Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บท6

บท6

Published by poowat, 2018-11-13 22:58:30

Description: บท6

Search

Read the Text Version

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 2 คำนำ รายงานน้ีเปนสวนหนึ่งของ รายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS.) หนวยท่ี 6 เร่ืองระบบงานสร้างความรู้ (KWS) ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพขั้นสูง ช้ันปที่ 2 เพ่ือให นักเรียน –นกั ศกึ ษา รวมไปถึงผูที่สนใจสามารถศึกษา และทําความเขาใจไดโดยศกึ ษาจากรายงาน รายวิชาระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ (MIS.) หนวยที่ 6 เร่ือง ระบบงานสร้างความรู้ (KWS) ระดับประกาศนียบตั รวชิ าชีพข้ันสูง ชั้นปท่ี 2 น้ี ท้ังนี้ในการศึกษาไดมีการคนควาขอมูล ตาง ๆ ซึ่งขอมูลตางๆ เหลาน้ีไดถูกรวบรวมรายละเอียดไวในรายงานฉบับน้ีเรียบรอยแลว สุดทายน้ี ทางคณะผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานรายวิชาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS.) หนวยท่ี 6 เร่ืองระบบงานสร้างความรู้ (KWS) ระดับประกาศนียบตั ร วชิ าชพี ข้ันสูง ชน้ั ปท่ี 2 ฉบบั น้ี คงกอใหเกิดประโยชนแกผูที่สนใจไดไมมากกน็ อย หากมขี อบกพรอง ประการใด ทางคณะผูจดั ทาํ ขอนอมรับไว ณ ทน่ี ี้ คณะผูจัดทาํ

สำรบัญ หนำ้ กเร่ือง ขคํานํา คสารบญั 1สารบญั ภาพ 26.1 ระบบงานสารสนเทศ 36.2 ระดบั ของผู้ใชร้ ะบบสารสนเทศ 46.3 คุณลักษณะของสารสนเทศ 46.4 การจัดการความรู้ 66.5 ความหมายของระบบงานสร้างความรู้ 76.6 ข้ันตอนการพัฒนาความรู้เพ่ือการจัดการ 86.7 กระบวนการในการสรา้ ง KMS 96.8 KNOWLEDGE WORK SYSTEM 11สรุป 12บรรณานกุ รม 18คณะผูจ้ ัดทาํอาจารยผ์ ้สู อน

สำรบญั ภำพ หนำ้ 2ภำพที่ 5 ภาพท่ี 1 ระบบสารสนเทศ 7 ภาพที่ 2 การจัดการความรู้ ภาพที่ 3 ข้ันตอนการพัฒนาความรู้

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 1 หนว่ ยท่ี 6 ระบบงำนสรำ้ งควำมรู้สาระสาคัญระบบสารสนเทศความรู้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าระบบงานสร้างความรู้ หรือ จัดการความรู้เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรระดับวิชาชีพท่ีมีความรู้สูงและทักษะเฉพาะทาง เช่นวิศวกร แพทย์ นักกฎหมาย ทนาย นักวิทยาศาสตร์ ท่ีทํางานด้านการสร้างความรู้เพ่ือพัฒนาการคิดค้นและใช้เป็นฐานรองรับการจัดการความรู้ และอาจนํา เทคโนโลยีระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) มาประยกุ ต์ใช้ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ บรกิ ารใหม่ระบบสารสนเทศ (Information system) หมายถึง ระบบที่ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ระบบคอมพวิ เตอร์ทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟท์แวร์ ระบบเครอื ข่าย ฐานข้อมูล ผู้พัฒนาระบบ ผใู้ ช้ระบบ พนักงานท่ีเกี่ยวข้อง และ ผู้เชี่ยวชาญในสาขา ทุกองค์ประกอบน้ีทํางานร่วมกันเพื่อกําหนด รวบรวม จัดเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูลเพื่อสร้างสารสนเทศ และส่งผลลัพธ์หรือสารสนเทศที่ได้ให้ผู้ใช้เพื่อช่วยสนับสนนุ การทํางาน การตัดสินใจ การวางแผน การบริหาร การควบคุม การวิเคราะห์และติดตามผลการดาํ เนินงานขององค์กร

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 2 ภาพที่ 1 ระบบสารสนเทศ ที่มา : https://goo.gl/zcsfE9ระดับของผู้ใชร้ ะบบสารสนเทศ ระดบั ของผู้ใชร้ ะบบสารสนเทศแบง่ ตามลกั ษณะการบริหารจัดการได้ 3 ระดับดังนี้ - ระดับสงู (Top Level Management) กลมุ่ ของผูใ้ ช้ระดบั นี้จะเกี่ยวขอ้ งกับ ผู้บริหารระดับสูงมีหน้าท่ีกําหนดและวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อนําไปสู่เป้าหมาย โดยมีทั้งสารสนเทศภายใน และสารสนเทศภายนอก เพื่อวิเคราะห์แนวโน้มสถานการณ์โดยรวม ซึ่งระบบสารสนเทศในระดับนี้ต้องออกแบบให้ง่ายและสะดวกต่อการใช้งาน ไม่มีความซับซ้อนหรือยุ่งยาก แสดงผลทางด้านกราฟฟิคบา้ งตอ้ งตอบสนองทีร่ วดเรว็ และทันทว่ งทดี ว้ ยเช่นกนั - ระดบั กลาง (Middle Level Management) เกี่ยวข้องกับกลุ่มผูใ้ ช้งานระดบั การบริหารและจัดการองค์กร ซึ่งมีหน้าที่รับนโยบายมาจากผู้บริหารระดับสูง นํามาสานต่อให้บรรลุตามเป้าหมายท่ีกําหนดไว้ ด้วยการใช้หลักบริหารและจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศท่ีใช้มักได้มาจากแหลง่ ข้อมูลภายใน ระบบสารสนเทศจงึ ตอ้ งมีการจัดอนั ดบั ทางเลือกแบบตา่ ง ๆ ไว้ โดยเลือกใชค้ ่าทางสถติ ชิ ว่ ยพยากรณห์ รอื ทํานายทิศทางไว้ดว้ ย หากระดบั ของการตดั สินใจนัน้ มคี วามซับซ้อนหรือยุง่ ยากมากเกนิ ไป

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 3 - ระดับปฏบิ ัติการ (Operation Level Management) ผ้ใู ช้กลุม่ นจ้ี ะเกย่ี วข้องกับการผลิตหรือการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น การผลิตหรือประกอบสินค้า งานทั่วไปที่ไม่จําเป็นต้องใช้การวางแผนหรือระดับการตัดสินใจมากนัก ข้อมูลหรือสารสนเทศในระดับน้ี จะถูกนําไปประมวลผลในระดบั กลางและระดับสงู ต่อไปคณุ ลกั ษณะของสารสนเทศ 1. มคี วามถูกต้อง (Accurate) 2. มีความสมบรู ณ์ (Complete) 3. มีความคุม้ ค่า (Economical) 4. มคี วามยดื หยุ่น (Flexible) 5. มคี วามเช่ือถือได้ (Reliable) 6. มีความงา่ ย (Simple) 7. ตรงประเดน็ (Relevant) 8. ทันเวลา (Timely) 9. สามารถตรวจสอบได้ (Verifiable)

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 4 การจัดการความรู้ (knowledge management) การจดั การความรู้ในองค์การเป็นกลยุทธ์ที่สําคัญ เพราะความสําเร็จขององค์การข้ึนอยู่กับความสามารถขององค์การ ในการรวบรวมความรู้สร้างความรู้ใหม่ จัดเก็บ ค้น และนําความรู้ไปใช้เพื่อสร้างนวัตกรรมใหม่ ให้เกิดบริการสินค้า หรือกระบวนการทํางานใหม่ขึ้น ความรู้ในองค์การได้แก่ ความรู้ที่มีการเขียนอย่างเป็นทางการ (explicitknowledge) ความรู้ท่ีชัดแจ้ง) เช่น คู่มือการผลิต รายงานวิจัย และความรู้แบบที่สอง เป็นความรู้โดยนัย (tacit knowledge) เก่ียวกับทักษะประสบการณ์ แต่ไม่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษร เช่นความรู้ด้านระบบการผลิตสินค้า ความรู้เก่ียวกับกฎ ระเบียบที่ซับซ้อนขององค์การหรือหน่วยงานภายนอก ซึ่งทําให้สามารถดําเนินงานได้อย่างถูกต้องและคล่องตวั ความรู้เหล่านี้กระจัดกระจาย ทั้งในตวั บคุ คล เอกสาร รายงานการวิจยั ฐานข้อมูลการปฏบิ ัตงิ านดา้ นตา่ ง ๆความหมายของระบบงานสรา้ งความรู้ ระบบสารสนเทศความรู้ (KWS) หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่าระบบงานสรา้ งความรู้ หรอื จัดการความรู้ เป็นระบบที่ช่วยสนับสนุนบุคลากรระดับวิชาชีพที่มีความรู้สูงและทักษะเฉพาะทาง(Knowledge Workers) เช่น วิศวกร แพทย์ นักกฎหมาย ทนาย นักวิทยาศาสตร์ ที่ทํางานด้านการสร้างความรู้เพ่ือพัฒนาการคิดค้นและใช้เป็นฐานรองรับการจัดการความรู้ (knowledge-basedsystem) และอาจนําเทคโนโลยีระบบปัญญาประดิษฐ์ หรือ Artificial Intelligence (AI) มาประยุกต์ใช้ ในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ บริการใหม่ การจัดหมวดหมู่และบูรณาการความรู้ใหม่เข้าไปในองค์การ เพื่อนําไปใช้ประโยชน์ในหน่วยงาน ซ่ึงหน่วยงานจําเป็นต้องนําเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนให้การพัฒนาเกิดข้ึนได้โดยสะดวก สามารถแข่งขันได้ท้ังในด้านเวลา คุณภาพ และราคาระบบต้องอาศัยแบบจําลองท่ีสร้างขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ ก่อนท่ีจะนําเข้ามาดําเนินการจรงิ ในธุรกิจ ผลลพั ธ์ของระบบนี้ มกั อยใู่ นรูปของ สง่ิ ประดษิ ฐ์ ตวั แบบ รูปแบบ เปน็ ต้น

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 5 ภาพที่ 2. การจัดการความรู้ ท่มี า : https://goo.gl/g37EBuระบบสำรสนเทศเพื่อสร้ำงควำมรู้ หรือ จัดกำรควำมรู้ หรือ Knowledge Work Systems(KWS)มีเครื่องมือสนับสนุนในการสร้างและจัดการความรู้หลายประเภท โดยประยุกต์เคร่ืองมือต่าง ๆ ให้สามารถจัดการความรู้ท่ีมีหลายรูปแบบและกระจัดกระจายในที่ต่าง ๆ ได้ ตัวอย่างเช่น ระบบผเู้ ชีย่ วชาญ หรือ Expert Systems (ES) ซ่ึงเป็นระบบท่ีเก็บความรู้ และความชาํ นาญของผู้เช่ียวชาญดา้ นต่างๆ มาจัดเป็นหมวดหม่รู ะบบ ให้สามารถทํางานได้เสมือนหนึ่งเป็นผเู้ ช่ียวชาญเอง เพ่ือค้นหาความรทู้ อี่ าจกระจดั กระจายอยูต่ ามแหลง่ สารสนเทศในอดีตขององคก์ าร เป็นต้นระบบปัญญำประดษิ ฐ์ อน่ื ๆ เช่น Fizzy Logic เป็นเทคโนโลยีซอฟต์แวร์ท่ีกําหนดความรู้ที่มีรูปแบบไม่ชัดเจน เพ่ือเลียนแบบคนในการแก้ปัญหาที่มีความไม่แน่นอน เช่น การควบคุมการทํางานของเคร่ืองจักรจํานวนมาก เช่น ช่วงอุณหภูมิ การเร่งเคร่ืองยนต์ Genetic algorithms เป็น อัลกอริทึมพัฒนาคําตอบสําหรับปัญหาเฉพาะด้าน เพ่ือหาความพอดีความเหมาะสม (fitness) ในการออกแบบสินค้า และระบบตรวจสอบในอุตสาหกรรม Hybrid AI systems เป็นการนํา neural, fuzzy logic, genetic algorithms, ES มาบูรณาการเข้าดว้ ยกนั เพื่อเลอื กใชส้ ่วนท่ีดีทีส่ ดุ ของเทคโนโลยแี ต่ละอยา่ ง

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 6 Intelligence agents เป็น ซอฟต์แวร์ท่ีมีการสร้างฐานความรู้ในระดับจํากัด เพื่อนําไปใช้ในการแกป้ ัญหาเฉพาะด้าน ปัญหาซา้ํ ซาก ปญั หาทคี่ าดเดาไว้ เช่น โปรแกรม Wizard - เคร่ืองมือในการจัดการความรู้ร่วมกัน เช่น ระบบสนับสนุนการทํางานกลุ่ม ระบบอินทราเน็ตขององค์การโดยอาจมีซอฟต์แวร์ระบบจัดการเน้ือหา หรือ Content ManagementSystem (CMS) เพื่อรวบรวม จัดหมวดหมู่และค้นหาเนื้อหาที่อยู่ในเอกสารจํานวนมากและหลากหลายขององค์การได้ - เครื่องมือส่งผ่านความรู้ ตัวอย่าง คือ ระบบสารสนเทศสํานักงาน ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการส่ือสาร เช่น อีเมล์ การประชุมทางไกล ฯลฯ และเพ่ิมประสิทธิภาพการทํางานของบุคลากร เช่นการจดั การเอกสาร ขั้นตอนการพัฒนาฐานความรู้เพื่อการจัดการ (Knowledge Management Systems:KMS) มี 4 ขน้ั ตอน คือCreation - สร้าง Storage - จัดเกบ็Distribution - เผยแพร่ Application – จัดการ

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 7 ภาพท่ี 3 ขน้ั ตอนการพัฒนาความรู้ ท่ีมา : https://goo.gl/rN8MpKกระบวนกำรในกำรสร้ำง KMS ประกอบด้วย 4 ระยะ คือ 1. Infrastructural Evaluation ขน้ั การวางโครงสร้างพน้ื ฐานของการจดั การความรู้ 2. KM System Analysis, Design and Development ข้ันการประเมินระบบ การจัดการความรู้ การออกแบบ และการพัฒนา 3. 3System Development ข้นั ตอนการพฒั นาระบบทไี่ ดม้ กี ารประเมนิ แล้ว 4. 4Evaluation ช้นั ตอนการประเมนิ ระบบการจดั การความรู้ท่ีได้สร้าง

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 8 1. ฐานข้อมลู การจดั การลูกค้า และการตลาด 2. สารบัญฐานข้อมลู ความรู้พ้ืนฐานและวธิ ีการจัดการลกู คา้ ขององค์กร 3. การเชอ่ื มต่อองค์ประกอบด้านบัญชี 4. การจัดการคลังสนิ คา้ และการหมุนเวียนอปุ กรณ์ 5. การเชอ่ื มตอ่ ฐานข้อมลู สิทธลิ ูกคา้ (Authentication service management) 6. ระบบการจัดการผูใ้ ชง้ านของ KWSพนกั งานทม่ี ีความรู้พิเศษ (knowledge workers) ได้แก่นักวิจัย นักออกแบบ สถาปนิก นักวัทยาศาสตร์ วิศวกร ผู้ท่ีมีหน้าท่ีหลักในการสร้างองค์ความรขู้ น้ึ มาใหอ้ งค์กร 3 บทบาทท่ีสาํ คัญยิง่ ตอ่ องคก์ รo 1.ชว่ ยทาํ ใหอ้ งค์กรมีความรู้ทท่ี ันสมยั อย่เู สมอo 2.ทําหน้าทีเ่ ป็นเสมอื นผู้ใหค้ าํ ปรกึ ษาภายในองค์กรเก่ียวกับความรูท้ ี่ตนเองเชย่ี วชาญo 3.ทําหน้าที่เหมือนตัวแทนของการเปลี่ยนแปลง การประเมิณค่า การริเริ่มส่ิงใหม่ๆ และการสนับสนุนใหเ้ กดิ การเปล่ยี นแปลง ความต้องการของระบบทํางานกบั องค์ความรู้o เครื่องคอมพวิ เตอรท์ ่มี ีความสามารถพิเศษทางดา้ นกราฟกิo เครอื่ งมอื สําหรบั วิเคราะหข์ อ้ มูลo เครอ่ื งมือสาํ หรับการส่ือสารo เครื่องมือสาํ หรบั การบริหารจัดการเอกสารo ระบบตดิ ตอ่ ผู้ใช้ที่ง่ายตอ่ การใชง้ าน เปน็ มิตรกับผใู้ ช้ชว่ ยประหยดั เวลา บลาๆ Exampleso CAD ใชก้ บั วศิ วกร และ สถาปนกิ เป็นโปรแกรมออกแบบo Virtual reality System : เหนือกว่า CAD สามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ได้ใช้ในการสร้างรูปแบบจาํ ลองทีเ่ กดิ ขึน้ เปน็ แบบ 3D  ขอ้ ดขี องการจดั การฐานขอ้ มลู  ลดความย่งุ ยาก,ลดความซา้ํ ซ้อน,ลดความสบั สน,ลดคา่ ใช้จ่ายในการบาํ รุงรักษา,

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 9  มคี วามยดื หยุ่นในการขยายฐานขอ้ มูล,มกี ารเขา้ ถงึ ฐานข้อมูลเเละความสะดวกและ  ในการใชฐ้ านข้อมลู มากขึ้นระบบงำนสร้ำงควำมรู้ KWSเป็นระบบทช่ี ่วยสนบั สนุนบคุ ลากรทท่ี ํางานด้านการสร้างความรเู้ พอ่ื พัฒนาการคิดค้น สร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ บริการใหม่ ความรู้ ใหม่ เพ่ือนําไปใชป้ ระโยชนใ์ นหนว่ ยงาน หนว่ ยงานตอ้ งนาํ เทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาสนบั สนุนใหก้ ารพัฒนาเกิดขึน้ ไดโ้ ดยสะดวก สามารถแขง่ ขนั ได้ทั้งในด้านเวลาคณุ ภาพ และราคา ระบบต้องอาศยั แบบจาํ ลองทสี่ รา้ งขึ้น ตลอดจนการทดลองการผลิตหรือดําเนินการ ก่อนท่จี ะนําเข้ามาดาํ เนินการจริงในธุรกิจ ผลลัพธ์ ของระบบน้ี มักอยใู่ นรูปขอส่ิงประดิษฐ์ตัวแบบ รูปแบบ เปน็ ตน้ฐำนขอ้ มลู ควำมรเู้ พอื่ กำรจัดกำร ( Knowledge Work System : KWS )ใช้สนับสนนุ การทาํ งานของพนักงานกลุ่มท่ีมคี วามรู้สูง (Knowledge Workers) เช่น วิศวกร แพทย์ นักกฎหมายนกั วทิ ยาศาสตร์ เปน็ พนกั งานกลมุ่ ท่มี ีความรู้สูงได้รบั การยอมรับอยา่ งเป็นทางการ ระบบนี้ ใช้รบั ผิดชอบการสรา้ งขา่ วสารให้เป็นประโยชน์ หรอื องค์ความร้ใู หม่ ๆข้นั ตอนการพฒั นาฐานความรู้เพอ่ื การจัดการ (Knowledge Management Systems: KMS) มี 4ขนั้ ตอน คือCreation - สร้าง Storage - จัดเกบ็Distribution - เผยแพร่ Application - จดั การกระบวนกำรในกำรสรำ้ ง KMS ประกอบดว้ ย 4 ระยะ คอื *Infrastructural Evaluation ขัน้ การวางโครงสร้างพ้นื ฐานของการจัดการความรู้*KM System Analysis, Design and Development ขน้ั การประเมินระบบ การจัดการความรู้ การออกแบบ และการพัฒนา*System Development ข้ันตอนการพฒั นาระบบที่ได้มีการประเมนิ แลว้*Evaluation ช้ันตอนการประเมนิ ระบบการจดั การความรู้ทีไ่ ด้สรา้ งKnowledge Work System ประกอบด้วยสว่ นสำคญั ดังตอ่ ไปน้ี1. ฐานข้อมูลการจัดการลกู คา้

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 10และการตลาด2. สารบญั ฐานขอ้ มลู ความรู้พ้ืนฐานและวธิ ีการจดั การลูกคา้ ขององค์กร3. การเชอื่ มต่อองค์ประกอบด้านบญั ชี4. การจดั การคลงั สินค้า และการหมนุ เวยี นอุปกรณ์5. การเช่อื มต่อฐานข้อมูลสทิ ธิลูกค้า (Authentication service management)6. ระบบการจัดการผู้ใช้งานของ KWS

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 11 บรรณำนกุ รมระบบงำนสร้ำงควำมร.ู้ [ออนไลน์] เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/355206 (วันท่คี น ขอมูล : 30 ตลุ าคม 2561)ระบบสำรสนเทศเพอื่ สรำ้ งควำมรู.้ [ออนไลน์] เข้าถงึ ไดจ้ าก : https://www.gotoknow.org/posts /356635 (วันทคี่ น ขอมูล : 30 ตลุ าคม 2561)กำรจดั กำรควำมรู้. [ออนไลน์] เขา้ ถึงได้จาก : http://fibbloggang.blogspot.com/2012/11/kws. html (วนั ทีค่ น ขอมูล : 6 พฤศจิกายน 2561)ควำมหมำยของระบบงำนสร้ำงควำมร้.ู [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดจ้ าก : http://tharinee55.blogspot. com/2012/11 /esstpsmrsdsskwsoas.html (วันทค่ี น ขอมูล : 6 พฤศจกิ ายน 2561)

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 12คณะผู้จัดทำ

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 13ประวตั ผิ จู้ ัดทำช่อื -สกลุ : นายบณั ฑิต ตรเี พ็ชรสำขำ : คอมพิวเตอร์ธรุ กิจประวตั ิส่วนตวัวันเกดิ : 1 มิถุนายน 2541 อายุ : 20 ปี สว่ นสูง : 169 นา้ํ หนัก : 59เชือ่ ชาติ : ไทย สญั ชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธท่ีอยู่ : 86/17 ม.1 ต.บางกะดี อ.เมือง จ.ปทมุ ธานี 12160 เบอร์โทรศัพท์ : 0996373293Email : [email protected] Line ID : banthit017ประวตั ิกำรศึกษำมัธยมศกึ ษา : โรงเรียนวัดบางกุฏที องประกาศณยี บตั รวิชาชพี : วิทยาลัยเทคนิคปทมุ ธานี แผนกวชิ า คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจปจั จบุ ัน : วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทุมธานี แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธุรกิจ

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 14ประวัติผู้จัดทำชื่อ-สกลุ : นายภูวฒั น์ พ่วงพนั ธ์สำขำ : คอมพิวเตอร์ธรุ กิจประวตั ิส่วนตัววนั เกดิ : 21/07/2541 อายุ : 20 ปี ส่วนสูง : 163 น้าํ หนัก : 53เช่ือชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธท่ีอยู่ : 5/1 ต.บางปรอก อ.เมือง จ.ปทุม 12000 เบอร์โทรศพั ท์ : 0825870806Email : [email protected] Line ID : poowat8954ประวตั ิกำรศึกษำระดบั มัธยมศึกษา : โรงเรยี นปทุมวิไลประกาศณียบัตรวชิ าชีพ : วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี แผนกวชิ า คอมพิวเตอร์ธุรกจิปัจจุบนั : วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี แผนกวชิ า คอมพิวเตอรธ์ ุรกิจ

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 15ประวตั ิผูจ้ ดั ทำชื่อ-สกลุ : นายอนุพนั ธ์ สวนกันสำขำ : คอมพิวเตอรธ์ ุรกจิประวัติส่วนตัววันเกิด : 31 พฤษภาคม 2541 อายุ : 20 ปี ส่วนสงู : 173 นํา้ หนกั : 55เชอื่ ชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธทอี่ ยู่ : 63/7 ม.1 ต.เชียงรากใหญ่ อ.สามโคก จ.ปทมุ ธานี 12160เบอร์โทรศัพท์ : 095-4152481 , 099-5153209Email : [email protected] Line ID : maibcประวตั ิกำรศกึ ษำมธั ยมศกึ ษา : โรงเรยี นคลองบา้ นพร้าวประกาศณยี บตั รวิชาชพี : วทิ ยาลัยเทคนคิ ปทมุ ธานี แผนกวชิ า คอมพิวเตอรธ์ รุ กิจปัจจุบัน : วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี แผนกวชิ า คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

หน่วยท่ี 6 ระบบงานสร้างความรู้ 16ประวัติผจู้ ัดทำชือ่ -สกลุ : นายพงศภ์ ัค รอดเกาะสำขำ : คอมพิวเตอรธ์ รุ กจิประวัตสิ ่วนตัววนั เกดิ : 17 กรกฎาคม 2541 อายุ : 20 ปี สว่ นสงู : 160 นา้ํ หนัก : 90เช่อื ชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พทุ ธทอ่ี ยู่ : 41/3 ม.5 ต.บา้ นงิ้ว อ.สามโคก จ.ปทุมธานี 12160เบอรโ์ ทรศัพท์ : 085-3173159Email : [email protected] Line ID : pak.naประวัตกิ ำรศกึ ษำมธั ยมศึกษา : โรงเรียนสามโคกประกาศณียบัตรวชิ าชีพ : วิทยาลยั เทคนคิ ปทมุ ธานี แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจปัจจบุ ัน : วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี แผนกวิชา คอมพวิ เตอร์ธุรกิจ

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 17ประวตั ิผจู้ ดั ทำชอื่ -สกลุ : นายพงศกร โพธิ์อาศัยสำขำ : คอมพวิ เตอร์ธรุ กจิประวตั สิ ่วนตวัวันเกดิ : 3 มนี าคม 2542 อายุ : 19 ปี ส่วนสูง : 180 นํ้าหนัก : 86เชอ่ื ชาติ : ไทย สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธท่อี ยู่ : 53 ม.6 ต.ลาดนํา้ เค็ม อ.ผักไห่ จ.พระนครศรีอยุธยา 18000เบอรโ์ ทรศัพท์ : 093-9310195Email : [email protected]ประวัตกิ ำรศกึ ษำมัธยมศึกษา : โรงเรยี นปทุมวิลัยประกาศณยี บัตรวชิ าชพี : วทิ ยาลยั เทคนคิ ปทุมธานี แผนกวิชา คอมพิวเตอร์ธรุ กิจปัจจบุ ัน : วิทยาลยั เทคนิคปทุมธานี แผนกวิชา คอมพวิ เตอรธ์ ุรกิจ

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 18อำจำรย์ผู้สอน

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 19 ครผู ู้สอน วชิ าระบบสารสนเทศเพื่อการจดั การ (3204-2105) ครวู ิลาวลั ย์ วัชโรทยัตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะครูชํานาญการ แผนกวชิ าคอมพวิ เตอรธ์ รุ กิจ วิทยาลัยเทคนคิปทุมธานี

หน่วยที่ 6 ระบบงานสร้างความรู้ 1


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook