Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนบริหารการสอนประจำบทที่ ๗

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ ๗

Published by Nokky buajaroen, 2022-02-16 08:15:25

Description: แผนบริหารการสอนประจำบทที่ ๗

Keywords: cultural diversity

Search

Read the Text Version

CHAPTER 7 แนวคิดการพยาบาลในวฒั นธรรมที่ หลากหลาย ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.หทัยชนก บัวเจรญิ

แผนบริหารการสอนประจำบทที่ ๗ หวั ข%อเน้อื หาประจำบท ๑. ความหมาย ความสำคญั และแนวคดิ การพยาบาลในวัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย ๒. แนวคดิ เกยี่ วกบั ผูBใชBบริการ ความเชอ่ื ทัศนคติตอH การพยาบาลในวฒั นธรรมท่หี ลากหลาย ๓. การเสริมสรBางทัศนคติท่ดี ขี องพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย วตั ถุประสงคเ: ชิงพฤตกิ รรม เพอ่ื ใหBผูเB รียนสามารถ ๑. อธิบายความหมาย ความสำคญั และแนวคิดการพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายไดBอยาH งถกู ตอB ง ๒. อธิบายแนวคิดเกี่ยวกับผูBใชBบริการ ความเชื่อ ทัศนคติตHอการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายไดB ถกู ตอB ง ๓. อภิปรายการเสรมิ สราB งทัศนคตทิ ่ดี ีของพยาบาลในการแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย ไดอB ยาH งเหมาะสม วธิ ีการสอนและกจิ กรรมการเรียนการสอนประจำบท ๑. วธิ กี ารสอนทใ่ี ช2พัฒนาการเรยี นรู2ดา2 นคณุ ธรรมและจริยธรรม ๑.๑. สอดแทรกประเด็นการวิเคราะหQจริยธรรม เกี่ยวกับ แนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมท่ี หลากหลายตามสถานการณกQ ารพยาบาลตามเน้ือหาทเี่ กี่ยวขอB ง ๑.๒. มอบหมายงานเดี่ยวงานกลุHมและจัดทำรายงานพรBอมวิเคราะหQประเด็นคุณธรรม จริยธรรมท่ี เก่ียวขอB ง ๑.๓. จัดกิจกรรมการเรียนรูBจากการแสดงบทบาท สมมุติพรBอมยกตัวอยHางกรณีศึกษาดBานคุณธรรม จริยธรรมในแนวคดิ การพยาบาลในวฒั นธรรมทีห่ ลากหลาย ๒. วธิ ีการสอนที่ใช2พฒั นาความรู2ด2านความร2ู ๒.๑. การบรรยายรHวมกับการอภิปรายโดย มอบหมายใหBมีการสืบคBนวารสาร หรือ งานวิจัยที่ เกี่ยวขBองกับแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายพรBอมทั้งนำเสนอหนBาชั้นเรียนพรBอมสรุปสHงเปYน แผนภาพความคิด ๒.๒. มอบหมายใหBดูวิดิทัศนQเกี่ยวกับ “พยาบาลสีขาว” พรBอมวิเคราะหQสถานการณQและประเด็นที่ เกีย่ วขBอง ๒.๓. การอภิปรายกลุHม โดยมีการมอบหมายใหBแบHงกลุHมทำกิจกรรมผHานใบงานเตรียมเอกสาร ในการ ประกอบการอภปิ ราย เพอ่ื ใหสB มาชกิ ในกลHุมไดเB รยี นรBูรวH มกัน

๒.๔. วิเคราะหQกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวขBองกับแนวคิดการพยาบาลใน วัฒนธรรมทหี่ ลากหลายตามใบงาน ๒.๕. มอบหมายใหBสืบคBนความรูBเกี่ยวกับแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายจาก แหลงH ขBอมลู ตHางมาประกอบการจัดทำเปYนชิ้นงาน ๓. วิธกี ารสอนที่ใช2พัฒนาความรูด2 า2 นทักษะทางปGญญา ๓.๑. บรรยายรHวมกบั การอภปิ รายในหBองเรียน ๓.๒. วิเคราะหQการสอนที่เนBนใหBผูBเรียนไดBฝ_กทักษะการคิดและการแกBไขป`ญหาตาม แนวคิดการ พยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย โดยใชBวิธีการที่หลากหลาย เชHน การอภิปรายกลุHม การศึกษากรณีศึกษา และ หนวH ยงานท่เี กีย่ วขBองมาสอนในชน้ั เรียน ๓.๓. การสะทBอนคิด ๓.๔. การทบทวนความรBูทกุ หัวขอB โดยใชBแบบทดสอบยHอย ๔. วิธีการสอนท่ีใชพ2 ฒั นาความร2ดู า2 นทกั ษะความสมั พนั ธJระหวLางบุคคลและความรบั ผิดชอบ ๔.๑. กลยุทธQการสอนที่เนBนการปฏิสัมพันธQระหวHาง ผูBเรียนกับผูBเรียน ผูBเรียนกับผูBสอน ผูBเรียนกับ ผใBู ชBบริการและผรBู วH มทีมสขุ ภาพ ๔.๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่มีการทำงานเปYนทีมเพื่อสHงเสริมการแสดงบทบาทของการ เปYน ผูBนำและผูตB าม ๔.๓. สHงเสริมใหBทำงานเปYนกลุHมและการแสดงออกของภาวะผูBนำในการแกBไขประเด็นป`ญหา สถานการณQจำลองทางการพยาบาล ๕. วิธีการสอนที่ใช2พัฒนาความรู2ด2านทักษะการวิเคราะหJเชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช2เทคโนโลยี สารสนเทศ ๕.๑. การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนBนใหB ผูBเรียนไดBฝ_กทักษะการสื่อสารระหวHางบุคคลทั้งการ พูด การฟ`ง และการเขียนในกลุHมผูBเรียน ระหวHางผูBเรียนและผูBสอน และบุคคลที่เกี่ยวขBอง ในสถานการณQการ พยาบาล ๕.๒. การจัดประสบการณQการเรียนรูBที่สHงเสริมใหBผูBเรียนไดBเลือกและใชBเทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารทีห่ ลากหลายรูปแบบและวธิ กี าร ๕.๓. การจัดประสบการณQการเรียนรูBที่สHงเสริมใหB ผูBเรียนไดBใชBความสามารถในการเลือก สารสนเทศ และฝก_ ทกั ษะในการนำเสนอขอB มูลสารสนเทศดวB ยวิธกี ารทหี่ ลากหลาย ผBฟู `งและเน้ือหาทน่ี ำเสนอ

สือ่ การเรยี นการสอน ๑. เอกสาร หนงั สอื และตำราที่เกีย่ วขBองเชนH ๑.๑ หทัยชนก บัวเจริญ. (๒๕๖๐). มโนมติทางการพยาบาลและแนวคิดทฤษฎีการพยาบาล. นครปฐม : มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม. ๒. เว็บไซตตQ าH งๆทีเ่ กี่ยวขBองเชนH ๒.๑ กระทรวงสาธารณสุข URI : www.moph.go.th ๒.๒ สภาการพยาบาล URI : www.tnmc.or.th/ ๒.๓ ฐานขอB มูลของ CINAHL ของคณะพยาบาลศาสตรQ URI : https://nurse.npru.ac.th ๒.๔ ฐานขBอมูลของสำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม SpringerLink (E-journal) (E-book) CRnetBase ๒.๕ องคกQ ารอนามยั โลก URI : https://www.who.int/health-topics/nursing#tab=tab_1 ๒.๖ สมาคมพยาบาลแหHงประเทศไทย URI : www.thainurse.org/ ๓. แบบฝก_ หัดทBายบทเรียน ๔. ส่อื การสอนออนไลนQไดBแกH YouTube Learning Management System : LMS การวดั ผลและประเมนิ ผล ๑. ประเมินเนื้อหาวิเคราะหQแนวโนBมดBานกฎหมาย จริยธรรม จรรยาบรรณ วัฒนธรรมและสิทธิมนุษยชนท่ี เกี่ยวขBองแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายตามเนื้อหาที่เกี่ยวขBองการตรงเวลา ตHอการเขBาชั้นเรียน การสHงงานตามกำหนดเวลาที่มอบหมาย ๒. ประเมินผลการสะทBอนคิดในวิดีโอ ๕ นาที คะแนนเก็บจากการสอนดBวยวิธี Active team base learning จากหัวขBอแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายประเมินโดย อาจารยQ นักศึกษา และ ตนเอง และแบบประเมินทกั ษะการพูดการเขยี นและการประเมนิ จากการถามในช้ันเรยี น การนำเสนอในช้ันเรยี น ๓. ประเมินการทำงานรHวมกันของสมาชิกในการทำงานกลุHม ๔. ประเมนิ การนำเสนอ รายงาน และสรุปผล การแลกเปลยี่ นเรียนรูB ๕. สังเกตพฤติกรรมการ ทำงานเปYนกลุHม การทดสอบทักษะการฟ`งจากแบบทดสอบที่สอดคลBองกับ วตั ถปุ ระสงคQการเรยี นรูB ๖. การทดสอบการวเิ คราะหขQ อB มูลโดยใชขB อB สอบยอH ยทาB ยชั่วโมง

บทท่ี ๗ แนวคิดการพยาบาลในวฒั นธรรมทีห่ ลากหลาย การพยาบาลในป`จจุบันตBองคำนึงถึงการดูแลดBานสิ่งแวดลBอมและสังคมวัฒนธรรมที่สะทBอนความเปYนอยHู ของบุคคลที่มีความตBองการที่หลากหลาย เนื่องจากบุคคลมาจากวัฒนธรรมที่แตกตHางกัน ทั้งดBานเพศสภาพ ดBานอายุ ดBานสังคมและเศรษฐกิจ ดBานระบบการศึกษา ดBานสภาพรHางกายและดBานจิตใจ ดBานการดำรงชีวิต ดBาน วิถีเพศสภาพ ดBานศาสนา ดBานชนกลุHมนBอยที่เขBาไมHถึงสิทธิการรักษาพยาบาล ดังนั้นพยาบาลวิชาชีพในยุคป`จจุบัน จึงตBองทำความเขBาใจความแตกตHางทางวัฒนธรรมที่เปYนพื้นฐานของบุคคลเพื่อใหBสามารถดูแลไดBสอดคลBองกับ วฒั นธรรมและกระบวนการพยาบาลทจี่ ะดำเนนิ การใหกB ารปฏิบตั กิ ารพยาบาลมีประสทิ ธภิ าพมากทสี่ ุด ความหมาย ความสำคญั และแนวคิดการพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย วัฒนธรรม หมายถึง วิถีชีวิตของบุคคล การใหBคุณคHา ความเชื่อ ทัศนคติ และพฤติกรรมแตHละบุคคลมี ความหลากหลายตามวฏั จักรเปลีย่ นแปลงแตลH ะสภาพของบุคคล (Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๗) วัฒนธรรมที่หลากหลาย หมายถึง สภาพของสังคมที่มีความแตกตHางทางดBานเชื้อชาติ ศาสนา ความ แตกตHางทางสีผิว ชนกลุHมนBอย โดยกลุHมคนที่ดำรงชีวิตในสภาพของสังคมที่แตกตHางไมHมีโอกาสเลือกในการ ดำรงชวี ิตในสงั คม (Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๘) การพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย หมายถึง การดูแลบุคคล ครอบครัว ที่เขBาใจพื้นฐานวัฒนธรรม ของบุคคลที่จะใหBการดูแล มีความตระหนักถึงความแตกตHางทางวัฒนธรรมของบุคคล ทักษะทางวัฒนธรรม ความรูB เก่ียวกับวฒั นธรรมเพ่อื นำมาวางแผนการพยาบาลไดอB ยHางเหมาะสม (หทยั ชนก บวั เจริญ, ๒๕๖๐, หนาB ๑๕๐) ความสำคญั ของการพยาบาลในวฒั นธรรมที่หลากหลาย (Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๙) ประกอบดวB ย ๑) สHงเสริมใหBการพยาบาลเกิดการเคารพในความแตกตHางของบุคคลและใหBการพยาบาลโดย คำนงึ ถึงวัฒนธรรมและความแตกตาH งของบคุ คล ๒) เปYนการปรับคุณภาพการพบริการและพฤติกรรมการใหBบริการของพยาบาลวิชาชีพใหB ตระหนกั ถึงความแตกตาH งกอH นการใหBบริการ ๓) พยาบาลจะชHวยทำใหBผูBรับบริการที่มีความแตกตHางทางวัฒนธรรมจากสังคมไดBรับการเขBาถึง การบริการทเ่ี ทาH เทียม ๔) เปYนการเพ่มิ คุณคาH และศกั ดิศ์ รคี วามเปนY มนษุ ยQของบุคคลทีม่ ีวฒั นธรรมท่ีแตกตHาง ๕) เปYนการสรBางสัมพันธภาพที่ยั่งยืนในการใหBบริการที่มีสติ มีการตัดสินใจบนพื้นฐานของความ ถกู ตอB ง คาH นิยม ทศั นคตใิ นการพยาบาล

แนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ผูBเขียนจากการทบทวนผลงานวิจัย งานวิชาการที่ เกย่ี วขอB งพบวHา พื้นฐานของการพยาบาลในวฒั นธรรมทที่ ่ีมาแตกตHางกัน คอื ๑) ทฤษฎีการพยาบาลของไลนิงเจอรQ (Lininger, ๑๙๙๕, pp ๖๐๕., Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๘) ไดBอธิบายวHา การพยาบาลในวัฒนธรรมที่แตกตHางคือการขยายแนวคิดที่ตBองทำความเขBาใจ พื้นฐานของวัฒนธรรม ซึ่งตBองพิจารณาเรื่องราวของบุคคลในดBานระบบการศึกษา แนวคิดการดำเนินชีวิตตาม สภาพเศรษฐกิจ แนวคิดทางการเมือง ความเขBาใจเรื่องกฎหมาย การมีน้ำใจกับคนอื่น การเคารพในตนเอง ความ เชอื่ และศรัทธาศาสนา สภาพรHางกายตามสรีรวิทยา และพฤตกิ รรมการใชBเทคโนโลยี ๒) ทฤษฎีการพยาบาลของจเิ จอรแQ ละเดวิทฮิซารQ (Giger and Davidhizer, ๑๙๙๕ pp ., Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๘) ไดBอธิบายวHา การพยาบาลตBองพิจารณาปรากฎการณQทางวัฒนธรรมที่สำคัญของ บุคคล การสื่อสาร การกำหนดขอบเขตการเขBาถึง ชHวงเวลาของชีวิต การจัดการสิ่งแวดลBอม ความแตกตHางทาง พันธกุ รรม และองคกQ รทางสงั คมท่ีใหกB ารสนบั สนนุ ๓) ทฤษฎกี ารพยาบาลของคอมพนิ ฮาบารโQ คทB (Compinha-Bacote, J., ๑๙๙๘, pp ๒., Denmis, P, B & Small B, E., ๒๐๐๓, pp ๑๘) ไดBอธิบายวHา การพยาบาลตBองคำนงึ ถงึ ความระมดั ระวงั ตHอประเด็นทางวฒั นธรรม พื้นฐานความรูBเกี่ยวกับวัฒนธรรมของบุคคล ทักษะการเขBาถึงวัฒนธรรม และการการสนับสนุนการบริการใหB สอดคลอB งกบั วัฒนธรรม ซ่งึ เปYนองคปQ ระกอบทสี่ ำคญั ในการใหBการพยาบาล ๔) เงื่อนไขของการพยาบาลวัฒนธรรมที่หลากหลายในศตวรรษที่ ๒๑ เนBนการทำความเขBาการแสดง ความอHอนนBอมถHอมตBน เปYนกระบวนการที่สรBางการสะทBอนคิดจากการเขBาใจตนเองและบุคคลอื่นผHาน ประสบการณQวัฒนธรรมทางเชื้อชาติและศักดินา รวมถึงความเห็นอกเห็นใจในระบบบริการสุขภาพเปYนคุณภาพ ชีวิตของมนุษยQที่เขBามจความทุกขQยากของบุคคลอื่นและใหBการพยาบาลไดBตามวัฒนธรรมที่หลากหลาย (Chow, K, Rita., ๒๐๒๑. Pp ๓๒) จากการใหBความหมาย ความสำคัญ และแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายเปYนพื้นฐานของ ความเปYนวิชาชีพการพยาบาลที่มีโอกาสในการทำความเขBาใจชุดความรูBทางวัฒนธรรมใหBเขBาถึงความเปYนบุคคล ไดB มีหลักการสื่อสารที่ชาวยใหBเกิดความเขBาใจในความเชื่อและการใหBคุณคHากับชีวิตที่แตกตHางกันซึ่งจากแนวคิดทฤษฎี ที่มีองคQประกอบของการไวตHอความแตกตHางทางวัฒนธรรม การเพิ่มสมรรถนะของพยาบาลในการคBนหาคุณคHาของ วัฒนธรรม ลBวนแตทH ำใหเB กิดการพฒั นาสคูH วามเปนY ผBูนำในการพัฒนาระบบบรกิ ารสขุ ภาพที่เขBาถึงไดBอยาH งเทHาเทียม

แนวคดิ เก่ยี วกับผูใ% ชบ% ริการ ความเชือ่ ทัศนคตติ อN แนวคดิ การพยาบาลในวฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย การพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายตBองดูแลแบบองคQรวมและสอดแทรกเรื่องวัฒนธรรมที่หลากหลาย ทมี่ อี งคQประกอบของ ความเชือ่ ทัศนคติ พฤตกิ รรม วิถชี วี ติ เบื้องหลงั ของบคุ คลดาB นการศึกษา ดาB นเศรษฐกิจสงั คม ดBานวิธีคิดทางการเมือง ฯลฯ แทรกในกระบวนการพยาบาล เนื่องจากผูBใชBบริการทุกคนที่ไดBรับการดูแลจาก พยาบาลดBวยกระบวนการพยาบาลท่ีเปYนกลไกพื้นฐานของการพยาบาล ซึ่งประกอบดBวย การประเมินสภาพ การ วินิจฉัยการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การวางแผนการพยาบาล การปฏิบัติการพยาบาล และการ ประเมนิ ผล ซ่ึงมีรายละเอยี ดดังน้ี ๑) การประเมินสภาพ เปYนกระบวนการเก็บรวบรวมขอB มลู ระดับบุคคล ครอบครัว กลHมุ คน และชุมชน โดย ๑.๑) การตรวจรHางกาย โดยสังเกตเกี่ยวกับรูปรHางสีผิวหนBาตา การประเมินความอดทนตHอการ เจ็บป¦วยและพฤติกรรมความเชื่อในการจัดการตHอป`ญหาสุขภาพ เนื่องมาจากวัฒนธรรมของบุคคลที่มีเรื่องราวของ บุคคลจากการเลี้ยงดูของครอบครัวจนสHงผลใหBสภาพรHางกายตามสรีรวิทยาเติบโตตามแบบแผนการดำเนินชีวิตตาม สภาพเศรษฐกจิ ๑.๒) การสัมภาษณQ เนBนการสื่อสารแบบสองทางโดยกระบวนการสนทนาควรระมัดระวังการละเมิด สิทธิ์ของผูBใชBบริการ การแสดงพฤติกรรมตั้งใจฟ`งเพื่อเชื่อมโยงสิ่งที่บอกกลHาวตHอป`จจัยที่มีผลตHอการหายของโรค หรือการปรับพฤติกรรมสุขภาพใหBเหมาะสม พยาบาลวิชาชีพควรเปYนผูBฟ`งที่ดี และใหBโอกาสผูBใชBบริการไดBเลHา เรื่องราว ตลอดจนสHงเสริมใหBผูBใชBบริการเกิดความตระหนักและยอมรับในวัฒนธรรมของผูBใชBบริการเพื่อนำมาปรับ การปฏิบัตกิ ารพยาบาลใหBมปี ระสทิ ธิภาพ ๑.๓) ตัวอยHางคำถามในการประเมินสภาพและการวิเคราะหQเชื่อมโยงเกี่ยวกับการพยาบาลใน วฒั นธรรมทหี่ ลากหลาย ดังตารางที่ ๗.๑ ตารางที่ ๗.๑ แสดงตัวอยHางคำถามในการประเมินสภาพและการวิเคราะหQเชื่อมโยงเกี่ยวกับการพยาบาลใน วฒั นธรรมที่หลากหลาย ตวั อยาL งคำถามในการประเมนิ สภาพ การวเิ คราะหJเช่ือมโยงเกีย่ วกับการพยาบาลใน วัฒนธรรมท่หี ลากหลาย “ครอบครัวของคุณกลาH วถึงคณุ วHาอยาH งไรบBาง” ครอบครวั สะทอB นการหลHอหลอมวฒั นธรรมความเชอื่ ใน “ใครเปนY คนตัดสินใจเรื่องในครอบครวั ของคุณ” การดำเนนิ ชวี ิตและการแสดงบทบาทของสมาชิกหรอื ผูนB ำในครอบครัว ซง่ึ จะนำไปสกูH ารทำความเขBาใจบรบิ ท ของบุคคลในยามทีเ่ จ็บป¦วย

ตารางที่ ๗.๑ แสดงตัวอยHางคำถามในการประเมินสภาพและการวิเคราะหQเชื่อมโยงเกี่ยวกับการพยาบาลใน วฒั นธรรมทห่ี ลากหลาย (ตHอ) ตัวอยาL งคำถามในการประเมินสภาพ การวเิ คราะหเJ ช่ือมโยงเกยี่ วกบั การพยาบาลใน “อาหารท่ีคณุ เลือกรบั ประทานเปYนประจำคอื วัฒนธรรมที่หลากหลาย ประเภทใด” อาหารมคี วามหลากหลายทางวฒั นธรรมอยาH งมาก อาหาร “กิจกรรมการพยาบาลหรือแผนการรกั ษาขดั ตอH ที่รับประทานไดตB ามหลกั ศาสนา ความเชือ่ หรือตาม การปฏบิ ัติตนตามหลกั ศาสนาของทHานหรือไมH แผนการรักษามีผลกระทบตอH บคุ คล พยาบาลตอB งทราบ อยHางไร” วฒั นธรรมการรับประทานอาหารเพอ่ื นำไปสูHการปรบั เมนู ของอาหารหรือสงH เสรมิ ความเขาB ใจเก่ียวกับอาหารในการ “การเจ็บปว¦ ยคร้งั นม้ี ีความหมายอยHางไร” รกั ษาและฟ¨§นฟูสภาพ “สาเหตใุ ดท่ที ำใหเB กิดการเจบ็ ปว¦ ยในครง้ั นี้” “ทำไมถึงคิดวาH เจบ็ ป¦วยครง้ั นที้ ำใหคB ณุ แยHลง” ศาสนามีผลกระทบตHอการดำเนนิชีวิตในการประพฤติ “การเจบ็ ป¦วยมคี วามรนุ แรงตอH ครอบครัวคุณ ปฏิบัติเชHน การบริจาคอวัยวะ การถHายเลือด การยุติชีวิต อยาH งไร” การทำแทBง ฯลฯ ซึ่งการสอบถามความเชื่อ ความศรัทธา “อะไรท่ีคุณกลัวมากทสี่ ดุ ในการรบั การรกั ษาครั้ง จะชHวยทำใหBแพทยQและพยาบาลสามารถวางแผนในการ น”้ี ดำเนนิ การรกั ษาและการพยาบาลไดอB ยHางเหมาะสม ท่ีมา : หทัยชนก บวั เจริญ (๒๕๖๐,๑๖๗) คำถามเหลHานี้คือ การขยายความและหาสาเหตุที่เชื่อมโยง กับวิถีชีวิตและมุมมองของผูBใชBบริการตHอการเจ็บป¦วย ที่จะ สะทBอนความเขBาใจในผูBใชBบริการ ครอบครัว และการวาง แผนการรักษาใหBสอดคลBองกับความแตกตHางทาง วัฒนธรรม ๒) การวินิจฉัยการพยาบาล เปYนการพัฒนาการวิเคราะหQจากขBอมูลที่ประเมินสภาพจากผูBใชBบริการ โดยมีการแยกชุดขBอความ หรือประโยคขBอมูลที่เปYนป`ญหาทางดBานสุขภาพหรือดBานการพยาบาลในวัฒนธรรมท่ี แตกตHาง ขBอมูลที่มีโอกาสเสี่ยงกHอใหBเกิดป`ญหาทางดBานสุขภาพหรือดBานการพยาบาลในวัฒนธรรมที่แตกตHาง และ ขBอมูลที่สHงเสริมใหBมีการฟ§¨นฟูสภาพหรือสHงเสริมใหBคงอยูHตามสภาพของวัฒนธรรมที่แตกตHาง ตามแนวคิดของ สมาคมการวินิจฉัยการพยาบาลของอเมริกาเหนือ (North America Nursing Diagnosis Association, ๑๙๙๖,

pp ๖๙) มีตัวอยHางของกำหนดขBอความที่ใชBวินิจฉัยการพยาบาลกลุHมคนที่มีวัฒนธรรมที่แตกตHาง และการวิเคราะหQ ความเชอื่ มโยงเกย่ี วกับการพยาบาลในวฒั นธรรมท่ีหลากหลาย ไดดB งั ตารางที่ ๗.๒ ตารางที่ ๗.๒ แสดงตัวอยHางขBอวินิจฉัยการพยาบาลและการวิเคราะหQความเชื่อมโยงเกี่ยวกับการพยาบาลใน วัฒนธรรมทห่ี ลากหลาย ตวั อยLางขอ2 วนิ ิจฉยั การพยาบาล การวิเคราะหJเชื่อมโยงเกย่ี วกบั การพยาบาลใน (North America Nursing Diagnosis วัฒนธรรมทีห่ ลากหลาย Association, ๑๙๙๖, pp ๖๙) (หทัยชนก บวั เจรญิ ๒๕๖๐,๑๗๙) “การสอ่ื สารไมมH ีประสทิ ธิภาพ” ขBอวินิจฉยั การพยาบาลน้ีเปนY การสะทBอนป`ญหาจากการ หมายถึง ประสบการณขQ องบุคคลไมสH ามารถทำใหB แสดงออกทางอากัปกริยา เชHน สีหนาB ทาH ทาง แววตา เขBาใจภาษาหรอื การส่ือสารทางกายจากปฏิกริ ิยาของ การไมHสนทนา ไมเH ขBาใจภาษาท่ีสือ่ สารตอH กนั ทส่ี ะทอB น คนอื่นไดB ความเช่ือและการหลHอหลอมจากครอบครวั จงึ เปนY สงิ่ ขัดขวางในการพยาบาลและอาจจะสงH ผลใหBเกิดการ ประเมินถงึ โรคหรืออาการทางดBานสภาพจิตใจหรือ อาการทางราH งกาย “บกพรอH งความรใูB นการดูแลตนเอง” ขอB วินจิ ฉยั การพยาบาลนเี้ ปYนการสะทBอนป`ญหาของ หมายถงึ การไมHมีความรหูB รอื ความจำบกพรอH งหรือ บุคคลขาดการดแู ลตนเองหรือบกพรอH งการดูแลตนเอง บกพรHองตอH การเรยี นรจูB นทำใหBไมสH ามารถดแู ล จนทำใหเB กิดการเจบ็ ป¦วยหรอื เปYนโรค ซง่ึ สะทอB น สขุ ภาพไดBดวB ยตนเอง วัฒนธรรมของตนเองดาB นสขุ ศกึ ษาหรือดาB นการดูแล ตนเอง “ปฏสิ ัมพันธQทางสังคมบกพรHอง” ขอB วินจิ ฉยั การพยาบาลนีเ้ ปYนการสะทอB นป`ญหาความ หมายถึง บคุ คลขาดการมีสวH นรวH มหรอื มบี กพรHองใน ขัดแยงB ทางสงั คม โดยแสดงออกทางภาษาทีไ่ มเH หมาะสม การสรBางสมั พนั ธภาพ หรอื มกี ารปรบั ตวั ตHอการ การแสดงกริยาท่ไี มHเหมาะสม หรอื การไมสH ามารถสรBาง เปลย่ี นแปลงของสงั คมไดBนอB ย ปฏสิ ัมพนั ธกQ ับผูอB ื่นไดB ทม่ี า : North America Nursing Diagnosis Association, ๑๙๙๖, pp ๖๙ และหทยั ชนก บวั เจรญิ ๒๕๖๐,๑๗๙.

๓) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาล เปYนการวางแผนผสมผสานระหวHางการปฏิบัติการ พยาบาลตามแบบแผนและสอดแทรกการใหBคุณคHาทางวัฒนธรรม ความเชื่อ การปฏิบัติการพยาบาลที่เพิ่มความพึง พอใจของผูBใชBบริการ ซึ่งพยาบาลสามารถทำความเขBาใจหลักการปฏิบัติการพยาบาลที่เนBนผลลัพธQของการ ปฏิบัติการพยาบาล โดยมขี ้นั ตอนของการวางแผนการปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลทไ่ี วตHอวฒั นธรรมดังน้ี ๓.๑) การวางแผนและการปฏิบัตกิ ารพยาบาลท่คี รอบครัวมสี HวนรHวมในการดูแล ๓.๒) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาลที่สอดคลBองกับศาสนา ความตBองการทางดBาน วัฒนธรรมการดแู ล ๓.๓) การวางแผนและการปฏิบตั ิการพยาบาลท่สี ื่อสารดBวยภาษาทเี่ ขาB ใจกัน ๓.๔) การวางแผนและการปฏิบัติการพยาบาลที่ตัดสินใจเพื่อลดความขัดแยBงและสรBางคุณคHาทาง วัฒนธรรมการดแู ล ตัวอยLางที่ ๑ การวางแผนการพยาบาลเพื่อเพิ่มศักยภาพทางวัฒนธรรมการดูแล ผูBป¦วยหญิงชาวจีน อายุ ๕๖ ป© การวินจิ ฉยั และขBอมูลประวตั ิสุขภาพ : โรคเบาหวาน ควบคุมน้ำตาลไมดH ี ตอB งใชยB าฉดี อินซลู นิ ขBอมูลที่เกี่ยวขBอง : การปฏิบัติตนเขBาวัดทุกวันพระ สื่อสารไทยไมHไดB ตBองมีสามีแปลภาษาใหBในการ สื่อสารกับผBูอื่น มลี ูกชายสองคนสามารถสื่อสารภาษาไทยไดB การประเมนิ ภาพ : ภาษาแรกคอื ภาษาจีน พูดภาษาองั กฤษไมไH ดB เมือ่ พูดถงึ สามีรอB งไหตB ลอดเวลา การวินิจฉัยการพยาบาล : ไมHสามารถสื่อสารไดBอยHางมีประสิทธิภาพเนื่องจากไมHสามารถสื่อสาร ภาษาไทยไดB การปฏบิ ตั กิ ารพยาบาล : ๑) สอนสขุ ศกึ ษาเกย่ี วกบั อาหารที่รบั ประทานไดB โดยใหBลกู ชายและสามีเขBา รHวมกิจกรรมและดูแลเรื่องอาหารใหBทุกมื้อเมื่อกลับไปอยูHบBาน ๒) กHอนวางแผนกลับบBานเตรียมจัดหาสื่อภาษาจีนใหB ความรBูเร่ืองการฉีดอนิ ซอู นิ การประเมินผล : พยาบาลสามารถใชBส่อื ภาษาจีนเพื่อสงH เสริมความเขาB ใจในการดูแลตนเอง ตวั อยLางที่ ๒ การวางแผนการพยาบาลผูBปว¦ ยหญิงชนผิวสี อายุ ๒๘ ป© ชาวแอฟรกิ นั การวินจิ ฉัยและขอB มูลประวตั ิสขุ ภาพ : โรคลำไสอB ักเสบ กลับเขBาโรงพยาบาลหลายครั้ง ขBอมูลที่เกี่ยวขBอง : การมารับบริการที่โรงพยาบาลแตHละครั้งไดBพยาบาลผูBหญิง แตHในการนอน โรงพยาบาลครั้งนี้ไดBพยาบาลผูBชายชาวแอฟริกันอเมริกัน ซึ่งผูBป¦วยไมHสะดวกใจในการใหBพยาบาลผูBชายการดูแล (Alexis, O and Chabmbers, C., ๒๐๐๔., pp ๒๓)

การประเมินภาพ : ผูBป¦วยเปYนลำไสBอักเสบตBองใหBน้ำเกลือ มีไขBสูง และถHายทBองตลอดเวลา ชHวยเหลือ ตนเองไมไH ดB เปนY ชนผวิ สี มีสีหนBากังวลตลอดเวลา ชพี จรเตBนเร็ว เหงื่ออกท่ีฝา¦ มือ การวินิจฉยั การพยาบาล : ไมHสุขสบายที่ไดรB บั การดแู ลจากพยาบาลผชBู าย การปฏิบัติการพยาบาล : ๑) จัดการมอบหมายเปลี่ยนเวรหรือจัดใหBพยาบาลผูBหญิงใหBการดูแล ๒) หัวหนBาหอผูBป¦วยจัดอบรมการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายใหBแกHหัวหนBาเวร พยาบาลวิชาชีพประจำหอ ผปBู ¦วย การประเมินผล : ผูBป¦วยอาการดขี น้ึ และไมมH ีภาวะวิตกกงั วล หัวใจสำคัญของแนวคิดเกี่ยวกับผูBใชBบริการ ความเชื่อ ทัศนคติตHอแนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่ หลากหลายคือ กระบวนการพยาบาลที่บูรณาการประเด็นของวัฒนธรรมไดB โดยเฉพาะการประเมินสภาพหาก สามารถใสHคำถามที่เกี่ยวขBองกับวัฒนธรรมไดBจะนำไปการไดBขBอสรุปชุดขBอมูลทางวัฒนธรรมไปประกอบขBอวินิจฉัย การพยาบาลที่ครอบคลุมความแตกตHางทางวัฒนธรรมหรือขBอความระวังทางวัฒนธรรมไดBอยHางสมบูรณQแบบ ทั้งน้ี การวางแผนการพยาบาลเนBนการสรBางการมีสHวนรHวมของครอบครัวตามพื้นฐานวัฒนธรรมจะนำไปสHูการปฏิบัติการ พยาบาลที่มีประสิทธิภาพดBวยการสื่อสารที่ชัดเจน แลBวจะสHงผลใหBการประเมินผลของการพยาบาลเปYนไปตามที่ วางแผนไวไB ดอB ยาH งสมบรู ณQ การเสริมสรา% งทัศนคตทิ ด่ี ีของพยาบาลในการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย การพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายตBองเริ่มตBนจากการศึกษาพยาบาลในระดับปริญญาตรีโดยนโยบาย ของสถาบันการศึกษาทางการพยาบาลเปYนสHวนสำคัญที่จะชHวยใหBเกิดความตระหนักในการสรBางสมรรถนะทาง วัฒนธรรม และทำใหBเกิดความตระหนักตHอการปฏิบัติการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายเมื่อสำเร็จเปYน พยาบาลวิชาชีพ อยHางไรก็ตามเมื่อวิเคราะหQระบบการศึกษาทางการพยาบาลทำใหBพบวHา ระบบการศึกษาพยาบาล สHวนใหญHผูBเรียนเปYนผูBหญิง มีสHวนนBอยที่เปYนผูBชาย ดังนั้นการทำความเขBาใจในวัฒนธรรมที่หลากหลายจะทำไดBงHาย และมีตัวอยHางที่ดีในการเรียนรูBและสรBางความตระหนักทางวฒั นธรรมดาB นเพศสภาพ ทัง้ นี้การเสรมิ สราB งทัศนคตทิ ่ีดี ของพยาบาลในการพยาบาลในวฒั นธรรมท่ีหลากหลายสามารถอธิบายไดBดังน้ี ๑) การจัดกระบวนการกลุHมใหBสัมภาษณQผูBใชBบริการหรือครอบครัวของผูBใชBบริการเพื่อสรBางความตระหนัก ในวัฒนธรรมความแตกตHาง และมีการใหBความรูBเพิ่มเติมหากไมHเขBาใจในวัฒนธรรมความแตกตHางนั้น ซึ่งความไวตHอ ความแตกตHางทางวัฒนธรรมในครอบครัวนั้นพบวHา ความตBองการและความเชื่อของครอบครัวจะชHวยใหBพยาบาล เกิดความตระหนักและระมัดระวังในความแตกตHางทางวัฒนธรรม การสื่อสารอยHางมีประสิทธิภาพจะชHวยทำใหB ยอมรับความแตกตHางทางวัฒนธรรมไดB และการวางแผนการพยาบาลโดยบูรณาการเขBากับการพยาบาลโดยเขBาใจ

วัฒนธรรมของครอบครัวจะทำใหBเกิดการปรับตัวในการดูแลผูBป¦วยเชHนกัน (Aghajari Oa, Valizadeh, L., Zamazadeh, V., Ghahramanian, A., and Foronda, C., ๒๐๑๙., pp ๖๑๖.) ๒) การฝ_กหัดตั้งคำถามในกระบวนการพยาบาลโดยใชBประโยคคำถามเกี่ยวกับคำวHา “อะไร” “ใคร” “ท่ี ไหน” “เมื่อไหรH” และ“อยHางไร” โดยตั้งคำถามใหBเกี่ยวขBองกับการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ซึ่งจะ สHงเสริมใหBเกิดความเขBาใจและการรับรูBในความแตกตHางทางวัฒนธรรมไดBดี และเมื่อมีประสบการณQการพยาบาล มากขึ้น การพยาบาลผูBใชBบริการที่มีวัฒนธรรมความหลากหลายจะสHงเสริมใหBพยาบาลวิชาชีพมีความเขBาใจ วัฒนธรรมและทราบความคาดหวังจากผูBใชBบริการที่มีวัฒนธรรมที่แตกตHางกันออกไป (Tanner, A, C., ๑๙๙๖, pp ๒๙๑) ๓) พยาบาลวิชาชีพควรเรียนรูBการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย ๕ ประการคือ ความระมัดระวังใน ความแตกตHางทางวัฒนธรรม ความรูBดBานวัฒนธรรม ทักษะดBานวัฒนธรรมการดูแล การสHงเสริมใหBเขBาใจวัฒนธรรม ที่มีความแตกตHาง และความอยากรูBเกี่ยวกับวัฒนธรรม (Weston, C., ๒๐๒๐, pp ๗๒) เพื่อเปYนพื้นฐานของการใชB กระบวนการพยาบาลและกอH ใหเB กดิ ผลลพั ธทQ างดBานการดแู ลสุขภาพของกลุHมคนท่ีมวี ัฒนธรรมความหลากหลาย ๔) พยาบาลวิชาชีพควรมีมุมมองในแงHบวกและในสถาบันการศึกษาควรสอนเรื่องการพยาบาลใน วัฒนธรรมที่หลากหลายโดยใหBเทียบเคียงกับบริบทและวิถีการดำเนินชีวิตของนักศึกษาพยาบาลกHอนการสำเร็จเปYน พยาบาล (Compinha-Bacote, J., ๑๙๙๘, pp ๓.) ๕) พยาบาลวิชาชีพควรยึดหลักการเสริมสรBางความตระหนักดBานวัฒนธรรมคือ การรูBจักตนเอง การคิด เรื่องใหญH การปฏิบัติใหBเขBาถึง หาคำสำคัญของการพยาบาลในวัฒนธรรมที่แตกตHาง การฟ`งอยHางตั้งใจและพรBอม เรียนรBู (Bednarz,H., Schim, St., and Doorebos, A., ๒๐๑๐., ๒๕๗) บทสรุป แนวคิดการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายเป:นองค=ความรู?ที่นำไปสูCการสร?างกิจกรรมการ ดูแลที่หลากหลายเป:นไปตามบริบทของสังคมและวัฒนธรรมของบุคคลที่พยาบาลวิชาชีพต?องมี สมรรถนะทางด?านวัฒนธรรมฝยกสนระมัดระวังความแตกตCางทางวัฒนธรรม มีความรู?ความเข?ามจ มี การฝLกฝนทักษะการประเมินความแตกตCางทางวัฒนธรรม มีการสCงเสริมให?มีความอยากร?ูและพัฒนา ไปสูCความใสCใจและเห็นอกเห็นใจบุคคลที่มีความแตกตCางจากมาตรฐานการดูแลด?วยการสื่อสารที่ ชัดเจน การเชื่อในการดูแลที่ผสมผสานตามบริบทของบุคคลและให?คุณคCากับความแตกตCางที่งดงาม เพอ่ื นำไปสูCการเทCาเทยี มกันในการเข?าถงึ ระบบบริการสุขภาพของประชาชน

คำถามท%ายบท ๑. หากพยาบาลใชแB นวคดิ การพยาบาลในวฒั นธรรมทหี่ ลากหลายควรประเมินเรื่องใดเปYนอันดบั แรก ๑. ภาวะแทรกซอB นจากโรค ๒. ผลกระทบทีเ่ กดิ ขนึ้ ปญ` หาภายในครอบครัว ๓. คาH ใชBจาH ยจากการรับการรักษาและสทิ ธิประโยชนขQ องผูปB ¦วย ๔. ความเชอ่ื ในการดำเนินชีวติ และคHานิยมในการดูแลตนเอง ๒. ณ โรงงานแหงH หนึ่ง แรงงานตHางดBาวตดิ เช้อื โควดิ -19 จำนวนมาก ทHานจะประเมนิ สภาพตามหลกั การพยาบาล ในวฒั นธรรมทีห่ ลากหลายสำหรับแรงงานท่ยี งั ไมHตดิ เชือ้ อยHางไร ๑. ตรวจราH งกาย ตรวจ ATK สัมภาษณกQ ารเขาB ประเทศไทย ๒. ใหเB ลาH เรอ่ื งรางความเช่ือที่ถูกตBองตอH การรักษาโรคโควดิ -19 ๓. สงH หนังสือภาษาองั กฤษใหBเก็บตวั 14 วนั ทบี่ Bานพกั หยุดพกั งาน ๔. หาลาH มมาชHวยส่ือสารวธิ ีการป²องกันโรคโควิด-19 ของตนเอง ครอบครัว และในโรงงาน ๓. ขBอใดเปYนขBอคำถามที่เหมาะสมในการประเมินสภาพตามหลักการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย หาก ผBูปว¦ ยตBองการรักษาแบบแพทยQทางเลือก ๑. “ครอบครัวคณุ จะคิดอยาH งไรถาB คุณรักษาแพทยQทางเลือก” ๒. “หากผลการตรวจออกมาแลBวคุณตอB งรักษาแพทยQแผนปจ` จุบันเทHาน้นั ” ๓. “ใครจะชHวยคณุ ตัดสินใจใหBการดแู ลตามแบบแผนการรักษาแพทยQทางเลอื ก” ๔. “การเจบ็ ปว¦ ยคร้งั นคี้ ณุ คิดวาH การรกั ษาแบบใดเหมาะสมกับคณุ มากท่ีสุด” ๔. ขอB ใดเปนY ขอB วินจิ ฉัยทางการพยาบาลหากปรากฎการณผQ ูBป¦วยเปYนโรคกระเพาะอาหารอกั เสบ มนี สิ ัยเครยี ดงHาย ด่ืมเหลBาไมHดูแลตนเอง ครอบครวั ไมHสนใจมาเยยี่ ม จนกลับเขาB มารกั ษาพยาบาลซ้ำที่โรงพยาบาล ๑. ผปBู ว¦ ยไมมH คี วามรูBในการดแู ลตนเอง ๒. การสือ่ สารของพยาบาลไมHมีประสทิ ธภิ าพ ๓. ผูBปว¦ ยบกพรอH งการดแู ลตนเองดาB นการรับประทานอาหารรสจัด ๔. ผปBู ว¦ ยขาดปฏสิ ัมพันธQกับครอบครวั เพ่ือชHวยดูแลสขุ ภาพ

๕. นิยามของคำวHา “วัฒนธรรม” เปรยี บเสมือนอาหารชนดิ ใด ๑. ขนมจีนน้ำยา ๓. ขBาวขาหมู ๒. ขนมจีนน้ำยาป¦า ๔. ขนมจีนนำ้ พริก ๖. พยาบาลหอผูBป¦วยหลังคลอดใสใH จมารดาท่ไี มHกลBาเลย้ี งลกู ดวB ยนมมารดา เพราไมHมีประสบการณQ หากพยาบาล รายน้คี ำนงึ ถึงหลกั การพยาบาลในวัฒนธรรมท่หี ลากหลาย ควรสอบถามเร่อื งใดเปนY อนั ดบั แรก ๑. ศาสนาท่ีนบั ถอื ๒. ความเชอื่ ในการเล้ยี งลูก ๓. การเล้ยี งดขู องครอบครัว ๔. ความรูBเกย่ี วกับการเล้ยี งลูก ๗. คณุ ลกั ษณของพยาบาลที่ใหหB ลักการพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลายรายใดเหมาะสม ๑. ยืดหยHุน ผอH นปรน สวดมนตQไหวBพระ ๒. ใหBขBอมลู ตรงไปตรงมา สอ่ื สารตรงไปตรงมา ๓. เคารพสิทธผิ ปBู ว¦ ยใหBอยูตH ามลำพงั เปด³ เพลงใหBฟง` ตามที่พยาบาลเลอื ก ๔. สอบถามความตBองการ สังเกตและใสHใจรายละเอียด เขBาใจพ้ืนเพของผปBู ว¦ ย ๘. หากพยาบาลสราB งสัมพนั ธภาพกบั ผปูB ¦วยชาวพมHาดวB ยการสือ่ สารผาH นลาH มแสดงวHาพยาบาลรายนีใ้ ชแB นวคดิ ทฤษฎี ของใครในการปฏิบัติการพยาบาล ๑. วตั สนั ๒. ไลนิงเจอรQ ๓. จเิ จอรแQ ละเดวิทฮซิ ารQ ๔. คอมพินฮาบารQโคทB ๙. การเสรมิ สราB งทศั นคตขิ องพยาบาลแบบใดสงH เสริมใหBการพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายไดดB ที ่ีสุด ๑. เลHาประสบการณตQ ัวอยHางผูปB ว¦ ย ความเหน็ อกเหน็ ใจและการแกBไขปญ` หา ๒. จัดกระบวนการกลมHุ ใหBสมั ภาษณพQ ยาบาลทที่ ำงานมานานแลBว ๓. ปลูกฝ`งการพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายในที่ทำงาน ๔. หัวหนาB งานฝ_กตงั้ คำถามกับพยาบาลจบใหมHตลอดเวลา

๑๐. นกั ศึกษาพยาบาลจะเรยี นรูBการพยาบาลในวฒั นธรรมทห่ี ลากหลายในรายวิชาใด ๑. ปฏบิ ตั กิ ารพยาบาลพืน้ ฐาน ๒. กฎหมายและจรยิ ธรรมวชิ าชพี ๓. การพยาบาลมารดาและทารก ๔. การเสรมิ สราB งสุขภาพในระบบสขุ ภาพชมุ ชน บรรณานุกรม Alexis, Obrey and Chabmbers, Claire. (๒๐๐๔). Cultural Diversity. Nurse2Nurse. November. ๔(๑๐)., ๒๒ – ๒๓. Aghajari Oarvaneh, Valizadeh, Leila., Zamazadeh, Vahid., Ghahramanian, Akram., and Foronda, Cynthia. (๒ ๐ ๑ ๙ ) . Cultural sensitivity in pediatric nursing care: a concept analysis using the Hybrid method. Scandinavian Journal of Caring Science. ๓๓; ๖๐๙ - ๖๒๐. Bednarz, Hedi., Schim, Stephanie., and Doorebos, Ardith. (๒ ๐ ๑ ๐ ) . Cultural Diversity in Nursing Education: Peris, Pitfalls, and Pearls. Journal of Nursing Education. January, ๔๙ (๕), ๒๕๓ - ๒๖๐. Chow, K, Rita. (๒๐๒๑). Diversity & Equity through Holistic Caring: A Call to Nurses for Self-Mastery and Compassionate Leadership. Beginnings, American Holistic Nurses Association. December. ๑๐ – ๓๒. Compinha-Bacote, Josepha. (๑๙๙๘). Cultural Diversity in Nursing Education: Issue and Concerns. Journal of Nursing Education. January, ๓๗ (๑), ๑ - ๔. Denmis Pierce Betty, and Small, B. Ernestine. (๒๐๐๓). Incorporating Cultural Diversity in Nursing Care: An Action Plan. The ABNF Journal. January – February, ๑๗-๒๕. Leininger, M. (๑๙๙๕). Transcultural Nursing: Concepts, theories, research & practice. New York, NY: McGrew-Hill.

North America Nursing Diagnosis Association. (๑๙๙๖). Nanda nursing diagnoses: definitions and classification 1997-1998. Philadelphia, Penn. North America Nursing Diagnosis Association. Tanner, A, Christine. (๑๙๙๖). Cultural Diversity in Nursing Education. Journal of Nursing Education. October, ๓๕ (๗) , ๒๙๑ - ๒๙๒. Weston, C. (๒๐๒๐). One in Diversity: Obtaining Nursing Excellence in Diversity and Opportunities for Improvement. Journal of Cultural Diversity. ๒๗ (๓), ๖๙ - ๗๓. หทัยชนก บัวเจริญ. (๒๕๖๐). มโนมติทางการพยาบาลและแนวคิดทฤษฎีการพยาบาล. นครปฐม : มหาวิทยาลัย ราชภฏั นครปฐม.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook