี ที่เก่ียวกับข้อโต้แย้ง ข้อจำกัดท่ีสอดคล้อง คำตอบอย่างเป็นวิทยาศาสตร์โดยมีหลักฐาน และ 3. สร้างและ/ห รือใช้ ห ลากห ล ายในการ นนั้ อย่างสรา้ งสรรค์ แล ะต รงกับ ป ระเด็ น นำเสนอผลการสืบเสาะหาความรู้อย่างซ่ือสัตย์บน เครื่องมือหรือวิธีการเพื่อ ได้มาซ่ึงคำตอบที่ผ่าน ปั ญ ห า น ำ สู่ ก า ร หลักฐานที่เป็นที่ยอมรับ สามารถออกแบบการ ประกอบ การอธิบ าย การสืบเสาะหาความรู้ พิจารณาวิธีการใหม่ใน ทดสอบเคร่ืองมือหรือวิธีการที่ใช้ประกอบการ ปรากฏการณ์หรือการ 5. ออกแบบแนวทางที่ ก า ร แ ก้ ปั ญ ห า ที่ อธิบาย ให้เหตุผลสนับสนุนหรือคัดค้านข้อวิพากษ์ เปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ที่ หลากหลายในการสืบ เหมาะสมและเป็นไปได้ ไม่มอี คติ รบั ฟังและยอมรบั คำอธบิ ายหรอื ข้อโต้แยง้ ซับซ้อน โดยคำนึงถึง เสาะหาความรู้ เพื่อ ด้วยการทำการทดสอบ ที่หลากหลาย รวมท้ังให้เหตุผลประกอบความ ข้อจำกัดของเครื่องมือ ประเมิน และเลือก พ ร้ อ ม มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง น่าเชือ่ ถอื ของขอ้ โต้แย้งของตนอยา่ งสรา้ งสรรค์ หรือวิธกี ารนั้น ออกแบบ ด ำ เ นิ น ก า ร ต า ม ด้วยความตระหนักและ การทดสอบเคร่ืองมือ แนวทางที่เหมาะสม ค วาม รับ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ห รื อ วิ ธี ก า ร ที่ ใ ช้ ท่ี สุ ด ใ น ก า ร ต อ บ ชุมชน สังคม และโลก ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

32 สมรรถนะหลักด้านการสบื สอบทางวิทยาศาสตรแ์ ละจติ วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Inquiry and Scientific Mind) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 การเชื่อมโยง การอธิบาย การสบื เสาะ การโต้แย้ง กระบวนการออกแบบ เหตุและผล ปรากฏการณ์ หาความรู้ ในประเดน็ สำคัญ ทางวิศวกรรม ประกอบ การอธิบ าย คำถามที่ตั้งไว้ พร้อม โดยคำนึงถึงคุณ ภาพ เ พ่ื อ ยื น ยั น ค ว า ม ท้ั งน ำเส น อ ผ ล การ ชี วิ ต ที่ เป็ น มิ ต ร ต่ อ น่าเชื่อถือ และนำสู่การ สำรวจตรวจสอบอย่าง สง่ิ แวดลอ้ ม ป รั บ ป รุ งเค รื่ อ งมื อ / ซ่ื อ สั ต ย์ โด ย ร ะ บุ วธิ ีการดังกล่าว หลักฐานเชิงประจักษ์ ที่ได้รับ การยอมรับ จ าก ส าธารณ ะ ซ่ึ ง น ำไป สู่ ก าร พั ฒ น า ความเป็นผู้รักในความ มีเหตุผล สมรรถนะในความฉลาดรู้พื้นฐานนี้มีความสัมพันธ์ สอดคล้อง เชื่อมโยงกับสมรรถนะหลักสำคัญทั้ง 7 สมรรถนะ ในลักษณะของการสนับสนุนซึ่งกันและกัน และเล่ือนไหล (flow) หากัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงในส่วนของสมรรถนะหลักด้าน การคดิ ขั้นสูงและการพฒั นานวตั กรรม และสมรรถนะหลักด้านการสอ่ื สาร หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

33 สมรรถนะหลกั สำคญั 7 สมรรถนะ ห้ามคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

34 สมรรถนะหลักท่ีสำคญั ของผเู้ รียนระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน มีลกั ษณะเปน็ สมรรถนะทัว่ ไป (generic competency) หรือสมรรถนะแกน (core competency) ซึ่งเป็นสมรรถนะข้ามวิชาหรือคร่อมวิชา คือเป็นสมรรถนะท่ีสามารถพัฒนาให้เกิดขึ้นแก่ผู้เรียนได้ในสาระการเรียนรู้ต่าง ๆ หลากหลาย หรือนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้เรียนรู้สาระต่าง ๆ ได้ดีข้ึน ลึกซึ้งขึ้น สมรรถนะในลักษณะน้ี เป็นสมรรถนะที่มีลักษณะ “Content – free” คือ ไม่เกาะติดเน้ือหา หรือไม่ขึ้นกับเนื้อหา เพียงแต่สมรรถนะบางสมรรถนะ อาจพัฒนาได้ดีกว่ากับเนื้อหาบางเน้ือหา ซ่ึงแตกต่างไปจากสมรรถนะเฉพาะ (specific competency) ท่ีเป็นสมรรถนะเฉพาะวิชา / สาขาวิชา ซ่ึงจำเป็นสำหรับวิชานั้นๆ ตัวอย่างเช่น ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย จะมีสมรรถนะ เฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะด้านหลักภาษา สมรรถนะด้านการประพันธ์ หรือในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ จะมีสมรรถนะเฉพาะของวิชา เช่น สมรรถนะ ด้านการวาดภาพ การป้ัน การประดิษฐ์ เป็นต้น ดังน้ัน สมรรถนะหลักที่สำคัญของผู้เรียนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีระบุไว้ในท่ีน้ี ครูผู้สอนทุกรายวิชาทุก กล่มุ สาระการเรียนรู้จึงสามารถช่วยกนั พัฒนาสมรรถนะหลักเหล่าน้ีให้เกดิ ขน้ึ แกผ่ ้เู รยี นได้ สมรรถนะหลักทสี่ ำคัญของผเู้ รยี นระดบั การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ประกอบด้วย (1) สมรรถนะหลกั ด้านทักษะชวี ิตและความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) (2) สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) (3) สมรรถนะหลกั ดา้ นการคิดขั้นสงู และการพฒั นานวตั กรรม (Higher-Order Thinking Skills and Innovation Development) (4) สมรรถนะหลักด้านการร้เู ท่าทนั ส่ือ สารสนเทศ และดิจทิ ลั (Media Information and Digital Literacy) (5) สมรรถนะหลกั ดา้ นการสื่อสาร (Communication) (6) สมรรถนะหลักดา้ นการทำงานแบบรวมพลังเป็นทมี และมภี าวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) (7) สมรรถนะหลกั ด้านการเปน็ พลเมืองตื่นรู้ทีม่ สี ำนกึ สากล (Active Citizenship with Global Mindedness) รายละเอยี ดคำอธิบายสมรรถนะ ระดับสมรรถนะ และพฤติกรรมบ่งชข้ี องแตล่ ะสมรรถนะ มดี ังน้ี หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รบั อนุญาต

35 1. สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะชวี ติ และความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชีวิตและความเจรญิ แห่งตน (Life Skills and Personal Growth) หมายถงึ ความสามารถที่จำเป็นในการใชช้ วี ิตอย่างมี ประสิทธิภาพและมีความสุข โดยการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้สรา้ งความสมดุลและพอดีในการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน มี การตระหนักรตู้ นเอง เข้าใจอารมณ์ความรู้สึกของตนเองและผู้อื่น รู้จุดเด่นและจุดควรพัฒนาของตนและนำมาใช้ในการกำหนดเป้าหมายของชีวิต มีทักษะการเรียนรู้และการกำกับ ตนเอง มีสติสัมปชัญญะ มีคุณธรรม น้อมนำหลักศาสนาที่ตนนับถือมาเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวในการดำรงชีวิต กิน อยู่ ดู ฟัง เป็น สามารถป้องกันตนเองและ หลกี เล่ียงจากภยั ต่าง ๆ บริหารจัดการตนเองและดำเนนิ ชีวิตส่เู ป้าหมาย ปรบั ตวั และฟ้ืนคืนสภาพอยา่ งรวดเรว็ เมื่อเผชิญกับปญั หาและความเปล่ยี นแปลง สรา้ ง ปฏิสัมพันธ์ที่ดี พร้อมเกื้อกูล ช่วยเหลือเพื่อน ครอบครัว และผู้เก่ียวข้อง เพ่ือความสุขในการอยู่ร่วมกัน ปฏิบัติหน้าท่ีต่อสังคมได้เหมาะสมกับบทบาทและ หน้าที่ มีการพัฒนาตนเองให้มีชีวิตอย่างสมดุลทุกด้าน ท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม สติปัญญา และสุนทรียะ มีความพึงพอใจ ในการใช้ชีวิต นับถือตนเอง พึ่งพาตนเอง และพัฒนาตนเองให้มสี ุขภาวะที่ดี มีสุนทรียภาพ ช่ืนชม ความงามของธรรมชาติและศิลปวัฒนธรรม เห็นความสำคัญ มีส่วนร่วมใน การรกั ษา สืบทอด ส่งต่อ ทะนบุ ำรุงรกั ษาวัฒนธรรมให้ดำรงสืบทอดตอ่ ไปได้ ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

36 สมรรถนะหลักด้านทักษะชวี ติ และความเจรญิ แหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะที่ 6 การร้จู ักตนเองและ การดแู ลตวั เองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สุนทรียะ ทักษะการเรยี นรู้ ระดับ เขา้ ใจผ้อู ่ืน ความปลอดภัย อารมณแ์ ละสังคม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกับ (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner ระดับ 1 คำอธบิ าย รู้ จั ก ต น เ อ ง 1. ท ำสิ่ งต่ าง ๆ ด้ วย 1 . ป ฏิ บั ติ ต า ม สุ ข 1. รู้และสื่อสารอารมณ์ 1. ละเว้นการกระทำที่ไม่ 1. ชื่นชมและเข้าร่วม 1. ช่างสังเกต รู้จักต้ัง พึ่งตนเองและดูแลตนเอง ความม่ันใจ บอกส่ิงท่ี บั ญ ญั ติ ท ำ กิ จ วัต ร ความรู้สึกของตนเอง เม่ือ ควรทำและต้ังใจทำความ ในกิจกรรมทางศิลปะ คำถาม มีเป้าหมายใน ได้เหมาะสมตามวัย มีสุข สามารถทำได้ และส่ิงท่ี ประจำวันท้ังการกิน ดีใจ เสียใจ โกรธ ผิดหวัง ดี หรือช่วยคนในครอบครัว นาฏศิลป์ ดนตรี รวมทั้ง ก า ร เ รี ย น รู้ แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม ท า ง แสวงหาความรู้จาก นิสัยในการทำกิจวัต ร ทำไม่ได้บอกได้ว่าตน เล่น เรียน ช่วยทำงาน ให้ผู้อื่นรับรู้และเข้าใจได้ และผอู้ นื่ ป ร ะ จ ำ วั น ส า ม า ร ถ ชอบ ไมช่ อบอะไร พักผ่อน นอนหลับอย่าง พ ร้อมท้ั งควบ คุม แล ะ 2. มีสัมมาคารวะต่อผู้ใหญ่ ศิลปวัฒนธรรม การอ่านหรือวิธีต่าง ๆ ป้องกันตนเองจากภั ย บอกความคิด พอดี พอเหมาะกบั วัย แสดงอารมณ์ออกมาเป็น และปฏิบัติตนต่อผู้อื่นได้ 2. ชื่นชม เห็นคุณค่า 2. สามารถประเมิน ต่าง ๆ ควบคุมอารมณ์ ความรสู้ ึก 2. ระมัดระวังตนเอง พฤติกรรมที่เหมาะสมได้ อยา่ งเหมาะสม ค ว า ม ง า ม ข อ ง ตนเอง บอกจุดพัฒนา ของตนได้ และปรับตนให้ ความตอ้ งการ จากภัยต่าง ๆ บอกหรือ 2. ร่วมเล่นและเรียนกับ ธรรมชาติรอบตัวและ ข อ ง ต น เ อ ง ไ ด้ เล่ น เรี ย น แ ล ะ ท ำ ความสามารถ ถามครู หรือผู้ใหญ่ใน เพื่ อนๆ ได้ รู้ จั กแบ่ งปั น ไม่ทำลายธรรมชาติ กิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับ แ ล ะ ข้ อ จ ำ กั ด ข อ ง เรื่องที่ไม่รู้ ไม่แน่ใจ สามารถแก้ปัญหาดว้ ยสันติ เพ่ื อน ๆ ได้ มี สั ม ม า - ตนเองและผอู้ ื่นได้ และ กอ่ นตดั สินใจ วธิ ี คารวะ และปฏิบัติตนต่อ บ อ กค วาม แ ต ก ต่ าง ผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม ระหว่างตนเองและผอู้ น่ื ส า ม า ร ถ คิ ด ห า วิ ธี ได้ แก้ปัญหาที่เกิดข้ึนกับตน ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนุญาต

37 สมรรถนะหลักด้านทกั ษะชวี ติ และความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะท่ี 6 การรู้จักตนเองและ การดูแลตวั เองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สุนทรียะ ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั เข้าใจผ้อู ่นื ความปลอดภยั อารมณแ์ ละสังคม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกับ (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner แ ล ะ ล อ งแ ก้ ปั ญ ห า ด้ ว ย ตนเอง มีสุนทรียภาพใน ความงามของศิลปะและ ธรรมชาติรอบตัว เข้าร่วม ใ น กิ จ ก ร ร ม ท า ง ศิลปวัฒนธรรมของสังคม รวมท้ังมีเป้าหมายในการ ทำงานและสามารถ ประเมนิ ตนเอง พร้อมบอก จดุ พฒั นาของตนเองได้ ระดับ 2 คำอธบิ าย เข้ าใจตนเองและผู้ อ่ื น 1. ตัดสินใจเลือกท ำ 1. ดูแลร่างกาย และ 1. ค ว บ คุ ม อ า ร ม ณ์ 1. กระทำสิ่งดีงามตาม 1. ช่ืนชมส่ิงแวดล้อม 1. ต้ั งเป้ า ห ม า ย ใน พ่ึงตนเอง ดูแลตนเองและ กิจกรรมท่ีสนใจตาม จิ ต ใจ ให้ มี สุ ข ภ าว ะ ความรู้สึกและจัดการกับ พื้นฐานของสังคม โดย รอบตวั และยินดที ี่จะ การเรียน มีวิธีในการ ผู้อ่ืนได้อย่างเหมาะสม ท้ัง ค ว า ม ถ นั ด แ ล ะ โดยใช้ชีวิตอย่างสมดุล อ า ร ม ณ์ ข อ ง ต น เอ ง รับผิดชอบต่อการกระทำ ดูแล และปรับปรุงส่ิง แสวงหาความรู้ ด้ านร่างกายและจิ ตใจ ความสามารถอย่าง แ ล ะถู กสุ ขลั กษ ณ ะ ท่ีเกิดขึ้นในสถานการณ์ ของตน ต่าง ๆ ในธรรมชาติ 2. สร้างแรงจูงใจใน หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

38 สมรรถนะหลักดา้ นทักษะชวี ติ และความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 สมรรถนะท่ี 6 การรู้จกั ตนเองและ การดูแลตัวเองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สุนทรยี ะ ทักษะการเรยี นรู้ ระดับ เข้าใจผอู้ ืน่ ความปลอดภัย อารมณ์และสังคม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกับ (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner ระมัดระวังตนเองจากภัย ม่ันใจ แสดงออก และ ส อ ด ค ล้ อ งกั บ ก า ร ต่าง ๆ ท่ีอาจก่อให้เกิด 2. มีความอดทน และ 2.ช่ื น ช ม แ ล ะ การเรียนรู้ สะท้อนผล และความเสี่ยงต่าง ๆ เลือก ตอบสนองต่ออารมณ์ เปล่ียนแปลงตามวัย ปั ญ ห า ด้ ว ย วิ ธี ก า ร เคารพผอู้ ่ืน แสดงออกถงึ ความคิด การปฏิบัติของตนและ และทำกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทตี่ น แ ล ะ ค วาม รู้สึ ก ข อ ง แล ะห าท างออกให้ ที่ เ ห ม า ะ ส ม แ ล ะ อารมณ์ ความรู้สึก ปรับ ป รุงตนเองอยู่ สนใจ ต้ังเป้าหมาย หาวิธี ต น เ อ ง แ ล ะ ผู้ อ่ื น สภาวะอารมณ์ กลับ สรา้ งสรรค์ ผ่านศิลปะแขนงต่าง เสมอ และลงมือปฏิบัติให้บรรลุ ในทางบวก ส่ปู กติ 2. รับฟังและตอบสนอง ๆ ท่ี ส อด ค ล้องกับ เป้าหมายอย่างมุ่งม่ัน มี 2. ระมัดระวังตนเอง ต่อผอู้ ่นื อยา่ งเหมาะสม บ ริ บ ท สั งคม และ ความเชื่อม่ันและภูมิใจใน จ า ก อั น ต ร า ย แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ความสามารถของตนเอง รู้ ความเส่ียงต่าง ๆ ท้ัง จุ ด เด่ น แ ล ะ จุ ด ด้ อ ยข อ ง โรคภัย อุบัติภัย ภัย ตนเองและผู้อ่ืน ยอมรับ ธรรมชาติ ภัยทางเพศ ความแตกต่างท้ังด้านความ ภัยจากส่ิงเสพติดและ คิดเห็นและด้านกายภาพ อบายมขุ ตา่ ง ๆ รวมทั้ง ของผู้อื่น ควบคุมอารมณ์ ภัยจากส่ือสารสนเทศ ค ว า ม รู้ สึ ก จั ด ก า ร กั บ และเทคโนโลยี อ ารม ณ์ ข อ งต น เอ งที่ เกิดข้ึน และปรับตนให้เข้า กั บ ส ถ า น ก า ร ณ์ ที่ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ด้รับอนุญาต

39 สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชีวิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะท่ี 6 การร้จู กั ตนเองและ การดูแลตัวเองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สุนทรียะ ทักษะการเรียนรู้ ระดบั เข้าใจผอู้ ่นื ความปลอดภยั อารมณ์และสงั คม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกบั (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner เป ล่ี ย น แป ล งได้ อย่ าง เหมาะสม ปฏิบัติตนตาม กฎ ระเบยี บ ของโรงเรียนและชุมชน ดว้ ยความเต็มใจ มีสุนทรียภาพในความงาม รอบตัว และเข้าร่วมใน กิจกรรมทางศลิ ปวัฒนธรรม ของสังคม ระดับ 3 คำอธิบาย พ่ึ ง ต น เ อ ง รั บ รู้ 1.สำรวจ แสดงออกถึง 1. ดูแลตนเองให้มีสุข 1. แสดงออกทางอารมณ์ 1. กระทำสิ่งดีงามตาม 1. ชื่นชมและซาบซึ้ง 1. พัฒนาทักษะและ ความสามารถและความ สำนึกรับรู้ตวั ตน เช่ือว่า ภาวะโดยสามารถระบุ ความคิด และพฤติกรรม พื้นฐานของสังคม โดย ในคุณค่าของความ ก ล ยุ ท ธ์ ใ น ก า ร ถ นั ด ข อ งต น พั ฒ น า ตนเองมีความสามารถ ปัจจยั ท่ีสง่ ผลต่อตนเอง ไดอ้ ย่างเหมาะสม มีความ รับผิดชอบต่อการกระทำ งามของธรรมชาติ พัฒนาการเรียนรู้ของ ตนเองให้มีความมั่นใจ (ได้ แ ก่ พื้ น อ าร ม ณ์ ทง้ั ทางบวกและทางลบ ยืดหยุ่นและฟ้ืนคืนสภาพ ของตน และมีจิตสำนึกดูแล ตนเอง และเห็นคุณค่าในตนเอง ค ว า ม รู้ สึ ก ค ว า ม ในแง่สุขภาพกายและ จากปัญหาได้ (Flexible และรักษาธรรมชาติ หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

40 สมรรถนะหลกั ดา้ นทักษะชวี ิตและความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 สมรรถนะท่ี 6 การรจู้ ักตนเองและ การดแู ลตวั เองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สนุ ทรียะ ทกั ษะการเรยี นรู้ ระดบั เข้าใจผู้อ่ืน ความปลอดภัย อารมณแ์ ละสงั คม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกบั (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner ยอมรับและเคารพความ ต้องการ อัตลั กษ ณ์ จิตอย่างเป็นองค์รวมได้ and Resilience) 2. มีความอดทน เคารพ และทรพั ยากร 2. ต้ังเป้าหมายในการ แตกต่างของตนเองและ ความปรารถนา) และ 2. ร ะ มั ด ร ะ วั งแ ล ะ 2. เข้ าใจ ผ ล ลั พ ธ์จ า ก ผู้อ่ืนและยืนหยัดในความ 2. ชื่นชมและซาบซ้ึง เรี ย น รู้ แ ล ะ พั ฒ น า ผู้อื่น รวมทั้งแสดงออกได้ พัฒนาตนเองให้มีความ ป้องกันตนเองจากภัย การกระทำท้ังในระยะสั้น ถกู ตอ้ ง ใ น คุ ณ ค่ า ข อ ง ตนเอง อย่างเหมาะสม เข้าใจ ม่ันใจและเห็นคุณค่าใน และความเสี่ยงต่าง ๆ และระยะยาว ศิลปวัฒนธรรมของ 3. พัฒนาความมุ่งมั่น ผลลัพธ์จากการกระทำ มี ต น เอ ง พ่ึ งต น เอ ง ท้ังภัยทางเพศ ภัยจาก 3. ยอมรับความแตกต่าง ไทยและสากลและใช้ ความไม่ย่อท้อ และมี ความยืดหยุ่นและฟื้นคืน ส า ม า ร ถ รั ก ษ า คนแปลกหน้า ภัยจาก ทางความคิด ความรู้สึก ศิลปะเป็นเครื่องมือ สติในการดำเนินชีวติ ส ภ า พ จ า ก ปั ญ ห า ได้ สัมพันธภาพ เคารพ การถูกกล่ันแกล้งท้ัง และพฤติกรรมของตนเอง ในการแสดงออกถึง ส า ม า ร ถ รั ก ษ า และเข้าใจความรู้สึก ทางกาย วาจา และ และผ้อู น่ื ม โน ทั ศ น์ เก่ี ย วกั บ สัมพันธภาพกับผ้อู ่ืน ดูแล ของผอู้ ืน่ ค ว า ม รู้ สึ ก ร ว ม ถึ ง ตนเอง ตนเองให้มีสุขภาวะอย่าง โรคภัย อุบัติภัย ภัย เป็ น องค์ รวม ป้ อ งกั น ธรรมชาติ ภัยจากส่ือ ตนเองจากภัยและความ สารส น เท ศ แล ะ เส่ียงต่าง ๆ ท้ังทางกาย เทคโนโลยี และภัยจาก วาจ า แ ล ะ ค วาม รู้ สึ ก ส่งิ เสพติดและอบายมุข ก ร ะ ท ำ ส่ิ งดี งา ม ต า ม ต่าง ๆ พื้นฐานของสังคม โดย รับผิดชอบต่อการกระทำ หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนุญาต

41 สมรรถนะหลกั ดา้ นทกั ษะชีวติ และความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะที่ 6 ทักษะการเรียนรู้ การร้จู ักตนเองและ การดูแลตัวเองและ ความสามารถทาง จริยธรรม สุนทรยี ะ และการกำกับ ระดับ เขา้ ใจผูอ้ ื่น ความปลอดภัย อารมณ์และสงั คม (Moral Character) (Esthetic) ตนเอง (Learning Skill & ของตน มีความอดทน ไม่ (Self and Mutual (Health and (Interpersonal ย่อท้อ และมีสติในการ Self-Directed ดำเนินชีวิต ยืนหยัดใน Understanding Safety) Relationship & Learner ความถูกต้อง ชื่นชมและ ซาบซึง้ ในคุณค่าของความ Social-Emotional งามรอบตัว ใช้ศิลปะเป็น เครอ่ื งมอื ในการแสดงออก Competence) ถึ งม โน ทั ศ น์ เกี่ ย ว กั บ ตนเอง มีเป้าหมายในการ เรียนรู้และพัฒนาทักษะ และกลยุทธ์ในการเรียนรู้ ของตนเอง ระดับ 4 คำอธิบาย พ่ึ ง ต น เอ ง ก ำ ห น ด 1.พ่งึ ตนเอง สะทอ้ นและ 1. มีวินัยในการดูแล 1. สามารถจัดการอารมณ์ 1. เป็ น ค น ดี ส าม ารถ 1. ชื่นชมและซาบซ้ึง 1. สร้างแรงจูงใจและ เป้ า ห ม า ย ชี วิ ต ต า ม ตอบสนองต่อมโนทัศน์ จัดการตนเองให้มีสุข ค ว า ม รู้ สึ ก ค ว า ม คิ ด แยกแยะส่ิงดีช่ัวถูกผิด มี ค ว า ม ง า ม ใ น นำตนเองในการเรียนรู้ ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

42 สมรรถนะหลักด้านทักษะชวี ติ และความเจริญแหง่ ตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะท่ี 6 การรู้จกั ตนเองและ การดูแลตวั เองและ ความสามารถทาง จรยิ ธรรม สุนทรียะ ทกั ษะการเรียนรู้ ระดบั เขา้ ใจผู้อนื่ ความปลอดภัย อารมณแ์ ละสังคม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกบั (Interpersonal ตนเอง (Self and Mutual (Health and Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & Social-Emotional Self-Directed Competence) Learner ความสามารถและความ เกี่ยวกับตัวเองท่ีกำลัง ภาวะทางกายท่ีดีอย่าง ความต้องการ พฤติกรรม ค ว า ม ก ล้ า ห า ญ เชิ ง ธ ร ร ม ช า ติ 2. เรียนรู้วิธกี ารเรียนรู้ ถนัดของตน ดำเนินชีวิต พั ฒ น า (Developing สมดุลกับสุขภาวะด้าน พ ร้อม แส ด งออก แล ะ จรยิ ธรรม ศลิ ปวฒั นธรรมและ โด ย ใช้ ทั ก ษ ะ ก า ร ต าม ห ลั กของป รัชญ า Concept of Self) อ่ืน ๆ โดยมีสุขภาพ ตอบสนองตอ่ สถานการณ์ 2. ยืนหยัดในการทำส่ิงท่ี 2. รักษาเอกลักษณ์ เรียนรู้หลากหลาย ทั้ง เศรษฐกิจพอเพียง มีวินัย กำหนดเป้าหมายชีวิต แข็งแรง กิน อยู่ ดู ฟัง ในชีวิตประจำวันได้อย่าง ถู ก ต้ อ ง น้ อ ม น ำห ลั ก ความเป็นไทยให้ธำรง ทั ก ษ ะ ก า ร เรี ย น รู้ ในการดูแลจัดการตนเอง ตามความสามารถและ เป็น เหมาะสม ศาสนาหรือความเชื่อทีต่ น ต่อไป และใช้ศิลปะ ทกั ษะการสบื ค้นข้อมลู ให้ มี สุ ข ภ าวะ ท่ี ดี แ ล ะ ค ว า ม ถ นั ด ข อ ง ต น 2. ประเมินความเสี่ยง 2. พั ฒ น าค วาม เข้าใจ ยึดถือมาเป็นเครื่องยึด เป็นเคร่ืองมือในการ ทั ก ษ ะ การสื บ ส อ บ สมดุล ประเมนิ ความเส่ียง และป กป้องตนเองให้ ว า ง แ ผ น แ ล ะ ด ำ เนิ น และปกป้องตนเองให้ เก่ีย วกับ สั ม พั น ธภ าพ เหนย่ี วในการดำรงชีวติ พั ฒ น า ต น เ อ ง ทักษะการสร้างความรู้ ปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ ชี วิ ต ต า ม ห ลั ก ข อ ง ปลอดภัยจากภัยต่าง ๆ ค ว า ม รู้ สึ ก ท า ง เพ ศ และนวัตกรรม ทักษะ จัด การอารม ณ์ พ ร้อ ม ป รั ช ญ า เศ ร ษ ฐ กิ จ ท้ังโรคภัย อุบัติภัย ภัย (Sexuality) แ ล ะค วาม การประยุกต์ใช้ความรู้ แสดงออกและตอบสนอง พ อ เพี ย ง เพ่ื อ ไ ป สู่ ธรรมชาติ ภัยทางเพศ รั บ ผิ ด ช อ บ ท่ี ท ำ ใ ห้ เกิ ด เพ่ือพัฒนาตนเองและ ต่ อ ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ น เปา้ หมาย ภัยจากส่ิงเสพติดและ สัมพันธภาพที่แข็งแรง ชีวิต รวมท้ังพัฒ นา ชี วิ ต ป ร ะ จ ำ วั น ไ ด้ อ ย่ า ง อบายมขุ ตา่ ง ๆ รวมท้ัง (Healthy Relationship) ความสามารถในการ เหมาะสม แก้ปัญหาเมื่อ ภัยจากสื่อสารสนเทศ 3. รักษาบุคลิกภาพความ ด ำ เนิ น ชี วิ ต ด้ ว ย ก า ร เผชิญ กับ สถานการณ์ และเทคโนโลยี เป็นไทยผสานกับสากล พ่ึงตนเอง วิกฤติ อย่างเป็ นระบ บ อยา่ งกลมกลนื และสร้างสรรค์ สามารถ 4. แก้ปัญหาเม่ือเผชิญกับ ส ร้ า ง สั ม พั น ธ ภ า พ ที่ สถานการณ์วิกฤติอย่าง แ ข็ ง แ ร ง เ ป็ น ค น ดี หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ไดร้ ับอนุญาต

43 สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะชีวติ และความเจริญแห่งตน (Life Skills and Personal Growth) สมรรถนะท่ี 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 สมรรถนะที่ 6 การรจู้ กั ตนเองและ การดแู ลตวั เองและ ความสามารถทาง จริยธรรม สนุ ทรียะ ทักษะการเรยี นรู้ ระดบั เขา้ ใจผอู้ นื่ ความปลอดภัย อารมณ์และสงั คม (Moral Character) (Esthetic) และการกำกบั สามารถแยกแยะส่ิงดีช่ัว (Self and Mutual (Health and (Interpersonal ตนเอง ถูกผิด มีความกล้าหาญ เชงิ จรยิ ธรรม นอ้ มนำหลัก Understanding Safety) Relationship & (Learning Skill & ศาสนามาเป็นเคร่ืองยึด เหนี่ยวในการดำรงชีวิต มี Social-Emotional Self-Directed สุนทรียภาพ ช่ืนชมและ ซาบซึ้งความงามรอบตัว Competence) Learner ใช้ศิลปะเป็นเครื่องมือใน การพัฒนาตนเอง รักษา เ ป็ น ร ะ บ บ แ ล ะ เอกลักษณ์ความเป็นไทย แ ล ะ มี บุ ค ลิ ก ภ า พ ค ว า ม สรา้ งสรรค์ เป็นไทยผสานกับสากล อย่างกลมกลืน มีทักษะ การเรียนรู้ที่หลากหลาย ส ร้ า ง แ ร ง จู ง ใ จ แ ล ะ น ำ ต น เอ งใน ก า ร เรี ย น รู้ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใ ช้ ค ว า ม รู้ เพื่ อ พั ฒ น า ต น เอ ง แ ล ะ ชี วิ ต อย่างยง่ั ยนื ห้ามคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ บั อนญุ าต

44 2. สมรรถนะหลักดา้ นทกั ษะอาชีพและการเปน็ ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) หมายถึง ความสามารถของ บุคคลที่มุ่งเน้นการสร้างความพร้อมสำหรับการทำงาน การประกอบอาชีพ และเป็นผู้ประกอบการท่ีเกื้อกูลสังคม โดยบุคคลต้องรู้จักความถนัด และ ความสนใจของตนเอง และนำไปสู่การเลือกอาชีพที่เหมาะสมกับตนเอง การพัฒนาทักษะในการทำงาน การทำงานด้วยการพ่ึงพาตนเอง ยึดหลักการ บริหารจัดการ และการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการปฏิบัตงิ านดา้ นการเงิน เป็นการประกอบการที่เน้นนวัตกรรม การสร้างผลิตภณั ฑ์ เชงิ สร้างสรรคท์ ี่มคี ณุ ภาพสูง มจี รรยาบรรณพร้อมรับผิดชอบสงั คม หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ ับอนญุ าต

45 สมรรถนะหลักด้านทกั ษะอาชพี และการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 สมรรถนะท่ี 6 การรูจ้ กั และค้นพบ การจัดการ การมงุ่ เน้นผลลพั ธ์ การตลาด การจดั การ การเงินและบญั ชี ตนเอง ต่อความเปล่ียนแปลง ทรพั ยากร ระดบั 1 คำอธบิ าย รู้จักตนเอง และแสดงความ รู้จักตนเอง แสดงความ ทำงานด้วยความเอาใจ ต้งั เปา้ หมายในการทำงาน แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด ริ เริ่ ม ใช้ทรัพยากรในการ รู้ความหมายและค่า สนใจเก่ียวกับอาชีพของ สนใจในอาชีพท่ีตนเอง ใส่ มีความเพียร อดทน และต้ังใจทำงานได้สำเร็จ ส ร้า งส ร ร ค์ ผ่ าน ก า ร ผ ลิ ต ชิ้ น งาน ง่าย ๆ ข อ ง เ งิ น ก า ร ใ ช้ ตนเองในอนาคต มีเจตคติ รู้จัก และมีเจตคติท่ีดี พ ย าย าม ท ำงาน ให้ ตามเป้าหมายที่คดิ ไว้ ทำงานจากกิจกรรมงาน และทำงานอย่างเห็น จ่ายเงินและการออม ท่ีดีต่ออาชีพสุจริต และ ต่อการประกอบอาชีพ สำเร็จและดีท่ีสุดตาม ศิลปะ ดนตรี นาฏศิลป์ คุณค่าของทรัพยากร ง่ายๆ รู้ว่าเงินมาจาก คุณลักษณะนิสัยที่ดีในการ สุจริต ความ สามารถ การประดิษฐ์ หัตถกรรม ด้านสง่ิ แวดล้อมทด่ี ี ก า ร ท ำ งา น แ ส ด ง ทำงาน มีเป้าหมายในการ การเล่น การใช้สื่อและ เกดิ ประโยชน์ และ ความคิดเห็นเกี่ยวกับ ทำงาน และพยายามทำงาน เทคโนโลยี เพื่อเป็นพน้ื ฐาน อาชีพอย่างง่ายๆ โดย ให้สำเร็จตามเป้าหมาย มี ก า ร ท ำ ง า น ข อ ง ใช้เหตุผล และความ ทักษะ มีความเพียร ความ ผูป้ ระกอบการทดี่ ี พอประมาณตามวยั อดทน ความซ่ือสัตย์และ ความรับผิดชอบ มีทักษะ พนื้ ฐานดา้ นการเงิน ทั้งด้าน ก า ร ใ ช้ จ่ า ย แ ล ะ ก า ร อ อ ม และสามารถแสดงความคิด ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ผ่ า น กิ จ ก ร ร ม ตา่ ง ๆ หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต

46 สมรรถนะหลกั ด้านทกั ษะอาชพี และการเปน็ ผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะที่ 3 สมรรถนะที่ 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะที่ 6 การรจู้ กั และคน้ พบ การจัดการ การมุ่งเนน้ ผลลัพธ์ การตลาด การจัดการ การเงนิ และบญั ชี ตนเอง ต่อความเปลย่ี นแปลง ทรัพยากร ระดบั 2 คำอธบิ าย ทำงานด้วยความเอาใจ กำหนดเป้าหมายท่ีเป็นไป ประยุกต์ใช้ความรู้ และ คิดวางแผน การผลิต รู้ค่าของเงิน การใช้ แสดงความสนใจ ความถนัด แสดงความสนใจ ของตนเองเก่ียวกับอาชีพ มี ของต น เอ งเกี่ย วกั บ ใส่ แ ส ด งค ว า ม คิ ด ได้ วางแผน สร้างสรรค์ ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น สิ น ค้ า แ ล ะ ก า ร จา่ ยเงิน การออม และ เจตคตแิ ละคุณลักษณะนสิ ัย อ า ชี พ อ ย่ า ง แก้ปัญหาการทำงาน ผลงาน แก้ปัญหา พัฒนา คิดสร้างสรรค์ มองเห็น บริการ ประยุกต์ใช้ จัดทำบัญชี รับ-จ่าย ที่ ดี ใ น ก า ร ท ำ ง า น สมเหตสุ มผล และมีเจต เห ม า ะ ส ม กั บ ก า ร งา น แ ล ะ ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ โอกาสท่ีเป็นไปได้ในการ ทรพั ยากรอย่างคุ้มค่า ค ร อ บ ค รั ว เ พื่ อ ต้ังเป้าหมาย วางแผน และ คติที่ดีต่อการประกอบ เ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ใ น ค ว า ม รู้ เพื่ อ ให้ บ ร ร ลุ จัดจำหน่าย การสร้าง เพื่อสร้างส่ิงแวดล้อม ประโยชน์ต่อตนเอง พัฒนาการทำงานให้ สำเร็จ อาชีพสุจริต สถานการณ์ต่าง ๆ มี เป้าหมายในการทำงาน รายได้ และพัฒ นาต่อ ท่ีดี เกิดประโยชน์ และครอบ ครัวเป็ น ตามเป้าหมาย สามารถ ความอดทน ซื่อสัตย์ และการบริการทก่ี ำหนด ยอดสู่นวัตกรรม เพื่อเป็น สูงสุดต่อตนเอง และ พ้ืนฐานการประกอบ ประยุกต์ ใช้ความรู้ ทักษะ เพียรพยายามทำงานที่ พื้ น ฐาน การป ระ กอ บ ชุ ม ช น เ พ่ื อ เ ป็ น อาชีพ โด ยยึด ห ลั ก คิดสร้างสรรค์สินค้า การ เป็ น พ้ื น ฐ า น ง่ า ย ๆ ใ น อาชพี พื้ น ฐ า น ก ารเ ป็ น ปรัชญาของเศรษฐกิจ บรกิ าร และพัฒนาตอ่ ยอดสู่ การประกอบอาชีพให้ ผูป้ ระกอบการทด่ี ี พอเพียง นวัตกรรมเพ่ือการประกอบ สำเรจ็ อาชีพ มีพ้ืนฐานการเป็น ผู้ประกอบการท่ีดี ท้ังด้าน ก า ร เงิ น -บั ญ ชี ก า ร ใช้ จ่ า ย และการออมเพื่อประโยชน์ ต่อตนเอง ครอบครัว โดย ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งอิง โดยไม่ไดร้ บั อนุญาต

47 สมรรถนะหลักด้านทักษะอาชพี และการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ระดับ สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะที่ 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะท่ี 5 สมรรถนะที่ 6 การรจู้ ักและคน้ พบ การจดั การ การมุ่งเนน้ ผลลพั ธ์ การตลาด การจดั การ การเงินและบญั ชี ตนเอง ตอ่ ความเปลย่ี นแปลง ทรัพยากร ระดบั 3 คำอธิบาย การค้นพบความชอบและ ค้นพบความชอบและ ทำงานด้วยความ เอา แ ส ว งห า ค ว า ม รู้ แ ล ะ ประยุกต์ใช้ความรู้ และ คิดวางแผน การผลิต คิ ด ร อ บ ค อ บ ด้ า น ค ว า ม ถ นั ด ข อ งต น เอ ง ค วาม ถ นั ด เกี่ ย วกั บ ใจใส่ แสดงความคิด โอกาสทางอาชีพเพื่อการ ทั ก ษ ะ พื้ น ฐ า น สิ น ค้ า แ ล ะ ก า ร การเงิน การทำบัญชี เก่ียวกับอาชีพ แสวงหา อาชีพที่เหมาะสมกับ แก้ปญั หา ใช้เหตุผล ก ำ ห น ด เป้ าห ม าย ท่ี คิดสร้างสรรค์ บริการท่ี บริการ ประยุกต์ใช้ การรับ-จ่ายเพ่ือการ ค วาม รู้แ ล ะ โอ ก าส เพื่ อ ตนเองในอนาค ต มี และมีการตัดสินใจท่ีดี เป็นไปได้และนำมาใช้ แ ป ล ก ให ม่ น่ า ส น ใจ ท รั พ ย า ก ร ท่ี มี อ ยู่ อาชีพง่ายๆ และการ ต้ังเป้าหมาย วางแผน และ ความอดทน มุ่งม่ันใน มีความมุ่งม่ัน เพียร วางแผน และแก้ปัญหา มองเห็นโอกาสที่เป็นไป อ ย่ า งคุ้ ม ค่ า ด้ า น ออมเพื่อประโยชน์ต่อ พัฒนาการทำงานให้สำเร็จ การทำงานให้สำเร็จ พยายามทำงานเพื่อ พั ฒ น า งาน อ ย่ า งเป็ น ได้ในการจัดจำหนา่ ย การ สิ่งแวดล้อมท่ีดี เกิด ตนเองและครอบครัว มีเจตคติและคุณลักษณะ และพร้อมรับต่อความ การประกอบอาชีพให้ ร ะ บ บ เพ่ื อ ให้ บ ร ร ลุ สร้างรายได้ และพัฒนา ประโยชนส์ ูงสุด เป็นพื้นฐานการเป็น นิ สั ย ท่ี ดี ใน ก า ร ท ำ งา น ล้มเหลวที่อาจเกดิ ขนึ้ มี สำเร็จดว้ ย เป้าหมายในการทำงาน ต่อยอดสู่นวัตกรรม เพื่อ ต่อชุมชน สังคมและ ผู้ประกอบการท่ีดีโดย ป รั บ ตั ว ทั น ต่ อ ก า ร คุ ณ ธ ร ร ม ใ น ก า ร และมคี ณุ ลักษณะนสิ ยั ทีด่ ี เป็ น พ้ื น ฐ า น ก า ร เป็ น ป ระ เท ศ เพื่ อ เป็ น ยึดหลักปรัชญาของ เปลี่ยนแปลง และบริหาร ประกอบอาชีพและมี ในการทำงาน ผู้ประกอบการทดี่ ี พื้ น ฐ า น ก า ร เป็ น เศรษฐกิจพอเพยี ง จั ด ก า ร เงิ น แ ล ะ บั ญ ชี เจ ต ค ติ ที่ ดี ต่ อ ก า ร ผปู้ ระกอบการท่ดี ี ทรัพยากรในการทำงาน ประกอบอาชพี สจุ ริต ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ สร้างนวัตกรรม สร้างคุณค่า ในการประกอบอาชีพและ การเป็นผู้ประกอบการท่ีดี เพื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ ต่ อ ต น เอ ง ครอบครัว และสังคม โดย ยึ ด ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกิจพอเพยี ง หา้ มคัดลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไมไ่ ดร้ ับอนญุ าต

48 สมรรถนะหลักดา้ นทกั ษะอาชพี และการเป็นผู้ประกอบการ (Career Skills and Entrepreneurship) ระดบั สมรรถนะที่ 1 สมรรถนะท่ี 2 สมรรถนะท่ี 3 สมรรถนะท่ี 4 สมรรถนะที่ 5 สมรรถนะที่ 6 การรู้จกั และค้นพบ การจัดการ การมงุ่ เน้นผลลพั ธ์ การตลาด การจัดการ การเงนิ และบญั ชี ตนเอง ตอ่ ความเปล่ียนแปลง ทรัพยากร ระดบั 4 คำอธิบาย วิเคราะห์ตนเอง ตัดสินใจ วิ เ ค ร า ะ ห์ ต น เ อ ง ทำงานด้วยความ เอา ปฏิบัติงานด้านอาชีพอย่าง ประยุกต์ใช้ความรู้ และ คิดวางแผนการผลิต รอบรู้ด้านการเงินโดย เลือกอาชีพสุจริตตามความ ตัดสินใจเลือกอาชีพ ใจใส่ แสดงความ คิด มุ่งมั่น อดทน รบั ผิดชอบ มี ทั ก ษ ะ พ้ื น ฐ า น สิ น ค้ า แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ข้ อ มู ล แ ล ะ สนใจและความถนัดของ ตามความสนใจและ แกป้ ญั หาใช้เหตผุ ลและ ความเพียรพยายาม ในการ คิดสร้างสรรค์ บริการที่ บริการ การใช้และ จัด ท ำแ ผ น การเงิน ตนเอง แสวงหาความร้สู รา้ ง ความถนัดของตนเอง มี ก า ร ตั ด สิ น ใจ ท่ี ดี ท ำงาน เพื่ อให้ บ รรลุ แปลกใหม่ มีรูปแบบท่ี ส ร้ า ง ท ด แ ท น การทำบัญชี การ องค์ความรู้ มีเป้าหมาย ใ น อ น า ค ต อ ย่ า ง ทำงานด้วยความเอาใจ ผลลพั ธ์ทีค่ าดหวังของตน น่าสนใจ มองเห็นโอกาส ท รั พ ย า ก ร ท่ี มี อ ยู่ รั บ -จ่ า ย เพื่ อ ก า ร วางแผน และพัฒนาการ สมเหตุสมผล มีความ ใส่ มีความคิดแก้ปัญหา มีจรรยาบรรณและความ ที่ เป็ น ไป ได้ ใน การจั ด อย่างคุ้มค่า คุ้มทุน อาชีพ เพ่ือประโยชน์ ทำงานให้สำเร็จ มีทักษะ อดทน มุ่งม่ันในการ แสวงหาความรู้ สร้าง รับผิดชอบตอ่ สงั คมในฐานะ จำหน่าย การสร้างรายได้ เกิดประโยชน์สูงสุด ต่อตนเอง ครอบครัว เจตคติ และคุณลักษณะนิสยั ทำงานให้สำเร็จ และ องค์ความรู้ใหม่ๆ เพ่ือ ผู้ประกอบการทีด่ ี และพัฒนาต่อยอดสู่การ ต่อส่ิงแวดล้อมของ สังคม ประเทศ และ ที่ดีในการทำงาน ปรับตัวทัน พ ร้ อ ม รั บ ต่ อ ค ว า ม ปรับตัวได้ทันต่อการ สร้างนวัตกรรมในการ ชุมชน สังคม และ โลก มีพื้นฐานการเป็น ต่ อ ก า ร เป ลี่ ย น แ ป ล ง ล้มเหลวท่อี าจเกิดข้นึ มี เปลี่ยนแปลงทางอาชีพ ประกอบอาชีพ ที่เป็น โลก เพ่ือเป็นพ้ืนฐาน ผปู้ ระกอบการทดี่ ี สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ คุ ณ ธ ร ร ม ใ น ก า ร กำหนดเป้าหมายการ ป ร ะ โย ช น์ ต่ อ ต น เอ ง ใ น ก า ร เ ป็ น โดยยึดหลักปรัชญาของ มีทักษะพ้ืนฐานในการเป็น ประกอบอาชีพและมี ทำงาน วางแผน จดั เรียง ครอบครัว สังคม และโลก ผูป้ ระกอบการทีด่ ี เศรษฐกิจพอเพียง ผ้ปู ระกอบการที่ดี สามารถ เจ ต ค ติ ท่ี ดี ต่ อ ก า ร ลำดับความสำคัญของ คิ ด ส ร้ า ง ง า น ส ร้ า ง ประกอบอาชพี สจุ ริต งานและบริหารเวลา นวัตกรรมในการประกอบ อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ อาชีพ ท่ีเป็นประโยชน์ ต่อ ตนเอง ครอบครัว สังคม และโลก โดยยึดหลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง หา้ มคดั ลอก สำเนา เผยแพร่ อา้ งองิ โดยไม่ได้รบั อนุญาต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook