Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต้นไม้สุดมหัศจรรย์

ต้นไม้สุดมหัศจรรย์

Description: ต้นไม้สุดมหัศจรรย์

Search

Read the Text Version

โครงงานคอมพิวเตอร  เรื่อง ตนไมเทยี มสุดมหัศจรรย  กลมุ สาระการเรียนรู วชิ าคอมพวิ เตอร  จัดทาํ โดย  1.นายรชั ตช วิศ รฐาดชี ัยโชคนธิ ิ เลขที่ 4  2.นายสทุ ธภิ ัทร ชุมเสน เลขที่ 6  3.นางสาวสณิ นี าฐ จันทรห อม  เลขท่ี 30  ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 4/4  รายวชิ า ว31108 วทิ ยาการคาํ นวณคอมพิวเตอร  ปก ารศึกษา 2562  โรงเรยี นนารนี ุกลู   สํานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษา เขตที่ 29

เกย่ี วกับโครงงาน  ก    โครงงานคอมพิวเตอร     เรื่อง ตน ไมเทียมสุดมหัศจรรย  กลมุ สาระการเรียนรู วิชาคอมพิวเตอร  ผูจัดทํา  1.นายรัชตชวศิ รฐาดีชัยโชคนิธิ เลขท่ี 4    2.นายสทุ ธิภัทร ชุมเสน  เลขที่ 6    3.นางสาวสิณนี าฐ จันทรหอม  เลขท่ี 30  ครทู ่ีปรึกษา  1.ครภู ัทรดนัย พลสูงเนนิ     สถานศึกษา  โรงเรยี นนารีนกุ ลู อําเถอเมืองอบุ ลราชธาน ี   สํานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา เขตที่ 29  ปก ารศึกษา  2562               

ข  กิตติกรรมประกาศ    โครงงานนส้ี ําเรจ็ ขน้ึ ไดด วยความกรณุ าจากครูภัทรดนัย พลสงู เนิน ครทู ่ีปรึกษาโครงงานที่ไดใ หคํา เสนอแนะ แนวคดิ ตลอดจนแกไขขอบกพรองตา งๆมาโดยตลอดจนโครงงานเลม นเ้ี สร็จสมบูรณ ผูศกึ ษาจง ขอกราบขอบพระคณุ เปน อยา งสูง    ทา ยสดุ นี้ผูจดั ทําหวงั เปนอยา งยงิ่ วา โครงงานนจี้ ะเปน ประโยชนตอ การศกึ ษาของผูสนใจตอ ไป     คณะผจู ัดทํา  รัชตช วิศ รฐาดีชยั โชคนธิ  ิ สุทธิภัทร ชมุ เสน  สิณนี าฐ จนั ทรห อม                      

ค  หวั ขอโครงงาน  : ต​ น ไมเทียมสุดมหัศจรรย  ประเภทของโครงงาน : โ​ ครงงานพฒั นาเคร่ืองมือ  ผนู ําเสนอโครงงาน  :​ นายรัชตชวิศ รฐาดชี ัยโชคนธิ ิ เลขท่ี 4    ​ นายสทุ ธิภทั ร ชมุ เสน เลขที่ 6    นางสาวสิณนี าฐ จนั ทรห อม เลขท่ี 30  ครูท่ปี รึกษาโครงงาน  : ค​ รภู ัทรดนัย พลสงู เนิน  ปการศึกษา  : 2​ 562  บทคดั ยอ    การจัดทาํ โครงงานในครั้งนี้มีวัตถุประสงค (1) สรา งตนไมเทียมทม่ี อี ายุยนื ยาวกวาตน ไมจ ริง  (2) ศกึ ษาการทาํ งานหลกั การของการเปลย่ี นCarbondioxide เปน Oxygen ของตนไม (3) ศกึ ษาการจดั ทํา โครงงานคอมพิวเตอร    ผลการศกึ ษาและจดั ทําโครงงานพบวา เนอ่ื งจากในปจจบุ นั โลกของเรากาํ ลงั ประสบปญ หาภาวะโลก รอ น ฝุน ควนั และมลพษิ ในอากาศ อีกท้งั จาํ นวนของตนไมและพ้นื ทีส่ ีเขียวไดลดลงไปเปนจํานวนมาก ทางคณะ ผจู ัดทําจึงไดน ําความรูทางดานวทิ ยาศาสตรมาประยกุ ตใช โดยประดิษฐเ ปนเคร่อื งฟอกอากาศ ท่ีมหี ลักการ เหมือนกับตนไมจ รงิ                 

เรอื่ ง  สารบัญ  หนา  เกีย่ วกบั โครงงาน    ก  กิตติกรรมประกาศ  ข  บทคดั ยอ   ค  บทที่ 1 บทนาํ   1  - ท่มี าและความสําคญั ของโครงงาน  2  - วตั ถปุ ระสงค  5  - ขอบเขตการศกึ ษาคนควา  - ประโยชนท คี่ าดวา จะไดร ับ  6  บทท่ี 2 เอกสารและโครงงานทีเ่ กยี่ วของ  7  บทท่ี 3 วิธกี ารจดั ทาํ โครงงาน    - วสั ดุและอปุ กรณ  8  - วธิ กี ารจดั ทาํ โครงงาน  บทที่ 4 ผลการศกึ ษา  บทที่ 5 สรุปผล และขอเสนอแนะ  - สรุปผลการศึกษา  - ประโยชนทไ่ี ดจ ากโครงงาน  - ขอเสนอแนะ  บรรณานกุ รม 

ภาคผนวก  9    ขอมูลผจู ดั ทํา  13                                             

1  บทที่ 1   บทนาํ     ทีม่ าและความสาํ คญั   เนื่องจากในปจ จบุ ันโลกของเรากําลงั ประสบปญ หาภาวะโลกรอ น ฝุนควันและมลพษิ ในอากาศ อกี ทง้ั จาํ นวนของตนไมและพ้นื ท่ีสเี ขยี วไดล ดลงไปเปน จาํ นวนมาก ในปจจุบันมีทงั้ เชื้อโรค ฝนุ ละออง กล่ินไมพ ึง ประสงค ในอากาศ โรงงานอุตสาหกรรม รวมถงึ รถท่ีใชพ ลงั งานน้าํ มันไดเพิ่มตามขึ้นมา ซึ่งเปน แหลง กําเนดิ ของ มลพิษและมลภาวะตา ง ๆ แตทวา ส่ิงพวกน้ี ไมไดเ กดิ ข้นึ แคบนทอ งถนน หรอื ภายนอกเพียงเทา นั้น ภายในบาน  ของเราเอง ก็ยงั เปน แหลง ทีเ่ ต็มไปดวยมลภาวะทางอากาศ สาเหตทุ กี่ อใหเกดิ โรคภมู แิ พ ไมว า จะเปน ฝนุ ละออง  แบคทีเรยี ไวรสั ฝุนไร เชอ้ื รา และสิง่ ท่ไี ดปนเปอนมาพรอมกบั อากาศ ทางคณะผูจดั ทําจงึ ไดน าํ ความรทู างดาน วิทยาศาสตรมาประยกุ ตใช โดยประดษิ ฐเปน เครอื่ งฟอกอากาศ ทต่ี นไมเทียมสามารถทาํ งานไดเ หมอื นกบั ตน ไม จรงิ ซึ่งมอี ายุการใชง านนาน โดยไมต อ งกงั วลวา ตน ไมเทียมจะตายหรือไม  วัตถปุ ระสงค  1. สรางตนไมเ ทยี มสุดมหศั จรรย  2. เพ่อื แกไขปญหามลภาวะทางอากาศ  3. เพอ่ื เพ่มิ ปริมาณ ออกซเิ จนในอากาศ  4. เพอื่ แกไ ขปญ หาในการปลูกตนไมในเนอ้ื ที่จํากัด  5. สงเสรมิ การเพิ่มพนื้ ท่ีสเี ขียว โดยไมตองเสย่ี งวา ตนไมจะตายหรอื ไม    ขอบเขตการศกึ ษาคนควา   ลดปรมิ าณของคารบ อนไดออกไซด โดยใชเ ทคโนโลยตี น ไมเ ทยี มเพอื่ เปลี่ยนคารบ อนไดออกไซดเ ปน ออกซิเจน    ท่คี าดวา จะไดรบั   1. ไดต น ไมเทยี มท่สี ามารถทาํ งานไดเหมอื นตน ไมจ รงิ   2 .ตน ไมเทียมทีไ่ ดร บั ความสนใจ และใชอ ยา งแพรห ลาย         

2  บทท่ี 2  เอกสารและโครงงานทเ่ี กี่ยวขอ ง    ในการจัดทําโครงงานคอมพิวเตอร กลุมของขา พเจา ไดร วบรวมเน้อื หาที่เกี่ยวของกบั โครงงานแบงออก  เปน 2 เรือ่ งดังน ี้   เอกสารที่เก่ยี วของ  1. ความสําคัญของออกซเิ จน  2. ขอมลู เกยี่ วกับเคร่ืองฟอกอากาศ    1. ความสาํ คญั ของออกซเิ จน  กา ซออกซิเจน ( O2 ) คอื ออกซเิ จนในสภาวะกาชท่ีมีอยูในอากาศ โดยธรรมชาติเกิดมาจาก กระบวนการสังเคราะหแสงของพืช กาชออกซเิ จนเปนกา ซทสี่ ําคัญตอการดํารงชีวติ ของท้งั พชื สตั ว และมนุษย  ถาขาดกา ชออกซเิ จนกจ็ ะเปน อนั ตรายถงึ ชีวติ ได เพราะหลงั จากเราหายใจเขาไปกาชออกซิเจนจะถูกนาํ มาใช เปน หนึ่งในองคประกอบของกระบวนการตา ง ๆ ในรางกาย เชน กระบวนการเปลี่ยนแปลงอาหารใหเ ปน พลงั งาน กระบวนการรกั ษาเซลล การสังเคราะหเ อนไซมห รือวติ ามินทใี่ ชใ นรางกาย เปน ตน  กาชออกซิเจนจะเขาสรู างกายโดยการหายใจเขาไปสูป อด เมอื่ กา ชออกซเิ จนเขาสูปอดจะเกิดการแลก เปลีย่ นกาซเพือ่ ใหกา ซออกซิเจนเขาไปจับฮโี มโกลบินในเมด็ เลือดแดงและเดนิ ทางเขา หวั ใจ หวั ใจจะสง เม็ดเลอื ด แดงทีเ่ ต็มไปดว ยออกซเิ จนนไี้ ปยงั อวยั วะตา ง ๆ เพื่อทอ่ี อกซเิ จนจะเขาไปชวยในกระบวนการเมตาบอลิซึมของ เซลลตามอวยั วะเพอ่ื รกั ษาใหเ ซลลม ีชวี ติ อยูตอไป เชน เซลลกลา มเนอื้ เซลลตบั เซลลไต เซลลสมอง เปน ตน ถา รางกายเกดิ ภาวะขาดออกซเิ จนหรือไดรับออกซิเจนไมเพียงพอตอความตองการจะทาํ ใหเซลลต ายสงผลให อวยั วะตายตามไปดว ย    2. ขอ มลู เก่ยี วกับเคร่ืองฟอกอากาศ  เคร่อื งฟอกอากาศ คอื เครอื่ งใชไ ฟฟาท่ีกาํ จดั ส่ิงท่ปี นเปอ นมากบั อากาศ เชน ฝนุ แบคทเี รยี หรือไวรสั   รวมไปถึงกลนิ่ ที่ไมพงึ ประสงคต า งๆ อยาง กลนิ่ ควนั บหุ ร่ี กลนิ่ รองเทา หรอื กลิน่ เหมน็ ตา งๆ โดยหลักการ ทาํ งานของมันคอื การดูดอากาศทป่ี นเปอนสิง่ เหลา นีเ้ ขา ไปผานกระบวนการ และปลอยอากาศบรสิ ทุ ธอ์ิ อกมา       

3    ข้ันตอนการทาํ งานและสวนประกอบของเคร่อื งฟอกอากาศ  ขั้นตอนแรกพดั ลมจะทาํ งานและดดู นาํ เอาอากาศทีป่ นเปอ นส่ิงสกปรกเขาไป (Air inlet) เพอ่ื ผาน กระบวนการตางๆภายในตัวเครอื่ ง กอ นทจ่ี ะปลอยอากาศทีบ่ ริสทุ ธ์อิ อกมา    ตอมาอากาศเหลานั้นจะคอ ยเดนิ ทางผานแผนกรอง (Filters) ตา งๆ ทม่ี คี ุณสมบตั ทิ แี่ ตกตางกันไปเพือ่ ชวยใน การดกั จบั และกําจดั ส่ิงสกปรก สารกอ ภมู แิ พ เช้อื โรค แบคทีเรยี หรอื ไวรสั   สําหรับ Airbot จะเปน แบบ 4 Layer Air Filters (แผน กรองอากาศ 4 ชัน้ ) โดยแตละขัน้ ของแผน   กรองจะมคี ุณสมบตั ดิ งั น ี้   กรองช้นั แรก : แผนกรองไอออน (Ion Filter)  ตัวแผน กรองจะปลอ ยประจุไอออนลบ (Negative Ion) มีหนา ท่เี พือ่ ดงึ ดดู ฝุน ขนาดเล็กทลี่ อยอยใู นอากาศเขา มาในตัวเครอ่ื ง และชวยใหการทาํ งานของแผน กรองอนี าโน (E-nano Filter) แผน ตอไปทาํ งานไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น 

4  การดแู ลรกั ษาแผน กรอง : ไมจําเปน ตอ งทําความสะอาดหรอื เปลย่ี นเลย    กรองช้ันที่สอง : แผน กรองอีนาโน (E-nano Filter)  แผน กรองอากาศจะสามารถดกั จบั ส่ิงทีม่ อี นุภาคเลก็ เชน ฝนุ PM2.5 หรอื มลพิษ อยางควนั บหุ รี่ได เพราะแผน กรองอากาศประเภทน้จี ะมีวัสดุหลักเปน เสน ใยสงั เคราะห ซึ่งจะทาํ ใหเ กดิ ไฟฟา สถติ (Electrostatic  Discharge) ทาํ ใหเ มอื่ อากาศเคลอ่ื นตวั ผา น ส่งิ สกปรกทีเ่ รามองดวยตาเปลา ไมม ีทางเหน็ จะถกู หยดุ ไวในขั้น ตอนน ี้   การดแู ลรักษาแผนกรอง : ควรทาํ ความสะอาดทกุ ๆ 4-5 เดือน โดยสามารถนาํ ออกมาและแชน าํ้ ทง้ิ ไว 4-5  ชัว่ โมง หลงั จากน้ันตากแดดทงิ้ ไวใ หแหง (หา มใชส บู หรือน้าํ ยาทําความสะอาดตา งๆ) และควรเปล่ีนนทุกๆ 1 ป    กรองชั้นที่สาม : แผนกรองคารบ อน (Carbon filter)  จดุ เดน ของแผน กรองชนดิ น้ี คือมนั สามารถดักจับกลิ่นไมพ งึ ประสงคไดเ ปนอยา งดี รวมถึงสามารถกรอง สาร เคมีที่ระเหยไดง า ย เชน คลอรีน (Cl) สารประกอบอินทรยี  (ฟอรมาลิน – CH2O) กรดนาํ้ สม แอมโมเนีย และ  สารอื่นๆ    การดูแลรกั ษาแผน กรอง : นําตัวแผนกรองมาเคาะ ปด หรือดูดฝนุ (หา มใชนํายาทําความสะอาด) และควร เปลย่ี นทุกๆ 1 ป    กรองช้ันทสี่ ี่ : แผน กรองอลั ตรา พลาสมา ไอออน (UPI – Ultra Performance Ion Filter)  มันมหี นา ท่ใี นการกรองสง่ิ สกปรกในขัน้ สุดทาย โดยถือเปน การกรองอยา งละเอียดอีกขน้ั เพ่อื ใหแนใจวา อากาศ ทจ่ี ะสะอาดจริงๆ เพราะดวยไมโครชพิ ในจะสรา งประจไุ ฟฟาปริมาณสงู ขนึ้ มา และทาํ งานรว มกับแผนกรองอี นาโน (E-nano Filter) จะชวยเพื่อเพม่ิ ประสทิ ธิภาพในการกรองสิ่งสกปรกและมลพษิ ที่มีอนภุ าคขนาดเล็ก มากกวา 0.1 ไมครอน (µ)    การดแู ลรกั ษาแผน กรอง : ไมจาํ เปนตองทําความสะอาดหรอื เปลี่ยนเลย    และทายที่สดุ หลงั จาก อากาศทีก่ รองและผา นกระบวนการตางๆ กจ็ ะถกู ปลอยออกมาเปน อากาศ บริสุทธท์ิ ีพ่ รอ มสาํ หรบั การหายใจเขาสูปอดของคุณ     

5  บทท3ี่   วิธีการจดั ทาํ โครงงาน    ในการจดั ทําโครงงานคอมพวิ เตอร เรอ่ื ง ตน ไมส ุดมหัศจรรย ผูจ ดั ทําโครงงานมวี ิธกี ารดาํ เนนิ งานดังตอ ไปน ้ี   3.1 วสั ดุ อุปกรณ เครอ่ื งมือหรอื โปรแกรมท่ีใชในการพฒั นา  3.1.1 เครอ่ื งคอมพวิ เตอรพรอ มเชือ่ มตออินเทอรเ น็ต  3.1.2 เวบ็ ไซตท ีใ่ ชพิมพโ ครงงาน docs.google.com  3.1.3 โปรแกรมทใี่ ชทําการนาํ เสนอโครงงาน โปรแกรมPowerPoint  3.1.4 เว็บไซตท ่ใี ชด รู ปู แบบการเขยี นโครงงาน www.slideshare.net  3.1.5 โปรแกรมทใ่ี ชห ารูปภาพประกอบโครงงาน โปรแกรมPinterest  3.1.6 เว็บไซตท ี่ใชใ นการทําโครงงาน เว็บไซต Remove bg  3.2 ขั้นตอนการดาํ เนินงาน  3.2.1 คดิ หวั ขอเรื่องเพื่อนําเสนอครทู ่ปี รกึ ษาโครงงาน  3.2.2 ศึกษาและคนควา ขอ มลู เก่ยี วกับเรอื่ งท่สี นใจ คอื เร่อื งการแลกเปลี่ยนแกส ของตน ไม วามเี น้ือหา มากนอยเพียงใด และตองศึกษาคนควาเพิ่มเตมิ เพยี งใดจากเว็บไซตต า งๆ และเก็บไวเพือ่ จดั ทาํ เนื้อหาตอไป  3.2.3 จัดทาํ โครงรา งโครงงาน ผา นเว็บ docs.google.com  3.2.4 จดั ทําพาวเวอรพอยนําเสนองานผา นโปรแกรม PowerPoint  3.2.5 ปรึกษาและรายงานความกา วหนาเปน ระยะๆ โดยแจงครูทป่ี รกึ าาโครงงานเมือ่ ถึงคาบเรียน เพ่อื แกไ ขปญหาและปรงั ปรงุ โครงงาน   3.2.6 นาํ เสนอโครงงาน กบั ครูทปี่ รึกษาโครงงานและเพื่อนๆในหองเรียน               

6  บทที่ 4  ผลการศึกษา    จากการศึกษาการสรางตนไมเ ทยี มสุดมหศั จรรย ในการจัดทาํ ในครั้งน ี้ ผูจ ดั ทําไดค วามรูในการจัดทําตนไมเ ทียมสดุ มหศั จรรย ไดค วามรใู นเรื่องของหลักการทาํ งานของ อปุ กรณอเิ ล็กทรอนิกสของตนไมเ ทียมสุดมหศั จรรย หลักการทาํ งานของตนไมท่นี าํ มาใชใ นการผลงานชนิ้ นแ้ี ละ ที่สาํ คญั คือไดเ รยี นรกู ารทํางานเปน หมูคณะ เปนผูนาํ และเปนผูต ามที่ดี โดยการยอมฟง ขอ คิดเหน็ ของผูอ น่ื ไมใช ตวั เองเปนหลักใหต ามทัง้ ที่ผูอน่ื มขี อเสนอแนะทดี่ ีและมเี หตผุ ลมากกวา กระผมและคณะจึงเห็นตรงกันวา ใน การทําโครงงานนเ้ี ราไดค วามรูเพิม่ เติมมากขึน้ และยังไดเรียนรูก ารเปนผูนําและการเปน ผตู ามทีดีอีกดว ย                         

7  บทท่ี 5  สรุปผลและขอ เสนอแนะ    สรปุ ผลการศึกษา  จากการจดั ทําโครงงานคอมพิวเตอร ตนไมเทยี มสุดมหศั จรรย สามารถสรปุ ผลการดาํ เนนิ งาน โครงงานและขอ เสนอแนะ ดงั น ้ี   5.1 วตั ถปุ ระสงคของโครงงาน  1. สรางตนไมเ ทยี มสดุ มหศั จรรย  2. เพอ่ื แกไ ขปญ หามลภาวะทางอากาศ  3. เพอื่ เพ่มิ ปรมิ าณ ออกซิเจนในอากาศ  4. เพื่อแกไ ขปญหาในการปลูกตน ไมใ นเนอ้ื ทีจ่ ํากัด  5. สง เสริมการเพิม่ พ้ืนท่สี เี ขยี ว โดยไมตอ งเสีย่ งวาตน ไมจ ะตายหรือไม    5.1.2 วสั ดุ อุปกรณ เคร่อื งมือหรือโปรแกรมหรือท่ีใชใ นการพฒั นา  1. อปุ กรณทําตนไมเ ทียมสดุ มหศั จรรย  2. โปรแกรม -Microsoft Office Word 2007  -Microsoft Office PowerPoint 2007     5.2 สรุปผลการดําเนินงานโครงงาน  การดาํ เนนิ งานโ๕รงงานคอมพวิ เตอรเรอ่ื ง ตน ไมเทยี มสดุ มหศั จรรย น้ีบรรลวุ ัตถปุ ระสงคท ไี่ ดก าํ หนดไว  คือ สามารถลดปรมิ าณคารบอนไดออกไซดใ นอากาศได ชว ยทําใหลดภาวะโลกรอน เปนการนําหลัก วิทยาศาสตรมาใชกลับวทิ ยาการคอมพิวเตอรไ ดอ ยางมีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน    5.3 ขอ เสนอแนะ  1.ก​ ารทํางานควรวางแผนใหดีเพอื่ จะไดไมยงุ เมอื่ ตองลงมอื ทาํ งาน  2.1.ควรมีการจดั ทาํ เนอ้ื หาของโครงงานใหห ลากหลายและมเี นือ้ หาหลายๆรูปแบบ       

8  บรรณานกุ รม    สิง่ ที่ทุกคนตอ งรูเก่ียวกับเครือ่ งฟอกอากาศ (ออนไลน) แหลงท่ีมา  :h​ ttps://www.autobotvacuum.com/everything-you-need-to-know-about-air-purifier/  2562  หลักการทํางานของระบบฟอกอากาศ (ออนไลน) แหลงทมี่ า  http://www.chiangmaiaircare.com/หลักการทาํ งานของระบบฟอกอากาศ-ของเครื่องฟอกอากาศ /​ 2562                                           

9  ภาคผนวก     

10             

11                       

12  ขอ มลู ผจู ัดทาํ โครงงาน    ช่อื : นางสาวสณิ ีนาฐ จันทรหอม   อายุ 16 ป    ​ที่อยู : บา นเลขท1่ี 62 หม2ู ตําบลสะพือ อาํ เภอตระการพืชผล จงั หวัดอุบลราชธาน ี เบอรโ ทร 0982148420          ช่อื : นายรชั ตชวศิ รฐาดีชัยโชคนิธ ิ อายุ 16 ป  ท่ีอยู : บา นเลขท่ี371 หม1ู 0 ตาํ บลขามใหญ อาํ เภอเมอื ง จังหวดั อุบลราชธาน ี เบอรโทร 0996187470       

13        ชื่อ : นายสทุ ธิภัทร ชุมเสน  อายุ 16 ป  ทอ่ี ยู : บา นเลขที่13 หมู18 ตาํ บลขามใหญ อําเภอเมือง จังหวัดอบุ ลราชธาน ี เบอรโ ทร 0886737948   


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook