Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

การพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

Published by กศน.ตำบลน้ำเกลี้ยง, 2021-09-16 05:19:45

Description: การพัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน อช 11003

Search

Read the Text Version



1 เอกสารสรุปเน้ือหาทีต่ องรู รายวิชา พัฒนาอาชีพใหม ีอยมู ีกิน ระดับประถมศึกษา รหัส อช11003 หลักสูตรการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สํานักงานสง เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจําหนาย หนงั สือเรียนนจ้ี ดั พมิ พดวยเงินงบประมาณแผน ดนิ เพอื่ การศกึ ษาตลอดชีวติ สําหรบั ประชาชน ลิขสิทธ์ิเปนของสํานักงาน กศน.สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร



สารบัญ หนา คาํ นาํ สารบญั คาํ แนะนําการใชเอกสารสรปุ เน้ือหาทตี่ องรู บทที่ 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ ..........................................................................................................1 เรื่องที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ความจาํ เปน ในการพัฒนาอาชีพ................................. 1 เรื่องที่ 2 ความจําเปนและคุณคา ของการวิเคราะหศ กั ยภาพธุรกจิ .................................... 2 เรื่องที่ 3 การวเิ คราะหตาํ แหนง ทางธุรกจิ .......................................................................... 4 เรื่องท่ี 4 การวเิ คราะหศกั ยภาพธรุ กิจตามศกั ยภาพ 5 ดา น.............................................. 5 แบบฝก หดั .......................................................................................................................... 6 บทที่ 2 การจดั ทําแผนการพฒั นาการตลาดเพ่ือพฒั นาอาชีพใหมอี ยูมกี นิ ...............................7 เรื่องท่ี 1 การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด .............................................................................. 7 เรอ่ื งที่ 2 การกาํ หนดเปา หมายการตลาด........................................................................... 8 เรื่องท่ี 3 การกาํ หนดกลยทุ ธส ูเปาหมาย..........................................................................10 เรื่องท่ี 4 การวิเคราะหกลยทุ ธ.........................................................................................11 เรอ่ื งท่ี 5 กจิ กรรมและแผนการพัฒนาการตลาด .............................................................12 แบบฝก หัด........................................................................................................................14 บทท่ี 3 การจดั ทําแผนพฒั นาการผลิตหรือการบรกิ าร..........................................................16 เรื่องที่ 1 การกําหนดคุณภาพการผลติ หรอื การบรกิ าร....................................................16 เรอ่ื งท่ี 2 การวเิ คราะหทุนปจจัยการผลติ หรอื การบริการ................................................19 เรื่องที่ 3 การกาํ หนดเปา หมายการผลติ หรอื การบริการ..................................................20 เรอ่ื งที่ 4 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร .........................................................21 เรื่องที่ 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร .........................................................22 แบบฝกหดั ........................................................................................................................24

สารบัญ (ตอ ) หนา บทท่ี 4 การพัฒนาธุรกิจเชงิ รกุ เพอ่ื พัฒนาอาชพี ใหมอี ยูมกี นิ ................................................26 เรื่องที่ 1 ความจาํ เปน และคณุ คา ของธรุ กจิ เชิงรุก ............................................................26 เรอ่ื งท่ี 2 การแทรกความนิยมเขา สคู วามตอ งการของผูบริโภค........................................27 เรื่องท่ี 3 การสรางรปู ลักษณคณุ ภาพสนิ คาใหม...............................................................29 เรื่องท่ี 4 การพัฒนาอาชพี ใหมีความมั่นคง ความพออยู พอกิน มีรายได.........................31 แบบฝกหดั ........................................................................................................................32 บทที่ 5 โครงการพฒั นาอาชพี ใหมีอยมู กี นิ ...........................................................................34 เรอ่ื งท่ี 1 การวิเคราะหความเปนไปไดของแผนตาง ๆ......................................................34 เรอ่ื งที่ 2 การเขียนโครงการพฒั นาอาชีพ.........................................................................36 เรอ่ื งท่ี 3 การตรวจสอบความเปน ไปไดของโครงการ .......................................................37 เรื่องที่ 4 การปรับปรงุ แกไ ขโครงการพฒั นาอาชพี ...........................................................38 เรือ่ งที่ 5 การประเมินเมื่อส้นิ สดุ โครงการ.........................................................................39 แบบฝก หดั ........................................................................................................................40 เฉลยแบบฝกหดั ...................................................................................................................42 บรรณานกุ รม........................................................................................................................46 คณะผูจดั ทํา .........................................................................................................................47

คําแนะนําการใชเ อกสารสรุปเนือ้ หาท่ีตองรู หนังสือสรุปเน้ือหาท่ีตองรูหนังสือเรียนรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน เลมน้ีเปน การสรปุ เนือ้ หาจากหนงั สอื เรยี นรายวิชาบังคับ สาระการประกอบอาชีพ รายวิชา พัฒนาอาชีพ ใหมีอยูมีกิน อช11003 ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหนักศึกษาไดเรียนรูและทํา ความเขาใจในเนื้อหาสาระของรายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน อช11003 ที่สําคัญ ๆ ไดส ะดวกและสามารถเขา ใจยิง่ ข้ึน ในการศกึ ษาหนงั สอื สรปุ เน้ือหาที่ตองรูหนังสือเรียนรายวิชา พฒั นาอาชีพใหม อี ยมู กี ิน เลมนี้ นักศกึ ษาควรปฏบิ ัติ ดงั น้ี 1. ศึกษาหนังสือเรียน รายวิชา พัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน อช11003 สาระการ ประกอบอาชีพ หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) ระดบั ประถมศึกษาใหเขา ใจกอ น 2. ศึกษาเนอ้ื หาสาระของหนังสอื สรปุ เนอื้ หาทต่ี อ งรหู นงั สอื เรยี นรายวิชา พัฒนาอาชีพ ใหมีอยมู กี นิ อช11003 ใหเขา ใจอยา งถองแท พรอ มทงั้ ทําแบบฝก หดั ทา ยบททีละบท และตรวจ คาํ ตอบจากเฉลยแบบฝก หัดทา ยเลม ใหค รบ 5 บท 3. หากนักศกึ ษาตอ งการศกึ ษารายละเอียดเนื้อหาสาระรายวิชา พฒั นาอาชพี ใหมีอยู มีกินอช11003 เพิ่มเติมสามารถศึกษาคนควาไดจากส่ืออ่ืน ๆ ในหองสมุดประชาชน อนิ เทอรเ น็ต หรือครูผูสอน



1 บทท่ี 1 ศกั ยภาพธรุ กจิ เรือ่ งท่ี 1 ความหมาย ความสําคญั ความจาํ เปนในการพัฒนาอาชพี ความหมาย ความสําคัญ ความจาํ เปนในการพฒั นาอาชพี ความหมายของการพฒั นาอาชีพ อาชีพ หมายถึง การทํากิจกรรม การทํางาน การประกอบการที่ไมเปนโทษแกสังคม และมีรายไดต อบแทน โดยอาศยั แรงงาน ความรู ทักษะ อุปกรณ เคร่ืองมือ วิธีการแตกตางกัน ไปตามกลุมอาชีพตามลักษณะการประกอบอาชีพ การพัฒนาอาชพี หมายถึง วิธีการตาง ๆ ท่ีจะเพ่ิมผลผลิตหรือสินคา ใหตรงกับความ ตองการของลกู คา หรอื ทนั ตอการเปลีย่ นแปลงของตลาด ความสาํ คญั ของการพฒั นาอาชพี ดานเศรษฐกิจ มกี ารพัฒนาสินคาใหส ามารถเขา สูตลาดแขงขันและเปนทีย่ อมรับ ดา นสังคม ประเทศที่มเี ศรษฐกิจดีจะสงผลใหสภาพของสังคมดีข้ึน กระบวนการผลิต เปนการบริหารจดั การดานทนุ แรงงาน ท่ีดิน หรือสถานท่ีใหเกิดผล ผลิต ที่มกี ารพัฒนาอยางตอเน่ือง ภูมิปญญา หมายถึง ความรู ความสามารถ ความชาญฉลาด อันเกิดจากพื้นความรูที่ ผา นกระบวนการสบื ทอด ปรบั ปรุง พัฒนา สะสมมาเปน เวลานานอยางเหมาะสม นวัตกรรม หมายถึง ความคิด การปฏิบัติ หรือส่ิงประดิษฐใหมหรือพัฒนามาจาก ของเดิมที่มีอยูแลว เทคโนโลยี หมายถึง สิ่งท่ีมนุษยพัฒนาขึ้นเพื่อชวยในการทํางาน หรือแกปญหา ซึง่ จะตองมอี งคประกอบดงั น้ี ความสามารถในการทํางาน ประหยัดคา ใชจา ย ทาํ งานไดรวดเร็ว และไมท าํ ลายสิง่ แวดลอม ความจําเปนในการพฒั นาอาชีพ ผูประกอบอาชีพจะตองมีวิสัยทัศนกวางไกล เพ่ือพิจารณาแนวโนมของตลาด ความ ตอ งการของผูบริโภค ประกอบกับในสังคมปจจุบันเปนสังคมความรูท่ีมีการเช่ือโยงในการผลิต

2 การบรโิ ภค การสอื่ สาร และเทคโนโลยีกอใหเกิดการแขงขัน ดังนั้นการพัฒนาอาชีพจึงมีความ จาํ เปน ดังนี้ 1. เพื่อใหม สี ินคาทด่ี ีตรงความตองการของผบู ริโภค 2. เพอื่ ใหผ ูผลิตไดม กี ารคิดคนผลติ ภณั ฑไ ดต ลอดเวลา 3. มีการทํานวัตกรรมและเทคโนโลยีเขา มาใชในกระบวนการผลติ 4. ทาํ ใหเศรษฐกจิ ชุมชน และประเทศดขี ึน้ เร่ืองที่ 2 ความจาํ เปน และคณุ คา ของการวเิ คราะหศ ักยภาพธรุ กจิ ความหมายของศกั ยภาพ ความหมายการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจ มีคําอยู 3 คําตองสรางความเขาใจใน ความหมาย ดงั นี้ 1. ศักยภาพ หมายถึง ความสามารถที่ยังไมพัฒนา หรือยังพัฒนาไมเต็มที่ ศักยภาพ เปนพลังภายใน พลังที่ซอนไวหรือพลังแฝง ยังไมแสดงออกมาใหปรากฏ ผูประกอบอาชีพก็มี ศักยภาพท่ีจะประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จขยายการผลิต และสรางอาชีพใหมั่นคง การพฒั นาอาชพี ใหป ระสบความสําเร็จจะเกิดขน้ึ ได ถามีการฝกปฏิบัติที่ดี มีการฝกวิธีคิดที่เปน ระบบ คิดยางมีความสัมพันธของทุกอยางที่เก่ียวของกันอยางเปนองครวม และมีการดําเนิน ชีวิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง จะทาํ ใหส ังคมนาอยู และเปนสงั คมแหง การเรยี นรู 2. วิเคราะห หมายถึง การแยกแยะทางความคิด ข้ันตอนกระบวนการ หรือวัตถุ ส่ิงของใหเห็นองคประกอบ เพื่อศึกษาองคประกอบท่ีแยกออกมา รวมถึงเพ่ือศึกษาวิธีการ แกปญ หา ถา สวนประกอบน้ันทาํ ใหเกิดผลเสีย เกดิ ความไมส มดุล ซงึ่ เมอ่ื วเิ คราะหองคประกอบ ของแตละเรือ่ งจะพบวา แตละองคประกอบทีม่ าประกอบกนั จะมีความเช่อื มโยงกัน 3. ธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมตาง ๆ ที่ทําใหมีการผลิตสินคาและบริการซ้ือขาย แลกเปลย่ี น และกระจายสินคา มีประโยชนหรือกําไรจากกิจกรรมนั้น โดยมีจุดมุงหมายในการ ประกอบธุรกิจ เพ่ือใหบริการแกผูบริโภค โดยนําผลกําไรมาสูผูลงทุน และรักษาสัมพันธภาพ ระหวางกิจการกับพนักงาน ผูบริโภค และสภาพแวดลอมภายนอก เพ่ือความอยูรอดในธุรกิจ น้ัน ๆ

3 ทรัพยากรที่สําคัญในการดําเนินธุรกิจ คือ คน วัตถุดิบ ขาวสารขอมูล เงินลงทุนและ เครื่องมือธุรกิจแบงออกเปน 3 ประเภท ดังนี้ 1. ธุรกิจอุตสาหกรรม เปนการผลิตสินคาเพื่อขาย เปนการประกอบธุรกิจที่มุงผลิต แปรรปู และหลอ หลอมวตั ถดุ บิ ใหเปนสินคาตาง ๆ 2. ธรุ กจิ การคา เปนการซื้อมาขายไป ดาํ เนินกจิ กรรมดานการตลาด เปนการประกอบ ธุรกิจเก่ียวกับการนําสินคาจากแหลงผลิต มาจําหนายใหแกผูบริโภค ต้ังแตขนาดเล็กจนถึง ขนาดใหญ 3. ธรุ กิจการบรกิ าร เปนการใหบริการ เปน ธรุ กจิ ท่เี นน การขายบรกิ ารใหแกลูกคา เชน ธุรกิจโรงแรม รา นเสรมิ สวย รานอาหาร ศักยภาพของธรุ กิจ หมายถึง ความสามารถของการผลิต การคาขาย การบริการของ ธุรกิจที่ยังไมไดพัฒนาใหเกิดประสิทธิภาพ หรือคุณภาพสูงสุด จึงตองมีการพัฒนาใหสูงขึ้น โดยมีผปู ระกอบการที่มีความสามารถมาทาํ การพฒั นาศักยภาพของธรุ กจิ ใหเ กดิ ข้ึน ความจําเปนและคุณคา ของการวเิ คราะหศักยภาพธรุ กจิ หมายถึง การประกอบธุรกิจ น้ันมีความจําเปนตองแยกแยะสวนประกอบของธุรกิจท่ีดําเนินการ การคาขายหรือการตลาด การบรกิ าร วา มีสวนประกอบอะไรบา ง แตล ะองคประกอบนั้น รวมท้ังผูประกอบการมีศักยภาพ เปน อยางไร เพ่อื วางแผนพัฒนาศกั ยภาพ ของธรุ กิจทัง้ การผลิต การตลาด การบรกิ ารใหดขี ึน้ โดยจะตองวิเคราะหขอ มูลพืน้ ฐานหรอื สถานการณป จ จุบันวา เปนอยางไร ซ่ึงเปาหมายของการ วิเคราะหศักยภาพของธุรกจิ คอื หาทางเพมิ่ รายได และลดคา ใชจ ายใหต่ํา การวิเคราะหศักยภาพในการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จตองวิเคราะห ศักยภาพของธุรกจิ มี 2 สวน คือ 1. การวเิ คราะหเ จาของธรุ กิจ หรือผูประกอบการ 2. การวิเคราะหต วั ธุรกิจหรือกิจการ การวเิ คราะหศ ักยภาพผปู ระกอบการ ผูประกอบการตองมีความเขาใจและควรฝกการวิเคราะหตนเอง เพื่อรูจักตนเองกอน วา เรามีศักยภาพดา นใดและเปน อยางไร เพือ่ เปนแนวทางในการพัฒนาอาชีพโดยอาศัยปรัชญา คดิ เปนทต่ี อ งอาศัยขอ มลู เกย่ี วกบั ตนเอง ขอมลู วชิ าการ และขอ มูลจากสังคม หลักการวิเคราะห ศักยภาพตนเอง ประกอบดว ย

4 1. ตนเองเปน ศูนยก ลาง 2. แยกหมวดหมศู ักยภาพ โดยมีความรู การบรหิ ารจัดการ ความถนดั และความกลาหาญ การวิเคราะหศกั ยภาพธุรกจิ ใชห ลักการพิจารณากระบวนการในการดําเนินธรุ กจิ ประกอบดว ย ปจ จยั นาํ เขา กระบวนการแปรสภาพ ปจ จัยสง ออก สินคา และบริการ วตั ถุดบิ กระบวนการผลิต กระบวนการตลาด - สนิ คา และบรกิ าร - วตั ถดุ ิบ - กระบวนการผลิต - แรงงาน - กระบวนการตลาดและการขาย - ทรพั ยากรอื่น ๆ (เงิน) - การบริหารจดั การ - การบรหิ ารการเงนิ แผนภูมิ 1 แสดงกระบวนการดําเนินธุรกจิ เรอื่ งท่ี 3 การวิเคราะหต ําแหนง ทางธรุ กจิ แนวคดิ ในเรือ่ งการวิเคราะหตําแหนง ทางธุรกจิ สามารถแบง การวเิ คราะหไ ด ดงั นี้ 1. ระยะเร่ิมตน เปนระยะแรกของการกอรางสรางธุรกิจ ระยะนี้จะเปนระยะของการ ทดลอง ริเร่ิมทําเพ่ือดูผลตอบรับของตลาด จะตองเริ่มตนหาขอมูลตาง ๆ ในระยะน้ีจะเปน ขอ มูลทั้งดานการผลิต การตลาด และการเงิน 2. ระยะสรางตัว ผูประกอบอาชีพเริ่มจับทิศทางการตลาดไดแลว ยอดขายจะเร่ิม สูงข้ึน จะเร่ิมมีรายไดสูงกวาคาใชจาย สินคาติดตลาดหรือลูกคามีความนิยมมากขึ้น เชน การสรางชื่อและตราย่หี อ การโฆษณาและสง เสริมการขายในรูปแบบตา ง ๆ

5 3. ระยะทรงตัว ในระยะนี้ยอดขายมักจะทรงตัว คือ ไมเพ่ิมข้ึน เพราะไมมีลูกคาใหม เขามา ผปู ระกอบอาชพี ตอ งพยายามรักษาความพึงพอใจของลูกคา และรักษาลูกคาใหอยูกับ เราใหยาวนานทสี่ ดุ 4. ระยะตกต่าํ หรอื ระยะพลิกฟน ในระยะนยี้ อดขายจะตํ่าลง เนื่องมากจากหลายสาเหตุ เชน มีสินคาทดแทนทดี่ ีกวา เขา มานาํ เสนอ แตอ าจจะพลิกฟน ไดถาสามารถพัฒนาหรือขยายตอ ยอดสินคาใหม ีรปู แบบสรา งสรรคและแตกตางไปจากเดมิ ได เรอ่ื งที่ 4 การวิเคราะหศกั ยภาพธุรกจิ ตามศักยภาพ 5 ดาน แนวคิดในการวิเคราะหศักยภาพธุรกิจบนเสนทางของเวลาก็เพ่ือใหผูประกอบอาชีพ ตระหนักวา เวลามีผลตอการประกอบธุรกจิ ดงั นี้ 1. เวลา ทําใหเกิดการมากอน มาหลัง ที่จะมีโอกาสลองใจลูกคาไดกอน ตองเสนอ สนิ คาทีไ่ มตรงตามความตอ งการของลูกคา เราจะขาดทุน 2. เวลาจะทาํ ใหผ ูป ระกอบอาชพี มปี ระสบการณเพ่ิมมากข้ึน มีความรูความเชี่ยวชาญ มากขึ้น 3. เวลาเปล่ียนแปลงไป สภาพแวดลอมของธรุ กจิ กจ็ ะเปลย่ี นแปลงไปดวย 4. เวลาที่ผานไปจะทําใหธุรกิจมีคูแขงขันมากข้ึน โดยเฉพาะคูแขงท่ีชอบ ลอกเลียนแบบ 5. ผูป ระกอบการตองใชขอมูลในอดีตที่เกิดข้ึนและขอมูลในปจจุบันใหเปนประโยชน ทส่ี ุด โดยนํามาทาํ การวเิ คราะหเพอ่ื ใหเขา ใจส่งิ ที่เกิดขึ้นทั้งขอ มูลภายในและภายนอกกจิ การ

6 แบบฝก หดั ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. ศักยภาพของธุรกิจ คอื อะไร ………………………………………………………………………………………………..…………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. องคประกอบการวิเคราะหศ ักยภาพธรุ กิจที่ใชเปนหลักการพิจารณามีกระบวนการ ในการดําเนินธรุ กิจมอี ะไรบาง .…………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………..... 3. การวิเคราะหศ กั ยภาพธรุ กจิ ตามศกั ยภาพ 5 ดา น มีอะไรบาง .…………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………….………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………….……………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………….....

7 บทท่ี 2 การจัดทําแผนพัฒนาการตลาดเพื่อพฒั นาอาชพี ใหม อี ยมู กี ิน เร่ืองที่ 1 การกาํ หนดทศิ ทางการตลาด ความหมายของการวางแผนและการตลาด การวางแผน หมายถึง กระบวนการตัดสินใจเพ่ือกําหนดวัตถุประสงคและแนวทาง การกระทําไวล ว งหนาเพือ่ ใหบ รรลุวตั ถุประสงคท ่กี าํ หนดไว การตลาด หมายถงึ กิจกรรมทางธุรกจิ ทงั้ หมด ที่สงผลกระทบระหวา งกนั ได การกระทํากิจกรรมตาง ๆ ในทางธุรกิจซึ่งทําใหสินคาและบริการเคล่ือนยายจากผูผลิตไปยัง ผูบริโภคหรือผูใชแลวไดรับความพึงพอใจกระบวนการทางสังคมและการจัดการท่ีทําใหบุคคล หรือกลุมบุคคลไดรับสิ่งท่ีตอบสนองความจําเปนและ ความตองการโดยอาศัยการสราง ผลติ ภณั ฑท ่ีมีคณุ คาและนาํ ไปแลกเปลีย่ นกบั บุคคลอน่ื การกําหนดทิศทางและเปาหมายทางการตลาด นักการตลาด จะตองต้ังคําถามเพ่ือนํา ทางไปสูความสาํ เร็จ คือ 1. ตลาดตอ งการซื้ออะไร หมายถึง จุดประสงคใ นการซ้ือสินคาเพอื่ อะไร 2. ทาํ ไมจึงซ้อื หมายถึง จดุ ประสงคในการซอ้ื สินคา ไปทาํ ไม 3. ใครคือผซู อื้ หมายถึง กลมุ เปา หมายท่ีจะซื้อคอื กลมุ ใด 4. ซ้ืออยางไร หมายถึง กระบวนการซื้ออยางไร เชน ซ้ือแบบต้ังคณะกรรมการการ ประมูล 5. ซ้ือเม่ือไร หมายถงึ โอกาสท่ีจะซื้อสนิ คา เมอื่ ไร เชน ทุกวัน ทุกเดือน 6. ซ้ือท่ีไหน หมายถึง สินคาที่จะซ้ือมีขายรานคาประเภทใด เชน รานขายของ เบด็ เตล็ด รานขายทวั่ ไป ข้นั ตอนการกําหนดทศิ ทางการตลาด มดี งั นี้ 1. การวิเคราะหล กู คา ประกอบดวย 1.1 โครงสรางการตดั สนิ ใจของลูกคา 1.2 ความตอ งการของลกู คา 1.3 สภาพของการแขง ขนั 1.4 ความสามารถในการขายหรือเจาะตลาด

8 1.5 แนวโนมความเปล่ียนแปลงของตลาด 2. การวเิ คราะหชอ งทางและโอกาสในการขาย 3. การกาํ หนดยทุ ธวิธีหรอื กลยุทธก ารขาย 4. การกาํ หนดแผนปฏบิ ตั ิ 5. การปฏิบตั จิ รงิ และการปรับเปล่ียน หรือขยายแผน การจดั ทําการตลาดใหป ระสบความสาํ เรจ็ จะตอ งเริม่ ตนจากการจัดทําแผนการตลาด ซึ่งในการจัดทําแผนพัฒนาการตลาดนัน้ จะประกอบดว ยขน้ั ตอน ดังนี้ 1. กําหนดทิศทางการตลาดทตี่ องการมุงไปใหมีความชัดเจนวาเราจะเดินทางมุงไปใน ทศิ ทางไหน 2. กาํ หนดเปาหมายการตลาดที่ตองการใหชดั เจน 3. กําหนดกลยทุ ธสูเปา หมาย เพอ่ื ใหมแี นวทางทจี่ ะกา วไปยงั เปา หมายทต่ี อ งการ 4. วิเคราะหก ลยทุ ธวา กลยทุ ธน ั้น มีความเหมาะสมหรอื ไม 5. กาํ หนดกจิ กรรม และแผนการพฒั นาตลาด เปน แผนปฏบิ ัติการหรอื แผนดําเนินงาน ในรายละเอียดในกจิ กรรมทางการตลาดทจ่ี ะตองปฏบิ ตั ิ เรื่องที่ 2 การกําหนดเปา หมายการตลาด เปน การกาํ หนดเปา หมายใหชดั เจนในเชิงตัวเลขและการขยายความพงึ พอใจของลูกคา ผลกาํ ไรท่ีตองการไดจากการขายสนิ คาและบริการตา ง ๆ การกําหนดเปา หมายทางการตลาดสามารถกําหนดไดใ นหลายลกั ษณะ ดังนี้ 1. เปาหมายในเร่ืองตัวผลิตภัณฑ เชน สามารถเพ่ิมประเภทของสมุนไพรใหเพิ่มขึ้น อยา งนอย 2 ชนิดตอป 2. เปา หมายในเรอ่ื งยอดขาย เชน มยี อดขายสินคา เดือนละ 200,000 บาท 3. เปา หมายในเร่ืองผลกาํ ไรจากการขาย เชน มีผลกาํ ไรจากการขายไมน อยกวา รอยละ 15 4. เปา หมายในเรอ่ื งลกู คาและความพึงพอใจของลูกคา เชน มผี ใู ชส ินคา เพ่ิมขึ้นรอยละ 20 ของทกุ ป

9 สาํ หรับวธิ ีการในการกาํ หนดเปาหมาย ควรพจิ ารณาขอ มลู ตา ง ๆ ดงั น้ี 1. ศกึ ษาขอ มูลทผ่ี า นมา เพือ่ นาํ มาเปนพื้นฐานในการกาํ หนดตัวเลขเปาหมายตอไปให เหมาะสม เชน เคยขายไดเ ดือนละ 100,000 บาท เราก็จะตั้งเปาหมายวา 3 เดือนตอไปตองได ยอดขายเดือนละ 120,000 บาท เปน ตน 2. พจิ ารณาทศิ ทางการตลาดท่จี ะมุงไป เชน จะเปน ผนู ําในการผลิตสินคา สมนุ ไพร 3. พิจารณาภาวะการณแขงขันดวย เพอ่ื ไมใหเ ปา หมายน้นั สูงเกนิ ความเปน จรงิ โดยละเลยหรือดถู ูกคูแ ขง ขนั เชน ตอ งการสวนครองตลาดถงึ รอ ยละ 50 น้นั จะสูงเกินไป นําขอมูลท้ัง 3 สวนน้ีมากําหนดเปนเปาหมายการตลาด ซึ่งจะตองกําหนดใหชัดเจน ไมกาํ หนดแบบกวาง ๆ เพื่อจะไดแปรไปสกู ลยุทธและแผนงานดานการตลาดทชี่ ดั เจนตอ ไป การกําหนดเปาหมายการตลาดมคี วามสําคญั มากเพราะจะนาํ ไปสูการวางแผนและการ กาํ หนดกลยทุ ธก ารตลาดตอ ไป เพื่อใหกิจการสามารถบรรลุสูเ ปา หมายท่ตี อ งการ เปา หมายการตลาด กลยทุ ธส ูเ ปา หมาย แผนการตลาด แสดงความสมั พนั ธข องเปา หมายการตลาด กลยุทธสูเปา หมายและแผนการตลาด

10 เรอ่ื งที่ 3 การกําหนดกลยุทธสเู ปา หมาย กลยุทธ หมายถึง การกําหนดวิธีการปฏิบัติหลักๆที่จะทําอยางไรใหกิจการบรรลุ เปาหมายท่ีตองการ ในดานการตลาดนั้นกอนท่ีจะกําหนดกลยุทธการตลาดจะตองดําเนิน กิจกรรมพน้ื ฐานทสี่ าํ คัญ 3 กจิ กรรม การแบง สวนของตลาด ผูประกอบการตระหนักวาลูกคาท่ีมีอยูในตลาดน้ัน อาจจัดเปนกลุมไดตามเกณฑท่ี เหมาะสม เชน เกณฑร ายไดก็อาจแบง เปนลูกคา ทีม่ ีรายไดส ูง หรือปานกลาง หรอื นอย เพศ เชน ชายหรือหญิง วัย เชน ผูใหญ หรือเด็กวัยรุน หรือเด็กทารก รสนิยม เชน ตองการสินคาที่มี คุณภาพสูงหรอื คณุ ภาพปานกลาง ปรมิ าณการใช เชน ลูกคา ท่ใี ชปรมิ าณมาก กาํ หนดกลุมลูกคาเปาหมาย เปน การตัดสนิ ใจวา เราจะเลือกกลมุ ใดเปน ลูกคา เปา หมายของเราใหชัดเจน เชน ลูกคา เปาหมายของสินคากลุมสมุนไพร คือ ผูสูงอายุ และบุคคลท่ัวไปที่ใสใจสุขภาพและชอบใช ผลติ ภัณฑท มี่ คี ุณภาพดจี ากธรรมชาติ การวางตําแหนง ของสนิ คา เปน การเลอื กจุดขายใหเ หมาะสมกับกลมุ ลูกคา เปาหมายท่ีกําหนดไว โดยทั่วไปมักเปน ตําแหนง ในเร่ืองคุณภาพ เชน คณุ ภาพดี มคี วามทนทานในการใชงาน เปนตน เมื่อดําเนินการกิจกรรมทั้ง 3 เร่ืองนี้แลว ข้ันตอนตอไปคือการกําหนดกลยุทธ การตลาด ซ่งึ ประกอบดว ย กลยทุ ธดา นผลิตภัณฑ ผลิตภณั ฑ หมายถึง สินคา และบริการท่ีมุงสรางความพึงพอใจใหกับลูกคา ช่ือ ตรายี่หอ และบรรจุภัณฑ มีความสาํ คัญมากเพราะเปนสง่ิ แรกทีจ่ ะทาํ ใหลูกคา รบั รแู ละจดจํา และสามารถ สรางคุณคา ใหก ับลกู คาและธุรกิจได กลยทุ ธดา นราคา ราคา หมายถึง คุณคาของผลิตภัณฑในรูปของตัวเงิน ราคาที่เหมาะสมจะตองเปน ราคาท่ีลกู คาพงึ พอใจ ขณะเดียวกันกิจการสามารถทํายอดขายและผลกําไรได ผูประกอบการ จะตอ งตัดสนิ ใจตง้ั ราคา โดยพิจารณาจากสภาพการแขงขัน ความตอ งการของลูกคาและตนทุน เปน สาํ คัญ

11 กลยุทธด า นชอ งทางจาํ หนา ย การจําหนาย เปนชองทางการจัดจําหนายและกระจายสินคาไปยังผูบริโภค จะตอง วิเคราะหชองทางการจําหนายผลิตภัณฑไปสูตลาดเปาหมายดวยวิธีการที่รวดเร็วท่ีสุดและ สิน้ เปลืองนอยทสี่ ดุ และยดึ พ้ืนทีก่ ารขายใหม ากท่สี ุด กลยุทธดานการสงเสริมการตลาด การสงเสริมการตลาด เปนการสื่อสารทางการตลาดเพ่ือแจงขาวสารเก่ียวกับตัว ผลิตภัณฑหรือบริการ และจูงใจใหเกิดพฤติกรรมการซ้ือ ตลอดจนเตือนความทรงจําเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑใหกับลูกคา ซึ่งสามารถทําไดดวยการโฆษณา การขายโดยใชพนักงานขาย การ สง เสริมการขาย (การลด แลก แจก แถม) และการประชาสัมพนั ธ เปน ตน เรอ่ื งท่ี 4 วิเคราะหก ลยทุ ธ การวิเคราะหกลยุทธมีเปาหมายเพื่อใหแนใจวากลยุทธการตลาดท่ีวางไวนั้น มีความ เหมาะสมกับเงอื่ นไขสภาพแวดลอ มท้ังสภาพแวดลอมภายนอกและภายในกิจการ และจะทําให ธรุ กจิ บรรลตุ ามเปา หมายท่ีกําหนด การวิเคราะหกลยทุ ธ ประกอบดวย 1. ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอมภายในของกิจการ คือ จุดแข็งทเี่ รามี 2. ความเหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอมภายนอก คือ โอกาสที่เกิดข้ึน เชน ความตองการของลูกคา ทเ่ี พิ่มมากขึ้น 3. ความเหมาะสมตอการทจ่ี ะทําใหบ รรลทุ ิศทางและเปาหมายการตลาดที่ตองการมุง ไป เพราะเปน กลยทุ ธการตลาดที่ชัดเจนและทา ทายและเปน กลยทุ ธในเชิงรกุ เนอ่ื งจาก 3.1 มกี ารแบง สวนตลาดอยา งถูกตองเหมาะสม 3.2 มกี ารกําหนดกลุมลกู คาเปาหมายท่ชี ดั เจน 3.3 มีการวางตาํ แหนงสินคาของเราอยางเหมาะสม 3.4 มกี ารวิเคราะหก ลยุทธการตลาดในเร่อื งตา ง ๆ เชน กลยุทธผลิตภัณฑ กลยุทธ ราคา กลยทุ ธช อ งทางการจําหนายและกลยุทธสง เสรมิ การตลาด

12 เรอ่ื งที่ 5 กจิ กรรมและแผนการพฒั นาการตลาด กระบวนการวางแผนการพัฒนาการตลาด ประกอบดว ย การวางแผนการตลาด หมายถึง การจัดทําวัตถุประสงค เปาหมายและกลยุทธ การตลาด รวมตลาดตลอดจนการกําหนดวิธีปฏิบัติ โดยแสวงหา แนวคิดใหม ๆ ทางการตลาด เพือ่ สนับสนนุ ใหแ นวทางการพฒั นาอาชพี ใหบรรลุเปา หมายในการสรา งยอดขาย กลยุทธการตลาด หมายถึง การกําหนดแนวทางหรือวิธีที่จะบรรลุเปาหมายทาง การตลาดกําหนดไว โดยอาศยั การใชส วนประสมการตลาด ซ่ึงประกอบไปดวยผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจาํ หนายสนิ คา และสง เสรมิ การตลาด มาใชเ ปนยุทธวิธีในการเจาะกลุมเปาหมาย เพื่อประโยชนใ นการขายสนิ คา หรือบรกิ ารขององคกร ใหร วดเรว็ ถกู ตองและมปี ระสิทธภิ าพ การวางแผนกลยุทธการตลาดและการขายจะมีประโยชนตอองคกรในแงของการ กําหนดวิธีการท่ีจะบรรลุเปาหมายของการตลาดและการขายไดอยางตรงจุด รวดเร็วและมี ประสิทธิภาพ อีกท้ังเปนการสรางวินัยในการวางแผนใหกับองคกรใหมีการทํางานอยางเปน ระบบ แทนการแกไ ข หรอื วางแผนแกป ญ หาเฉพาะหนา ซง่ึ จะมีผลในการทาํ งานเปลี่ยนแปลงอยู ตลอดเวลา วตั ถปุ ระสงคข องการวางแผนการพฒั นาการตลาด การวางแผนการตลาดมีจุดมุงหมายในการกําหนดวัตถุประสงคเปาหมายและกลยุทธ การตลาดตลอดจนการกําหนดยทุ ธวธิ ีการปฏิบัติและการสรรหาสิ่งแปลก ๆ และแนวคิดใหม ๆ ทางการตลาด เพื่อบรรลเุ ปาหมายขององคก รในการสรา งยอดขายและกาํ ไรท่ีพึงหวัง การวางแผนการตลาด มีองคประกอบทส่ี าํ คัญดงั น้ี คอื 1. สถานการณท างการตลาด แผนการตลาดท่ีดี จะตองประกอบไปดวยการวิเคราะห สถานการณทางการตลาด และขอมูลตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของกับการตลาด ผลิตภัณฑ การแขงขัน ลักษณะการจัดจําหนายสินคา ตลอดจนภาวะเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอมภายนอกตาง ๆ ภาวการณเปลี่ยนแปลงของตลาดที่ผานมา ขอมูลท่ีจําเปนตองนํามาพิจารณา เชน ขนาดของ ตลาดเปน เชนไร อตั ราการเจริญเติบโตของตลาดทผี่ านมา 2. ประเด็นท่ีเกี่ยวของกับการตลาด แผนการตลาดจะตองประกอบไปดวยการ วิเคราะหถ งึ ชองทางและโอกาสตลอดจนจุดเดนจุดดอยของสินคา หรือบริการท่ีองคกรเสนอขาย อยูใ นขณะนัน้ วามีปจจัยอะไรบางทีจ่ ะมีสวนในดานการเกอ้ื หนนุ หรือดา นลบตอผลติ ภณั ฑ

13 3. กลยุทธการตลาด คือกลยทุ ธก ารตลาดจะบอกรายละเอียดวาวัตถุประสงคทางการ ตลาดแตละอยางน้ัน เราจะใชวิธีการอยางไรเพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว ในขณะที่ วตั ถุประสงคทางการตลาดท่ีเรากําหนดนั้น ตองมีความเฉพาะ กําหนดขอบเขตตาง ๆ ชัดเจน เกี่ยวเนื่องกบั พฤตกิ รรมการซ้อื ของผูบ รโิ ภค 4. การคาดคะเนผลกาํ ไร ขาดทนุ คือ การวางโปรแกรมการปฏิบัติงาน จะสามารถทํา ใหการวางแผนดานงบประมาณตาง ๆ ท่เี กี่ยวขอ งกบั การตลาดหรือการขายมีความสะดวกและ ชดั เจนมากขน้ึ เมื่อเราวิเคราะหกลยุทธแลว งานข้ันตอไปคือการกําหนดกิจกรรมและแผนพัฒนา การตลาด ซ่งึ จะเปนการกําหนดกิจกรรมที่จะเปนงานหลัก ๆ ที่จะตองทําภายใตกรอบของกล ยทุ ธท กี่ ําหนดไว กลยทุ ธดา นผลติ ภัณฑ กจิ กรรมและแผนการพัฒนาในเรอ่ื งนี้ เชน ปรับปรงุ รปู แบบ ปรับปรุงหีบหอ สรางตรา ย่ีหอ สรรหาสินคามาจําหนายใหม ีความหลากหลายมากข้ึน กลยุทธด านราคา กิจกรรมและแผนการพัฒนาในเร่ืองนี้ เชน ทําแผนการลดราคาเพื่อจูงใจลูกคา ทําแผนการใชราคาเปน เครื่องมอื สง เสรมิ การขาย ทาํ แผนการต้ังราคาใหดเู หมอื นราคาถูก กลยทุ ธเ รอ่ื งชอ งทางการจําหนาย กิจกรรมและแผนการพฒั นาในเร่อื งนี้ เชน ทาํ แผนการขยายชองทางการจําหนายใหม ทําแผนการทดลองขายในชองทางใหม ๆ ทําแผนการสรางตวั แทนจาํ หนา ยเพ่มิ มากขน้ึ กลยทุ ธด านการสงเสรมิ การตลาด กิจกรรมและแผนการพัฒนาในเรื่องน้ี เชน ทําแผนการโฆษณา ทําแผนการสงเสริม การขาย ทาํ แผนการขายโดยใชพนกั งานขาย

14 แบบฝก หัด ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ตลาดคืออะไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. การตลาดคืออะไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. ใหก าํ หนดเปา หมายทางการตลาดมา 3 ขอ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

15 4. กลยุทธการตลาดมีอะไรบาง ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................ 5. ใหยกตวั อยางกิจกรรมและการพัฒนาตลาดดานการสงเสริมการตลาดมาใหทราบ พอสังเขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

16 บทท่ี 3 การจัดทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรอื การบริการ เรื่องท่ี 1 การกําหนดคณุ ภาพการผลติ หรอื การบรกิ าร คณุ ภาพ หมายถึง คณุ สมบัติทุกประการของผลิตภัณฑ การบริการที่ตอบสนองความ ตองการและสามารถสรางความพงึ พอใจใหแ กล ูกคา ความสาํ คัญของการกําหนดคุณภาพการผลติ และการบริการ การกําหนดคุณภาพการผลิตมีเปาหมายเพ่ือสรางความพึงพอใจใหแกผูใชสินคาน้ัน การกําหนดคุณภาพจึงมีความสําคัญตอลูกคา ผูประกอบการซ่ึงเปนผูผลิตและสําคัญตอ ภาพลักษณอ งคกรและตอ ประเทศ 1. ความสาํ คัญของคุณภาพตอลูกคา ลูกคาหรือผูใชสินคานั้นยอมอยากไดสินคาที่มีคุณภาพ เชน มีความแข็งแรง ทนทาน ใชง านไดนาน คมุ คาเงิน ลกู คาจงึ มคี วามสุข ความพึงพอใจ แนะนําใหก ับผูอ่ืนดว ย 2. ความสาํ คัญของคุณภาพตอบุคคล ผูผลิตหรือผูใหบริการเม่ือทํางานอยางมีคุณภาพตรงกับความตองการหรือตรงกับ ขอกาํ หนดกจ็ ะทําใหลดการสญู เสีย ทง้ั เวลา วสั ดุ อุปกรณ และสามารถสรา งผลผลิต และความ ภาคภมู ิใจใหเกิดขนึ้ แกผ ผู ลติ ดวย 3. ความสําคญั ของคณุ ภาพตอองคก ร องคกรทุกองคกรมีเปาหมายสรางสรรคผลงานคุณภาพตามความตองการของลูกคา หุนสวน หรือองคกรที่เก่ียวของ เพ่ือใหบรรลุเปาหมาย คือ ผลกําไรที่พอเหมาะและความพึง พอใจของลูกคา ถาองคกรมีความมุงม่ันในเรื่องคุณภาพเพ่ือใหลูกคาไดรับส่ิงดี ๆ ลูกคาก็จะ พอใจและบอกตอ องคกรท่ีมคี ณุ ภาพจะตองสรา งคุณภาพใหเ กิดข้ึนตัง้ แตผลิตภัณฑจนถึงระบบ บริหารขององคก ร คณุ ภาพจงึ มีความสาํ คัญตอความสาํ เร็จขององคก ร 4. ความสาํ คญั ของคณุ ภาพตอ ประเทศ คุณภาพของคน คุณภาพของสินคา และคุณภาพขององคกรเปนส่ิงท่ีสําคัญ เร่ิมตน จากการทําธุรกิจดวยความซื่อสัตย มีคุณธรรมในการผลิต ย่ิงปจจุบันโลกใหความสําคัญกับ ระบบคุณภาพ สนิ คา ตอ งมีคุณภาพ

17 ผลติ ภณั ฑ ผลติ ภณั ฑ คอื สินคา บรกิ าร หรือความคดิ ทต่ี อบสนองความตอ งการผบู ริโภค โดยผานกระบวนการการตลาดจากผูผ ลิตหรอื ผูจ ําหนายไปยงั ผูใช สงิ่ ท่ตี อบสนองความตองการ ของผูบริโภค แบง ออกเปน 3 ระดับ คือ 1. แกน แทของสนิ คา คือ ประโยชนห รือคุณคา ทเ่ี กิดข้นึ กบั ผบู รโิ ภค 2. กายภาพของสินคา คอื ตัวตน หรือรปู ลักษณของสินคา 3. สว นเพิ่มของสินคา คอื คุณคาและประโยชนท ี่เสริมใหกับสนิ คา คณุ สมบัตทิ ่สี ําคญั ของผลิตภณั ฑ คณุ สมบัติทสี่ าํ คญั ของผลติ ภัณฑ ประกอบดว ย คณุ ภาพของสินคา ลักษณะรูปลักษณ ราคา ช่ือเสยี ง หรอื ยห่ี อ หรอื ตราสินคา การบรรจุภัณฑ การออกแบบผลิตภัณฑ การรับประกัน การใหบริการหลังการขาย วัตถุดิบท่ีมีคุณภาพ ความคงทน ความปลอดภัยในการใชงาน มาตรฐานของสินคา คุณคาของผลิตภัณฑ คุณคาตอจิตใจ คุณคาดานความสรางสรรค คุณคา ดา นภูมิปญ ญาทองถ่ิน เปน ตน ประเภทของผลติ ภณั ฑ สามารถแบงออกเปน 3 ประเภทใหญ ๆ ดังน้ี 1. ผลิตภัณฑบริโภค หมายถึง ผลิตภัณฑท่ีซ้ือโดยผูบริโภคคนสุดทายเพ่ือใชในการ บริโภคสว นบุคคล แบงเปน 4 ประเภท คอื 1.1 ผลิตภัณฑสะดวกซ้ือ มีลักษณะสําคัญ ดังนี้ ซ้ือบอย เปนสินคาท่ีราคาไมสูง ตัวอยางเชน สินคาท่ีใชในชีวิตประจําวัน เชน นํ้าตาล นํ้าปลา เกลือ ผงซักฟอก สบู ยาสีฟน เปนตน 1.2 ผลิตภัณฑเลือกซื้อ มีลักษณะสําคัญ ดังน้ี ซ้ือไมบอย เปนสินคาท่ีมีราคา คอนขางสูง มีการกระจายสินคาแบบเลือกสรร เชน เสื้อผา กระเปา รองเทา โทรศัพทมือถือ เปนตน 1.3 ผลติ ภณั ฑเจาะจงซื้อ มีลักษณะสําคัญ ดังน้ี เปนผลิตภัณฑท่ีมีราคาสูง มีการ เปรียบเทียบคุณสมบัติตางของผลิตภัณฑในแตละยี่หอนอย เชน รถเบนซ นาฬิกาโรเล็กซ เปน ตน 1.4 ผลิตภัณฑที่มีผูเสนอขาย มีลักษณะสําคัญ ดังนี้ ผูบริโภคมีความรูเกี่ยวกับ ผลิตภัณฑนอยผูเสนอขายตองใชวิธีการอธิบาย ตัวตอตัว หรือเปนกลุม เชน ประกันชีวิต ประกนั รถ เปน ตน

18 2. ผลิตภัณฑอุตสาหกรรม หมายถึง ผลิตภัณฑท่ีบุคคลหรือองคกรซื้อไปเพ่ือใชใน กระบวนการผลิตหรอื ในการทาํ ธุรกิจ แบงเปน 3 ประเภท คือ 1. วัสดุและช้ินสว นประกอบ แบงออกเปน 2 สวน คือ 1.1 วัตถุดบิ เปน สินคา ทีเ่ กดิ จากธรรมชาติ เชน มันสาํ ปะหลัง สบั ปะรด เปน ตน 1.2 วัสดแุ ละชิ้นสว นประกอบการผลิต ซงึ่ ผานการแปรรปู มาแลว เชน พลาสติก เหลก็ เสน 2. สินคาประเภททนุ แบงออกเปน 2 สว น คอื 2.1 ส่ิงตดิ ตัง้ ไดแก อาคารโรงงาน เครื่องจกั รขนาดใหญ เปน ตน 2.2 อุปกรณประกอบ ไดแก เคร่ืองมือและอุปกรณในโรงงานท่ีสามารถ เคลอ่ื นยา ยหรือพกพา เชน เคร่ืองคอมพวิ เตอร โตะ เกาอ้ี เปน ตน 3. วัสดุส้ินเปลืองวัสดุที่ใชในการบริการ เปนวัสดุอุปกรณที่ใชประกอบการ ดาํ เนนิ งาน หรือใชในการซอมแซม บํารุงรกั ษาอปุ กรณ เครอื่ งมอื อุปกรณอื่นซ่ึงมีอายุการใชงาน สน้ั ใชแลวหมดไป เชน ปากกา ดนิ สอ กระดาษ กาว เปนตน 3. การบรกิ าร หมายถงึ ผปู ระกอบการดําเนินกิจกรรมใหแกลูกคาเพ่ือใหลูกคาเกิด ความพงึ พอใจ และมีความสุขกาย สุขใจ มคี วามภาคภมู ใิ จ เชน รา นอาหาร รา นบริการตดั ผมรานบรกิ ารตัด เยบ็ เสื้อผา เปน ตน การจดั ทาํ แผนพัฒนาการผลติ หรือการบรกิ าร ในการจัดทาํ แผนพฒั นาการผลิตหรือการบรกิ ารน้ัน จะเร่ิมตน จาก 1. การกําหนดคุณภาพการผลติ หรือการบริการทต่ี องการ 2. การวิเคราะหปจจัยการผลิตหรือการบริการเพื่อใหทราบวาตองใช ปจจัยการผลิต อะไร หรืออยา งไรบาง และเรามีความพรอมหรอื ไม 3. การกําหนดเปาหมายการผลติ หรอื การบรกิ ารที่ตอ งการ 4. การกาํ หนดแผนกจิ กรรมการผลติ 5. การจดั ทาํ แผนการพฒั นาระบบการผลติ หรอื การบรกิ าร

19 เรือ่ งที่ 2 การวเิ คราะหทนุ ปจ จยั การผลติ หรือการบรกิ าร การผลิต หมายถึง สินคาสําเร็จรูปท่ีมาจากโรงงานอุตสาหกรรมอาจครอบคลุมถึง ธรุ กจิ การคาการคมนาคมขนสง โทรคมนาคมการทอ งเท่ียว ตน ทุนการผลิต หมายถงึ รายจา ยทีเ่ กิดขึ้นใหไ ดผลผลติ ในรปู แบบของสนิ คา หรือบรกิ าร เมื่อกําหนดคุณภาพของผลิตภัณฑหรือบริการแลว ผูผลิตหรือผูดําเนินการจะตอง วิเคราะหวาตองใชปจจัยอะไรบางในการผลิตหรือบริการ เพื่อใหเกิดการผลิตหรือการบริการ อยางมคี ณุ ภาพ ตัวอยางการวิเคราะหทนุ ปจจัยการผลิต ตวั อยา งการวิเคราะหก ารแปรรปู กระทอ นเปน กระทอนแกว ทุนปจ จัยการผลิต ขอ มูลการวิเคราะห 1. วตั ถดุ ิบ พนั ธกุ ระทอ นเหมาะกับการทาํ กระทอ นแกว - ผลกระทอ น กระทอ นแกไ ดขนาดทมี่ ีรสชาติของเปลอื กกระทอนเหมาะกบั การนํามา - นา้ํ ตาลทราย กวนได (ไมออนเกนิ ไป) - เกลอื มกี ระทอนในชมุ ชนมาก - พริก นํา้ ตาลทรายมปี รมิ าณเพียงพอทีจ่ ะเค่ียวในแตละครง้ั ไมตอ งว่งิ ไปซื้อ ครั้งละหอ เชนเดียวกับพรกิ และเกลือ 2. ทนุ เงิน มีกองทนุ มีแหลงเงินทุน มกี ารเขา หุน สว น หรอื ใชวิธีเลีย้ งตวั เอง โดย หมุนเวยี นเงินลงทุน เม่ือขายได เกบ็ สวนหนึ่งเปนเงินทนุ หมนุ เวยี นการ ลงทุน 3. ทุนความรู มีภมู ปิ ญญาดานการแปรรปู ผลไม ดานการกวน มผี ูรแู ละผสู รางสรรค การหอ การทาํ ถุงท่มี เี ร่ืองราวของกลุม เรื่องราวของกระทอ น 4. ทุนแรงงาน มแี รงงานผผู ลิตอยใู นชุมชน เปนสมาชิกของกลมุ ทมี่ เี วลามารว มการ ผลติ 5. ทุนทางสังคม มีความเปนเครือญาติ มกี ลุมตาง ๆ ในชมุ ชนทจ่ี ะเปน เครอื ขาย มีความ เปน มติ ร มีความชวยเหลือเกอ้ื กูลกนั สงเสรมิ สนับสนุนกัน

20 เมื่อวิเคราะหแลวพบวามีทุนปจจัยพรอมก็ดําเนินการ ถาไมพรอมตองรีบจัดหาให พรอ ม หรอื เมือ่ วิเคราะหแลว พบวาตอ งลงทนุ มากในการดําเนินการใหไดคุณภาพตามท่ีกําหนด กอ็ าจตอ งพิจารณาปรับเปลี่ยนวธิ ีการหรือปรับเปลย่ี นการกําหนดคณุ ภาพผลติ ภัณฑหรือบริการ ใหมใหเ หมาะสม นอกจากการวิเคราะหแยกแยะทุนปจจัยการผลิตออกมาใหชัดเจนในประเด็นตางๆ เหลานนั้ เราอาจแบงทนุ ปจจัยการผลติ ออกเปน 2 กลุม ใหญ ๆ คอื 1. ทนุ คงที่ เปนทุนที่เราใชไมวาเราจะผลิตสินคามากหรือนอยแคไหน เชน เงินลงทุนเริ่มแรก เพื่อนาํ มาใชซอ้ื อาคารสถานที่ 2. ทนุ แปรผนั หรอื ทุนหมนุ เวียน เปนทุนท่ีเราใชมากหรือนอยตามกิจกรรมการผลิตหรือการขาย เชน เงินที่ใชซ้ือ วตั ถุดิบคานายหนาการขาย หรอื เปนเงินท่ตี อ งใชห มุนเวยี นในการขาย การแยกพิจารณาทุนเปน 2 แบบนี้ จะไปเก่ียวโยงกับการจัดหาเงินมาลงทุนให เหมาะสม โดยทั่วไปผูประกอบการควรมีเงินลงทุนสําหรับทุนคงท่ี ในสวนของทุนผันแปรหรือ ทุนหมุนเวียนนั้น ถาเรากยู ืมมาเราจะตองมีความสามารถในการขายและการเก็บเงินใหตรงกับ รอบระยะเวลาการจายเงนิ รวมท้งั จะนําขอมูลไปใชในการคาํ นวณจุดคมุ ทนุ ดวย เรอื่ งท่ี 3 การกําหนดเปาหมายการผลติ หรอื การบรกิ าร การกําหนดเปา หมายการผลิต หมายถึง การกําหนดวาจะผลิตสินคาอะไร สินคาจะมี คณุ ภาพและปริมาณเทา ใดภายในระยะเวลาท่ีกําหนด การตั้งเปาหมายอาจมีการตั้งเปาหมาย เปน ระยะ ๆ เชน 3 เดือนแรก ระยะ 3 เดือนตอไป เพื่อใหสามารถดําเนินการและปรับตัวไดดี ซึ่งการต้ังเปาหมายการผลิตจะตอ งสอดคลอ งกับเปาหมายการตลาดทีต่ องการ เชน การวางแผน การผลิตมากหรือนอยเทาใดตองกําหนดใหชัดเจน และสอดคลองกับเปาหมายการตลาดและ แผนการขายที่วางไว ไมผลิตสินคาท่ีนอยเกินไปจนไมพอขายหรือผลิตมากเกินไปจนเหลือ กลายเปนสินคา เกา เกบ็

21 เปา หมายการตลาด กลยทุ ธสูเปา หมาย แผนการตลาด แสดงความสมั พนั ธของเปาหมายการตลาดและเปาหมายการผลติ เร่อื งที่ 4 การกําหนดแผนกจิ กรรมการผลติ ประโยชนข องการกําหนดแผนกิจกรรมการผลิต จะทําใหเกิดการผลิตอยางเปนระบบ เปน ข้ันเปนตอน สามารถควบคุมตนทุนการผลิตไดไมบานปลาย สามารถกําหนดปจจัยตาง ๆ ตอ งใช ซึ่งทาํ ใหสามารถกําหนดทุนตัวเงินไดวาจะตองเตรียมเงินลงทุนเทาไร เตรียมปจจัยการ ผลติ ตา ง ๆ เทา ไหรและเม่ือใด โดยทั่วไปในการผลิตสินคาและบริการ จะเร่ิมจากการวางแผนการผลิต ซ่ึงมี กระบวนการ คอื 1. กาํ หนดเปาหมายการผลติ ทต่ี อ งการ 2. วางแผนกจิ กรรมการผลติ 3. วางแผนการควบคุมกิจกรรมการผลิต ทั้งในเชิงตนทุนหรือคาใชจายคุณภาพและ ระยะเวลาทใ่ี ชใน การผลิต การวางแผนการผลิต ดําเนนิ การผลติ ควบคุมการผลติ แสดงความสมั พันธข องการวางแผนการผลิต การดาํ เนนิ การผลิต และการควบคุมการผลติ

22 เรือ่ งท่ี 5 การพฒั นาระบบการผลติ หรือการบรกิ าร การพัฒนาระบบการผลิตหรือการบริการ ตองเริ่มจากการวิเคราะหกระบวนการผลิต หรือการบริการเพ่ือใหเขาใจในขั้นตอนหรือกระบวนการท้ังหมด เพ่ือจะไดวิเคราะหความ เหมาะสมของกระบวนการ จุดแข็งและจุดออนของกระบวนการเพ่ือพัฒนากระบวนการหรือ ระบบการผลติ นัน้ ๆ ใหด ขี นึ้ การประเมนิ ระบบการผลิต เปนการประเมินจุดออน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรคของระบบการผลิตเพ่ือพัฒนา ระบบการผลติ ใหด ีข้ึน โดยพิจารณาใหครอบคลุมตามระบบการผลิตที่ไดเสนอไวคือปจจัยการ ผลิต กระบวนการผลิตและผลผลิต โดยจุดแข็งและจุดออนน้ันจะเกิดจากการวิเคราะห สภาพแวดลอมภายในของกจิ การในเรื่องการผลติ วา เรามีกระบวนการผลิตท่ีมีจุดแข็งในเร่ืองใด และเราตองพิจารณาจุดออนของการผลิตดวยวามีเรื่องอะไร สวนโอกาสและอุปสรรคจะเกิด จากการวิเคราะหสภาพแวดลอ มภายนอกกระบวนการผลติ ของเรา ตวั อยางการผลติ ชมพสู าแหรกกวนตองมกี ารประเมินองคป ระกอบของการผลติ ดงั น้ี ปจจัยการผลติ กระบวนการผลติ ผลผลติ - การตกลงเร่ืองราคาและ คุณภาพวัตถุดบิ - การตรวจสอบคณุ ภาพ - ตรวจสอบจาํ นวนและ - การประสานกบั ผูขาย วัตถดุ บิ ระหวา งการผลติ คุณภาพของผลผลิต - การตรวจสอบคุณภาพ - การตรวจสอบการผลติ ตาม วัตถุดิบ ขัน้ ตอน - ตรวจสอบการทําหนา ทขี่ อง ทีมงานการผลติ แสดงตัวอยางประกอบประเมนิ ระบบการผลิตชมพูสาแหรกกวน

23 เมอื่ วเิ คราะหกระบวนการผลติ ชมพสู าแหรกกวนแลวพบวามี จุดออ น ใชว ัตถุดิบมาก ใชเวลาผลิตนาน จุดแข็ง ทมี งานการผลิตมปี ระสบการณมาก โอกาส มหี นว ยงานของรฐั ใหข อมูลเรอื่ งการทดลองคนควาการกวนชมพูสาแหรก และใหความรเู ร่ืองการควบคุมคณุ ภาพ อปุ สรรค แหลง วัตถดุ ิบมีจํากัด จากผลการวเิ คราะหจะนําไปสกู ารพจิ ารณาแนวทางในการพฒั นากระบวนการผลิต การพัฒนากระบวนการผลติ ในการพัฒนากระบวนการผลิต เพ่ือใหร ะบบการผลิตเร็วข้ึน ตนทนุ การผลิตต่ําลง และ ผลิตสินคาไดมากขึ้นและไดคุณภาพมากข้ึน ในตัวอยางของการผลิตชมพูสาแหรกน้ัน อาจ พัฒนากระบวนการผลิตเองหรือไปขอความชวยเหลือจากผูเชี่ยวชาญการผลิต มาคอย ตรวจสอบใหค วามชว ยเหลือและใหความรู เชน 1. ดูแลเรือ่ งการปรงุ รสชาตจิ นไดมาตรฐาน 2. ดูแลเร่ืองความออนความแกของไฟในการกวน 3. ดูแลเพอื่ หาทางลดขน้ั ตอนหรือเวลาทีใ่ ชในการผลิตลง 4. ดแู ลเรือ่ งความสะอาดในการกวน ความปลอดภัยไมม สี ารปนเปอ น 5. การตรวจสอบมาตรฐานของผลผลิต คือคุณภาพผลผลิตท่ีไดมาตรฐานและการ บรรจุหีบหอ ทส่ี วยงาม และสะดวกในการบรโิ ภค

24 แบบฝก หัด ใหผูเรยี นตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. คุณภาพหมายถงึ อะไร ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 2. ใหยกตวั อยา งเปาหมายการผลติ มา 3 ขอ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. จงอธบิ ายความสาํ คญั ของแผนกจิ กรรมการผลิต ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

25 4. จงยกตวั อยา งการพัฒนากระบวนการผลติ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

26 บทที่ 4 การพฒั นาธรุ กจิ เชิงรุกเพ่อื พฒั นาอาชีพใหม ีอยมู ีกนิ เรอื่ งท่ี 1 ความจําเปนและคณุ คาของธรุ กิจเชิงรุก การทาํ ธรุ กิจเชงิ รุก หมายถงึ การทาํ ธุรกิจที่มุงใหเกิดการพัฒนาปรับปรุงเปล่ียนแปลง ไมหยุดอยูกับที่ผูประกอบธุรกิจจะตองติดตามขาวสารการเปล่ียนแปลงตาง ๆ ของ สภาพแวดลอม เชน ความตองการของลูกคาการเคล่ือนไหวตาง ๆ ของคูแขง และ ความกาวหนาทางเทคโนโลยีเพื่อนําขอมูลมาใชในการพัฒนา ปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงตัว สินคาและบริการใหทันสมัยตรงตามความตองการของลูกคาใหมากที่สุด ดังน้ันการประกอบ ธุรกิจจงึ มคี วามจาํ เปนตองดาํ เนนิ ธรุ กิจในเชงิ รกุ เพราะการธุรกิจเชิงรุกทําใหเกิดคุณคาและเกิด ประโยชนตอ ตวั ธุรกิจอยางยัง่ ยืน กลยุทธสงครามการตลาดเชิงรุก คือ กลยุทธทางการตลาดท่ีมีเปาหมายเพื่อบรรลุ เปา ประสงคบ างอยาง โดยทวั่ ไปจะเปนการชิงสวนแบงทางการตลาดจากคูแขงท่ีเปนเปาหมาย นอกจากสวนแบงการตลาดแลว กลยุทธการตลาดเชิงรุกยังมีจุดมุงหมายท่ีจะใหไดมาซ่ึงกลุม ลกู คา เปาหมายหลกั กลมุ ตลาดระดับบนและกลมุ ลกู คาที่มีความภักดีสูง ปจจยั สําคญั ปจจัยหลกั ของกลยุทธม ี 4 ขอ คือ 1. ประเมินจุดแข็งของคูแขงที่เปนเปาหมาย พิจารณาถึงความสนับสนุนที่จะไดจาก พนั ธมติ ร ของคแู ขง อนึ่ง ควรเลอื กเปา หมายเพยี งหนึง่ เดยี วในการจโู จม 2. คนหาจุดออ นในตาํ แหนง ของคแู ขง โจมตีไปยังจดุ นนั้ ควรพจิ ารณาดูวา การที่คูแขง เปาหมายจะไดรับแรงสนับสนุนเพ่ือกลับมาอยูในตําแหนงที่ไมไดเสียเปรียบอีกครั้งตองใช ระยะเวลาเทาไร 3. เปดฉากโจมตีใหลงไปในตาํ แหนงท่ีจําเพาะเจาะจงทส่ี ุดเทาทีจ่ ะเปนไปได เน่ืองจาก ธรรมชาตขิ องผูตง้ั รับจะตองตง้ั รบั ในทุกทศิ ทางท่ีอาจจะถกู โจมตจี ึงเปนขอไดเปรียบทางกลยุทธ ของผโู จมตีใหสามารถทมุ เทกาํ ลงั ไป ณ จุด ๆ เดียว 4. เปด ฉากการโจมตีใหเ ร็ว พลงั ของการโจมตีแบบไมค าดฝน ใหผ ลทีม่ ากกวาการโจมตี ดวยกําลงั มหาศาล

27 กลยทุ ธการตลาดเชิงรุก มี 3 รูปแบบ ดังน้ี 1. การโจมตีดานหนา เปนการโจมตีคูแขงแบบตาตอตา ฟนตอฟน เชน การแขงขัน ดานผลิตภัณฑกับคูแขงการแขงขันดานราคา การแขงขันดานการโฆษณาของคูแขง หรือการ แขงขันในอันดบั การตลาด 2. การจูโจมดา นขา ง เปนการโจมตจี ุดออ นของคูแขง โดยใชจุดแขง็ ท่ีตนเองมีอยูในทาง การตลาดกลยุทธในการจูโจมดานขางและการลอมคูแขง มักจะนํามาใชในการโจมตีจุดออน ทางการของคแู ขงที่เขาทาํ ไดไมดเี ทาทค่ี วร 3. ยุทธวธิ ีกระโดดขาม กลยุทธน้ีเปนการสลายกําลังคูตอสูไปพรอมกับความสามารถ ในการแขงขัน ซง่ึ หมายถึงการพัฒนาเทคโนโลยีใหม ๆ หรอื สรา งแบบจาํ ลองธุรกิจใหมๆ เปนกล ยุทธแ หง การปฏิวัตทิ ฝี่ า ยรกุ จะเปนผูเ ขียนกฎในการแขงขันขึ้นใหม กลยุทธนี้จะมีประสิทธิภาพ มาก หากมีการดําเนนิ การอยางเปนรูปธรรม แนวทางการพฒั นาธรุ กิจเชงิ รกุ แนวทางการพฒั นาธุรกจิ ในเชิงรกุ ประกอบดว ย 1. ผูประกอบอาชพี ตองคิดพฒั นาปรบั ปรุงการทํางานของตนอยูตลอดเวลาไมหยุดอยู กับที่ การคดิ ไมจ ําเปนตองเปน เรื่องใหญเปน เรื่องเลก็ ๆ กอใหเ กดิ ประโยชนได 2. ผูประกอบอาชีพตองคิดพัฒนาสรางสรรค สรางมุมมองใหม ๆ นวัตกรรมตาง ๆ เพอื่ สรา งความแตกตา งสรา งคุณคา ใหม ๆ ใหเกิดแกกจิ การและลกู คา 3. ตองศึกษาคนควาความรูใหม ๆ รวมท้ังติดตามขาวสารการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ที่เกิดข้ึนเพื่อใหส ินคาและบรกิ ารมีความทันสมยั 4. ตองศึกษาเปรียบเทยี บกับคูแ ขงขันอยูเสมอเพ่ือยกระดับสินคาและบริการใหดีกวา คแู ขง ขันและตอบสนองความตอ งการของลูกคา ไดดีกวา เรือ่ งท่ี 2 การแทรกความนยิ มเขาสคู วามตองการของผูบรโิ ภค ความสําคัญของเร่ืองความตองการขอผูบริโภค ในการวางแผนการขายสินคาหรือ บริการใด ๆ ผูบริหารจะตองมีขอมูลมาประกอบการตัดสินใจ ขอมูลเกี่ยวกับผูบริโภคจะถูก นํามาใชในการวิเคราะหแ ละการวางแผนทางการตลาด เหตุท่ีนักการตลาดจําเปนตองใหความ สนใจเกี่ยวกับกลุมผูบริโภคและความตองการของผูบริโภคก็เพราะวาผูผลิตสวนใหญจะผลิต สินคาท่ีคลายคลึงกัน และขายใหกับกลุมผูบริโภคกลุมเดียวกัน การกําหนดรูปแบบผลิตภัณฑ

28 และตรายี่หอ โดยยึดถือความตองการของผูบริโภคจะเปนเครื่องชวยใหผูบริโภคตัดสินใจได งายขนึ้ นักบริหารการตลาดทราบกันดีอยูแลววาผูบริโภคทุกคนไมเหมือนกันแตละคนจะมี บางอยางแตกตางกันไปจากผูบรโิ ภคอ่ืน ๆ ซึ่งจะเห็นไดชัดเจนยิ่งข้ึนเมื่อมีความปรารถนาในแง ของความตองการของผูบริโภค ดังนั้นนักบริหารการตลาดตองมีความเขาใจถึงโครงสรางความ ตอ งการของผูบริโภค ซึ่งจะชี้ใหเ หน็ วาความตอ งการนั้นจะเกดิ ขนึ้ จากอะไร ความตอ งการของผบู รโิ ภคจาํ แนกออกเปน 2 ประเภท โดยกวาง ๆ คือ 1. ความตองการทางดา นรา งกาย เชน ความหวิ กระหาย การนอน ความอบอุน เปน ตน 2. ความตองการทางดานอารมณหรือดานจิตวิทยา เชน ความปลอดภัย ความรัก การยอมรบั ความพอใจในความงาม เปน ตน การบรหิ ารการตลาดตองเขาใจลึกถึงรายละเอียด ของความตอ งการทงั้ สองประเภทดังกลา ว เพื่อเอามาเปน จดุ ขายในการขายสินคา และเปนสวน หนึ่งในการโฆษณา การแทรกความนิยมเขา สูความตอ งการของผูบริโภคเปนสิ่งจําเปนเพ่ือใหผูบริโภคเกิด ความตองการในการบรกิ ารสินคา แนวทางในการแทรกความนิยมเขาสคู วามตองการของผบู ริโภค คือ 1. การติดตามและวิเคราะหความตองการของลูกคาและกระแสการเปล่ียนแปลง ตา ง ๆ ท่ีเกิดข้ึน เชนกระแสของการรักษาสภาพแวดลอม การแสดงความรับผิดชอบตอสังคม และการใสใจสุขภาพ เพื่อการนําขอมูลตางไปใชในการปรับปรุงสินคาและบริการใหตรงกับ ความตอ งการ 2. การใชกลยุทธก ารตลาดเปน เคร่ืองมือในการแทรกความนิยม ประกอบดวย 2.1 กลยทุ ธผลติ ภณั ฑ 2.1.1 สินคาของเราตองปรับปรุงเปลี่ยนแปลงใหตรงกับความตองการของ ลกู คา และกระแสการเปล่ียนแปลงดังทกี่ ลา วมาแลวในขอ 1 2.1.2 ชอื่ ยหี่ อ ตอ งตง้ั ชือ่ ยหี่ อ ใหนาสนใจ และดึงดดู ใจลูกคาใหจ ดจาํ ได 2.1.3 คุณภาพสินคาตองมีคณุ ภาพ เหมาะสมกบั ราคา การจัดทําบรรจุภัณฑที่ สวยงาม

29 2.2 กลยทุ ธร าคา ราคาจูงใจ ควรต้ังราคาท่ีใกลเคียงกับราคาคูแขงขัน ไมตองต้ังราคาใหสูงกวา หรือต่ํากวา แตสินคาเราตองมีคุณภาพหรือคุณสมบัติอ่ืนที่ดีกวาหรือตั้งราคาใหลูกคารูสึกวา ราคาถกู 2.3 กลยทุ ธชองทางการจาํ หนาย ชอ งทางการจําหนาย ลูกคาตองพบเห็นหรือเขาถึงสินคาที่ตองการไดงาย ใน ชองทางที่เหมาะสมและเปนที่นิยม เชน รานคาแบบทันสมัย (Modern Trade) หรือรานที่มี การตกแตง สวยงามนา ชม 2.4 กลยทุ ธก ารโฆษณาและสง เสรมิ การขาย 2.4.1 กลยุทธการโฆษณา ตองมีการโฆษณาเนนยํ้าตัวสินคาและบริการ เชน ทาํ แผน พบั ปา ยโฆษณา โดยมีขอ ความและรูปภาพทีส่ วยงาม นา สนใจ หรือจูงใจอยากซ้ือและใช สนิ คา 2.4.2 กลยุทธการสงเสริมการขาย เชน การใหทดลองชิม การแจกตัวอยาง สินคา จดั การขายเปนชุด เรอื่ งท่ี 3 การสรา งรปู ลกั ษณค ณุ ภาพสินคา ใหม รูปลักษณหรือภาพลักษณ หมายถึง ภาพที่ปรากฏใหเห็นวาส่ิงน้ันเปนอยางไร โดยท่ัวไปเราตองการใหเห็นภาพลักษณท่ีดี ที่นาพึงพอใจหรือนาประทับใจ ซึ่งภาพลักษณที่ดี นัน้ ควรจะตอ งตรงกับขอเทจ็ จริงดว ยมใิ ชเปน ภาพท่ีสรางขึ้นเทา น้นั การสรางรูปลักษณหรือภาพลักษณนั้น นิยมใชการตั้งช่ือและตราย่ีหอที่นาสนใจ รวมท้งั มีการโฆษณาประชาสมั พนั ธเ พื่อเนน ยํา้ ภาพลักษณใหมท ตี่ อ งการ รปู แบบที่มคี วามนยิ มในการนําเสนอเพือ่ ใหต ลาดเกดิ ความรูจ ักและนยิ ม ดงั นี้ 1. การจัดฉากต้ังวางสินคา เสมือนสินคายี่หอนั้นเปนหนึ่งในขาวของเคร่ืองใชในบาน หรือท่ที ํางานของตัวละครในเร่ือง หรืออาจจัดฉากใหตัวละคร เปดรานซูเปอรมารเก็ต และนํา สินคาตาง ๆ มาตงั้ โชวในราน เปนตน 2. การผกู สนิ คาไวกบั บทสนทนาของตวั ละครและโครงเรื่องบอยคร้งั จะเห็นตัวละครมี บทสนทนาเกยี่ วกับสินคา

30 3. การแฝงดวยภาพกราฟก ปายโฆษณาขนาดใหญขณะเปลี่ยนฉากเม่ือตองการบอก วาฉากตอไป เหตุการณจะเกิดขึ้นที่ใดก็จะใชสถานท่ีเปนสัญลักษณ เชน อาคาร ปายรถเมล รานอาหาร โดยสถานท่ีท่ีวานี้จะมีปายโฆษณาขนาดใหญติดอยูดวยคลายกับที่เราเห็นไดท่ัวไป เวลาขับรถ แตจ ะใชเ ปนภาพกราฟก ตัดตอใหเหมอื นกบั วา มีการโฆษณาน้ีติดอยูท่ีน่นั จรงิ ซ่ึงผูชม ก็จะไมรสู กึ ขดั ใจเพราะรูสกึ เพลดิ เพลิน กับละครมากกวา 4. การทแ่ี บรนดตาง ๆ ลงทนุ เปนผูผลติ รายการโทรทัศนเองถือเปนอีกหน่ึงพัฒนาการ ของการโฆษณาประชาสัมพนั ธซ่ึงไดทั้งการรับรูในเร่ืองของตวั สินคา และการรับรูใ นเรื่องของแบ รนด โดยการนําสินคาหรือแบรนดเขาไปผูกไวกับทุกองคประกอบของรายการ หรือท่ีเรียกวา Branded Content แนวทางการสรางรูปลกั ษณค ุณภาพสินคาใหม การสรา งรปู ลักษณส นิ คา ใหมน น้ั โดยทัว่ ไปจะเร่ิมจาก 1. ตรวจสอบคุณภาพสินคาของเราวามีขอดี หรือจุดเดนในเร่ืองอะไร เพื่อจะไดนํา ขอ มูลน้มี าสรางภาพลกั ษณ ถา คุณภาพหรือรูปลกั ษณเ ดิมของเราไมชัดเจน หรอื ยังไมดีพอก็ตอง แกไ ขปรบั ปรุงใหดี 2. นําขอมูลทางดานคุณภาพท่ีดีน้ันมาใชในการสรางรูปลักษณหรือภาพลักษณของ สนิ คา เชน กําหนดรูปลกั ษณหรือภาพลกั ษณข องสินคา เชน กําหนดรูปลักษณหรือภาพลักษณ ในเรื่องความใหมสดของสินคาหรอการมีรสชาติอรอยนุมนวล หรือการมีประสิทธิภาพการใช งานดี เชน นํา้ มนั นวดสมนุ ไพร เปน ตน 3. ควรมีการต้ังชื่อสินคา และตราย่ีหอดวย โดยการต้ังชื่อนั้นควรใชช่ือท่ีสุภาพ เหมาะสม สน้ั กะทัดรัดเพอ่ื ใหจดจําไดง า ยและอาจสอ่ื ใหเหน็ คณุ ภาพ หรอื จดุ ขายท่ีตองการ เชน ยาทัมใจ ยาปวดหาย เปนตน สําหรับตรายี่หอนั้นก็ควรออกแบบใหสอดคลองกับชื่อย่ีหอ ออกแบบใหส วยงามนา รักและมีความหมายท่ีดี 4. ทาํ การโฆษณาประชาสัมพนั ธภ าพลกั ษณค ุณภาพสินคา ใหมน ีอ้ อกไป โดยใชสอ่ื และ วิธีการตาง ๆ เชน ทําแผนปายโฆษณาประชาสัมพันธภาพลักษณคุณภาพสินคาใหมนี้ออกไป โดยใชสื่อและวิธีการตาง ๆ เชน ทําแผนปายโฆษณาประชาสัมพันธหนารานและสถานที่ท่ี เหมาะสม แจกแผน พบั หรอื ฝากขาวประชาสัมพันธ หรือแจกสินคาตัวอยางใหทดลอง เปนตน ทงั้ นเ้ี พือ่ เปน การเนน ยํ้าภาพลกั ษณท่ตี อ งการเปน สาํ คัญ 5. เพ่ิมประสทิ ธภิ าพการผลติ และลดตน ทุนใหต ่าํ ลง เชน ควบคุมของเสียจากการผลิต พยายามลดตน ทุนการผลิต เปน ตน

31 เรือ่ งที่ 4 การพฒั นาอาชพี ใหม ีความม่ันคง ความพออยู พอกิน มรี ายได ความหมายของการพออยูพอกินมคี วามสมั พนั ธไปกับความสมดุลระหวางรายได และ รายจา ย การมีรายไดแ ละการออม รายได หมายถึง ผลตอบแทนท่ีกิจการไดรับจากการขายสินคาหรือบริการตามปกติ ของกิจการรวมท้ังผลตอบแทนอ่ืน ๆ ที่ไดเกิดจากการดําเนินงานตามปกติ รายไดแบงออกเปน 2 ประเภท ดงั นี้ 1. รายไดจ ากการขาย (Sales) หมายถงึ รายไดท เี่ กดิ จากการขายสินคาหรือบริการอัน เปน รายไดจากการดาํ เนินงานตามปกติ 2. รายไดอื่น (Other incomes) หมายถึง รายไดท่ีมิไดเกิดจากการดําเนินงาน ตามปกตขิ องกิจการซงึ่ เปน รายไดท ไี่ มใชร ายไดจ ากการขายสินคา หรอื บรกิ ารนนั่ เอง การออม คือ รายไดเม่อื หกั รายจา ยแลว มีสวนซ่ึงเหลอื อยู สว นของรายไดที่เหลืออยูซึ่ง ไมไดใชสอยออกไป เรียกวาเงินออม โดยทั่วไปการออมจะเกิดขึ้นก็ตอเม่ือบุคคลน้ันมีรายได มากกวา รายจา ยของเขา ความสาํ คญั ของเงินออม เงนิ ออมเปน ปจจัยที่จะทําใหเปาหมายซึ่งบุคคลกําหนดไวใน อนาคตบรรลุจุดประสงค เชน กําหนดเปาหมายไววาตองมีบานเปนของตนเองในอนาคตใหได เงนิ ออมจะเปน ปจ จยั สําคญั ที่จะกําหนดเปาหมายที่วางไวเปนจริงขึ้นมาได ส่ิงจูงใจในการออม คือ การท่คี นเรามีเปาหมายอยา งหนึ่งอยางใดในอนาคตกําหนดไวชัดเจนแนนอนก็จะทําใหเกิด ความกระตือรือรน ที่จะเกบ็ ออมมากข้ึน การลงทุน คือ การนําเงินที่สะสมไวไปสรางผลตอบแทนท่ีสูงกวาการออม โดยการ ลงทุนในพนั ธบตั รรฐั บาล หรือหลกั ทรพั ยตาง ๆ ซึ่งจะมคี วามเส่ยี งทีส่ ูงข้ึน

32 แบบฝก หัด ใหผ เู รยี นตอบคําถามตอ ไปน้ี 1. จงอธบิ ายความจําเปนและคุณคา ของธุรกิจเชิงรุก ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. จงยกตวั อยางแนวทางการแทรกความนิยมเขาสูความตองการของผูบริโภคโดยใช กลยุทธการตลาดเปนเครือ่ งมอื ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... 3. จงอธบิ ายแนวทางการสรา งรูปลักษณค ณุ ภาพสินคา ใหมใหทราบพอสังเขป ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

33 4. จงอธบิ ายแนวทางการพัฒนาอาชพี ใหมอี ยมู กี นิ ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ...................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................

34 บทท่ี 5 โครงการพัฒนาอาชพี ใหมอี ยูมกี นิ เรื่องที่ 1 การวิเคราะหค วามเปน ไปไดข องแผนตาง ๆ แนวคิดของการจดั ทาํ แผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติการ คือ เครื่องคํ้าประกันวาเปาหมายในการทํางานในแตละปมีโอกาส บรรลุเปาหมายตามทกี่ ําหนดไว วตั ถปุ ระสงคของการจัดทําแผนปฏบิ ตั กิ าร 1. เพอ่ื ใหมน่ั ใจวามีแนวทางในการสรา งความสาํ เรจ็ ใหกับเปาหมายทก่ี ําหนดไวไ ด 2. เพอ่ื ปองกันและลดความเสี่ยงท่ีอาจเกดิ ข้ึนในการทาํ งานไวล วงหนา 3. เพื่อลดความขัดแยง ในการทาํ งานทีต่ อ งเกย่ี วขอ งกับหลายหนวยงาน 4. เพอ่ื ลดความผดิ พลาดและความซํ้าซอ นในการทํางาน 5. เพื่อจัดลําดับความสําคญั และเรงดวนของการทํางานไวลว งหนา 6. เพ่ือใชในการมอบหมายงานใหกับผูปฏิบัติท่ีเก่ียวของไดอยางมีประสิทธิภาพมาก ยิง่ ข้ึนเพราะทกุ คนจะทราบวา ใครจะทาํ อะไร เม่ือไร อยางไร 7. เพอ่ื ใชใ นการกาํ หนดงบประมาณคา ใชจ ายประจาํ ป 8. เพ่ือใหแผนทีว่ างไวม ีความเปนไปไดและใกลเ คียงกบั การที่จะปฏิบัติจริงใหมากที่สุด ความหมายของการวางแผน การวางแผน เปน การใชความคิดมองจนิ ตนาการ เตรยี มวธิ ีการตาง ๆ เพ่ือคัดเลือกทาง ท่ีดีทส่ี ดุ ทางหนึง่ กาํ หนดเปาหมายและวางกาํ หนดการกระทาํ น้ัน เพ่ือใหสําเร็จตามจุดประสงค ที่วางไว ประโยชนของการวางแผน 1. ชวยใหม กี ารตดั สนิ ใจอยางมหี ลกั เกณฑ 2. การวางแผนเปนศนู ยกลางประสานงาน ทาํ ใหทุกสว นงานมีความสอดคลองกัน 3. การวางแผนทําใหการปฏิบัติงานเปนไปโดยประหยัด มีประสิทธิภาพ และ ประสทิ ธิผล

35 4. การวางแผนเปนเคร่อื งมือในการควบคมุ งาน เพื่อการติดตามผลและตรวจสอบการ ปฏบิ ัติงาน ประเภทของแผน มี 4 ประเภท ดงั นี้ 1. แผนพัฒนาระยะยาว (10-20 ป) กําหนดเคาโครงกวาง ๆ ในทิศทางที่จะพัฒนาไป อยา งไร 2. แผนพัฒนาระยะกลาง (4-6 ป) โดยคาดคะเนวาในชวงระยะเวลาดังกลาว จะทํา อะไรบา ง จะมโี ครงการพัฒนาอะไร จะใชง บประมาณและทรัพยากรมากนอ ยเพยี งไร 3. แผนพฒั นาประจําป (1 ป) ความจริงแผนนี้มีอยูในแผนระยะกลางอยูแลวแตเปนการ ทําไวลวงหนาหลายป ขอมูลและความตองการอาจไมสอดคลองกับปจจุบัน จึงตองจัดทํา แผนพฒั นาประจาํ ปข ึ้น เพอ่ื ขอตั้งงบประมาณประจําป 4. แผนปฏิบัติการประจําป (1ป) งบประมาณประจําปมักมีการตัดทอนงบประมาณ ออกตามความเหมาะสม จากกระทรวง ทบวง กรม จึงจําเปนตองปรับแผนปฏิบัติการประจําป เพ่ือใหสอดคลองกับเงินงบประมาณท่ีไดรับอนุมัติ ซึ่งเรียก แผนปฏิบัติการประจําป เพื่อเปน การสรา งความเขาใจในสถานการณที่เปนอยู ท้ังแผนการผลิตของเราวาเปนอยางไรเหมาะสม แลวหรือไม แผนงานดานการตลาดของเราเปนอยางไร มีความชัดเจนเหมาะสมแลวหรือไม เพอื่ ทจ่ี ะนําขอมูลไปใชในการวางแผนโครงการพฒั นาอาชีพของเราตอไป การวางแผนมีความสําคัญเปนอยางย่ิง ในการทํากิจกรรมใด ๆ ก็ตามควรมีการ วางแผนอยางมรี ะบบ เพอ่ื ลดขอผดิ พลาดในการทาํ งานหรือปองกันปญ หาบางอยา งไมใหเกดิ ข้นึ การวเิ คราะหความเปนไปไดข องการปฏบิ ัติตามแผน ทกุ ครัง้ ท่ีจะดําเนินกิจการใดในเรอ่ื งทีเ่ กย่ี วกับตวั เราตอ งนําหลักการคิดเปนมาเปนฐาน การคิดเสมอ คือ 1. วิเคราะหค วามพรอ มของตนเอง - เกงอะไร - ชอบอะไร - ถนัดอะไร - มคี วามรอู ะไร - จดั การเวลาไดข นาดไหน - มีงบประมาณเทาไหร 2. วเิ คราะหค วามพรอ มของปจจยั ทีม่ คี วามสัมพนั ธกับอาชพี

36 หากตองการจะประกอบอาชีพภายในชุมชน เชน เปดรานกวยเต๋ียวหมูมะนาวใน ชุมชน ก็ตอ งวเิ คราะหความพรอ มในหลาย ๆ ดา น ดังนี้ - วตั ถดุ บิ ในชุมชน - ตลาดผูบริโภค - แรงงานในชมุ ชน - สถานประกอบการ - เคร่อื งมืออุปกรณ - ชอ งทางการส่อื สารในชุมชน เมอื่ วเิ คราะหแลว พบวา ปจ จยั ตาง ๆ ในชุมชนมีความพรอมมาก การวางแผนก็เปน การวางแนวเชงิ รกุ คือ ประชาสมั พันธ ผลติ ตามทมี่ ีผสู ั่งจอง ผลิตไปจําหนา ยตลาดนัด รานคาใน ชมุ ชน แตถา ปจ จยั เหลานั้นไมพรอ ม การวางแผนจะตอ งเปน แผนงานพัฒนาปจจัยเหลานั้นใหมี ความพรอมไปดวยกนั เรือ่ งท่ี 2 การเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพ ข้นั ตอนการเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพใหม ีอยูมกี นิ 1. ช่อื โครงการ ควรกาํ หนดชื่อโครงการใหช ดั เจน 2. หลักการและเหตุผล กลาวถึงความสําคัญของโครงการพัฒนาอาชีพ หรือแนวคิด สําคัญทต่ี องการใหเกิดการพฒั นาอาชีพ 3. วัตถุประสงค ควรกําหนดช่ือโครงการใหชัดเจน วาโครงการมีวัตถุประสงคท่ี ตองการคอื อะไร จะมีหลายวัตถุประสงคก ็ได การกาํ หนดวัตถปุ ระสงคของโครงการจะทําใหเรา สามารถกําหนดรายละเอยี ดตาง ๆ ได 4. วิธีดาํ เนนิ งาน กาํ หนดรายละเอียด ข้ันตอนการดําเนินงานอยางละเอียด ต้ังแตเริม จนส้ินสดุ โครงการ ประกอบดว ยกิจกรรม ระยะเวลา ผูรับผิดชอบในแตละกิจกรรม ทรัพยากร ทใ่ี ช เปน ตน 5. ระยะเวลา กาํ หนดระยะเวลาตั้งแตเ ร่ิมตน จนส้ินสุดการดําเนินงาน 6. สถานท่ีดําเนินงาน กาํ หนดสถานทแ่ี ละพืน้ ทีใ่ นการดําเนนิ งานโครงการ 7. งบประมาณ เปน การจัดทาํ รายละเอียดคาใชจ ายในการดาํ เนินงานการจดั ซื้อ จัดหา วสั ดุอปุ กรณ เครอ่ื งมอื เคร่ืองจกั รใหชัดเจน เปนตน

37 8. ผลที่คาดวาจะไดรับ หรือประโยชนท่ีไดจากการดําเนินโครงการ โดยการระบุผล ไดร ับโดยตรง ใหส อดคลอ งกบั วัตถุประสงคห รือเปาหมายท่กี ําหนดไว ประโยชนของการเขยี นโครงการพฒั นาอาชีพใหมีอยูมีกิน การเขียนโครงการพัฒนาอาชีพ มีประโยชนกับผูเรยี นอยู 2 ประเภทใหญ ๆ คือ 1. เพอ่ื ใหม ีแผนการพฒั นาอาชีพใหม อี ยูม ีกินของตนอยางมีจุดหมายปลายทาง ท่ชี ัดเจน มกี ารคิดข้ันตอนการดําเนินงานอยางเปนระบบ เปนข้ัน เปน ตอน 2. เพ่ือมีโครงการท่ีชัดเจนและเปนทางการเพื่อใชเสนอหนวยงานตาง ๆ ที่ใหการ สนบั สนนุ ไดพ ิจารณารายละเอียดไดอ ยางชดั เจน การจะเขียนโครงการไดนัน้ ผูเ รยี นตอ งตัดสินใจแลววาจะพฒั นาอาชพี อะไร เปนอาชีพ ท่ีไดปฏิบัติจริง มีความหมายจริงกับชีวิต เปนเรื่องที่ตอบโจทยปญหาของอาชีพได การเขียน โครงการตองมีแนวโนมที่จะทําใหประสบความสําเร็จ ถาดําเนินการใหเกิดความสําเร็จไดใน ชวงเวลาสั้น ๆ หรอื เหน็ ผลในระยะส้ันไดกอน จะทําใหผูเรียนเกิดกําลังใจในการที่จะปฏิบัติตน เพ่ือบรรลุผลการพัฒนาอาชีพ สรางฐานอาชีพใหมั่นคง และตอยอดเร่ือยไปอยางมีความ สมเหตสุ มผล ประหยัด พอประมาณ มีภูมิคุมกัน เพราะผูเรียนคนควาหาความรูและมีจิตใจใฝ คณุ ธรรม เรื่องที่ 3 การตรวจสอบความเปนไปไดข องโครงการ การตรวจสอบความเปนไปไดข องโครงการพัฒนาอาชพี นน้ั อาจแบงไดเ ปน 2 สว น สว นท่ี 1 เปนการวเิ คราะหความเปน ไปไดของโครงการ 1. การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพในแงการผลิตวาเราจะ สามารถพฒั นาผลิตภัณฑใหมคี ุณภาพมากข้ึน และผลิตไดมากข้ึนหรอื ไม 2. การตรวจสอบความเปนไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพในแงการตลาด วาเราจะ สามารถสรา งยอดขายเพม่ิ ไดหรอื ไม จะมลี ูกคาเพม่ิ ขึ้นหรอื ไม ลกู คาจะย่ังยืนยาวนานแคไหน จะ ทาํ อยางไรใหลูกคาซอ้ื มากข้นึ หรอื มลี ูกคา ใหม ๆ เกิดขน้ึ 3. การตรวจสอบความเปน ไปไดข องโครงการพัฒนาอาชีพในแงการเงินวาอาชีพที่เรา พัฒนาปรบั ปรุงน้ีทําใหเรามีผลกาํ ไรทีเ่ ปน ตวั เงนิ มากข้นึ มเี งินหมุนเวียนดีขึน้ หรือมีคาใชจา ย ตา ง ๆ ลดลงหรือไม

38 สวนที่ 2 เปนการวิเคราะหความเสยี่ งของโครงการ เปน การวิเคราะหเ พื่อใหทราบวาโครงการนมี้ ปี จจัยเส่ียงในเรอ่ื งใดบา งและมีโอกาสเกิด ความเส่ยี งนัน้ มากนอยแคไหน เชน ความเสี่ยงจากสภาพดินฟา อากาศ ความเสี่ยงในการขาด แคลนวัตถดุ บิ ความเส่ยี งจากความผนั ผวนในการขายสินคา ที่เปนฤดกู าล เปนตน เร่ืองที่ 4 การปรบั ปรุงแกไขโครงการพฒั นาอาชพี จากการตรวจสอบความเปน ไปไดของโครงการพัฒนาอาชีพในประเด็นตาง ๆ แลวถา พบวา มีปญหาหรือจดุ ออนในเร่ืองใด เรากจ็ ะไดน ํามาแกไขปรับปรุงโครงการของเราใหเมาะสม หรอื เม่ือดําเนินโครงการพัฒนาอาชีพไปแลวอาจพบวามีปญหาหรือมีจุดออน เราก็ดําเนินการ แกไขใหเ หมาะสม ประโยชนของการปรบั ปรงุ แกไขโครงการพฒั นาอาชีพ การปรับปรุงแกไขโครงการมีความสําคัญตอความสําเร็จของโครงการพัฒนาอาชีพ ดังนี้ 1. ในการจดั ทาํ แผนโครงการพฒั นาอาชีพนนั้ เม่ือนํามาตรวจสอบความเปนไปไดของ แผน หรือเมื่อนําแผนมาปฏิบัติก็อาจพบปญหาและอุปสรรค จึงตองดําเนินการแกไขปรับปรุง แผนนั้น หรอื ปรับปรุงแกไ ขปญหาทเี่ กดิ ข้นึ ในเรือ่ งใด ๆ ก็ตาม จึงจะทําใหการดําเนินงานบรรลุ ตามแผนโครงการทวี่ างไว 2. การปรับปรุงแกไขโครงการจะทําใหเราไดรับขอมูลและแนวทางท่ีเปนประโยชนท่ี จะนําไปในการวางแผนโครงการในครงั้ ตอ ๆ ไปไดอยางเหมาะสม 3. การปรับปรุงแกไขโครงการ จะทําใหเราไมเสียทรัพยากรท่ีไดใชไปแลว เพราะเรา ไมไดปลอยใหดําเนินโครงการตอไปน้ีโดยไมไดทําอะไร ซ่ึงจะทําใหอาชีพน้ัน ๆ ไมประสบ ความสําเรจ็ หรอื เกิดความเสียหาย

39 เรื่องที่ 5 การประเมินเมือ่ สิน้ สดุ โครงการ การประเมนิ โครงการจะตอ งดําเนนิ การอยา งตอ เนอ่ื งเปนระบบ เพ่ือนําขอมูลท่ีไดจาก การประเมินมาใชใ นการตดั สนิ ใจ ปรับปรุงและพัฒนาโครงการใหมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน ซึ่งเปน การประเมินท่ีจะตอบคําถามไดวาผลโครงการบรรลุตามวัตถุประสงคของโครงการหรือไม เกิดผลกระทบอะไรกับโครงการบาง เพื่อนําขอมูลมาใชในการตัดสินใจวาจะดําเนินโครงการน้ี ตอไปหรือปรับปรงุ ใหดยี ิง่ ขึน้ หรอื ลมเลิกโครงการ

40 แบบฝก หดั ใหผ ูเรยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. เพราะเหตุใดจึงตองมีการเขียนแผนงานดานตาง ๆ กอนการเขียนโครงการพัฒนา อาชพี …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………............. 2. ใหผูเรียนบอกประโยชนของการเขียนโครงการพัฒนาอาชีพใหมีอยูมีกิน มาพอ เขาใจ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………..................... 3. การตรวจสอบความเปนไปไดข องโครงการแบงออกเปน กส่ี วน อะไรบา ง …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………......................................

41 4. ใหผ ูเรยี นอธบิ ายประโยชนของการปรบั ปรุงแกไขโครงการมาพอเขาใจ …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………

42 เฉลยแบบฝกหดั บทท่ี 1 1. ศักยภาพของธุรกิจ หมายถึง ความสามารถของการผลิต การคาขาย การบริการ ของธุรกิจที่ยงั ไมไ ดพ ฒั นาใหเ กิดประสิทธิภาพ หรือคุณภาพสูงสุด จึงตองมีการพัฒนาใหสูงขึ้น โดยมผี ูประกอบการท่ีมีความสามารถมาทําการพัฒนาศักยภาพของธรุ กิจใหเกิดขน้ึ 2. ปจ จัยนําเขา กระบวนการประกอบการ ปจ จยั สงออก 3. การวิเคราะหศกั ยภาพธรุ กิจตามศกั ยภาพ 5 ดาน ไดแก 1) เวลา ทาํ ใหเกดิ การมากอ น มาหลัง ที่จะมีโอกาสลองใจลูกคาไดกอน ตองเสนอ สนิ คาท่ไี มต รงตามความตองการของลูกคา เราจะขาดทนุ 2) เวลาจะทําใหผูประกอบอาชีพมีประสบการณเพ่ิมมากข้ึน มีความรูความ เชีย่ วชาญมากข้นึ 3) เวลาเปลีย่ นแปลงไป สภาพแวดลอมของธรุ กจิ ก็จะเปล่ยี นแปลงไปดว ย 4) เวลาที่ผานไปจะทําใหธุรกิจมีคูแขงขันมากข้ึน โดยเฉพาะคูแขงท่ีชอบ ลอกเลียนแบบ 5) ผูประกอบการตองใชขอมูลในอดีตที่เกิดข้ึนและขอมูลในปจจุบันใหเปน ประโยชนที่สุด โดยนํามาทาํ การวเิ คราะหเ พื่อใหเ ขา ใจสงิ่ ทีเ่ กิดขึ้นท้ังขอมูลภายในและภายนอก กิจการ บทท่ี 2 1. ตลาด คือ สถานทที่ ่เี ปน ชมุ ชนหรือเปนทชี่ มุ นุมเพื่อซอื้ และขายสินคาหรือเปนแหลง แลกเปลยี่ นขอมลู ขาวสารตาง ๆ ของคนในชุมชนนัน้ ๆ 2. การตลาด คือ การกระทํากิจกรรมตางๆในทางธุรกิจซึ่งทําใหสินคาและบริการ เคลื่อนยายจากผผู ลติ ไปยงั ผบู รโิ ภค เพอ่ื ใหผ ูบ รโิ ภคไดร บั ความพึงพอใจ ในขณะเดียวกันก็บรรลุ วัตถปุ ระสงคข ององคกรดว ย

43 3. ยกตัวอยา ง เปา หมายในการขายปลายหมึกยาง ในงานนิทรรศการของสถานศึกษา ระยะเวลา 3 วัน 1) มียอดขายวันละ 2,500 บาท 2) มผี ูซือ้ ปลาหมึกยา งเพมิ่ ขึ้นรอยละ 20 จากปทผ่ี านมา 3) มีกาํ ไรจากยอดขายไมน อ ยกวา รอยละ 15 4. กลยุทธการตลาด ประกอบดวย 1) กลยทุ ธด านผลติ ภัณฑ 2) กลยทุ ธดานราคา 3) กลยุทธเรอ่ื งชองทางการจาํ หนาย 4) กลยุทธด า นการสงเสริมการตลาด 5. กิจกรรมและแผนพัฒนาการตลาดดา นการสงเสริมการตลาด 1) จัดหาพนกั งานขายท่มี ีความสามารถในการนาํ เสนอสนิ คา 2) ทําการโฆษณา ประชาสัมพันธ เชน ปายโฆษณา แจกใบปลิว แผนพับ ประชาสัมพันธส นิ คา 3) จัดกิจกรรมสงเสริมการตลาด เชน การลดราคา การใหแลกซ้ือสินคาในราคา พิเศษ การแจกสินคาตวั อยางใหทดลองใช การใหของแถมเมื่อซื้อสินคาเปน จํานวนมาก บทที่ 3 1. คุณภาพ คือ คณุ สมบตั ทิ กุ ประการของผลิตภัณฑหรอื การบริการที่ตอบสนองความ ตอ งการและสามารถสรางความพึงพอใจใหแ กล ูกคา เชน ความแข็งแรงทนทานของสินคา การ ใหบ รกิ ารทีส่ ะดวกรวดเรว็ ของธนาคาร 2. ตวั อยา งเปา หมายการผลิต - การผลิตสบขู ม้นิ ใหไ ดเดอื นละ 1,000 กอน - ลดตนทุนการผลิตลงใหไ ดร อยละ 10 - ผลิตสบูที่มีสวนผสมของสมุนไพรไทยเพ่ิมขึ้นอีกหลายชนิดเพ่ือใหลูกคามี ทางเลอื กที่หลากหลายมากขึ้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook