Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการวิจัยการเขียน

หลักการวิจัยการเขียน

Published by apohn559900, 2021-01-09 06:18:19

Description: หลักการวิจัยการเขียน

Keywords: การเขียน

Search

Read the Text Version

บทความวจิ ัยการเขยี น

บ ท คั ด ย่ อ การวิจัยครงั นีมจี ดุ ประสงค์เพือศกึ ษาความสามารถในการเขียนภาษาองั กฤษของนักเรยี น และ เปรียบเทยี บความวติ กกงั วลั ในการเขียนภาษาอังกฤษก่อนและหลงั การสอนโดยใช้กิจกรรมการตอบ สนองต่องานเพอื น กลมุ่ ปายหมายทีใช้ในงานวิจยั ครงั นีคือ นักเรยี นชันมัธยมศึกษาปที 4/9 ห้องเรยี น พิเศษภาษาองั กฤษองั กฤษ โรงเรยี นพิจติ รพิทยาคม อําเภอเมอื งจังหวัดพิจติ ร ทีเรยี นชมุ ชนคลินิก ภาษาในปลายภาคเรียนที1 ถงึ ตน้ ภาคเรยี นที 2ปการศึกษา2559 จํานวน33 คน เครอื งมอื ทีใช้ในการ ทดลองคือแผนการสอนเขียนภาษาองั กฤษทใี ช้กิจกรรมการตอบสนองตอ่ งานเขียนของเพอื น 5แผน จาํ นวน 20คาบ และเครืองมือทใี ช้ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่แบบประเมนิ ความสามารถในการ เขียนภาษาอังกฤษและแบบวัดความวิตกในการเขียนภาษาองั กฤษ และวเิ คราะหข์ อ้ มูลทีได้โดยการหา คา่ เฉลีย สว่ นเบยี งเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ ผลวจิ ยั สรุปไดด้ ังนี 1.นักเรยี นทไี ด้รบั การสอนโดยใช้ กจิ กรรมการตอบสนองตอ่ งานเพอื มีความสามารถในการเขยี นภาษาองั กฤษดีขนึ ผา่ นเกณฑ์ร้อยละ50 อยู่ในระดับดี 2.นักเรียนทีได้การสอนโดยใชก้ จิ กรรมการตอบสนองตอ่ งานเพือนมีความวติ กกงั วลั ลด นอ้ ยลงจากก่อนได้รบั การเรยี นการสอนตอ่ งานเพือนซงึ เปนไปตามสมุติฐานทตี งั ไว้

บ ท นํ า ในภาวะปจจุบันทมี อี ทิ ธิพลของโลกาภวิ ตั นย์ ังคงมีอยอู่ ย่างต่อเนือง การเรียนรู้ ภาษาองั กฤษจึงเปนเรืองจําเปนอย่างยิงทคี วรให้ความสาํ คญั มาเปนอนั ดับตน้ ทักษะ ทางภาษาองั กฤษทัง 4 กล่าวคอื ทกั ษะการฟง พูด อ่าน เขยี น ลว้ นแลว้ แต่มคี วามสําคญั เฉพาะตวั ทจี าํ เปนในการเรยี นรู้สาํ หรับผูท้ ีตอ้ งการจะศึกษาภาษาองั กฤษแตม่ อี ยทู่ ักษะ หนึงทมี กั ถูกมองข้ามความสําคญั ไปคอื ทักษะการเขียนเพราะคนส่วนใหญ่มกั เขา้ ใจวา่ เพยี งแคร่ ู้และเข้าใจ เพยี งแคก่ ารฟงและการพูดภาษาองั กฤษก็เพียงพอแล้วสําหรบั การ สือสารแตน่ ันไม่เปนความจรงิ เลยเพราะการอ่านและการเขียนกจ็ ะชว่ ยเพมิ พูมความ สามารถในการใช้ภาษาอังกฤษไดเ้ ปนอยา่ งดี โดยเฉพาะความรู้ทกั ษะภาษาในด้านการ เขียนทีเข้ามามบี ทบาทสําคญั อย่างยงิ ในชีวิตประจาํ วนั ของคนไทย การเขยี นเปนสิง สําคญํ อยา่ งยิงเพราะเปนกระบวนการถา่ ยทอดความรู้ ความคดิ และใช้เปนหลักฐานใน การอา้ งอิงได้

วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ข อ ง ก า ร วิ จั ย 1.ศกึ ษาความสามารถในการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรยี นหลังการใช้ กิจกรรมการตอบสนองของงานเพือน 2.เปรยี บเทยี บความวิตกกงั วลั ในการเขยี นก่อนและหลังการใช้กจิ กรรมการ ตอบสนองตอ่ งานเพือน

วิธีดําเนิ นงาน 1.กาํ หนดกลมุ่ เปาหมายทใี ชใ้ นการวจิ ยั รูปแบบ 2.การวจิ ยั ในครังนีใชก้ ารวิจยั เชิงทดลอง ประเภทการวจิ ยั เชิงทดทองเบอื งต้นแบบกลุม่ ทดลอง กลุ่มเดียว วดั ผลกอ่ นและหลังการทดลอง 3.กําหนดเครืองมอื ทใี ชใ้ นการทดลองคือแผนการสอนเขยี นภาษาองั กฤษทใี ช้กจิ กรรมการตอบ สนองตอ่ งานเขยี นของเพอื นทผี วู้ จิ ยั ไดส้ รา้ งขึน 4.กําหนดเครอื งมอื ทใี ชใ้ นการรวบรวมขอ้ มลู ไดแ้ ก่ 4.1. แบบประเมินความสามารถในการเขยี นภาษาองั กฤษเปนแบบประเมินทีใชป้ ระเมนิ การเขยี น เรยี งความเกยี วกับตนเอง 4.2. แบบวัดความวติ กกังวลในการเขยี นภาษาองั กฤษเปนแบบสอบถาม 5.การดาํ เนินการทดลอง 6.การวิเคราะห์ข้อมูล

อ ภิ ป ร า ย ผ ล 1.นกั เรียนทีไดร้ บั การเรยี นการสอนโดยใชก้ จิ กรรมการตอบสนองต่องานเพอื นมคี วาม สามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษดขี ึน 2.นกั เรียนทไี ดร้ บั การเรียนการสอนโดยใช้กิจกรรมการตอบสนองต่องานเพอื นมคี วาม วิตกกังวลลดลงจากกอ่ นไดร้ ับการเรยี นการสอนโดยใช้กิจกรรมการตอบสนองต่องาน เพอื นอยา่ งเหน็ ไดช้ ดั

ส รุ ป การใช้กิจกรรมตอบสนองต่องานเพือนทําให้ความสามารถในการเขยี นภาษาอังกฤษ ของนกั เรียนดขี ึนและยงั ทําใหค้ วามวิตกกงั วลในการเขยี นภาษาอังกฤษของนกั เรยี นลด นอ้ ยลงอกี ด้วย

ข้ อ เ ส น อ แ น ะ 1.ควรทาํ การวิจยั โดยใชก้ จิ กรรมการตอบสนองต่องานเพอื นในกลุ่มเปาหมายอืน เช่น ระดับมัธยมตน้ หรอื ระดบั มหาวทิ ยาลยั 2.ควรมีการศกึ ษาตวั แปรอืนๆเพิมเติม เช่น แรงจูงใจในการเรียนภาษาอังกฤษ ความเชอื มนั ในการแลกเปลยี นงานกบั เพอื น ความภูมใิ จในงานเขยี นของตน 3.ควรนํากจิ กรรมการตอบสนองตอ่ งานเพอื นไปใชก้ บั รายวิชาอืนๆทมี ีสอนอยใู่ น โรงเรยี น เชน่ ภาษาฝรังเศส ภาษาจนี ภาษาญีปนุ ภาษาสเปน

สมาชกิ กลุ่ม นายก้าว รกั ษา รหัสนักศกึ ษา 631810203312 นางสาวอาภรณ์ ทศพรมหากรุณา รหัสนักศึกษา 63181020303 นางสาวจฑุ ามาศ สรรเสรญิ บุญ รหสั นกั ศึกษา 63181020316 นางสาวยพุ นิ เดน่ บรุ ไี พร รหสั นักศึกษา 63181020328


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook