Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สัปดาห์ 3 การเขียนย่อหน้า

สัปดาห์ 3 การเขียนย่อหน้า

Published by Dararat Boontot, 2021-11-03 03:53:19

Description: สัปดาห์ 3 การเขียนย่อหน้า

Search

Read the Text Version

การเขยี นย่อหน้า ท30202 การเขยี นส่ือสารเชิงสร้างสรรค์

ความหมายของย่อหน้า ย่อหน้า คือ ข้อความหรือกลุ่มประโยคที่แสดง ความคิดสาคัญ เพียงอย่างเดียว และเป็ นส่วนของงาน เขียนเร่ืองหนึ่ง ย่อหน้า ประกอบด้วยประโยคใจความ สาคัญ และประโยคประกอบที่ ขยายความคดิ ของ ประโยคใจความสาคญั น้ัน

องค์ประกอบของย่อหน้า 1.ความคดิ สาคญั หรือ ประโยคใจความสาคญั 2.ประโยคขยายความ

ความคดิ สาคญั หรือประโยคใจความสาคญั ความคิดหลัก (main idea) หมายถึง ความคิดท่ีผู้เขียนมุ่งเสนอ ต่อผู้อ่าน เพื่อแสดงว่าผู้เขียนมีความคิด ความคิดเก่ียวกับเรื่อง น้ันๆ ความคดิ หลักนีผ้ ู้เขียนอาจจะแปรออกมาเป็ นประโยคกไ็ ด้ เรียกว่า ประโยคใจความสาคญั (topic sentence)

ประโยคขยายความ ประโยคขยายความคือประโยคทขี่ ยายความหรือให้ รายละเอียด ความคิดหลักหรือประโยคใจความ สาคญั ให้เข้าใจชัดเจน

ตวั อย่าง ประโยคใจความสาคญั

ประโยคใจความสาคญั อยู่ต้นย่อหน้า ในอดตี น้ัน คนไทยส่วนมากมคี วามรู้ในทางช่างไม้และ การปลูกสร้างบ้านเรือน เนื่องจาก ถือเป็ นคติว่าลูกผู้ชายพอรุ่นหนุ่ม ขึ้นมาก็ต้องฝึ กหัดช่างไม้ ต้องปลูกสร้างบ้านเรือนเป็ น มัก เร่ิมต้นจาก การเป็ นลูกมือช่วยช่างผู้มีความชานาญและเรียนรู้จากประสบการณ์ ในการลงมือ ก่อสร้างงานจริง นอกจากน้ันการท่ีคนไทยมีจิตศรัทธาใน ศาสนาจึงมักช่วยพระสร้างกุฏิสงฆ์ ศาลาการเปรียญหรือซ่อมโบสถ์ วิหาร จึงได้ความรู้ทางช่างและการก่อสร้างเพิ่มเตมิ จากวัดอกี ด้วย เพราะพระสงฆ์ไทยส่วนมากเป็ นช่าง หรือมคี วามชานาญทางการ ก่อสร้างอยู่ด้วย

ตวั อย่างประโยคใจความสาคญั อยู่ท้ายย่อหน้า เน่ืองจากมกี ารเร่งรัดการพฒั นาประเทศในหลายๆ ด้าน โดยเฉพาะทางด้านอตุ สาหกรรม ทาให้ทรัพยากรที่มีอยู่ลดน้อยถอยลง โดยรวดเร็ว ป่ าไม้ถูกทาลายไปจนเหลือไม่ถึงหน่ึงในสี่ ของพืน้ ทีป่ ่ าไม้ ท้ังหมดท่มี ีอยู่เดิม ต้นน้าลาธารกถ็ ูกทาลายลงมาก จนเกดิ ปัญหาภัย แล้ง สัตว์ ป่ าถูกล่าจนบางชนิด เช่น สมัน สูญพันธ์ุหมดไปจากโลก แร่ ธาตุถูกขุดขึ้นมาใช้จนบางแห่ง หมดไปจากพืน้ ท่ี ทาให้เกดิ มเี หมืองร้าง ขนึ้ น้าในแม่นา้ ลาคลองที่เคยใสสะอาดกเ็ น่าเสีย เพราะ ขยะและนา้ ทงิ้ จากโรงงานอตุ สาหกรรม การใช้ธรรมชาติอย่างฟ่ ุมเฟื อยใน ช่วงเวลาห้าสิบปี ได้ ก่อให้เกดิ ปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างรุนแรงขนึ้ ใน ปัจจุบัน

ความเรียงทวั่ ไปประกอบด้วย ย่อหน้า 2 ประเภท คือ ย่อหน้าเนื้อเรื่องและย่อหน้าพเิ ศษ

ย่อหน้าเนื้อเรื่อง คื อ ย่ อหน้ าท่ีใช้ แสดงสาร ะสาคัญข องเรื่ อ ง ประกอบด้วยความคดิ สาคัญ ประโยคใจความสาคัญ ส่วนขยายความคดิ สาคญั

ย่อหน้าพเิ ศษ แตกต่างจากย่อหน้าปกติ มี 5 ชนิด ย่อหน้าคานา ส่วนนาเข้าสู่เร่ือง ย่อหน้าสรุป ส่วนปิ ดเร่ือง ย่อหน้าบทสนทนา บนั ทกึ คาสนทนา ขนึ้ ย่อหน้าใหม่เม่ือเปลย่ี นผู้พดู ย่อหน้าเชื่อม เชื่อมโยงความคดิ ระหว่าง 2 ย่อหน้าให้สัมพนั ธ์กนั ย่อหน้าเน้นยา้ ข้อความ เน้นยา้ ความสาคญั ของคาหรือข้อความเป็ นพเิ ศษ หรือเพ่ือแสดงความคดิ สาคญั ให้เห็นเด่นชัด

ลกั ษณะของย่อหน้าทด่ี ี มดี ังนี้ 1. มเี อกภาพ ความคดิ สาคญั ประการเดยี ว ไม่เขยี นออกนอกเรื่อง 2. มสี ัมพนั ธภาพ เนื้อหาเชื่อมโยงสัมพนั ธ์กนั เชื่อมโยงความคดิ เป็ น ระเบยี บ 2.1 การลาดบั ความคดิ 2.2 การใช้คาหรือกล่มุ คาเชื่อมความเพื่อให้เป็ นทางเดยี วกนั ให้เกดิ ความขดั แย้งกนั

ลกั ษณะของย่อหน้าทด่ี มี ี 4 ประการ (1อ3ส) เอกภาพ สมบูรณ์ สัมพนั ธภาพ สารัตถภาพ

ตวั อย่างย่อหน้า

ตวั อย่างย่อหน้าคานา ชนเผ่าไทมิใช่เป็ นเพียงแค่กลุ่มชนท่ีอาศัยอยู่ในประเทศไทย มี สัญชาตไิ ทยหรือเชื้อชาตไิ ทยเท่าน้ัน หากทว่าคาว่า “ชนเผ่าไท” ยังมี ความหมายกว้างขวางย่ิงขึ้น ย่อหน้าดังกล่าวเป็ นย่อหน้านา ความคิดของบทความเรื่อง “ผ้าทอ ของเผ่าไท...สายใยแห่งความ ผูกพนั ”

ตวั อย่างย่อหน้าสรุป ผมคิดว่าเรื่องของส่ิงที่เรียกว่าความรู้น้ัน มีเร่ืองที่น่าสนใจ และน่าศึกษา ค้นคว้าอีกมากตลอดจนเงื่อนไขของการแสวงหาความรู้ ของมนุษย์ (Knowledge Acquisition) ผมคดิ ว่าเร่ืองทเี่ กย่ี วข้องกบั ความรู้นีเ้ ป็ นสิ่งที่น่าสนใจมาก และผมคดิ ว่าพวกเราที่ทางานใน วงการอุดมศึกษาควรให้ความสนใจให้มากกว่าท่ีเป็ นอยู่ ผม เช่ือว่า การศึกษาค้นคว้าและการปฏิบัติการเร่ืองความรู้นี้จะเป็ นการสร้าง คุณูปการ ให้กับสังคมไทยอย่างมหาศาล สังคมไทยจะเป็ น Knowledge based Society หรือ Knowledge-based Economy หรือไม่กอ็ ยู่ที่ว่าพวกเราได้กระทาการเก่ียวกับเรื่องนี้ หรือไม่ มาก น้อยเพยี งใด ลองพจิ ารณาดูนะครับ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook