Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Nursing trend and issue

Nursing trend and issue

Published by Nokky buajaroen, 2021-01-08 03:41:25

Description: Nursing meaning, Nursing history

Keywords: Nursing meaning

Search

Read the Text Version

คุณลกั ษณะของวชิ าชีพพยาบาล

วตั ถุประสงค์ เพ่ือใหน้ กั ศึกษาสามารถอธิบายคุณลกั ษณะของ วิชาชีพพยาบาล เพื่อใหอ้ ภิปรายเอกลกั ษณ์ของวชิ าชีพ เอกสิทธ์ิแห่ง วชิ าชีพ พลงั อานาจของวชิ าชีพ คุณค่าของวชิ าชีพ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจและอภิปรายบทบาทหนา้ ท่ีและความ รับผดิ ชอบ

คุณลกั ษณะของวชิ าชีพพยาบาล

คุณลกั ษณะของวิชาชีพพยาบาล • เป็ นการปฏบิ ตั ติ ่อมนุษย์โดยตรง และเป็นการปฏิบตั ิตอ่ ธรรมชาติของ บุคคลท่ีมีความแตกต่างกนั ดงั น้นั กระบวนการพยาบาลจึงเป็นกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ในการท่ีจะรวบรวมปัญหา เผชิญปัญหาและแกไ้ ข โดย พ้นื ฐานความเขา้ ใจในลกั ษณะของบุคคลท่ีมีความแตกตา่ งกนั • เป็ นการบริการแก่สังคม ช่วยเหลือ และสนับสนุนให้มนุษย์ดารงรักษาสุขภาพ อนามยั ท่ีดี และความเป็นอยทู่ ่ีดีในสงั คม ซ่ึงตอ้ งอาศยั ท้งั หลกั ศิลปะและ วทิ ยาศาสตร์ในการปฏิบตั ิงาน และความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและวชิ าชีพ

คุณลกั ษณะของวิชาชีพพยาบาล • เป็ นการปฏบิ ัตหิ น้าทต่ี ้องเข้าไปมสี ่วนร่วมกบั ผู้ป่ วย / ประชาชน / ชุมชน ดงั น้นั ส่ิงสาคญั ในการปฏิบตั ิ คือ การเขา้ ไปสัมผสั รับรู้ ขอ้ มูล ข่าวสาร ประสบการณ์ชีวติ ความเช่ือ ค่านิยม ทศั นคติ รวมท้งั วฒั นธรรมของชุมชน สังคม ซ่ึงตอ้ งใชค้ วามรู้ความสามารถใน หลายๆ ดา้ นเพื่อใหเ้ ขา้ ถึงสิ่งเหล่าน้ี และมีส่วนร่วมในการทางาน ออกความเห็นและการตดั สินใจ มีความคิดสร้างสรรค์ รับผดิ ชอบต่อ ตนเองและสงั คม • มคี วามเป็ นอสิ ระควบคุมนโยบายและกจิ กรรมการปฏบิ ัติของตนได้

คุณลกั ษณะของวชิ าชีพพยาบาล • มอี งค์ความรู้ของวชิ าชีพตนเอง มีการพฒั นาอยา่ งต่อเนื่อง โดยการ วจิ ยั อยา่ งเป็นระบบ • ผู้ประกอบวชิ าชีพยดึ ถือปฏบิ ตั กิ ารบริการด้วยจติ วญิ ญาณ ดว้ ยความ เอ้ืออาทร รับผดิ ชอบต่อตนเอง งานและวชิ าชีพ มีการควบคุม ลกั ษณะของการปฏิบตั ิอยเู่ สมอ • มจี รรยาบรรณวชิ าชีพเป็นแนวทางการพจิ ารณาตดั สินใจและการ ปฏิบตั ิของผปู้ ระกอบวชิ าชีพ • มอี งค์กรวชิ าชีพท่ีส่งเสริม สนบั สนุน และพฒั นามาตรฐานวชิ าชีพ และการประกอบวชิ าชีพ

คุณลกั ษณะของวิชาชีพพยาบาล • วชิ าชีพพยาบาลเป็ นวชิ าชีพทเี่ กย่ี วข้องกบั การดูแลมนุษย์โดยการประยกุ ต์ใช้ องค์ความรู้จากทฤษฎไี ปสู่การปฏิบตั ิ • เป็ นวชิ าชีพทตี่ ้องได้รับการศึกษาหรือฝึ กฝน มคี ่านิยมและจรรยาบรรณวชิ าชีพ มอี สิ ระในการทางานและมคี วามยดึ มนั่ ผกู พนั ต่อวชิ าชีพ (Chitty, 2001) และมี เอกสิทธ์ิ (Autonomy) ทถี่ ูกต้องตามกฎหมายทไ่ี ด้รับความเชื่อถือ • วชิ าชีพพยาบาล หมายถงึ วชิ าชีพทใี่ ห้บริการเพ่ือตอบสนองความต้องการของ สังคมในด้านสุขภาพท้งั ในระดบั บุคคล ครอบครัวและชุมชน ในภาพทม่ี สี ุขภาพดี หรือเจบ็ ป่ วยเพื่อให้การดูแลช่วยเหลือ ฟื้ นฟูสภาพ ป้องกนั โรคและส่งเสริม สุขภาพ รวมท้งั การช่วยเหลือแพทย์ทาการรักษาโรค ท้งั นีต้ ้องอาศัยความรู้เฉพาะ ทางการพยาบาลในการปฏบิ ัตงิ าน (Ellis & Hartley, 2002)

เอกลกั ษณ์ของวิชาชีพ Patient Characteristics Nurse Competencies 1 Stability 1 Clinical judgment 2 Complexity 2 Clinical inquiry 3 Vulnerability 3 Caring practices 4 Predictability 4 Response to diversity 5 Resiliency 5 Advocacy/moral agency 6 Participation in decision-making 6 Facilitation of learning 7 Participation in care 7 Collaboration 8 Resource availability 8 Systems thinking



เอกสิทธ์ิแห่งวชิ าชีพ • หมายถึง การปฏิบตั ิหนา้ ท่ีของตนเองท่ีตดั สินใจไดบ้ นฐานของความรู้ บน ศาสตร์ของตนเอง มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบตั ิภายใตข้ อบเขตวชิ าชีพของ การพยาบาลและการผดุงครรภ์ • ขอบเขตของเอกสิทธ์ิวชิ าชีพคือ ดา้ นบริการพยาบาล ดา้ นการศึกษา ดา้ น การวจิ ยั และ ดา้ นบริหารพยาบาล • หนทางสู่เอกสิทธ์ิของวชิ าชีพคือ การสร้างมาตรฐานของวิชาชีพ การ ประเมินคุณภาพ และการพฒั นาคุณภาพบริการ การสร้างหลกั ฐานเชิง ประจกั ษ์ (Evidence Based Pratice) การกาหนดแนว ทางการดูแลผปู้ ่ วย (Clinical Pathway)

แนวปฏิบตั ิการสร้างเอกสิทธ์ิแห่งวิชาชีพ • การเผชิญหนา้ แสดงออกถึงการเปิ ดเผย ซ่ือตรง มีเหตุมีผล แสดงความรู้สึก ต่อส่ิงท่ีเห็นอยา่ งตรงไปตรงมา • เทคนิคการแสดงออกพฤติกรรมที่เหมาะสม เนน้ การสร้างสัมพนั ธภาพ และการส่ือสาร • วเิ คราะห์อุบตั ิการณ์ วเิ คราะห์กรณี ดว้ ยการแสวงหาขอ้ มูล ความรู้ เพ่อื ประกอบการตดั สินใจ • การแสดงออกคานึงถึงสิทธิผปู้ ่ วย การพทิ กั ษส์ ิทธ์ิผปู้ ่ วย





พลงั อานาจของวชิ าชีพ “เป็ นการเพ่ิมศักยภาพของบุคคล โดยผูบ้ งั คบั บญั ชาถ่ายโอนอานาจ ให้ อิสระในการตัดสิ นใจ และจัดหาทรัพยากรในการปฏิบัติงานให้ ผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา รวมถึงการจดั สิ่งแวดล้อมท่ีเอ้ือต่อการปฏิบตั ิงาน และ ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้บุ ค ค ล เกิ ด ค วา ม ส าม า ร ถ ใน ท า งา น แ ละ แ ก้ปั ญ ห า ต่า ง ๆ ไ ด้ บรรลุผลสาเร็จของตนเองและองค์กร มีความสาคญั ต่อองค์กรท้งั ในระดบั บุคคลผู้ปฏิบัติงาน ผู้บริหารและระดับองค์กรปัจจัยท่ีเอ้ือให้เกิดการ เสริมสร้างพลงั อานาจในองค์กรคือระบบโครงสร้าง วฒั นธรรมในองค์กร ผบู้ ริหารองคก์ รบุคลากร ความสัมพนั ธ์ของคนในองคก์ รและลกั ษณะงาน”

ความหมายพลงั อานาจของวชิ าชีพ • ตามพจนานุกรมของ Merriam Webster (2005) ให้ ความหมายไว้ 3 ประการ คอื • 1) การใหอ้ านาจทเ่ี ป็นทางการ (to give official authority) หรอื ทถ่ี กู ตอ้ งตามกฎหมาย (Legal power to) • 2) การจดั หาหรอื ใหโ้ อกาส (to provide with the means or opportunity) • 3) การสง่ เสรมิ ความเป็นตวั เอง (to promote the self- actualization)

รูปแบบของพลงั อานาจของวชิ าชีพ • การเสริมสร้างพลงั อานาจด้านโครงสร้างนนั้ มผี เู้ สนอแนวคดิ ไว้ คอื แนวคดิ กระบวนการเสรมิ สรา้ งพลงั อานาจของ คอนเจอร์ และคานู โก (Conger & Kanungo) เทรซี (Tracy) และ คานเตอร์ (Kanter) ท่ี มแี นวคดิ ทเ่ี น้นการปฏบิ ตั งิ านตามหน้าท่ี การมสี ่วนรว่ มและการ พฒั นาผปู้ ฏบิ ตั งิ าน • การเสริมสรา้ งพลงั อานาจด้านจิตใจ เป็นการคานงึ ถงึ การเสรมิ แรง ทางดา้ นจติ ใจ เพ่อื ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านมคี วามเชอ่ื มนั่ ในสมรรถนะของ ตนเองทจ่ี ะทาใหง้ านประสบความสาเรจ็ เป็นแนวคดิ ของ โทมสั และ เวลเฮา้ ส์ (Thomas & Velhouse) และ สปรสี เซอร์ (Spreitzer)

ความสาคญั ของพลงั อานาจของวชิ าชีพ 1. เสรมิ สรา้ งพลงั อานาจบคุ คลระดบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ าน โอกาส ในการแสดงความคิดเห็น และตดั สินใจร่วมกบั ผบู้ ริหาร

ความสาคญั ของพลงั อานาจของวชิ าชีพ 2. เสรมิ สรา้ งพลงั อานาจบคุ คลระดบั ผบู้ รหิ าร เป็นเคร่ืองมือการบริหารงานอยา่ งหน่ึงที่ผบู้ ริหาร หรือผนู้ าใชบ้ ริหารจดั การทรัพยากรมนุษยใ์ น องคก์ ร เน่ืองจากการเสริมสร้างพลงั อานาจเป็น การแบ่งปันพลงั อานาจแก่ผอู้ ื่นเพื่อใหเ้ ขามี ความสามารถ ท่ีจะไปถึงเป้าหมาย

ความสาคญั ของพลงั อานาจของวชิ าชีพ 3. เสรมิ สรา้ งพลงั อานาจบคุ คลระดบั ทมี มีการติดต่อส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพ และมีการ ประสานงานเพ่อื แลกเปล่ียนขอ้ มูลข่าวสารในการ ทางาน ใหท้ ุกคนมีส่วนร่วมในการตดั สินใจ

ความสาคญั ของพลงั อานาจของวชิ าชีพ 4. เสรมิ สรา้ งพลงั อานาจบุคคลระดบั องคก์ ร การพฒั นาบุคลากรและทีมงานในการกระตุน้ และ ส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคลากร โดยมีผบู้ ริหารเป็นผู้ อานวยความสะดวก หรือเป็นผแู้ นะนาแก่ผปู้ ฏิบตั ิใน การทางานใหบ้ รรลคุ วามสาเร็จของงาน ซ่ึงการ เสริมสร้างพลงั อานาจมีส่วนช่วยใหอ้ งคก์ รดาเนินงาน ใหบ้ รรลุวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้

คุณค่าของวชิ าชีพ 1) คุณคา่ จากการดแู ล ไดแ้ ก่ ดแู ลครอบคลุมแบบองค์ รวม ดแู ลใหพ้ น้ ทุกข์ และดแู ลดว้ ยความเออ้ื อาทร คานึงถงึ ความเป็นมนุษย์ 2) คุณคา่ จากการใหไ้ ดแ้ ก่ การใหท้ ต่ี รงตามความ ตอ้ งการของผรู้ บั และการใหด้ ว้ ยความเตม็ ใจ ไม่ หวงั ผลตอบแทน 3) คุณคา่ จากความปีตใิ นใจ ไดแ้ ก่ รสู้ กึ อมิ่ ใจ เหมอื น ไดท้ าบญุ และ ทส่ี ดุ ของความภมู ใิ จ

ประสบการณ์คุณคา่ ของวชิ าชีพ 1. การใชอ้ งคค์ วามรทู้ างการพยาบาล นาไปสคู่ ุณคา่ ในงาน ไดแ้ ก่ การใชค้ วามรเู้ พอ่ื แสดงถงึ บทบาทวชิ าชพี พยาบาล และการใช้ ความรู้ ในการชว่ ยเหลอื ดแู ลเพอ่ื นมนุษย์ 2. การไดร้ บั คาช่นื ชม ทาใหเ้ หน็ คณุ คา่ ของงานพยาบาล ไดแ้ ก่ การ ไดม้ องเหน็ ความหมายของงาน และเกดิ กาลงั ใจในการทางาน 3. การไดเ้ รยี นรชู้ วี ติ จากการทางาน ไดแ้ ก่ เรยี นรทู้ จ่ี ะเขา้ ใจผอู้ น่ื และ เรยี นรทู้ จ่ี ะใชช้ วี ติ

บทบาทหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ บุคลากรพยาบาล ถือเป็นผู้ท่ีมีบทบาทสาคัญในการสร้างคุณค่าเพิ่ม ให้กับงานการบริการให้กับผู้ป่ วย ครอบครัว และชุมชน เน่ืองจาก พยาบาล เป็นบุคลากรกลุ่มใหญ่ และใกลช้ ดิ กบั ผรู้ บั บรกิ ารมากทส่ี ุด การ ปฏบิ ตั งิ านของพยาบาล ถอื เป็นลกั ษณะงานทแ่ี สดงถงึ ความเป็นวชิ าชพี เน่ืองจากมกี ารนากระบวนการทางวทิ ยาศาสตรม์ าใชใ้ นการแก้ไขปัญหา โดยมเี คร่อื งมอื สาคญั ทแ่ี สดงถงึ ความเป็นวชิ าชพี นัน่ คอื การปฏบิ ตั งิ าน โดยใชก้ ระบวนการพยาบาล การเปรียบเทียบขนั้ ตอนการปฏิบตั ิการ พยาบาล กับขัน้ ตอนการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ดงั น้ี

บทบาทหนา้ ที่และความรับผดิ ชอบ กระบวนการพยาบาล กระบวนการแก้ไขปัญหา 1. การประเมินสภาพผปู้ ่ วย 1. การสืบคน้ ขอ้ มลู /ขอ้ เท็จจริงเพื่อหาปัญหา 2. การวเิ คราะห์/สงั เคราะห์ขอ้ มูลเพื่อกาหนด 2. การวนิ ิจฉยั ทางการพยาบาล ปัญหา 3. การหาแนวทางการแกไ้ ขปัญหา 3. การวางแผนการพยาบาล 4. การลงมือแกไ้ ขปัญหา 4. การปฏิบตั ิการพยาบาล 5. การติดตามประเมินผลของการแกไ้ ขปัญหา 5. การประเมินผล

หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ • รับผดิ ชอบในการใหบ้ ริการแก่ผปู้ ่ วยและผรู้ ับบริการในโรงพยาบาลหรือ ชุมชนตามขอบเขตของงาน ซ่ึงรวมท้งั การแกป้ ัญหาสุขภาพข้นั พ้ืนฐาน และปัญหาการพยาบาลท่ีซับซ้อนในการพยาบาลสาขาใดสาขาหน่ึง ควบคุมนิเทศการปฏิบตั ิการพยาบาลของพยาบาลเทคนิค และผปู้ ระกอบ โรคศิลปะแผนปัจจุบนั ช้นั สองโดยมีขอบเขตหนา้ ท่ีท้งั หมดตามกิจกรรม ในรายละเอียดของงานท่ีทา

หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ • รวบรวมขอ้ มลู วเิ คราะห์เพื่อวนิ ิจฉยั ปัญหาสุขภาพ และปัญหาทางการพยาบาลของ ผรู้ ับบริการของครอบครัว และชุมชนไดท้ ุกระดบั • กาหนดแผนเพอ่ื จดั บริการพยาบาล วางแผนงาน กาหนดระบบและกระบวนการดาเนินงาน นิเทศและประเมินผลงาน รวมท้งั การบริหารงานบุคคลในสายงานพยาบาล ตลอดจนการ บริหารทรัพยากรในการดาเนินการพยาบาล • ใหบ้ ริการพยาบาลทวั่ ไปและการพยาบาลเฉพาะโรคไดท้ ุกระดบั ปัญหา และทุกระดบั ความ รุนแรงของโรค • สงั เกต บนั ทึก สรุป รายงานอาการเปลี่ยนแปลงและปฏิกิริยาของผปู้ ่ วย ตอ่ การรักษาพยาบาล ตลอดจนความกา้ วหนา้ ของการรักษาพยาบาล

หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ • ใหก้ ารผดุงครรภต์ ามสาขาการผดงุ ครรภแ์ ผนปัจจบุ นั ชนั้ 1 • ตดั สนิ แกป้ ัญหาทางการพยาบาล • ใหค้ าแนะนาเพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลดแี กก่ ารพยาบาลและ/หรอื แกส่ ุขภาพร่างกายและจติ ใจของผรู้ บั บรกิ ารไดท้ กุ ระดบั และใหค้ วามรเู้ กย่ี วกบั ปัญหา พยาธสิ ภาพการดาเนนิ ของโรค ตลอดจนแผนการรกั ษาพยาบาล • ตรวจรา่ งกาย วนิ จิ ฉยั โรคขนั้ ตน้ ใหก้ ารพยาบาลกลุ่มอาการต่าง ๆ ทงั้ ทางดา้ นอายรุ กรรม และศลั ยกรรม ตามขอบเขตของระเบยี บกระทรวงสาธารณสุข ฉบบั ท่ี 5 (2518) • วางแผนและดาเนินการส่งเสรมิ สขุ ภาพในตาแหน่งหวั หน้าทมี รว่ มกบั วชิ าชพี อ่นื ในดา้ นการสง่ เสรมิ สุขภาพชมุ ชน การอนามยั ครอบครวั อนามยั โรงเรยี น การสขุ ศกึ ษา การวางแผนครอบครวั การ โภชนาการและการบรกิ ารดา้ นสขุ ภาพจติ • วางแผนและมอบหมายงานใหผ้ อู้ ยใู่ นความรบั ผดิ ชอบ และดาเนินการป้องกนั โรคโดยใหค้ าแนะนาแก่ ผปู้ ่วยและประชาชนโดยทวั่ ไป การใหภ้ มู คิ ุม้ กนั โรค การเฝ้าระวงั โรค ตลอดจนการร่วมมอื ในการป้องกนั และการควบคุมการแพร่กระจายเชอ้ื โรคในโรงพยาบาล

หนา้ ท่ีความรับผดิ ชอบ • ประสานงานและดาเนินการฟ้ื นฟูสมรรถภาพใหก้ ารควบคุมดูแล เก่ียวกบั ความ ปลอดภยั การป้องกนั หรือยบั ย้งั ภาวะทุพลภาพ และพิจารณามอบหมายให้ ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาปฏิบตั ิ • ใหก้ ารนิเทศแก่เจา้ หนา้ ที่ พยาบาลในความรับผดิ ชอบ • วเิ คราะห์ปัญหาและใหข้ อ้ เสนอแนะแนวทางแกป้ ัญหาดา้ นบริการพยาบาลได้ • จดั ระเบียบงาน แบง่ งาน และมอบหมายหนา้ ท่ีใหแ้ ก่ผปู้ ฏิบตั ิงาน ภายใตค้ วาม รับผดิ ชอบไดอ้ ยา่ งเหมาะสม • ประเมินผลการปฏิบตั ิงานของเจา้ หนา้ ท่ีภายใตค้ วามรับผดิ ชอบ รวมท้งั ประเมินผลงานของตนเองไดต้ ามหลกั วทิ ยาศาสตร์

หนา้ ที่ความรับผดิ ชอบ • วางแผนป้องกนั อุบตั ิเหตแุ ละใหค้ วามปลอดภยั แก่ผปู้ ่ วย และผปู้ ฏิบตั ิงานในหน่วยงาน รับผิดชอบ • ร่วมวางแผนและกาหนดดาเนินการในงานสาธารณสุขมูลฐานกบั บุคคลและหน่วยงานอื่น ได้ • วางแผนการใหก้ ารศึกษาและอบรมฟ้ื นฟดู า้ นวชิ าการ และดาเนินการสอนแก่เจา้ หนา้ ท่ีและ นกั ศึกษาท้งั ภายในและภายนอกหน่วยงานได้ • จดั ทาคูม่ ือและอปุ กรณ์การสอน เพ่อื ช่วยส่งเสริมสุขภาพและปฏิบตั ิงานดา้ นการพยาบาล • สนบั สนุนและประสานงานกบั หน่วยงานต่าง ๆ เช่น งานสงั คมสงเคราะห์ งานชนั สูตรทาง หอ้ งปฏิบตั ิการ งานเภสชั กรรม

คุณสมบตั กิ ารเป็ นพยาบาลต่างชาตใิ นอาเซียน โดย กระทรวงแรงงาน พยาบาลวชิ าชีพตา่ งชาติสามารถขอข้ึนทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพพยาบาลใน ประเทศผรู้ ับ เพ่ือเขา้ ไปประกอบวชิ าชีพพยาบาลในประเทศน้นั ได้ โดยตอ้ งเป็ นไปตามกฎหมาย ขอ้ บงั คบั ของประเทศผรู้ ับ ภายใตเ้ ง่ือนไขที่วา่ พยาบาลวชิ าชีพตา่ งชาติตอ้ ง 1) สาเร็จการศึกษาวชิ าชีพการพยาบาล 2) จดทะเบียน และ/หรือไดร้ ับใบอนุญาตจากประเทศแหลง่ กาเนิด ท่ียงั มีผลในปัจจุบนั 3) มีประสบการณ์ในภาคปฏิบตั ิวชิ าชีพพยาบาลไม่นอ้ ยกวา่ 3 ปี ตอ่ เน่ือง ก่อนที่จะสมคั รขอข้ึน ทะเบียนหรือขอรับใบอนุญาต 4) ปฏิบตั ิสอดคลอ้ งตามนโยบายการพฒั นาวชิ าชีพอยา่ งต่อเนื่อง (CPD) ของประเทศ แหล่งกาเนิดในระดบั ที่น่าพอใจ

คุณสมบตั กิ ารเป็ นพยาบาลต่างชาตใิ นอาเซียน โดย กระทรวงแรงงาน 5) ไดร้ ับใบรับรองจากผมู้ ีอานาจกากบั ดูแลดา้ นวชิ าชีพพยาบาล (NRA) ของประเทศ แหลง่ กาเนิดวา่ ไมม่ ีประวตั ิการกระทาผดิ อยา่ งร้ายแรงดา้ นเทคนิค มาตรฐานวชิ าชีพและ จรรยาบรรณ ระดบั ทอ้ งถ่ินและระหวา่ งประเทศ ในการประกอบวชิ าชีพพยาบาล 6) มีคุณสมบตั ิดา้ นอ่ืนๆ ตามที่กาหนด เช่น ตอ้ งแสดงผลตรวจร่างกายหรือผา่ นการทดสอบ สมรรถภาพ หรือขอ้ กาหนดอ่ืนใดตามที่หน่วยงานกากบั ดูแลวชิ าชีพพยาบาลหรือหน่วยงานที่ เก่ียวขอ้ งหรือหน่วยงานของรัฐในประเทศผรู้ ับเห็นสมควรในการกาหนดคุณสมบตั ิของการขอ ข้ึนทะเบียน และ/หรือขอรับใบอนุญาตประกอบวชิ าชีพพยาบาล

กรณีศึกษา 1 หญิงไทยคู่ อายุ 59 ปี ไดร้ ับการวนิ ิจฉยั วา่ เป็น breast cancer stage 4 (มะเร็งเตา้ นม ระยะสุดทา้ ย) รับไวใ้ นโรงพยาบาล คร้ังน้ีดว้ ยภาวะไขส้ ูงและความดนั เลือดต่า สภาพร่างกายของผปู้ ่ วยเปราะบางมากและการพยากรณ์โรคไม่ดี ท่านเคยพูดคุยกบั ผปู้ ่ วยทราบวา่ ผปู้ ่ วยเขา้ ใจและทาใจไดห้ ากตอ้ งเสียชีวติ แตไ่ ม่ไดบ้ นั ทึกไวใ้ นเวช ระเบียน. สามีซ่ึงอยดู่ ูแลผปู้ ่ วยในระยะ 10 ปี หลงั แต่ไมไ่ ดจ้ ดทะเบียนสมรส บอก ทา่ นถึงความปรารถนาของผปู้ ่ วยที่ตอ้ งการเสียชิวิตโดยสงบ ไมข่ อรับการใส่ทอ่ ช่วย หายใจ และการนวดหวั ใจในกรณีหวั ใจหยดุ เตน้ . ในขณะที่ความดนั เลือดของผปู้ ่ วย ตกไปที่ 70/40 มิลลิเมตรปรอท บุตรชายของผปู้ ่ วยซ่ึงปัจจุบนั ยา้ ยถ่ินฐานไปอยทู่ ่ี ประเทศออสเตรเลีย เดินทางมาถึง ขดั แยง้ กบั สามีผปู้ ่ วยอยา่ งรุนแรงและร้องขอให้ ทา่ นทาปฏิบตั ิการกชู้ ีวติ ทา่ นเป็นผดู้ ูแลรักษา

คาถาม จากกรณศี ึกษา ๑. ท่านจะแสดงคุณลกั ษณะของวชิ าชีพการพยาบาลอยา่ งไร ๒. ท่านจะแสดงเอกลกั ษณ์ของวิชาชีพตอ่ กรณีศึกษาน้ีอยา่ งไร ๓. อะไรท่ีบ่งบอกความเป็นเอกสิทธ์ิของวชิ าชีพ ๔. ท่านจะแสดงพลงั อานาจของวชิ าชีพพยาบาลตอ่ กรณีศึกษาน้ี อยา่ งไร ๕. คุณคา่ ของวิชาชีพจะแสดงในกรณีศึกษาน้ี อยา่ งไร ๖. ท่านเป็นพยาบาลรายน้ีท่านจะแสดงบทบาทหนา้ ท่ีและความ รับผดิ ชอบต่อกรณีศึกษาน้ีอยา่ งไร

THANK YOU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook