Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ

การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ

Description: การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ

Search

Read the Text Version

หนงั สอื เรียนวิชาเลอื กสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การจดั การกลุม่ เพอ่ื พัฒนาอาชีพ รหัส อช33029 ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 สาํ นกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจงั หวดั สโุ ขทัย สํานกั งานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สํานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

คํานาํ สํานักงาน กศน.จังหวัดสุโขทัย ได้จัดทําหนังสือเรียนวิชาเลือกสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ รหัส อช33029 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จํานวน 3 หน่วยกิต หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันฐานพุทธศักราช 2551 สําหรับนักศึกษาได้ใช้ ประกอบการเรียนข้นึ ซ่ึงมีรายละเอยี ดเก่ียวกบั เนื้อหา และกิจกรรมการเรยี นรู้ สําหรับใหน้ ักศกึ ษาได้ทํา กิจกรรม หรือแบบฝึกปฏิบัติที่กําหนดให้ครบถ้วน จะทําให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ตามผลการเรียนรู้ที่ คาดหวังของหลักสูตร คณะผูจ้ ดั ทาํ หวงั เปน็ อย่างย่ิงวา่ หนังสอื เลม่ นจ้ี ะเป็นประโยชนต์ อ่ นักศึกษา ครู และผู้สนใจ ทั้งนี้ ขอขอบคุณผู้มสี ว่ นรว่ มจดั ทาํ หนงั สอื เรยี นฉบบั นีใ้ ห้สาํ เร็จด้วยดีไวใ้ นโอกาสน้ีด้วย (นายสังวาลย์ ชาญพิชิต) ผู้อาํ นวยการสํานกั งาน กศน.จงั หวัดสุโขทยั

สารบัญ หน้า คํานาํ คําแนะนาํ ในการใช้หนงั สือเรียน......................................................................................................... 1 โครงสร้างหนงั สอื เรยี นรายวิชาการจดั การกลุม่ เพอ่ื พัฒนาอาชพี .........................................................2-7 แบบทดสอบก่อนเรียน.........................................................................................................................8-9 บทที่ 1 ลกั ษณะและประเภทของการรวมกลุม่ ………………………………………………………………………10-17 เร่อื งที่ 1 ลกั ษณะของกลมุ่ อาชพี เรือ่ งที่ 2 ประเภทของกล่มุ อาชพี เร่ืองที่ 3 ภมู ปิ ัญาทอ้ งถน่ิ ด้านอาชพี เรอ่ื งท่ี 4 แหลง่ เรียนรแู้ ละสถานทฝ่ี กึ ทกั ษะ เรอื่ งท่ี 5 คุณธรรมในการบรหิ ารการจัดการกลุ่มเพอื่ พัฒนาอาชพี บทที่ 2 ความสาํ คัญของการรวมกลมุ่ อาชพี …………………………………………………………..………………..18-27 เรือ่ งท่ี 1 ความจาํ เป็นของการรวมกลุ่มอาชีพ เรอื่ งที่ 2 ประโยชนจ์ ากการรวมกล่มุ อาชีพ บทที่ 3 การบริหารจดั การกลุม่ ………………………………………………………………………….…………………….28-43 เรือ่ งท่ี 1 ปจั จยั เก่ียวเบือ้ งต้นกับการดําเนนิ ธุริจอาชพี เรือ่ งท่ี 2 การบรหิ ารเงินทุนของกลุ่มอาชพี เรื่องที่ 3 การบรหิ ารการผลติ เรื่องที่ 4 การบรหิ ารการตลาด เรอ่ื งท่ี 5 การบรหิ ารงานบคุ คล บทที่ 4 ปจั จยั ท่ีทาํ ใหก้ ลมุ่ อาชีพประสบความสําเรจ็ และความเสยี่ งในการดาํ เนินงาน……………….…44-50 เร่อื งท่ี 1 ปัจจยั ภายในท่ีส่งผลใหก้ ลุม่ ประสบความสําเร็จ เรอ่ื งที่ 2 ปัจจัยภายนอก เร่ืองที่ 3 การจัดการความเส่ียงของการดาํ เนนิ งาน แบบทดสอบหลงั เรยี น………………………………………………………………………………………………..……….51-52 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน-หลงั เรียน..............................................................................................53 บรรณานุกรม…………………………………………………..…………………………………………………………………….54 ภาคผนวก………………………………………………………..……………………………………………………………………55

คําแนะนาํ การใช้หนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชพี รายวชิ า การจัดการกลุ่มเพอื่ พฒั นาอาชพี รหัส อช33029 หนังสือเรียนสาระการประกอบอาชีพ รายวิชา การจัดการกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ (รหัส อช33029) เป็นหนังสือเรียนทจี่ ัดทําขนึ้ สาํ หรบั ครู นักศึกษากศน. และผสู้ นใจ รายละเอียดดังน้ี 1. หนงั สอื เรยี นนี้มี 4 บท บทที่ 1 ลกั ษณะและประเภทของการรวมกลมุ่ เรอ่ื งที่ 1 ลกั ษณะของกลุ่มอาชพี เรอ่ื งท่ี 2 การแบง่ ประเภทของอาชพี เรือ่ งท่ี 3 ภูมิปัญาท้องถน่ิ ด้านอาชีพ เรื่องที่ 4 แหล่งเรียนรแู้ ละสถานที่ฝกึ ทกั ษะ บทท่ี 2 ความสําคญั ของการรวมกล่มุ อาชีพ เร่ืองที่ 1 ความจาํ เป็นของการรวมกลุ่ม เร่ืองที่ 2 ประโยชน์จากการรวมกลุ่มอาชีพ บทท่ี 3 การบรหิ ารจดั การกล่มุ เรอื่ งที่ 1 ปัจจัยเบ้อื งต้นเกย่ี วกับการดาํ เนนิ ธรุ จิ ของกลุ่มอาชพี เรื่องท่ี 2 การบริหารเงนิ ทนุ ของกลุ่มอาชพี เรอ่ื งที่ 3 การบรหิ ารการผลิต เร่ืองท่ี 4 การบริหารการตลาด เร่อื งท่ี 5 การบริหารงานบุคคล บทที่ 4 ปัจจยั ที่ทําให้กลมุ่ อาชพี ประสบความสาํ เร็จ และความเสีย่ งในการดําเนนิ งาน เรอ่ื งที่ 1 ปัจจัยภายในที่ส่งผลให้กลุม่ ประสบความสาํ เร็จ เรอ่ื งท่ี 2 ปัจจัยภายนอก เรือ่ งท่ี 3 การจดั การความเสี่ยงของการดาํ เนนิ งาน 2. ระยะเวลาในการศึกษา จาํ นวน 120 ช่วั โมง จาํ นวน 3 หน่วยกิต

3. วิธกี ารศึกษา 3.1 ทาํ แบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจในรายวชิ า 3.2 ศึกษาหนังสอื เรยี นทีละบท ทุกเรอ่ื ง และทาํ กจิ กรรมทา้ ยบท ใหค้ รบถว้ นทกุ กิจกรรมหรอื แบบฝึก 3.3 ทําแบบทดสอบหลังเรียน อีกคร้ังและตรวจให้คะแนนตามเฉลยท้ายเล่มและนํา คะแนนท่ไี ดม้ าเปรียบเทียบกบั คะแนนก่อนเรียน ว่าเพ่ิมขึ้นหรือไม่หากน้อยกว่าเดิม ให้กลับไปศึกษาทบทวนบทเรียนอีกครั้ง หากได้คะแนนเพิ่มข้ึนจากก่อนเรียน แต่ ยังไม่พอใจระดับคะแนนให้กลับไปทบทวนบางบทเรียนที่ไม่เข้าใจเพิ่มเติมจะช่วยให้ นกั ศึกษามคี วามรู้ ความเข้าใจตามผลการเรียนรทู้ ่คี าดหวัง 4. นอกจากศกึ ษาจากหนงั สอื เรยี นนีแ้ ล้วนกั ศกึ ษาควรหาความรู้เพิม่ เติมจากแหลง่ การเรยี นรู้ อื่น ๆ เชน่ เวบ็ ไซต์ ห้องสมดุ ประชาชน ผู้รู้ในเร่ืองนนั้ ๆ เปน็ ต้น

โครงสรา้ งหนงั สอื เรียนสาระการประกอบอาชพี รายวชิ า การจัดการกลมุ่ เพอื่ พฒั นาอาชพี รหสั อช33029 สาระสาํ คญั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้ ผเู้ รยี นไดบ้ ูรณาการทักษะตา่ ง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีครู เปน็ ผใู้ หค้ ําปรึกษา โดยให้ผู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ การจัดการกลุ่มจากกลุ่มอาชีพต่างๆท่ีมีอยู่ในชุมชน และ มีเจตคติที่ดีต่อการจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชีพ สามารถบริหารจัดการกลุ่ม อีกท้ังสามารถวิเคราะห์ปัจจัย ท่ีเกี่ยวข้องต่อความสําเร็จของกลุ่มและจัดการความเสี่ยงที่จะเกิดจากการดําเนินการกลุ่มได้ ท่ีสําคัญ สามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนากลุ่มอาชีพต่างๆท่ีมีอยู่ในชุมชนของตนเองได้เป็น อย่างดี ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั 1. รจู้ ัก เห็นคณุ คา่ การจัดการกลุ่มเพื่อพัฒนาอาชพี 2. มีความรู้ ความเข้าใจ เจตคติทีด่ ีตอ่ การรวมกลมุ่ อาชีพ 3. มีความรู้ ความสามารถบรหิ ารจดั การกลมุ่ ได้ 4. สามารถวิเคราะหป์ จั จยั สคู่ วามสําเรจ็ การรวมกลุ่มอาชพี ได้ 5. สามารถจัดการความเสีย่ งการดาํ เนนิ งานกลุ่มได้ ขอบขา่ ยเนอ้ื หา บทท่ี 1 ลักษณะและประเภทของการรวมกลุ่ม เรือ่ งท่ี 1 ลกั ษณะของกลมุ่ อาชพี เรอื่ งที่ 2 ประเภทของกลมุ่ อาชพี เรอ่ื งที่ 3 ภมู ิปญั ญาทอ้ งถิ่นดา้ นอาชีพ เรื่องท่ี 3 ภูมิปัญาทอ้ งถน่ิ ด้านอาชีพ เรอ่ื งที่ 4 แหล่งเรยี นรแู้ ละสถานทีฝ่ กึ ทกั ษะ เรอ่ื งท่ี 5 คุณธรรมในการบริหารการจดั การกลมุ่ เพ่ือพฒั นาอาชีพ บทท่ี 2 ความสําคญั ของการรวมกลมุ่ เรือ่ งที่ 1 ความจาํ เปน็ ของการรวมกลุ่ม เร่อื งที่ 2 ประโยชน์จากการรวมกลุม่ อาชีพ

บทท่ี 3 การบรหิ ารจัดการกลมุ่ เรื่องที่ 1 ปจั จยั เก่ียวกบั การธุริจ เรอ่ื งที่ 2 การบรหิ ารเงินทุนของกลุ่มอาชีพ เรื่องที่ 3 การบรหิ ารการผลติ เรือ่ งท่ี 4 การบรหิ ารการตลาด เรื่องที่ 5 การบริหารงานบคุ คล เรอื่ งที่ 6 วิเคราะห์ปจั จยั สู่ความสําเรจ็ บทที่ 4 ปัจจัยที่ทําให้กลมุ่ อาชพี ประสบความสําเรจ็ และความเส่ยี งในการดาํ เนนิ งาน เรื่องที่ 1 ปจั จยั ภายในที่สง่ ผลใหก้ ล่มุ ประสบความสาํ เร็จ เรื่องท่ี 2 ปัจจยั ภายนอก เร่ืองที่ 3 การจัดการความเสี่ยงของการดําเนินงาน กจิ กรรมการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น – หลงั เรยี น 2. ศึกษาหนงั สือแต่ละบท 3. ทาํ ใบงาน 4. ตรวจสอบความรจู้ ากเฉลยและแนวทางการตอบทา้ ยเล่ม 5. ศึกษาเพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรเู้ พ่มิ เตมิ การวัดและประเมินผลการเรียน 1. ใบงาน 2. ทดสอบหลังเรียน

แบบทดสอบกอ่ นเรียน 1. ลักษณะของกลมุ่ อาชพี หมายถงึ ข้อใด ก. คน (Man) ก. การจาํ หน่ายสนิ ค้าประเภทเดยี วกัน ข. การรวมกลุม่ เพื่อทําธุรกิจเดียวกนั ค. การรวมกนั จาํ หนา่ ยสินคา้ ประเภทเดียวกัน ง. การรวมกลุ่มของผทู้ มี่ ีอาชีพเหมอื นกัน 2. กล่มุ ขยายอาชพี แบง่ ออกเป็นก่ปี ระเภท ก. 3 ประเภท ข. 4 ประเภท ค. 5 ประเภท ง. 6 ประเภท 3. เงนิ ทนุ มีกีป่ ระเภท ก. 2 ประเภท ข. 3 ประเภท ค. 4 ประเภท ง. 5 ประเภท 4. ขอ้ ใดกล่าวถูกตอ้ งท่สี ุดเก่ยี วกับเงินทนุ ก. เงินทนุ หมายถงึ เงนิ สดเทา่ นนั้ ข. เงินทนุ คอื เงินตราที่ธุรกจิ จดั หามาเพ่อื ใช้ดําเนินงาน ค. เงินทุน ใช้สาํ หรบั การลงทุนในสินทรพั ย์ถาวรเท่านน้ั ง. เงนิ ทุนคงที่ คอื เงนิ ทนุ ท่ใี ช้ในการใชจ้ า่ ยประจําวนั 5. ปัจจัยในการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ใดมคี วามสําคญั มากทส่ี ดุ ในการประกอบธุรกจิ ข. เงนิ (Money) ค. วตั ถุดบิ (Material) ง. วิธปี ฎิบตั ิงาน (Method)

6. ข้อใดคือการรวมกลุ่มอาชีพที่ถกู ต้อง ก. มสี มาชกิ มปี ระธาน จดทะเบยี นจดั ต้ังกลุม่ ข. มีสมาชกิ มหี ้นุ จดทะเบยี นจดั ต้งั กลุ่ม ค. มสี มาชกิ มีหุ้น จดทะเบียนจัดตั้งกลุม่ ง. มสี มาชกิ มปี ระธาน มหี ้นุ จดทะเบยี นจดั ตงั้ กลุ่ม 7. ขอ้ ใดคือประโยชน์ของการวเิ คราะหป์ จั จัยเบอ้ื งต้นเกย่ี วกบั การธรุ กจิ ของกลุ่ม ก. เพื่อทราบความตอ้ งการของกลุม่ ลกู คา้ เป้าหมาย ข. เพ่ือควบคมุ ขน้ั ตอนการผลติ ค. เพือ่ การจาํ หนา่ ยสนิ ค้าของกลุ่มให้เปน็ ไปตามเป้าหมาย ง. เพ่อื ความปลอดภัยในการทําธรุ กิจของกลุ่ม 8. ข้นั ตอนสดุ ทา้ ยของการวิเคราะห์กลมุ่ ลูกค้าเปา้ หมายคอื ขอ้ ใด ก. ปจั จัยอะไรที่ เป็นตัวกระต้นุ การซอื้ สินค้า ข. กระบวนการตัดสินใจของลูกคา้ ต่อการซื้อสินคา้ ค. ของสินคา้ และการใช้บรกิ ารทล่ี ูกค้าต้องการ ง. ราคาสนิ ค้าที่ลกู คา้ ตดั สนิ ใจซื้อสินค้า 9. ข้อใดคือเงินทุนเบอื้ งตน้ ที่กล่มุ อาชีพใช้บรหิ ารกลมุ่ ก. เงนิ กองทนุ ข. เงินหนุ้ สมาชิกกลุ่ม ค. เงินออมทรัพย์ของกลุม่ ง. ถูกทกุ ข้อ 10. ขอ้ ใดคอื ประโยชน์ของการบริหารเงนิ ทนุ ของกล่มุ อาชพี ก. มีเงนิ ทุนสนบั สนนุ การประกอบอาชพี ข. ชาวบา้ นมกี องทุนการเงินเพื่อพ่ึงพาตนเอง ค. สมาชกิ รวมน้ําใจรวมทนุ ช่วยเหลือซงึ่ กันและกนั ง. มเี งนิ ทนุ หมนุ เวยี นภายในกลุ่ม 11. ขอ้ ใดคอื วตั ถปุ ระสงค์ในการบริหารการผลติ ก. ให้ไดผ้ ลผลติ ทีอ่ อกมามีคุณภาพ ข. ผลผลติ ตรงตามความต้องการของลูกค้า ค. การใช้ทรพั ยากรทม่ี ีอยใู่ หเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด ง. ถกู ทกุ ข้อ

12. การบรหิ ารการตลาดมีกขี่ นั้ ตอน ก. 2 ขน้ั ตอน ข. 3 ขั้นตอน ค. 4 ขน้ั ตอน ง. 5 ขนั้ ตอน 13. การเลอื กตลาดเป้าหมายและอัตราความตอ้ งการซ้อื ของตลาด อยูใ่ นกระบวนการใดของการบริหารการตลาด ก. การวางแผนการตลาด ข. การปฏบิ ัตกิ ารทางการตลาด ค. การประเมนิ ผลการทาํ งานทางการตลาด ง. การจัดองค์กรทางการตลาด 14. การจดั การกลุ่มเพ่อื พัฒนาอาชีพจาํ เป็นจะต้องมคี วามรู้ในเรอ่ื งการบริหารงานบคุ คลเพ่ือประโยชนใ์ นข้อใด ก. การจัดการเกย่ี วกับบคุ คลในกลมุ่ ข. ความจาํ เป็นในการเลือกคนใหเ้ หมาะสมกับงาน ค. คนเปน็ ปัจจยั สําคญั ในการบริหารงาน ง. การรูจ้ ักใช้คนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 15. ข้นั ตอนทสี่ าํ คญั ทส่ี ุดของกระบวนการบรหิ ารงานบุคคลคือขอ้ ใด ก. การสรรหาบุคคล ข. การใชบ้ คุ คล ค. การพัฒนาบุคลากร ง. การธํารงรกั ษาบคุ คล 16. ความจําเปน็ ต่อการวิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสาํ เรจ็ ของกลมุ่ คอื ขอ้ ใด ก. ความยง่ั ยืน อยรู่ อดของกลุม่ ข. ผลกาํ ไรที่จะเกิดขึน้ กบั กลุ่ม ค. การจดั การกลมุ่ เพือ่ การพฒั นา ง. การจดั การกลมุ่ เพื่อคณุ ภาพของสินค้า 17. ปัจจัยภายในท่ีควบคมุ ไดม้ กี ปี่ จั จยั ก. 2 รายการ ข. 3 รายการ ค. 4 รายการ ง. 5 รายการ

18. ปจั จยั ภายนอกทคี่ วบคมุ ไม่ไดม้ ีก่ีปจั จัย ก. 7 ปจั จัย ข. 8 ปจั จัย ค. 9 ปจั จัย ง. 10 ปจั จัย 19. ภัยทเี่ กดิ จากภาวะเศรษฐกจิ จะส่งผลอะไรตอ่ กลมุ่ อาชพี ก. ความเสยี่ งในการจําหน่ายสนิ คา้ ข. ความเสยี่ งในการดาํ เนินงาน ค. ความเสย่ี งในการผลิตสินค้า ง. ถูกทกุ ขอ้ 20. ข้อใดคอื ความหมายของการจดั การความเสี่ยงของการดําเนินงาน ก. เพ่อื ใหอ้ งคก์ รลดความเสียหายจากความเสี่ยงมากท่ีสดุ ข. เพือ่ ให้องคก์ รหลดุ พ้นจากความเสยี หายทเี่ กดิ จากความเส่ยี ง ค. เพื่อให้องคก์ รเผชิญความเสยี่ งนอ้ ยทสี่ ุด ง. เพ่อื ให้องค์กรมกี ารควบคุมความเส่ียงมากทีส่ ุด

บทท่ี 1 ลกั ษณะและประเภทของการรวมกลุ่ม เร่อื งท่ี 1 ลักษณะของกลุ่มอาชพี ความหมายของกลมุ่ ตามความเห็นของ Maciver and Page ได้อธิบายวา่ กลุม่ หมายถึง การ รวมตัวของมนษุ ยช์ าตทิ ี่ตอ้ งสัมพนั ธ์ติดตอ่ กับบคุ คลอน่ื เมื่อไม่มีความสมั พันธ์ตดิ ตอ่ กับการรวมตัวของ มนษุ ย์จะไมเ่ รยี กว่า กลุ่ม แบบของการรวมกล่มุ มคี วามสัมพันธท์ างสงั คมเปน็ พืน้ ฐาน เทา่ นัน้ ตามความเห็นของ Ogburn and Nimkoff เขาอธิบายวา่ “บคุ คลตัง้ แตส่ องคนขึน้ ไปอยรู่ ่วมกัน และสมั พันธ์กบั บคุ คลอื่น เรยี กว่า กลุม่ สงั คม” นกั สงั คมวทิ ยาบางทา่ นใหค้ วามหมายว่า “กล่มุ คอื คนจํานวนหนงึ่ มาอย่รู วมกนั หรือกําลงั รอคอย ส่งิ ใดสงิ่ หนงึ่ ” หรอื “คนจํานวนหน่ึงทีม่ ลี กั ษณะบางอย่างเหมอื นกนั ” หรอื “คนจาํ นวนหน่งึ ซ่ึงมแี บบแผน บางอย่างรว่ มกันและมกี ารตอบโต้ซ่ึงกันและกนั ” หรือ “กลมุ่ คนจํานวนหน่ึงซึง่ มคี วามรสู้ ึกนกึ คิดเปน็ พวก เดยี วกันและมีการกระทาํ โตต้ อบซึง่ กนั และกนั ” สรปุ ความหมายของกลมุ่ คอื กลมุ่ คนทีม่ ใิ ช่มีความใกลช้ ดิ กนั ทางร่างกายเท่านัน้ แต่จะตอ้ งมีการ กระทําโตต้ อบซึง่ กันและกัน มีการตดิ ตอ่ สัมพันธ์กันตามสถานภาพและบทบาท มคี วามรู้สกึ เป็นพวก เดยี วกัน มีความเชือ่ ในดา้ นคณุ คา่ ร่วมกนั หรือคลา้ ยคลึงกนั กลุ่มสังคม ได้แก่ ครอบครวั กลุ่มเพื่อน กล่มุ อาชีพ กลุม่ เชื้อชาติ กลุ่มประชาชนของประเทศ เปน็ ต้น อาชีพ ตรงกบั คํา หลายคําในภาษาอังกฤษดังน้ี Employment Meatier Occupation Profession Pursuit Vocation Avocation Bu siness Calling Career ซ่ึงกม็ คี วามหมายไปในลักษณะเดียวกัน วา่ เป็น อาชพี ซง่ึ มผี ู้ใหค้ วามหมายของ อาชีพ ไว้หลายความหมาย ดังนี้ อาชีพ หมายถงึ รูปแบบการดํารงชพี ในสังคมมนษุ ย์ปัจจบุ ัน อาชพี เป็นหนา้ ที่ของบคุ คลในสงั คม การท่ีบุคคลประกอบอาชพี จะไดม้ าซ่ึงค่าตอบแทน หรือ รายได้ เพอื่ ใช้จ่ายในการดาํ รงชีวิต อาชพี หมายถงึ การทาํ มาหากิน ทาํ ธรุ กิจ ตามความชอบหรือความถนดั ได้คา่ ตอบแทนเป็น ค่าจา้ ง หรอื เงินเดือน อาชพี หมายถึง การทํามาหากินจากการทํางานหรอื กิจกรรมใดๆ ทีก่ อ่ ให้เกดิ ผลผลติ และรายได้ เป็นงานที่สจุ รติ ไมผ่ ิดศลี ธรรมเป็นที่ยอมรบั ของสงั คม อาชีพ หมายถึง ประเภทหรือชนิดของงานที่บุคคลนั้นทํา ปกติบุคคลมีอาชีพเดียว หากในระหว่าง รอบ 52 สปั ดาห์ท่ีแลว้ บุคคลใดมอี าชพี มากกว่า 1 ชนิด ให้ถอื อาชีพท่ีมีจํานวนสัปดาห์การทํางานมากท่ีสุด หากจํานวนสปั ดาหเ์ ทา่ กนั ให้นับอาชีพทมี่ รี ายได้มากทสี่ ุด

2 ลักษณะอาชีพ อาชีพท่ีจําเป็นต้องความรู้ความสามารถเฉพาะด้านเรียกว่า วิชาชีพ เช่น วิศวกร แพทย์ พยาบาล ทนายความ และอาชีพทีถ่ กู กฎหมายและศีลธรรม เรียกว่า สมั มาชีพ เช่น คา้ ขาย สว่ นบาง อาชพี ท่ีผิดกฎหมาย เรยี กว่า มจิ ฉาชพี เช่น โจร อาชีพอาจมีรายได้ต่างๆกันไป ลักษณะอาชีพท่ีเป็นลูกจ้าง จะได้ค่าตอบแทนในรูปแบบเงินเดือน อาชีพค้าขายหรือประกอบกิจการส่วนตัวหรือ การลงทุนจะได้ คา่ ตอบแทนในรปู แบบ กําไร การดาํ รงชีวิตและความตอ้ งการอาชพี การงานอาชพี หมายถงึ การทาํ มาหากินท่ีเกดิ จากกจิ กรรมหรอื บริการใดๆ ท่ีก่อใหเ้ กิดผลผลิต และรายได้ ซ่ึงเป็นงานประจําทสี่ ุจรติ ไมผ่ ดิ ศลี ธรรม ลักษณะอาชพี แบ่งออกเปน็ 1. อาชพี อสิ ระ มลี ักษณะเปน็ เจา้ ของกิจการ บริหารจดั การด้วยตนเอง อาจเปน็ กิจการขนาดเล็ก หรอื เปน็ อตุ สาหกรรมในครัว เรือน อาชีพอิสระแยกย่อยออกไปเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1.1 อาชีพอิสระดา้ นการผลติ การแปรรูปผลผลิตเป็นสินคา้ นาํ ไปจาํ หน่ายในท้องตลาดเปน็ การ ขายปลีกและขายสง่ เช่น อาหารไทย ขนมไทย เบเกอรี่ ผกั ผลไม้ 1.2 อาชีพอิสระด้านการใหบ้ ริการ เป็นอาชีพทน่ี ิยมกนั แพรห่ ลาย เนื่องจากมีความเสยี่ งน้อย การลงทุนต่ํา เชน่ บรกิ ารทําความสะอาด ทํานายโชคชะตา บริการซกั รดี เสื้อผ้า ช่างซ่อมอ่นื ๆ 2. อาชีพรับจา้ ง เป็นการทํางานทีม่ เี จา้ นายมอบหมาย ได้รบั คา่ ตอบแทนเป็นเงิน เช่น งานก่อสร้าง พนักงานในบริษัท หา้ งร้าน และโรงงาน 3. อาชีพงานฝีมือ เปน็ อาชีพทปี่ ฏิบัตงิ านโดยใช้ประสบการณแ์ ละความชาํ นาญเฉพาะดา้ น เช่น งานศิลปะ งานหตั ถกรรม งานปฏมิ ากรรม 4. อาชีพขา้ ราชการหรือเจ้าหนา้ ที่ของรฐั รวมทง้ั พนักงานรฐั วสิ าหกจิ เปน็ อาชีพท่ใี ห้บรกิ ารแกป่ ระชาชน แนวทางการเลือกอาชีพ อาชีพมีหลายประเภท มีลกั ษณะแตกตา่ งกัน การเลอื กอาชีพต้องพิจารณาจากปจั จัยตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. ความสนใจ สาํ รวจความถนัด ความสนใจ ตลอดจนประสบการณต์ า่ ง ๆ ใหเ้ หมาะสม กบั ตนเองมากท่สี ดุ เพอ่ื เป็นแนวทางการเลือกอาชีพทเี่ หมาะสม 2.แนวโนม้ ดา้ นอาชีพ เป็นอาชีพทเ่ี จริญก้าวหนา้ และเป็นท่ีต้องการของสังคม การ เปลี่ยนแปลงด้านธุรกจิ และ ด้านอตุ สาหกรรม ซ่งึ ประกอบดว้ ยดา้ นการส่ือสาร ดา้ นอเิ ล็กทรอนิกส์ ด้าน ระบบควบคุมอัตโนมตั ิ และด้านธรุ กจิ ระดับชมุ ชน 3. ทรัพยากรท้องถิน่ จะช่วยประหยัดต้นทนุ และค่าใช้จ่าย เป็นการสร้างงานใหค้ นในทอ้ งถิ่น 4. วสิ ัยทัศน์ การเปน็ คนที่มคี วามคดิ รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ และมองการณไ์ กล จะได้เปรียบใน เชงิ ธุรกิจมากกวา่ คนอน่ื 5. ทักษะในการประกอบอาชีพ จะต้องมที กั ษะหรอื ความชาํ นาญในวชิ าชีพสาขานน้ั ๆ

3 ประโยชน์ของอาชพี ประโยชน์ของอาชพี มหี ลายด้าน ดังน้ี 1. ดา้ นตนเอง เปน็ คนทีร่ คู้ ณุ ค่าของเงนิ ใชจ้ ่ายเงินอย่างประหยดั วางแผนการใช้จ่ายเงิน การเก็บออมเงินเพื่อความมัน่ คงของชวี ติ 2. ด้านครอบครัว การมอี าชีพจะสร้างคณุ คา่ ใหก้ บั ตนเองและสมาชกิ ในครอบครวั เป็น ตวั อย่างแก่คนในครอบครวั และบุคคลอนื่ ๆ 3. ดา้ นชุมชน เปน็ การสรา้ งรายได้ให้ชมุ ชน ทาํ ให้เศรษฐกจิ ชุมชนดขี ้ึน ทาํ ให้ชุมชน เข้มแข็ง พง่ึ พาตนเองได้ 4. ดา้ นประเทศชาติ เมอื่ ประชาชนมีอาชีพ มีรายได้ รัฐสามารถเก็บภาษีจากประชาชนได้ สามารถนาํ รายไดจ้ ากการเก็บภาษีไปพฒั นาประเทศในด้านตา่ ง ๆ ได้ หลกั การวธิ กี ารดาํ เนนิ การจดั ตง้ั กลุ่มพัฒนาอาชพี การจดั ต้ังกลมุ่ พัฒนาอาชีพ มีข้ันตอนท่กี ลมุ่ ผู้เรยี นควรพจิ ารณาดงั น้ี 1. กลมุ่ เป้าหมายจัดตั้ง คือบคุ คลที่มอี าชพี มีผลิตภัณฑข์ องตนเองแตข่ าดความเข้มแขง็ ในการจัดการธรุ กิจ 2. การรวมกลมุ่ 2.1 ลกั ษณะกลมุ่ 2.1.1 กลุ่มอาชีพท่มี ผี ลิตภณั ฑ์/ผลติ ผลชนดิ เดียวกัน 2.1.2 กลุม่ อาชีพท่ีมผี ลติ ภณั ฑ์หลายชนดิ แตจ่ ดั การตลาดร่วมกันได้ 2.2 การสรา้ งกลุ่ม ดาํ เนินการตามขนั้ ตอนดังน้ี 2.2.1 ผ้นู าํ ชุมชน ประชาสมั พันธ์ใหช้ าวบ้านทมี่ ผี ลิตภัณฑข์ องตนเอง มารวมกนั ทาํ ความเข้าใจในการรวมกลมุ่ อาชีพ 2.2.2 จัดตั้งระบบบรหิ ารจัดการกลมุ่ ดว้ ยการศึกษาดูงานกลุ่มอาชพี ที่มีคุณภาพ ภาพลักษณข์ องธุรกจิ กลุ่มพฒั นาอาชพี กลมุ่ พฒั นาอาชีพ เปน็ การเรยี นรูข้ องกลมุ่ ท่ีจัดต้งั มผี ลิตภณั ฑข์ องตนเองได้มารวมกล่มุ เพ่ือรว่ มกันเรยี นรู้ สรา้ งธรุ กจิ ดว้ ยทุนตนเอง เพื่อให้องคก์ รท้องถน่ิ ได้มีรายได้จากภาษีและการว่าจา้ ง แรงงานในทอ้ งถน่ิ

4 วิสาหกิจชุมชน คือ การประกอบการโดยชุมชนทม่ี ีสมาชกิ ชมุ ชนเป็นเจา้ ของปจั จยั การผลติ ท้ังดา้ นการผลติ การคา้ และการเงนิ และตอ้ งใชป้ ัจจยั การผลติ ให้เกิดดอกออกผล ทั้งทาง เศรษฐกจิ และสงั คม ด้านเศรษฐกิจ คอื การสรา้ งรายได้ และอาชีพด้านสังคม คอื การยึดโยง รอ้ ยรัด ความเปน็ ครอบครวั และชมุ ชนใหร้ ่วมคิด รว่ มทาํ รว่ มรับผิดชอบ แบง่ ทกุ ขแ์ บ่งสขุ ซง่ึ กนั และกัน โดยกระบวนการประกอบการของชมุ ชน ในทัศนะดงั กลา่ ว วสิ าหกจิ จะเป็นเครื่องมือ ในการสรา้ งฐานราก ทางเศรษฐกจิ และสงั คมใหเ้ ขม้ แข็ง เพือ่ ทีจ่ ะใหร้ ะบบเศรษฐกิจและสงั คมสว่ นอื่น ๆ ได้ต่อยอดบนฐานท่ี เข้มแขง็ ที่คงทน ตอ่ การเปล่ียนแปลงของโลกและทุนนยิ ม รปู แบบแนวทางการพฒั นาทย่ี งั่ ยนื ของวสิ าหกิจ การพฒั นาผลิตภัณฑ์ใหม่ จะตอ้ งพิจารณาสง่ิ ต่าง ๆ และเกบ็ ข้อมลู ดังนี้ 1. ปัจจัยท่ีทําใหม้ โี อกาสขยายกิจการทีค่ วรใหค้ วามสําคญั 1.1 กองทุนหมู่บ้าน 1.2 การเปิดตลาดระดบั ต่าง ๆ 1.3 พนั ธมติ รทางธุรกิจ 2. วิเคราะหห์ าสง่ิ ทีล่ ูกคา้ อยากได้ แตไ่ มเ่ คยได้รับมากอ่ น มาใชเ้ ปน็ ข้อมูลในการพฒั นา 3. วเิ คราะหค์ ูแข่งอื่น ๆ ท่ีอยใู่ นธรุ กิจเดียวกัน ดวู า่ วสิ าหกจิ ของเราจะทาํ ให้แตกต่าง ดีกว่าได้อย่างไร 4. วเิ คราะหห์ าวา่ อะไร คืออุปสรรคท่ีทําใหเ้ ราไม่กลา้ คิดทาํ ใหม่กบั สิ่งท่ีเคยทาํ มาจาก ดั้งเดิม 5. หาสาเหตุของปญั หาและอปุ สรรค แลว้ หาทางเอาชนะอุปสรรคใหไ้ ด้

5 เรื่องที่ 2 การแบง่ ประเภทของอาชีพ ประเภทและลักษณะของอาชีพ การแบ่งประเภทของอาชีพ สามารถจดั แบ่งตามลักษณะได้เป็น 2 ลกั ษณะ คอื แบง่ ตาม เนือ้ หาวชิ าของอาชีพ และแบง่ ตามลักษณะของการประกอบอาชพี 1. การแบ่งอาชีพตามเน้ือหาวิชาของอาชพี สามารถจดั กล่มุ อาชีพตามเนอ้ื หาวชิ าได้เป็น 6 ประเภท ดังน้ี 1.1 อาชพี เกษตรกรรม ถอื ว่าเป็นอาชพี หลกั และเป็นอาชีพสําคัญของประเทศ ปัจจุบันประชากร ของไทยไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ยังประกอบอาชีพนี้อยู่ อาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพเกี่ยวเนื่องกับการผลิต และการจัดจําหน่ายสินค้าและ บริการทางด้านการเกษตรซ่ึงผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใช้ในการ บริโภคเป็นส่วนใหญ่แล้วยังใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตทางอุตสาหกรรมอีกด้วย อาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทาํ นา ทําไร่ ทาํ สวน เลี้ยงสัตว์ ฯลฯ 1.2 อาชีพอตุ สาหกรรม การทําอุตสาหกรรม หมายถงึ การผลติ สนิ ค้าอนั เนื่องมาจาก การนําเอา วสั ดุ หรือสนิ คา้ บางชนิดมาแปรสภาพให้เกิดประโยชน์ต่อผู้ใช้มากขน้ึ กระบวนการประกอบการ อุตสาหกรรมประกอบด้วย ในขั้นตอนของกระบวนการผลิต มีปัจจัยมากมายนับตั้งแต่แรงงาน เคร่ืองจักร เครื่องมือ เครื่องใช้ เงินทุน ท่ดี นิ อาคาร รวมท้งั การบริหารจดั การ การประกอบอาชีพอุตสาหกรรมแบ่งตามขนาด ไดด้ ังนี้ อุตสาหกรรมในครอบครัว เป็นอุตสาหกรรมที่ทํากันในครัวเรือน หรือภายในบ้าน ใช้แรงงานคน ในครอบครวั เปน็ หลัก บางทอี าจใช้เครื่องจักรขนาดเล็กช่วยในการผลิต ใช้วัตถุดิบ วัสดุที่หาได้ในท้องถ่ินมา เป็นปัจจัยในการผลิตอุตสาหกรรมในครัวเรือน ได้แก่ การทอผ้า การจักสาน การทําร่ม การทําอิฐมอญ ฯลฯ ลักษณะการดําเนินงาน ไม่เป็นระบบเท่าใดนัก รวมท้ังการใช้เทคโนโลยีแบบง่าย ๆ ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และมีการลงทุนไม่มากนักอุตสาหกรรมขนาดย่อม เป็นอุตสาหกรรมท่ีมีการจ้างคนงานมากกว่า 50 คน ใช้ เงินทุนดําเนินการไม่เกิน 10 ล้านบาท อุตสาหกรรมขนาดย่อม ได้แก่ โรงกลึง อู่ซ่อมรถ โรงงานทําขนมปัง

6 โรงสีข้าว เป็นต้นในการดําเนินงานของอุตสาหกรรม ขนาดย่อมมีขบวนการผลิตไม่ซับซ้อน ใช้แรงงานท่ีมี ฝมี ือไม่มากนัก อุตสาหกรรมขนาดกลาง เป็นอุตสาหกรรมท่ีมีการจ้างคนงานมากกว่า 50คน แต่ไม่เกิน 200 คน ใช้เงินทุนดําเนินการมากกว่า 10 ล้านบาท แต่ไม่เกิน 100 ล้านบาท อุตสาหกรรมขนาดกลางได้แก่ อุตสาหกรรมทอกระสอบ อุตสาหกรรมเส้ือผ้าสําเร็จรูป เป็นต้น การดําเนินงานของอุตสาหกรรมขนาด กลางต้องมีการจัดการที่ดี แรงงานท่ีใช้ ต้องมีทักษะ ความรู้ ความสามารถในกระบวนการผลิตเป็นอย่างดี เพื่อท่ีจะไดส้ นิ ค้า ทม่ี คี ุณภาพระดบั เดยี วกัน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมท่ีมีคนงานมากกว่า 200 คนข้ึนไป เงินทุน ในการ ดําเนินการมากกว่า 200 ล้านบาท อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ได้แก่ อุตสาหกรรม ผลิตแบตเตอร่ี อุตสาหกรรมถลุงเหล็ก เป็นต้น อุตสาหกรรมขนาดใหญ่มีระบบการจัดการ ที่ดี ใช้คนท่ีมีความรู้ ทักษะ ความสามารถเฉพาะด้าน หลายสาขา เช่น วิศวกรรม อิเล็กทรอนิกส์ ในการดําเนินงานผลิตมีกรรมวิธีท่ี ยุ่งยาก ใช้เครื่องจักร คนงาน เงินทุน จํานวนมากขึ้น มีกระบวนการผลิตที่ทันสมัยและผลิตสินค้าได้ทีละ มาก ๆ มีการว่าจ้างบคุ คลระดับผบู้ ริหารท่มี คี วามสามารถ 1.3 อาชีพพาณิชยกรรมและอาชีพบริการ อาชีพพาณิชยกรรม เป็นการประกอบอาชีพที่เป็น การแลกเปล่ียนระหว่างสนิ ค้ากับเงนิ ส่วนใหญจ่ ะมลี ักษณะเป็นการซื้อมาและขายไป ผู้ประกอบอาชีพทางพาณิช ยกรรมจึงจัด เป็นคนกลาง ซึ่งทําหน้าที่ซื้อสินค้าจากผู้ผลิตและนํามาขายต่อให้แก่ผู้บริโภค ประกอบด้วย การคา้ สง่ และการค้าปลกี โดยอาจจดั จาํ หนา่ ย ในรูปของการขายตรงหรอื ขายอ้อม อาชีพบริการ หมายถึง อาชีพที่ทําให้เกิดความพอใจแก่ผู้ซ้ือ การบริการอาจเป็นสินค้า ท่ีมี ตัวตน หรือไม่มีตัวตนก็ได้ การบริการท่ีมีตัวตน ได้แก่ บริการขนส่ง บริการทางการเงิน ส่วนบริการท่ีไม่มี ตวั ตน ไดแ้ ก่ บริการท่องเทยี่ ว บริการรกั ษาพยาบาล เปน็ ต้น อาชพี พาณชิ ยกรรม จงึ เปน็ ตัวกลางในการขายสนิ คา้ หรือบรกิ ารต่าง ๆ นับตั้งแต่การนาํ วัตถุดบิ จากผู้ผลิตทางดา้ นเกษตรกรรม ตลอดจนสนิ ค้าสําเร็จรปู จากโรงงานอุตสาหกรรม รวมทัง้ คหกรรม ศิลปกรรม หัตถกรรม ไปใหผ้ ซู้ ื้อ หรอื ผูบ้ ริโภค อาชพี พาณิชยกรรมจงึ เปน็ กจิ กรรมทส่ี อดแทรกอยทู่ ุกอาชีพ ในการประกอบอาชีพ พาณชิ ยกรรม หรอื บรกิ าร ผปู้ ระกอบอาชพี จะต้องมคี วามสามารถในการจดั หา มคี วามคดิ ริเริม่ และมคี ณุ ธรรม จึงจะทาํ ใหก้ ารประกอบอาชีพเจรญิ กา้ วหนา้

7 1.4 อาชีพคหกรรม การประกอบอาชีพคหกรรม ไดแ้ ก่ อาชพี ที่เกีย่ วกบั การประกอบ อาหาร ขนม การตดั เยบ็ การเสรมิ สวย ตดั ผม เป็นต้น 1.5 อาชพี หัตถกรรม การประกอบอาชีพหตั ถกรรม ไดแ้ ก่ อาชพี ทเ่ี กย่ี วกบั งานชา่ ง โดยการใช้มือใน การผลิตช้นิ งานเปน็ ส่วนใหญ่ ได้แก่ อาชีพจกั สาน แกะสลกั ทอผ้าด้วยมอื ทอเสอ่ื เปน็ ตน้ 1.6 อาชพี ศลิ ปกรรม การประกอบอาชีพศิลปกรรม ได้แก่ อาชพี เก่ียวข้องกับ การแสดงออกใน ลกั ษณะต่าง ๆ เชน่ การวาดภาพ การปั้น การดนตรี ละคร การโฆษณา ถา่ ยภาพ เป็นต้น 2. การแบง่ อาชีพตามลกั ษณะของการประกอบอาชพี นอกจากจะจดั กล่มุ อาชีพเปน็ 6 ประเภทแลว้ เรายงั สามารถจดั กลุม่ อาชพี ตาม ลักษณะการ ประกอบอาชพี เปน็ 2 ลักษณะ คือ อาชีพอิสระ และอาชีพรบั จ้าง 1. อาชพี อสิ ระ หมายถงึ อาชีพทุกประเภททีผ่ ู้ประกอบการดําเนินการด้วยตนเอง แตเ่ พยี งผเู้ ดียว หรอื เปน็ กลมุ่ อาชพี อิสระเป็นอาชีพที่ไมต่ อ้ งใชค้ นจํานวนมาก แต่หากมคี วามจาํ เปน็ อาจมีการจ้างคนอ่นื มา ชว่ ยงานได้ เจ้าของกจิ การเป็นผูล้ งทนุ และจาํ หน่ายเอง คิดและตดั สินใจดว้ ยตนเองทกุ เร่ือง ซง่ึ ช่วยให้การ พฒั นางานอาชีพ เป็นไปอย่างรวดเรว็ ทนั ต่อเหตุการณ์ การประกอบอาชีพอิสระ เช่น ขายอาหาร ขายของ ชาํ ซ่อมรถจกั รยานยนต์ ฯลฯ ในการประกอบอาชพี อิสระ ผปู้ ระกอบการจะต้องมีความรู้ ความสามารถใน เรือ่ ง การบรหิ าร การจัดการ เช่น การตลาด ทําเลท่ีตัง้ เงนิ ทนุ การตรวจสอบ และประเมินผล เปน็ ตน้ นอกจากนย้ี ังต้องมีความอดทนตอ่ งานหนกั ไม่ถอ้ ถอยต่อ ปัญหาอปุ สรรคทีเ่ กดิ ขนึ้ มีความคดิ ริเริ่ม สร้างสรรค์ และมองเห็นภาพการดาํ เนนิ งาน ของตนเองได้ทะลปุ รโุ ปร่ง 2. อาชพี รับจ้าง หมายถงึ อาชีพที่มีผ้อู น่ื เป็นเจา้ ของกจิ การ โดยตัวเองเปน็ ผรู้ บั จ้าง ทํางานให้ และไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ ค่าจา้ ง หรือเงินเดอื น อาชพี รบั จา้ งประกอบด้วย บคุ คล 2 ฝ่าย ซง่ึ ได้ตกลงวา่ จ้าง กัน บคุ คลฝา่ ยแรกเรยี กวา่ \"นายจ้าง\" หรอื ผู้วา่ จา้ ง บุคคลฝ่ายหลังเรยี กวา่ \"ลกู จา้ ง\" หรอื ผู้รบั จา้ ง มี ค่าตอบแทนทผี่ วู้ า่ จ้างจะตอ้ งจา่ ยให้แก่ ผูร้ ับจ้างเรียกวา่ \"คา่ จ้าง\" การประกอบอาชพี รบั จ้าง โดยทั่วไปมี ลักษณะ เป็นการรับจ้างทาํ งานในสถาน ประกอบการหรอื โรงงาน เป็นการรับจ้างในลักษณะการขายแรงงานโดย ไดร้ บั คา่ ตอบแทนเปน็ เงนิ เดือนหรือคา่ ตอบแทนทคี่ ิดตามชน้ิ งานท่ีทําได้ อตั ราค่าจ้างข้ึนอยู่กบั การกาํ หนด ของ เจา้ ของสถานประกอบการ หรอื นายจ้าง การทํางานผรู้ บั จ้างจะทําอยภู่ ายในโรงงาน ตามเวลาทนี่ ายจ้าง กําหนด การประกอบอาชีพรับจ้างในลักษณะน้มี ขี อ้ ดีคือ ไม่ต้องเสี่ยง กับการลงทุน เพราะลูกจา้ งจะใช้ เครื่องมือ อุปกรณท์ ี่นายจา้ งจดั ไว้ใหท้ าํ งานตามทีน่ ายจ้าง กําหนด แต่มีขอ้ เสยี คอื มกั จะเป็นงานท่ที าํ ซํ้า ๆ เหมอื นกันทุกวัน และตอ้ งปฏิบตั ติ าม กฎ ระเบยี บของนายจ้าง ในการประกอบอาชีพรับจา้ งน้ัน มปี จั จัย หลายอยา่ งทีเ่ อ้ืออาํ นวยใหผ้ ้ปู ระกอบอาชพี รบั จ้างมคี วามเจรญิ กา้ วหน้าได้ เช่น ความรู้ ความชาํ นาญใน งาน มีนิสยั การทาํ งานที่ดี มีความกระตอื รอื ร้น มานะ อดทน ในการทาํ งาน ยอมรบั กฎเกณฑ์และเช่อื ฟัง

8 คาํ สง่ั มีความซอ่ื สตั ย์ สุจรติ ความขยันหมน่ั เพียร รับผิดชอบ มีมนุษยสมั พนั ธ์ทีด่ ี รวมท้งั สุขภาพอนามยั ท่ี ดี อาชพี ต่าง ๆ ในโลกมมี ากมาย หลากหลายอาชพี ซงึ่ บุคคลสามารถจะเลอื กประกอบ อาชพี ได้ตามความ ถนัด ความต้องการ ความชอบ และความสนใจ ไมว่ ่าจะเปน็ อาชีพ ประเภทใด จะเปน็ อาชพี อิสระ หรอื อาชีพรับจ้าง ถ้าหากเปน็ อาชีพที่สจุ รติ ย่อมจะทําให้ เกิดรายได้มาสตู่ นเอง และครอบครัว ถา้ บคุ คลผนู้ ัน้ มี ความมุ่งมัน่ ขยัน อดทน ตลอดจน มีความรู้ ขอ้ มลู เก่ยี วกับอาชีพต่างๆจะทําใหม้ องเห็นโอกาสในการเข้าสู่ อาชีพ และพฒั นา อาชพี ใหม่ ๆ ให้เกดิ ข้ึนอยู่เสมอ เร่ืองที่ 3 ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ด้านอาชพี ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ หรอื ภมู ปิ ัญญาชาวบ้าน หมายถึง ความรขู้ องชาวบา้ น ซึง่ เรยี นร้มู าจากพอ่ แม่ ป่ยู ่าตากตัยาย ญาตพิ นี่ ้อง หรือผมู้ คี วามรใู้ นหมู่บ้านในทอ้ งถน่ิ ต่างๆ ความรู้เหลา่ นสี้ อนให้เด็กเคารพผใู้ หญ่ มีความญญรู ู้คณุ พ่อแม่ และผมู้ ีพระคุณ มคี วามเอ้ืออาทรต่อคนอ่นื รจู้ ักชว่ ยเหลือแบ่งปนั ขา้ วของของตน ใหแ้ กผ่ อู้ ่นื ความรูท้ เ่ี ปน็ ภมู ปิ ัญญาเป็นความร้ทู ่มี คี ณุ ธรรม สอนใหค้ นเป็นคนดี สอนให้คนเคารพธรรมชาติ รจู้ ักพึ่งพาอาศัยธรรมชาติโดยไมท่ ําลาย ใหเ้ คารพสิ่งศกั ดิ์สทิ ธ์ิ และคนทล่ี ว่ งลับไปแล้ว ภูมปิ ญั ญาชาวบา้ นเป็นความรู้เรอื่ งการทํามาหากิน เชน่ การจบั ปลา การปลกู พืช การเลยี้ งสตั ว์ การทอผ้า ทอเสือ่ การสานตระกรา้ และเครือ่ งใชด้ ว้ ยไมไ้ ผ่ ด้วยหวาย การทําเครื่องป้นั ดนิ เผา การทาํ เครอื่ งมือ ทางการเกษตร นอกจากน้นั ยงั มีศลิ ปะดนตรี การฟ้อนรํา และการละเลน่ ตา่ งๆ การรักษาโรคดว้ ยวิธีตา่ งๆ เช่น การใชย้ าสมุนไพร การนวด เปน็ ต้น ภมู ปิ ัญญาเหลา่ นีเ้ ปน็ ความร้คู วามสามารถที่บรรพบรุ ษุ ได้ สร้างสรรค์ และถ่ายทอดมาให้เรา มวี ิธีการหลายอยา่ งที่ทําใหค้ วามร้เู หลา่ น้เี กดิ ประโยชนแ์ ก่สงั คมปัจจบุ ัน ดว้ ย

9 เรอื่ งท่ี 4 แหลง่ เรยี นรู้และสถานท่ฝี กึ ทักษะ ความหมายของแหล่งเรยี นรู้ แหลง่ เรยี นรู้ หมายถงึ แหลง่ ขอ้ มลู ข่าวสาร สารสนเทศ และประสบการณท์ สี่ นบั สนนุ สง่ เสริม ให้ผเู้ รียนใฝเ่ รยี นใฝ่รู้ แสวงหาความรู้ และเรยี นรู้ด้วยตนเองตามอธั ยาศัยอยา่ งกว้างขวางและต่อเน่ือง เพ่ือ เสรมิ สรา้ งใหผ้ เู้ รียนเกดิ กระบวนการเรยี นร้แู ละเป็นบุคคลแห่งการเรยี นรู้ การเรียนรูท้ ีเ่ นน้ ผเู้ รียนเป็น ศูนย์กลางเปน็ แนวคิดที่มงุ่ เนน้ การเรียนรูข้ องผเู้ รยี น ความสาํ คัญของแหลง่ เรยี นรู้ 1. เปน็ แหล่งเสริมสรา้ งจนิ ตนาการและความคิดรเิ ร่ิมสรา้ งสรรค์ 2. เป็นแหล่งศกึ ษาตามอัธยาศัย 3. เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชวี ิต 4. เปน็ แหลง่ สรา้ งความรู้ ความคิด วชิ าการและประสบการณ์ 5. เป็นแหล่งปลกู ฝงั ค่านยิ มรักการอ่านและแหล่งศกึ ษาคน้ ควา้ แสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง 6. เปน็ แหล่งสร้างความคิดเกิดอาชพี ใหม่สู่ความเป็นสากล 7. เป็นแหลง่ เสรมิ ประสบการณ์ตรง 8. เปน็ แหลง่ ส่งเสรมิ มติ รภาพความสัมพนั ธร์ ะหว่างคนในชมุ ชนหรอื ผู้เป็นภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน ประเภทของแหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้มที ้ังภายในและภายนอกชุมชน ซง่ึ แหล่งเรยี นรู้เหลา่ นส้ี ามารถ แบง่ ออกเปน็ 2 ประเภท คอื แหลง่ เรยี นรู้ท่มี อี ย่แู ล้วตามธรรมชาติ และทม่ี นุษย์สรา้ งขนึ้ 1. แหล่งเรยี นรูท้ มี่ อี ย่แู ลว้ ตามธรรมชาติ เชน่ บรรยากาศ สิง่ แวดลอ้ ม ปรากฏการณธ์ รรมชาติ สงิ่ มีชีวติ ปา่ ภเู ขา แหลง่ น้ํา ทะเล สัตว์และพชื ต่าง ๆ ฯลฯ 2. แหลง่ เรียนรู้ทม่ี นษุ ย์สรา้ งขึ้น เช่น ชมุ ชน วิถชี วี ิต อาชพี ภมู ปิ ญั ญา ประเพณี วัฒนธรรม สถาบนั โบราณสถาน สถานที่สําคัญ สถานประกอบการ ห้องสมดุ โรงเรียน หอ้ งสมุดเคลื่อนท่ี ห้องเรียน หอ้ งปฏิบัตกิ ารต่าง ๆ ห้องโสตทศั นศึกษา หอ้ งมลั ตมิ ีเดีย เวบ็ ไซต์ ห้องอินเทอร์เน็ต ห้องเรยี นสีเขยี ว หอ้ ง พพิ ิธภัณฑ์ สวนพฤกษศาสตร์ สวนสขุ ภาพสวนหิน สวนสมนุ ไพร สวนวรรณคดี สวนหยอ่ ม สวนผีเสอ้ื บอ่ เลี้ยงปลา เรอื นเพาะชํา ฯลฯ ภูมิปัญญาท้องถิ่นหรือภูมิปัญญาพื้นบ้าน หมายถึง ความรู้ของชาวบ้านในท้องถ่ินซ่ึงได้มาจาก ประสบการณ์และความเฉลียวฉลาดของชาวบ้าน รวมท้ังความรู้ที่ส่ังสมมาแต่บรรพบุรุษสืบทอดจากคนรุ่น หน่ึงไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง ระหว่างการสืบทอดมีการปรับ ประยุกต์ เปล่ียนแปลง จนอาจเกิดเป็นความรู้ใหม่ ตามสภาพการณ์ทางสังคม วัฒนธรรมและส่ิงแวดล้อม ภูมิปัญญาเป็นความรู้ท่ีประกอบไปด้วยคุณธรรม ซ่ึง สอดคล้องกับวิถีชีวิตดั่งเดิมของชาวบ้านในวิถีดั่งเดิมน้ัน ชีวิตของชาวบ้านไม่ได้แบ่งแยกเป็นส่วนๆหากแต่

10 ทุกอย่างมีความสัมพันธ์กัน การทํามาหากิน การอยู่ร่วมกันในชุมชน การปฏิบัติศาสนา พิธีกรรมและ ประเพณี ความรู้เป็นคุณธรรมเม่ือผู้คนใช้ความรู้นั้นเพื่อความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง คนกับคน คนกับ ธรรมชาตแิ ละคนกับสง่ิ เหนอื ธรรมชาติ ดงั เชน่ ภาคเหนอื มภี ูมิปัญญาเกีย่ วกับการแกะสลกั ไม้ ทม่ี คี วามลึก สลับซบั ซ้อน สามารถมองได้หลายมติ ิ และไดถ้ ่ายทอดภูมิปัญญาน้นั ออกไปอยา่ งกวา้ งขวางโดยวิธีการต่างๆ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื มภี มู ปิ ัญญาในการทอผ้าไหมลวดลายต่างๆตามถ่นิ ฐานของภมู ิปัญญา น้นั จนเปน็ ทีย่ อมรบั กนั ทวั่ โลก แตล่ ะจังหวัดมกี ารจัดงานผลติ ภัณฑห์ นึ่งตาํ บลหน่ึงผลิตภณั ฑ์ ภาคกลาง มีการอนุรักษว์ ัฒนธรรมการละเลน่ มากมาย เช่น ลิเก ราํ ตดั เปน็ ต้น ปัจจุบนั ได้มหี ลาย หนว่ ยงานท้งั ภาครฐั และเอกชนมีการสนับสนนุ สง่ เสริมภมู ปิ ัญญาแขนงนใ้ี หเ้ ด็กและเยาวชนเรยี นรูก้ ารแสดง เหลา่ นีเ้ พื่อใหส้ บื ทอดต่อไป ภาคใต้ มกี ารสบื ทอดการทําหนังตลงุ การแสดงมโนราห์ มกี ารทาํ ตวั หนังตลุงออกมามากมาย ทาํ เป็นของท่รี ะลึกหรอื ของชาํ ร่วย ใครเห็นกร็ วู้ ่าเป็นสนิ ค้าท่มี าจากฝมี อื ภูมปิ ัญญาของคนภาคใต้ สถานทีฝ่ ึกอาชพี ตัวอย่าง สถานท่ฝี ึกอาชีพของรัฐบาล 1. ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนกาญจนาภิเษก “วทิ ยาลัย ในวัง” รับฝึกวชิ าชีพเพือ่ การมงี านทาํ หลกั สตู รระยะสั้น 60 ช่ัวโมง ไดแ้ ก่ วชิ าชพี ลายไทยเบอ้ื งต้น โถประดับพลอย พ้ืนฐานการจดั ดอกไม้ การ ทาํ บายศรี (ผา้ ) อาหารวา่ ง แกะสลักของอ่อน และการตกแต่งผลิตภณั ฑ์ ขนมอบ ป้ันต๊กุ ตาดินไทย เครอ่ื งหอม ดอกไม้ประดิษฐ์ เคร่ืองแขวน และศิลปะภาพนูนตํ่า (ผา้ ไทย) สอบถามรายละเอียด โทร. 0 2431 3623 ตอ่ 14 โทรสาร 0 2431 3624 หรือ www.nfe.go.th/0415/ 2. ศนู ยฝ์ ึกอาชีพกรุงเทพมหานคร ทัง้ 8 แห่ง ติดตอ่ ไดท้ ี่ 2.1 ศูนยฝ์ กึ อาชีพกรุงเทพมหานคร วดั ธรรมมงคลโทรศพั ท์ 0 2331 7573-4 2.2 ศนู ยฝ์ กึ อาชีพกรุงเทพมหานคร สวนลมุ พนิ ีโทรศพั ท์ 0 2251 5849, 0 2251 5268 2.3 ศูนยฝ์ กึ อาชพี กรงุ เทพมหานคร วดั วรจรรยาวาสโทรศัพท์ 0 2292 0194 2.4 ศูนยฝ์ ึกอาชีพกรงุ เทพมหานคร บางพลดั โทรศัพท์ 0 2423 2026 2.5 ศูนยฝ์ กึ อาชพี กรงุ เทพมหานคร จตั ุจักร 2 (มนี บรุ ี)โทรศพั ท์ 0 2540 4375-6 2.6 ศนู ยฝ์ ึกอาชพี กรุงเทพมหานคร วดั สุทธาวาส บางกอกน้อย โทรศพั ท์ 0 2412 4611-2 2.7 ศนู ยฝ์ ึกอาชพี กรงุ เทพมหานคร จตุจักร 1โทรศัพท์ 0 2272 4741, 0 2272 4742 2.8 ศนู ยฝ์ กึ อาชีพกรงุ เทพมหานคร มหาวิทยาลัยรามคาํ แหงโทรศพั ท์ 0 2369 2823-4 3. สถาบันพฒั นาฝมี ือแรงงานจังหวัดทุกแห่ง ตวั อยา่ ง สถานท่ฝี กึ อาชีพของเอกชน ซ่ึงมีคา่ ใช้จ่ายในการฝึกอาชีพแตล่ ะอาชีพแตกตา่ งกนั ออกไป เช่น 1. วชิ าชพี ของศนู ย์อาชพี และธุรกิจมติชน สอบถามรายละเอยี ดท่ี โทร.0 2589 2222, 0 2589 0492,0 2954 4999 ต่อ 2100, 2101, 2102, 2103

11 2. คมชัดลึก ฝึกอาชพี หนงั สือพิมพ์ คม ชัด ลึก “โครงการฝึกอบรมอาชีพระยะส้นั ”เปิดอบรม หลกั สูตรเดด็ เคลด็ ลบั ของสารพันอาหาร งานฝีมอื และอกี หลายงานวิชาชีพ ติดต่อ ศูนย์ลกู ค้าเนชั่น กร๊ปุ 1854 ถ.บางนา-ตราด แขวงบางนา เขตบางนา กรงุ เทพฯ 10260 โทร. 0 2338 3356-57 แฟกซ.์ 0 2338 3942 3. สถานประกอบการ เชน่ สถาบนั เสรมิ ความงาม สถาบนั สอนอาหาร เป็นต้น 4. สถานศกึ ษาในสงั กัดกระทรวงศึกษาธิการ เช่น วิทยาลยั เทคนิค, วิทยาลัยอาชวี ศกึ ษา , วทิ ยาลัยสารพัดชา่ ง, วทิ ยาลัยการอาชพี และสถานศึกษาในสังกัด กศน.

12 กิจกรรมท้ายบทท่ี 1 เรือ่ ง ลักษณะและประเภทของการรวมกลมุ่ 1.จงบอกลกั ษณะของการรวมกลุม่ ทอี่ ยูใ่ นชุมชนของผ้เู รยี น วา่ มีกลมุ่ อะไรบา้ ง และเกิดประโยชนอ์ ะไรจาก การรวมกลมุ่ (อย่างนอ้ ย 2 กลุ่ม ) ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 2. จงอธบิ ายลกั ษณะของกล่มุ อาชีพ ท่ผี เู้ รยี นรู้จักในชมุ ชนมา 1 กลุม่ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 3. จงอธิบายประเภทของกล่มุ อาชพี ท่ผี ูเ้ รยี นเข้าใจ มา 1 กลุ่มอาชพี ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

13 4.ให้ผู้เรยี นสาํ รวจภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ในชุมชนของตนเองแล้วบนั ทกึ ตามแบบฟอร์มทกี่ าํ หนดใหอ้ ยา่ งนอ้ ย 5 อยา่ ง ที่ ชือ่ ภูมปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ท่ีอยู่ ภูมิปญั ญาเรอ่ื ง ประโยชน์ 1 2 3 4 5 5. ใหผ้ ู้เรียนสาํ รวจสถานท่ฝี ึกอาชพี ในชุมชนของตนเองหรือชุมชนใกล้เคยี งแลว้ บนั ทึกตามแบบฟอรม์ ท่ี กาํ หนดให้ อยา่ งน้อย 5 แห่ง ที่ ช่อื สถานท่ฝี ึกอาชพี อาชพี ทฝี่ ึก ประโยชน์ 1 2 3 4 5

14 บทที่ 2 ความสาํ คญั ของการรวมกลุ่มอาชพี เรื่องท่ี 1 ความจําเปน็ ของการรวมกล่มุ ความหมายของกลมุ่ ตามความเห็นของ Maciver and Page ได้อธบิ ายวา่ กลุ่ม หมายถงึ การรวมตัวของมนุษยช์ าตทิ ่ี ตอ้ งสมั พนั ธต์ ิดต่อกับบุคคลอ่นื เม่อื ไมม่ คี วามสมั พนั ธต์ ดิ ตอ่ กับการรวมตัวของมนษุ ย์จะไม่เรียกวา่ กลมุ่ แบบของการรวมกลมุ่ มคี วามสมั พนั ธ์ทางสงั คมเป็น พ้นื ฐาน เทา่ นัน้ ตามความเห็นของ Ogburn and Nimkoff เขาอธิบายวา่ “บุคคลต้งั แต่สองคนข้นึ ไปอยู่รว่ มกัน และสัมพันธ์กบั บคุ คลอื่น เรยี กวา่ กลมุ่ สังคม” นกั สังคมวิทยาบางท่านให้ความหมายวา่ “กลุ่ม คอื คนจาํ นวนหนง่ึ มาอยู่รวมกันหรือกาํ ลงั รอคอย ส่ิงใดส่ิงหนึ่ง” หรือ “คนจาํ นวนหน่งึ ทม่ี ีลักษณะบางอย่างเหมอื นกัน” หรือ “คนจาํ นวนหน่งึ ซึ่งมแี บบแผน บางอยา่ งรว่ มกนั และมกี ารตอบโต้ซง่ึ กนั และกนั ” หรือ “กล่มุ คนจํานวนหนง่ึ ซงึ่ มคี วามรูส้ กึ นกึ คิดเป็นพวก เดียวกันและมีการกระทํา โต้ตอบซ่งึ กันและกัน” สรปุ ความหมายของกลุ่ม คอื กลุม่ คนทมี่ ิใช่มีความใกลช้ ดิ กันทางร่างกายเทา่ นน้ั แต่จะต้องมีการ กระทําโต้ตอบซึง่ กันและกัน มกี ารตดิ ตอ่ สมั พันธก์ ันตามสถานภาพและบทบาท มีความรสู้ กึ เปน็ พวก เดียวกนั มีความเชอ่ื ในดา้ นคุณคา่ ร่วมกันหรอื คล้ายคลงึ กนั กลุม่ สังคม ไดแ้ ก่ ครอบครวั กลมุ่ เพื่อน กลุ่ม อาชพี กล่มุ เช้ือชาติ กล่มุ ประชาชนของประเทศ เป็นต้น การจําแนกประเภทของกลมุ่ เราเป็นสมาชิกของกลมุ่ ซงึ่ อาจเป็นด้วยสถานการณ์ของการจัดการทางสถติ ิ เราเปน็ สมาชกิ ของ กล่มุ อน่ื กเ็ พราะวา่ เรามคี วามรสู้ กึ วา่ มบี างส่ิงบางอยา่ งร่วมกนั กับกลุ่มนน้ั เราเป็นสมาชกิ ของอีกกลุ่ม เพราะเรามคี วามสมั พนั ธ์ทางสงั คมกับกลุ่มน้ัน เราเป็นสมาชกิ ของกล่มุ ใดกลุ่มหนงึ่ เพราะว่าเขา้ รว่ มเปน็ สมาชิกของกล่มุ และมีชอ่ื ปรากฏเปน็ สมาชิกของกลุ่มน้นั เพราะฉะนัน้ จงึ อาจจัดกลมุ่ ออกไดเ้ ปน็ 4 กลุม่ ดังต่อไปนี้ 1) กล่มุ ทางสถติ ิ (Statistical Group) 2) กลุ่มคนพวกเดียวกัน (Societal Group) 3) กลมุ่ ทางสังคม (Social Group) 4) กล่มุ สมาคม (Associational Group)

15 อย่างไรก็ดี ช่ือท้ังสี่ข้างต้นอาจจะไม่ใช่ช่ือที่ดีหรือเหมาะที่สุด แต่เมื่อไม่สามารถจะแสวงหาช่ือท่ีดีกว่านี้ ช่ือ ท้ังส่ีก็น่าจะเป็นประโยชน์อยู่บ้างและก่อนอ่ืน เราควรจะได้ทราบว่าการจัดกลุ่มดังกล่าวน้ัน ข้ึนอยู่กับ ลักษณะท่สี ําคญั อยู่ 3 ประการ กล่าวคอื 1. ความรู้สกึ เปน็ พวกเดยี วกนั 2. การปะทะสงั สรรคท์ างสงั คม 3. การจดั ระเบียบทางสังคม 1) กลุ่มทางสถิติ (Statistical Group) เป็นกลุ่มที่สมาชิกมิได้จัดข้ึนด้วยตนเอง หากเป็นการจัดขึ้น โดยนกั สงั คมวิทยาและนกั สถิติ โดยปกตแิ ลว้ สมาชิกของกลมุ่ ไม่มีความรู้สึกว่าเป็นสมาชิกของกลุ่มและไม่มี สิทธิหรือพันธะต่อกลุ่มแต่อย่างใด ขอยก ตัวอย่างเช่น กลุ่มคนท่ีเกิดในโรงพยาบาลและกลุ่มคนที่เกิดนอก โรงพยาบาล เหล่าน้ีเป็นต้น การจัดกลุ่มทางสถิติขึ้นน้ันก็เพ่ือความมุ่งหมายของสถิติ จึงไม่สู้สําคัญในทาง สงั คมวิทยานกั ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ ับจากกลมุ่ ทางสถิติ คือ ช่วยให้ทราบถึงลักษณะสําคัญบางประการของชุมชนได้ เช่น ชุมชน ที่เกดิ ในโรงพยาบาลร้อยละ 10 ย่อมแตกต่างจากชุมชนท่ไี มเ่ กดิ ในโรงพยาบาลรอ้ ยละ 90 เป็นตน้ 2) กลุ่มคนพวกเดียวกัน (Societal Group) กลุ่มคนประเภทน้ีมีลักษณะแตกต่างไปจากลุ่มสถิติ คือ สมาชิกของกลุ่มคนพวกเดียวกันมีความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน ซ่ึงมีเครื่องแต่งกายเหมือนกันหรือมี ภาษาเดียวกัน กลุ่มนี้มีความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกัน ทั้ง ๆ ท่ีไม่เคยรู้จักกันมาก่อนและไม่มีการปะทะ สังสรรค์กัน ตลอดท้ังไม่มีการจัดระเบียบทางสังคม เช่น กลุ่มท่ีมีภาษาเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ภาษาชาว เหนอื คนทพี่ ูด ภาษาเหนอื อาจไมร่ จู้ กั กันก็ได้ แตพ่ อพูดออกมาก็รูไ้ ด้วา่ เปน็ พวกเดียวกัน 3) กลุ่มทางสังคม (Social Group) การใช้คําว่า “สังคม” ก็เพื่ออธิบายว่า มีการติดต่อกันทาง สังคมและมีการปะทะสังสรรค์กันทางสังคม สมาชิกของกลุ่มประเภทนี้ นอกจากจะมีความรู้สึกเป็นพวก เดียวกันแล้ว ยังมีการปะทะสังสรรค์ทางสังคมอีกด้วย กลุ่มทางสังคมน้ีก็ได้แก่ กลุ่มเพื่อนเล่น กลุ่มเพื่อ นกั เรียนรว่ มช้ันเดียวกนั เป็นต้น 4) กลุ่มสมาคม (Associational Group) กล่าวได้ว่า กลุ่มประเภทน้ีเป็นกลุ่มที่มีความสําคัญที่สุด ในสังคมเชิงซ้อนสมัยใหม่ ท้ังน้ีเพราะว่า กลุ่มสมาคม (หรือสมาคม) เป็นกลุ่มที่ได้มีการจัดระเบียบหรือ องค์การ เป็นกลุ่มท่ีมีโครงสร้างอย่างเป็นทางการ เพราะฉะน้ัน กลุ่มสมาคมจึงมีลักษณะครอบถ้วนใน ความหมายทางสังคมวิทยา กล่าวคือ มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน มีการปะทะสังสรรค์ทางสังคม และมี การจัดกลมุ่ อย่างมรี ะเบยี บเพื่อรักษาผลประโยชน์ของกล่มุ

16 เรื่องท่ี 2 ประโยชน์จากการรวมกล่มุ อาชีพ การทาํ งานเป็นกลมุ่ จะช่วยใหง้ านทท่ี าํ ประสบความสาํ เร็จ งานจะดาํ เนนิ ไปอยา่ งมี ประสิทธภิ าพ ทุกคนจะมสี ่วนรว่ มช่วยกนั คิดพจิ ารณาช่วยกันทํางาน งานจะผดิ พลาดน้อยลงเม่ือ ทาํ งานเป็นระบบกลุ่ม อกี ทงั้ จะทาํ ใหบ้ คุ คลหรอื สมาชกิ ในกลุ่มนัน้ ๆ มีความรกั ความผูกพนั เป็นมิตร ไมตรตี อ่ กัน มคี วามรักสามคั คีในหมู่คณะมากขนึ้ ดว้ ย หลักการทาํ งานกลมุ่ การทาํ งานเป็นกล่มุ ทีจ่ ะประสบผลสําเรจ็ ดว้ ยดีนน้ั ตอ้ งอาศัยหลักการ ดงั นี้ 1. กระบวนการกลมุ่ เป็นการทํางานซึ่งอาศยั ความรู้ความสามารถของหมคู่ ณะโดยวธิ ีการ หลายๆ อย่าง เช่น การระดมพลงั สมอง การอภปิ ราย การประชมุ การทํางานในรูปคณะกรรมการ โดยเปดิ โอกาสใหส้ มาชิกทุกคนไดแ้ สดงความรคู้ วามสามารถและประสบการณข์ องตนเองอย่างเต็มที่ ซงึ่ จะช่วยแก้ปญั หาในการทํางานได้ดี 2. การปฏิบตั ติ ามขัน้ ตอน กลา่ วคอื เม่ือรวมกลุ่มแลว้ จะตอ้ งมีการเลอื กประธาน รอง ประธาน เลขานกุ าร หรอื ตาํ แหนง่ อ่นื ๆ ตามความเหมาะสมและกาํ หนดบทบาทหนา้ ทแ่ี ต่ละคนให้ ชดั เจน โดยสมาชิกทกุ คนช่วยกันเลอื กผูม้ ีความเหมาะสมขนึ้ มา ซง่ึ ผู้ดํารงตําแหนง่ น้นั ๆ จะต้อง ปฏิบตั ติ ามบทบาทหน้าท่ีของตนใหด้ ีท่ีสดุ 3. กระบวนการแกป้ ญั หา การทาํ งานเป็นกล่มุ จะราบรนื่ และบรรลผุ ล ตามต้องการได้ ต้องอาศยั กระบวนการแกป้ ญั หาท่มี รี ะบบ ไดแ้ ก่ “กระบวนการคิดเป็น” ซ่ึงหมายถงึ การแกป้ ัญหา โดยตอ้ งมีขอ้ มูลประกอบในการคดิ อย่างน้อย 3 ประการ ซึง่ ได้แก่ ขอ้ มูลเกยี่ วกับตนเอง ข้อมลู เก่ยี วกับดา้ นสังคม ส่ิงแวดลอ้ มและความรดู้ า้ นวิชาการ เพือ่ จะช่วยทําให้สามารถตดั สนิ ใจแกป้ ญั หา ต่างๆ ใหส้ าํ เรจ็ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. คุณธรรม จรยิ ธรรม คอื การเป็นคนที่มคี วามเออื้ เฟอ้ื เผ่อื แผ่ ช่วยเหลอื เกอ้ื กลู กนั รจู้ ัก เสียสละเพอื่ ประโยชน์ส่วนรวม การใชถ้ ้อยคาํ ที่สภุ าพอ่อนโยนเหมาะสมกับกาลเทศะ การสรา้ งสรรค์ สิ่งที่ดมี ีประโยชนแ์ กก่ ันและกนั ความเสมอตน้ เสมอปลาย วางตวั ได้เหมาะสม รจู้ ักถ่อมตนสภุ าพไม่ ถือตวั เป็นคนตรงต่อเวลาและซ่ือสัตยต์ ่องาน 5. การมีมนษุ ยส์ ัมพนั ธ์ คอื การเสริมสร้างความสมั พันธ์อนั ดี และสามารถปรับตัวเข้ากบั ผอู้ ืน่ ไดเ้ พ่ือจงู ใจผู้อ่นื ใหเ้ กดิ ความรว่ มมือในการทํางานรว่ มกันเกดิ ความเขา้ ใจทด่ี ตี อ่ กนั ซึง่ จะทําให้ งานสาํ เรจ็ อย่างมปี ระสิทธิภาพ 6. วธิ กี ารประชาธิปไตย คอื การเคารพในสิทธขิ องผอู้ ื่น ใหค้ วามเสมอภาคแกท่ ุกคน ต้อง เคารพกฎเกณฑ์ หรือกติกาท่ีกล่มุ ไดว้ างไว้ ปฏบิ ัตติ ามเสยี งส่วนใหญข่ องกล่มุ

17 กจิ กรรมทา้ ยบทท่ี 2 เรอื่ ง ความสําคญั ของการรวมกล่มุ 1.ให้ผู้เรยี นศกึ ษา รวบรวมขอ้ มูล การรวมกลุม่ อาชีพในชุมชน แลว้ บนั ทึก อธบิ ายลักษณะเด่นของกลมุ่ และแสดงขอ้ คิดเหน็ มาพอเขา้ ใจ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ 2. ให้ผู้เรยี นอธิบายประโยชน์ที่ไดจ้ ากการรวมกลุ่มอาชีพ จากกลุ่มอาชพี ตวั อย่าง และกลุ่มอาชพี ทมี่ อี ยู่ใน ชุมชนของผเู้ รียน ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................

18 บทที่ 3 การบริหารจัดการกลุ่ม สาระสาํ คญั การจัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ เป็นการจัดกิจกรรมท่ีเปิดโอกาสให้ ผู้เรยี นไดบ้ รู ณาการทักษะตา่ ง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้อย่างสร้างสรรค์ โดยมีครู เป็นผูใ้ ห้คาํ ปรึกษา โดยใหผ้ ู้เรียนได้ศึกษาเรียนรู้ การจัดการกลุ่มจากกลุ่มอาชีพต่างๆท่ีมีอยู่ในชุมชน และ มีเจตคติท่ีดีต่อการจัดการกลุ่มเพ่ือพัฒนาอาชีพ สามารถบริหารจัดการกลุ่ม อีกท้ังสามารถวิเคราะห์ปัจจัย ท่ีเก่ียวข้องต่อความสําเร็จของกลุ่มและจัดการความเส่ียงท่ีจะเกิดจากการดําเนินการกลุ่มได้ ที่สําคัญ สามารถนําความรู้ที่ได้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนากลุ่มอาชีพต่างๆท่ีมีอยู่ในชุมชนของตนเองได้เป็น อย่างดี ผลการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั เพอื่ ใหผ้ ู้เรียน มคี วามรู้ ความสามารถบริหารจัดการกลุม่ ได้ ขอบข่ายเนอ้ื หา เรอื่ งท่ี 1 ปัจจัยเบ้ืองต้นเก่ียวกับการดาํ เนนิ ธรุ กจิ ของกลุ่มอาชีพ เรอ่ื งที่ 2 การบริหารเงินทนุ ของกลุ่มอาชีพ เรือ่ งที่ 3 การบรหิ ารการผลติ เร่ืองที่ 4 การบรหิ ารการตลาด เรือ่ งท่ี 5 การบรหิ ารงานบุคคล

19 เรื่องที่ 1 ปจั จยั เบอื้ งตน้ เกยี่ วกับการดาํ เนนิ ธรุ กิจของกลมุ่ การดาํ เนินธรุ กิจตอ้ งอาศยั หลาย ๆ ปัจจัยประกอบกัน จึงจะเกดิ กจิ กรรมในการประกอบธรุ กจิ จะ ขาดปัจจยั ใดปัจจัยหนง่ึ ไม่ได้ โดยทัว่ ไปปัจจัยพ้ืนฐานในการดาํ เนนิ ธรุ กิจมี 4 ประเภท ท่ีเรียกวา่ 4 M ไดแ้ ก่ 1. คน (Man) ถือว่าเป็นปัจจยั ที่สําคัญท่ีสดุ เพราะธุรกจิ ตา่ ง ๆ เกิดขึ้นไดต้ อ้ งอาศัยความคดิ ของ คน มีคนเป็นผดู้ าํ เนนิ การหรือเปน็ ผจู้ ัดการ จึงจะทําให้เกิดกจิ กรรมทางธรุ กจิ หลายรปู แบบ ซ่ึงในวงจรธุรกจิ มคี นหลายระดบั หลายรปู แบบ ทั้งระดับ ผู้บริหาร ผใู้ ช้แรงงานรว่ มกันดาํ เนินการ จงึ จะทาํ ให้ประสบความสําเรจ็ ในการประกอบธุรกจิ 2. เงิน (Money) เงินทนุ เป็นปัจจัยในการดําเนนิ ธุรกิจอีกชนิดหน่ึงที่ต้องนาํ มาใชใ้ นการลงทุน เพื่อใหเ้ กดิ การประกอบธุรกจิ โดยธุรกิจแตล่ ะประเภทใช้ปริมาณเงนิ ทกุ ทแ่ี ตกตา่ งกัน ธุรกิจขนาดใหญย่ อ่ ม ใชเ้ งินทนุ สงู กวา่ ธุรกจิ ขนาดเลก็ กว่า ดงั น้ัน ผปู้ ระกอบธรุ กิจจึงต้องมีการวางแผนในการใชเ้ งนิ ทนุ และการ จดั หาเงินทุนอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ เพอ่ื ทําให้การดาํ เนินธุรกิจไมป่ ระสบปัญหา ด้านเงินทุน และกอ่ ให้เกดิ ผลตอบแทนสูงสดุ คมุ้ กับเงินที่นาํ มาลงทนุ 3. วสั ดุหรอื วัตถดุ ิบ (Material) ในการผลติ สนิ คา้ ต้องอาศยั วัตถดุ บิ ในการผลิตคอ่ นข้างมาก ผู้บริหารจงึ ตอ้ งรจู้ กั การ บรหิ ารวัตถดุ ิบใหม้ ปี ระสทิ ธิภาพ เพ่ือให้เกิดตน้ ทุนดา้ นวตั ถดุ ิบตา่ํ สดุ อันจะสง่ ผลใหธ้ ุรกจิ มีผลกําไรสงู สดุ ตามมา 4. วธิ ีปฎิบัติงาน (Method) เป็นวิธีการในการปฎิบัติงานในแต่ละข้ันตอนของการดาํ เนินธรุ กิจ ซึง่ ต้องมีการวางแผน และควบคุม เพือ่ ให้การปฎิบตั งิ านมีประสทิ ธิภาพ เกดิ ความคล่องตวั สอดคลอ้ งกับสภาพแวดล้อมท้งั ภายในและภายนอกกจิ การ

20 เรอื่ งที่ 2 การบรหิ ารเงนิ ทนุ ของกลุม่ อาชพี เงินทนุ หมายถึง เงินตราทอ่ี งคก์ ารธุรกจิ จดั หามา เพื่อนาํ มาใชใ้ นการดาํ เนินกจิ การ โดยมี จดุ ประสงค์เพือ่ ใหไ้ ด้ผลตอบแทนจาการลงทนุ อย่างคุ้มคา่ เงินทุนมคี วามสาํ คญั ตอ่ ธรุ กิจ เพราะเปน็ ปจั จยั ในการดาํ เนินธุรกจิ ตัง้ แต่เริม่ ต้ังกจิ การ และระหว่างดาํ เนนิ กิจการ เงินทุนทําให้การผลติ การซ้อื ขายเป็นไป อย่างมีประสทิ ธิภาพและทําใหธ้ รุ กจิ ขยายตวั ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ประเภทของเงนิ ทุน เงนิ ทุนท่ใี ช้ในการดาํ เนินธรุ กิจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทคือ 2.1 เงนิ ทนุ คงท่ี เงินทุนคงท่หี มายถึง เงินทุนท่อี งคก์ ารธุรกิจจดั หาเพ่อื นํามาใชใ้ นการจัดหาทรัพย์สินถาวร ทรพั ยส์ นิ ถาวร หมายถึง สนิ ทรัพย์ท่ีอายกุ ารใช้งานนานเกินกว่า 1 ปี ดงั นนั้ เงินทนุ คงท่ี องค์การธรุ กิจจึง นํามาใชใ้ นการลงทนุ ซือ้ ทดี่ ิน สรา้ งอาคาร ซอื้ เคร่อื งจกั ร ซอื้ เครื่องใช้สาํ นักงาน เป็นตน้ 2.2 เงินทนุ หมุนเวยี น เงินทุนหมนุ เวียน หมายถึง เงินทุนทอี่ งคก์ ารธรุ กจิ จดั หา เพ่ือนํามาใช้ในการจดั หาทรัพยส์ ิน หมนุ เวยี นหรอื ใช่ในการดําเนินกจิ การ ทรัพย์สินหมุนวเวยี น หมายถงึ สนิ ทรัพย์ทีอ่ ายุการใชง้ านไม่เกินหนึ่ง ปี ดังน้นั เงินทนุ หมุนเวยี น องค์การธรุ กจิ จึงนาํ มาใชใ้ นการซือ้ วัตถุดิบ ซอื้ สินค้า จ่ายคา่ แรงงาน จ่ายค่าเบี้ย ประกันภัย จา่ ยคา่ ขนส่ง จส่ ยค่าโฆษณา จา่ ยค่าสาธารณูปโภค เปน็ ต้น การจดั หาเงนิ ทุน องคก์ ารธุรกิจสามารถจดั หาเงนิ ทนุ เพื่อนํามาใช้ในการดําเนินการตามระยะเวลาได้ 2 ประเภท คอื เงินทนุ ระยะสน้ั หมายถงึ เงินทุนท่ีองคก์ ารธรุ กิจจัดหา เพ่อื ใช้ดาํ เนนิ งาน มีกําหนดระยะเวลาจา่ ยคืนไม่ เกนิ 1 ปี ได้แก่ การจัดหาทรัพย์สนิ หมนุ เวียน จา่ ยเงินเดือนพนกั งาน ซอ้ื วัตถุดิบเพ่อื ใชใ้ นการผลิตแหลง่ ใน การจดั หาเงินทนุ ระยะสั้นไดแ้ ก่ 1. ธนาคารพาณิชย์ การจัดหาเงินทุนระยะส้นั จากธนาคารพาณชิ ย์ขององคก์ าร ธุรกจิ แบ่งเปน็ 2 ลักษณะ ดังนี้ 1.1 การเบิกเงินเกินบัญชธี นาคาร คือ องคก์ ารธรุ กจิ มบี ัญชเี งนิ ฝากธนาคารประเภทกระแสรายวัน เมอ่ื องค์การธรุ กิจมคี วามตอ้ งการเงนิ ทุนระยะส้ัน สามารถทาํ ข้อตกลงกบั ธนาคารขอเบอกเงินมากกว่า จาํ นวนท่ีฝากไว้ โดยธนาคารอาจขอให้ใชห้ ลกั ทรัพยบ์ คุ คลมาคํา้ ประกัน และธนาคารคดิ ดอกบเบ้ียจาก จาํ นวนเงินท่เี บิกเกนิ บญั ชเี งินฝากไปใช้

21 1.2 การนําสนิ คน้ หรอื ใบรบั สนิ คา้ คา้ํ ประกันการกู้ คือ องค์การธรุ กิจกเู้ งินจากธนาคารโดยนําสิน คน้ หรอื สลักหลงั ใบรับสนิ ค้าเป็นหลักประกันการกจู้ ากธนาคาร กาํ หนดการชาํ ระเงินเมื่อจาํ หน่ายสินคา้ ได้ 2. ใช้เอกสารเครดติ คอื องค์การธุรกิจใช้เอกสารเครดติ ในการกู้เงินจากเจา้ หน้ีเอกสารทใี่ ช้ในการกู้ ระยะสนั้ ได้แก่ เชค็ ลงวันท่ลี ่วงหน้า การขายลดตว๋ั เงนิ ใหธ้ นาคารหรอื สถาบนั การเงิน ออกตวั๋ สัญญาใช้เงิน ให้เจ้าหน้ี 3. สนิ เชอื่ ทางการค้า คอื องค์การธุรกิจจดั หาเงินทนุ ระยะส้นั ไดต้ ามประเพณีการคา้ โดยการซ้ือ สินคา้ เป็นเงินเช่อื ได้สินคา้ กอ่ นชํานะเงินภายหลัง หรือการรบั รองตวั๋ แลกเงินท่ีเจ้าหน้ีเปน็ ผอู้ อก เงนิ ทนุ ระยะยาว เงนิ ทุนระยะยาว (Long Term Financing) หมายถงึ เงินทุนท่ีองค์การธรุ กิจจดั หามีกําหนด ระยะเวลาจา่ ยคืนเกินกว่า 5 ปี แหลง่ ในการจดั หาเงินทนุ ระยะยาว ได้แก่ 1. เจ้าของทุนองค์การธุรกิจ โดยการเพ่มทุนของเจา้ ขององคก์ ารธุรกจิ ประเภทเจ้าของคนเดยี ว หา้ งห้นุ ส่วน และ การออกจาํ หน่ายห้นุ ทุนขององค์การธรุ กจิ ประเภทบรษิ ัทจาํ กัด หนุ้ ทนุ ของบริษัท ได้แก่ 1.1 หุน้ สามญั บรษิ ทั ออกหนุ้ สามญั จําหนา่ ยใหแ้ ก่ประชาชน เพื่อนําเงนิ ไปเป็นทนุ ของบริษัท โดยผู้ถอื ห้นุ สามัญมสี ทิ ธิ ออกเสยี งในทป่ี ระชุมบริษทั และไดร้ บั เงนิ ปนั ผลในกรณบี ริษัทมกี าํ ไร แต่อัตราเงนิ ปันผลของหน้ สามญั ไม่ กําหนดแน่นอน 1.2 หนุ้ บุรมิ สิทธิ บริษัทออกหนุ้ บรุ ิมสิทธจิ ําหนา่ ยใหแ้ ก่ประชาชน เพอื่ นําเงินไปเป็นทุนของ บริษทั โดยผู้ถอื หุ้นบรุ มิ สิทธิ ไมม่ สี ิทธอิ อกเสยี งในที่ประชมุ บรษิ ทั และรบั เงนิ ปนั ผลเปน็ อัตราแนน่ อน 2. ธนาคารพาณชิ ย์หรือสถาบันการเงนิ อน่ื องค์การธรุ กิจสามารถจัดหารเงินทุนระยะยาวได้โดย การกยู้ ืมจากธนาคารพาณิชย์หรอื สถาบนั การเงนิ อน่ื โดยมหี ลกั ทรัพยค์ า้ํ ประกนั ในการกู้ยมื เชน่ ท่ีดิน อาคาร เปน็ ต้น 3. จําหน่ายพันธบตั ร องคก์ ารธุรกจิ สามารถจดั หาเงินทนุ ระยะยาวได้ โดยออกเอกสารจาํ หน่าย ให้แก่ประชาชน ผูถ้ ือพันธบตั ร มสี ภาพเป็นเจ้าหนขี้ ององค์การธรุ กิจ ผลตอบแทนทไ่ี ดร้ ับคือ ดอกเบี้ยทีม่ อี ัตราแน่นอน ไมว่ ่าองค์การธุรกจิ จะมีกําไรหรอื ขาดทุน 4. กู้ยมื จากรฐั บาล รฐั บาลมนี โยบายให้องค์การธุรกจิ ขนาดเลก็ กูร้ ะยะยาวโดยคิดดอกเบย้ี ใน อัตราตํ่า เพอ่ื สง่ เสริมการขยายตวั ของธุรกิจ

22 เรือ่ งท่ี 3 การบรหิ ารการผลติ การบรหิ ารการผลิตเป็นสว่ นหนงึ่ ในหนา้ ที่หลักของการบรหิ ารธุรกจิ และองคก์ ารอันมีพนั ธะกิจ (Mission) คือผลกาํ ไรท่ีทาํ ใหอ้ งคก์ ารอยู่รอดและเจริญเติบโตไดใ้ นระยะยาว เมือ่ มีการแยกพนั ธะกิจ ออกเปน็ วัตถุประสงค์ของแตล่ ะหน้าทหี่ ลกั จะพบว่า ฝา่ ยการตลาด : วตั ถุประสงคห์ ลกั คอื การขยายตัวของสว่ นแบ่งตลาด (Market Share) และความ พงึ พอใจของลกู คา้ (Customer Satisfaction) ฝ่ายการเงนิ : วตั ถปุ ระสงคห์ ลกั คอื ความสามารถในการทาํ กําไร (Profitability) และการรกั ษา สภาพคล่องของธรุ กจิ (Liquidity) การผลติ เปน็ การสรา้ งสรรคส์ นิ คา้ และบรกิ ารเพื่อตอบสนองความต้องการมนษุ ย์ ผูซ้ ่ึงมคี วาม ตอ้ งการอยา่ งไม่สน้ิ สุด แต่เนื่องจากการมีทรพั ยากรทม่ี อี ย่อู ยา่ งจํากัดน้ัน จึงไดเ้ ข้ามาเป็นตัวกําหนดบทบาท ในกระบวนการผลิตเปน็ อยา่ งมาก ดงั นัน้ จงึ ทําใหเ้ กิดการบริหารการผลติ เพื่อช่วยใหผ้ ลผลิตทอี่ อกมามี คณุ ภาพ และตรงตามความต้องการของมนษุ ย์ อีกประการหนง่ึ ยงั เปน็ การชว่ ยใหเ้ รานําเอาทรัพยากรที่มอี ยู่ อย่างจาํ กัดน้ัน มาใช้ใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดอกี ดว้ ย โดยการผลติ มีการแปรรูปปจั จยั นาํ เข้าต่างๆ ประเภทของการผลิต ประเภทของการผลติ แบ่งตามลกั ษณะเฉพาะของผลติ ภณั ฑ์ การผลิตตามคําสั่งซื้อ (Made-to-order) เป็นการผลิตที่คุณลักษณะของผลิตภัณฑ์จะ เปลี่ยนแปลงไปตามความต้องการของลูกค้าแต่ละราย การเตรียมการผลิตและวัตถุดิบที่ต้องการจะใช้ ตลอดจนกระบวนการผลิตจึงไม่สามารถคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าได้ เคร่ืองจักรอุปกรณ์ที่ใช้ต้องเป็นแบบ อเนกประสงค์ และผู้ผลิตต้องมีความสามารถและความชํานาญหลายอย่าง เพ่ือทําการผลิตส่ิงที่ลูกค้า ต้องการได้ ตัวอย่างของการผลติ ตามคาํ ส่ังซือ่ ได้แก่ การตัดเยบ็ ชุดววิ าห์ การรับสร้างบา้ นบนที่ดินของลูกค้า การทําผม ฯลฯ การผลิตเพ่ือรอจําหน่าย (Made-to-stock) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีมีคุณลักษณะเป็น มาตรฐานเดียวกันตามความต้องการของกลุ่มลูกค้าเป้าหมายส่วนใหญ่ การจัดหาวัตถุดิบและการเตรียม กระบวนการผลิตสามารถทําได้ล่วงหน้า เครื่องจักรอุปกรณ์จะเป็นเคร่ืองมือเฉพาะงานและผู้ผลิตถูกอบรม มาเพื่อทํางานตามหน้าที่เฉพาะอย่าง ตัวอย่างของการผลิตเพ่ือรอจําหน่ายได้แก่การผลิตสบู่ การผลิต รถยนต์ การผลติ เส้อื ผา้ เครือ่ งแบบนกั เรยี น ฯลฯ การผลิตเพื่อรอคําสั่งซ้ือ (Assembly-to-order) เป็นการผลิตชิ้นส่วนท่ีจะประกอบเป็น สินค้าสําเร็จรูได้หลายชนิด ซ่ึงช้ินส่วนเหล่านั้นจะมีลักษณะแยกออกเป็นส่วนจําเพาะหรือโมดูล (Module) โดยผลิตโมดูลรอไว้ก่อน เมื่อได้รับคําส่ังซ้ือจากลูกค้าจึงทําการประกอบโมดูลให้เป็นสินค้าตามลักษณะท่ี ลูกค้าต้องการ จึงนับได้ว่าการผลิตเพ่ือรอคําสั่งซื้อได้นําเอาลักษณะของการผลิตเพื่อรอจําหน่ายซ่ึงมีการ

23 ผลิตช้ินส่วนเป็นโมดูลมาตรฐานท่ีใช้ประกอบเป็นสินค้าหลายชนิดรอไว้มาผสมเข้ากับลักษณะของการผลิต ตามคําส่ังซื้อซึ่งนําโมดูลมาประกอบ และแต่งเติมรายละเอียดให้สินค้าสําเร็จรูปมีความแตกต่างกันไปตาม ความต้องการของลูกค้าเฉพาะราย ตัวอย่างการผลิตเพื่อรอคําส่ังซ้ือ ได้แก่ การผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้า หลาย รุ่นทม่ี กี ารใชอ้ ะไหลเ่ หมอื นกัน ประเภทของการผลิตแบ่งตามลกั ษณะของระบบการผลิตและปรมิ าณการผลติ การผลิตแบบโครงการ (Project Manufacturing) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ ราคาแพง และมีลักษณะเฉพาะตามความต้องการของลูกค้าเฉพาะราย เช่น การสร้างเข่ือน การสร้างทาง ด่วน การต่อเรือดํานํ้า การต่อเคร่ืองบิน ฯลฯ การผลิตแบบโครงการมักมีปริมาณการผลิตต่อคร้ังน้อยมาก หรือผลิตคร้ังละชิ้นเดียวและใช้เวลานาน การผลิตจะเกิดข้ึนที่สถานท่ีตั้งของโครงการ (Site) เมื่อเสร็จงาน โครงการหนึ่งจึงย้ายทั้งคนและวัสดุส่ิงของเครื่องมือต่าง ๆ ไปรับงานใหม่ เครื่องมือท่ีใช้จึงเป็นแบบ อเนกประสงค์ซ่ึงเคลื่อนย้ายได้ง่าย และคนงานต้องสามารถทํางานได้หลายอย่างจึงต้องใช้แรงงานมีฝีมือที่ ผ่านการอบรมอยา่ งดี การผลิตแบบไม่ต่อเน่ือง (Job Shop หรือ Intermit ten Production) เป็นการผลิต ผลติ ภณั ฑ์ทม่ี ีลกั ษณะหลากหลายตามความต้องการของลกู คา้ โดยมีปริมาณการผลิตต่อครั้งเป็นล็อต มีการ เปลี่ยนผลิตภัณฑ์ที่ผลิตค่อนข้างบ่อย และผลผลิตไม่มีมาตรฐานมากนัก เช่น การบริการคนไข้ท่ีเข้ารับการ รักษาในโรงพยาบาล เคร่ืองจักรอุปกรณ์ต่างๆ จะถูกรวมกันตามหน้าที่การใช้งานไว้ในสถานีการผลิตแยก เป็นหมวดหมู่อยู่ตามส่วนต่างๆ ของผังโรงงานในจุดท่ีจะสามารถทําให้กระบวนการผลิตทุกผลิตภัณฑ์ สามารถดําเนินไปตามขั้นตอนการผลิตที่กําหนดไว้อย่างคล่องตัว การเดินเครื่องจักรผลิตจะผลิตสินค้าชนิด หน่งึ จนไดป้ ริมาณตามทต่ี ้องการแลว้ จึงเปล่ียนไปผลติ สนิ ค้าชนิดอ่ืนโดยใชเ้ คร่อื งจักชดุ เดิม การผลติ แบบกล่มุ (Batch Production) เป็นการผลิตที่คล้ายกับการผลิตแบบไม่ต่อเน่ือง มาก จนบางคร้ังจัดเป็นการผลิตประเภทเดียวกัน แต่จะแตกต่างกนตรงที่การผลิตแบบกลุ่มจะมี ลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตแยกเป็นกลุ่ม ๆ ในแต่ละกลุ่มจะผลิตตามมาตรฐานเดียวกันท้ังล็อต ในขณะที่การผลิตแบบไม่ต่อเน่ืองจะมีลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์หลากหลายมากกว่า ลักษณะการจัด เคร่ืองจักรอุปกรณ์ของการผลิตแบบกลุ่มจะเหมือนกับการผลิตแบบไม่ต่อเน่ืองคือจัดเครื่องจักรตามหน้าท่ี การใช้งานเป็นสถานีแล้วงานจะไหลผ่านไปแต่ละสถานีตามลําดับข้ึนตอนของงาน และเนื่องจากการผลิต แบบกลมุ่ เปน็ การผลิตของเป็นล็อต ขั้นตอนการผลิตจึงมีแบบแผนลําดับเหมือนกันเป็นกลุ่มๆ ตามล็อตการ ผลิตเหล่าน้ัน การผลิตแบบกลุ่มน้ีใช้ได้กับการผลิตตามคําส่ังซ้ือและการผลิตเพ่ือรอจําหน่าย เช่น การเย็บ เสอื้ โหล เปน็ ต้น การผลิตแบบไหลผ่าน หรือการผลิตตามสายการประกอบ หรือการผลิตแบบซํ้า (Line- Flow หรือ Assembly หรือ Repetitive Production) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ท่ีเหมือนกันในปริมาณมาก เช่น การผลิตแชมพู การผลิตรถยนต์ การผลิตเคร่ืองซักผ้า การผลิตแบบไหลผ่านจะมีเคร่ืองจักอุปกรณ์ เฉพาะของแต่ละสายผลิตภัณฑ์แยกต่างหาก โดยไม่มีการใช้เคร่ืองจักรร่วมกันเครื่องจักรอุปกรณ์จะเป็น

24 แบบเฉพาะงานสําหรับแต่ละสายผลิตภัณฑ์เพื่อการผลิตที่รวดเร็ว และได้ปริมาณมาก การผลิตแบบนี้จะ เหมาะสมกับการผลิตเพื่อรอจําหน่ายหรือใช้ในการประกอบโมดูลในการผลิตเพ่ือรอคําสั่งซื้อจากลูกค้า ต่อไป การผลิตแบบต่อเน่ือง (Continuous Process หรือ Continuous Flow Production) เป็นการผลิตผลิตภัณฑ์ชนิดเดียวในปริมาณท่ีมากมายอย่างต่อเน่ืองโดยใช้เคร่ืองจักรเฉพาะอย่าง ซ่ึงมักจะ เป็นการผลิตหรือแปรรูปทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นวัตถุดิบในการผลิตข้ันตอนต่อไป เช่น การกลั่นนํ้ามัน การผลติ สารเคมี การทาํ กระดาษ ฯลฯ

25 เรื่องที่ 4 การบริหารการตลาด ในขั้นตอนของการบริหารการตลาดนน้ั ใช้หลกั เกณฑเ์ หมอื นกบั การบริหารทว่ั ไป ซึ่งประกอบด้วยการวางแผนการตลาด การปฏิบัติการทางการตลาด และการประเมินผลการดําเนินงาน ทางการตลาด ขั้นตอนในการบริหารการตลาด จะเก่ียวข้องกับคํา 2 คํา คือ การตลาด กับการจัดการ หรือการบริหาร การจัดการ หรือ การบริหาร ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Management มีความหมายคล้าย กับคําว่า Administration ซ่ึงหมายถึง \"กระบวนการวางแผน การปฏิบัติตามแผน และการประเมินผล ตามลาํ ดับ ซ่ึงข้นั ตอนในการบรหิ ารการตลาดสามารถอธิบายได้ดังนี้ การวางแผน (Planning) ประกอบดว้ ยการกําหนดจุดมงุ่ หมาย (Goals) หรอื วตั ถุประสงค์ การเลือกกลยุทธ์ และยทุ ธว์ ิธี เพือ่ ให้บรรลุจดุ มุ่งหมายโดย รายละเอยี ดดังนี้ วัตถปุ ระสงคแ์ ละจุดมงุ่ หมาย คอื ความมุ่งหมายทีไ่ ดจ้ าํ แนกรายละเอียดในการปฏิบตั ิงาน ไว้ เชน่ ต้องการสว่ นครองตลาด 25% จุดมงุ่ หมาย เป็นการกาํ หนดเปา้ หมายการทาํ งานที่กระชบั กวา่ วัตถปุ ระสงค์ หรืออาจกล่าวไดว้ ่า จดุ มุง่ หมายเป็นการกําหนดวตั ถปุ ระสงคร์ องเพ่ือให้บรรลวุ ัตถปุ ระสงค์ หลัก แต่อยา่ งไรก็ตามทง้ั สองคาํ นม้ี ีความคลา้ ยคลงึ กนั กลา่ วคอื \"เปน็ สิ่งทตี่ ้องการได้รับหรือคาดหมายเอาไว้ ในอนาคต\" และสองคาํ น้ีสามารถใชแ้ ทนกันได้ กลยทุ ธ์ (Strategies) หมายถึง \"แผนการปฏบิ ัตงิ านท่อี งค์กรกําหนดเพือ่ ใหบ้ รรลุ จุดมุ่งหมาย\" ถ้าวตั ถุประสงค์กาํ หนดไวว้ า่ ปีหน้าตอ้ งการยอดขายเพิ่มเป็น 10% จากปีทีผ่ ่านมา กลยุทธน์ ี้ อาจเป็นการเพ่ิมความพยายามทางการตลาดโดยการสง่ เสริมการตลาดในรูปโฆษณาและส่งเสริมการขาย ยทุ ธวิธี (Tactics) \"เป็นวธิ กี ารนําเอารายละเอียดของกลยุทธม์ าปฏบิ ตั \"ิ ยุทธวิธีจะแสดง รายละเอยี ดและมลี กั ษณะเฉพาะเจาะจงย่ิงกว่ากลยุทธ์ และใชย้ ทุ ธวิธภี ายในชว่ งเวลาสัน้ กวา่ กลยทุ ธ์ โปรแกรม (Program) หมายถงึ แผนงานทม่ี คี วามสมบรู ณ์ เปน็ แผนทร่ี วมนโยบายกล ยุทธ์ วิธกี ารปฏิบัติ มาตรฐาน งบประมาณและสว่ นประกอบอืน่ ๆ เข้าด้วยกนั เพ่ือให้บรรลุวัตถปุ ระสงค์ ขององคก์ ร ในแต่ละวัตถปุ ระสงคจ์ ะตอ้ งกาํ หนดว่า จะทาํ อะไร จะทําเมื่อใด จะทําโดยใคร จะทาํ อย่างไร และสิน้ เปลือง คา่ ใชจ้ ่ายเทา่ ใด นโยบาย (Policy) หมายถึง \"หลักการที่กําหนดขอบเขตอย่างกว้าง ๆ เพื่อเป็นแนวใน การปฏิบัติงานให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร\" นโยบายจึงเสมือนเป็นแนวทางในการกระทําหรือการ ดําเนินงาน นโยบายจะเป็นที่ยอมรับสําหรับทุกระดับในองค์กรหนึ่ง ต้ังแต่ประธานจนถึงพนักงาน นโยบาย จะเป็นท่ียอมรับจากทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นฝ่ายการผลิต การเงิน การตลาดและการบุคลากร ซึ่งฝ่ายต่าง ๆ จะใช้เป็นแนวทางอย่างกว้าง ๆ ในการดําเนินงานให้สอดคล้องกับนโยบายน้ีการปฏิบัติการ ประกอบด้วย การกาํ หนดรูปแบบโครงสร้างองค์กร การจัดบุคคลเข้าทํางาน และการปฏิบัติการตามแผน การประเมินผล การทํางาน เป็นข้ันตอนที่ประสานงานในกระบวนการบริหาร กล่าวคือ เปรียบเทียบผลการปฏิบัติงานกับ จดุ มงุ่ หมาย การประเมินผลจึงเป็นตวั เช่อื มระหว่างการทํางานในอดีตและการวางแผนการทํางานในอนาคต

26 การบริหารการตลาด หมายถึงกระบวนการวางแผนการตลาด การปฏิบัติการตามแผนการตลาด และการ ประเมินผลการทํางานทางการตลาด ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย จะเห็นว่าความหมายของการบริหารการตลาด เป็นการนํากระบวนการบริหาร 3 ขั้นตอนมาใช้กับการตลาดน่ันเองข้ันตอนในการบริหารการตลาดก็จะใช้ หลักเกณฑ์ เดียวกับขน้ั ตอนในการบรหิ ารงานทว่ั ไป ซงึ่ ประกอบด้วย ข้ันที่ 1 การวางแผนการตลาด ขน้ั ท่ี 2 การปฏิบตั ิการทางการตลาด ข้นั ท่ี 3 การประเมนิ ผลการทาํ งานทงการตลาด 4.1 การวางแผนการตลาด กระบวนการวางแผนการตลาด ประกอบด้วยขั้นตอน คือ (1) วิเคราะห์สถานการณ์ (2) การพิจารณาวัตถุประสงค์ทางการตลาด (3) การเลอื กตลาดเป้าหมายและวัดขนาดความตอ้ งการซ้ือของตลาด (4) การออกแบบส่วนประสมทางการตลาด (5) การจัดเตรียมแผนการตลาดสาํ หรับป\"ี การวิเคราะหส์ ถานการณ์ หมายถึง การสาํ รวจโปรแกรมการตลาดใน ปจั จบุ ันของบริษทั เพ่ือพจิ ารณาวา่ โปรแกรมการตลาดในอนาคตควรจะเปน็ อยา่ งไร รวมท้ังตอ้ งวเิ คราะห์ ส่งิ แวดล้อมภายใน(สว่ นประสมทางการตลาดหรือปัจจัยทางการตลาดและส่งิ แวดล้อมภายในอน่ื นอกเหนือจากปัจจัยทางการตลาด) และสิ่งแวดลอ้ มภายนอก (ส่ิงแวดล้อมจลุ ภาคและสง่ิ แวดลอ้ ม มหภาค) ทมี่ อี ทิ ธิพลตอ่ โปรแกรมการตลาด การพิจารณาวตั ถปุ ระสงคท์ างการตลาด เป็นการกาํ หนดเปา้ หมายทางการตลาดซงึ่ ต้องเป็นจรงิ มีลักษณะเฉพาะเจาะจงและวัดได้ ตวั อย่างวตั ถปุ ระสงค์ทางการตลาดของบรษิ ทั ขายนํ้ายาปรับผ้านุม่ ประกอบด้วย ต้องการรายได้จากการขาย 9 ลา้ นบาทยอดขายเพม่ิ ขึน้ จากปีท่ีผ่านมา10% ปรมิ าณการขาย 70,000หน่วย คดิ เปน็ ส่วนคลองตลาด 5% สามารถขยายการรับรู้ของผบู้ ริโภคในตรายห่ี ้อจาก 15% เพิม่ เป็น 30% สามารถขยายจํานวนรา้ นค้าปลกี เปน็ 10% ฯลฯ

27 การเลอื กตลาดเป้าหมายและวัดความตอ้ งการซือ้ ของตลาด เป็นการวิเคราะห์ตลาดในปัจจุบัน เพื่อหาโอกาสในตลาดทีค่ าดหวัง แลว้ เลือกตลาดทธ่ี ุรกจิ มคี วามสามารถทจ่ี ะตอบสนองความพอใจในตลาด น้ันได้ การออกแบบสว่ นประสมทางการตลาดและยุทธวิธีการตลาด) เปน็ งานทีเ่ กี่ยวข้องกบั สว่ น ประสมการตลาด(4'Ps) เพ่ือให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ทีก่ ําหนดไว้ กลา่ วคือ สามารถสนองความตอ้ งการของ ตลาดเปา้ หมายใหพ้ ึงพอใจและสามารถบรรลจุ ดุ มุ่งหมายของตลาด โดยมจี ดุ เรมิ่ ตน้ ทก่ี ารกําหนดและ วเิ คราะหต์ ลาดเป้าหมาย แลว้ จึงพัฒนาโปรแกรมทางการตลาดและส่วนประสมการตลาดเพ่อื สนองความ ต้องการของตลาดเปา้ หมายนั้น โดยมีวัตถปุ ระสงค์ทางการตลาดคือความพงึ พอใจของลูกค้า การวางแผนการตลาดสาํ หรบั ปี เปน็ แผนรวมกจิ กรรม การตลาดของทัง้ ปสี าํ หรับธรุ กิจ หรือผลิตภณั ฑ์หนงึ่ อยา่ ง ในแผนประกอบด้วย (1) การกาํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ (2) การกาํ หนดตลาดเปา้ หมาย (3) กลยุทธ์และยทุ ธวธิ กี ารตลาด (4) ข้อมลู เกี่ยวกับงบประมาณทใี่ ช้สําหรบั กจิ กรรมการตลาดการปฏบิ ตั ิการทางการตลาด 4.2 การปฏบิ ตั ิการทางการตลาด เปน็ ข้ันตอนที่สองในการบรหิ ารการตลาดมกี จิ กรรมท่ีสําคญั 3 ประการ คอื 1. การจัดองค์กรทางการตลาด 2. การจดั บุคคลเข้าทํางานในองค์กรนน้ั 3. การปฏิบัติการทางการตลาด โดยมีรายละเอียดดงั นี้ 1. การจัดองคก์ รทางการตลาด การจดั องค์กรทางการตลาด หมายถงึ การกําหนดภาระหน้าที่และโครงสรา้ งทาง การตลาดขององคก์ ร โดยถือเกณฑ์การตลาด เปน็ วธิ กี ารการจัดองค์กรตลาดทใี่ ช้กันแพร่หลายมาก ตาํ แหน่งทส่ี ูงสดุ ด้านการตลาด คอื รองประธานดา้ นการตลาด และกําหนดหน้าที่ให้กบั ผู้จัดการฝา่ ยตา่ งๆ ตามหน้าที่ ประกอบด้วย ผจู้ ัดการฝ่ายโฆษณา ผ้จู ดั การฝา่ ยส่งเสริมการขาย ผู้จดั การฝา่ ยวิจัยการตลาด ผู้จัดการฝ่ายการขาย ผู้จัดการฝา่ ยกระจายตวั สินค้า ผจู้ ดั การฝ่ายกิจกรรมการตลาดอ่นื ๆ ผจู้ ดั การแต่ละ ฝา่ ยจะควบคุมงานแต่ละฝา่ ย เช่น ผูจ้ ดั การฝา่ ยการขายจะควบคุมแตล่ ะหนว่ ยงานการขายภาคสนาม เปน็ ต้น การจดั องคก์ รตลาดตามภูมศิ าสตร์ เป็นการกําหนดภาระหนา้ ที่และโครงสรา้ งของ องคก์ รการตลาดตามอาณาเขตทางภมู ิศาสตร์ ตาํ แหนง่ สูงสดุ คือ ผบู้ ริหารการตลาดระดบั สงู จะควบคมุ ผจู้ ัดการฝา่ ยตา่ งๆ ซึง่ มกี ารแบ่งองค์กรการตลาดตามหนา้ ที่ก่อน ในสว่ นท่ีเป็นฝ่ายการขายทวั่ ไป จะแยก งานความรับผิดชอบตามเขตภูมศิ าสตร์ ตัวอย่างเช่นผู้จดั การภาคเหนือ ผู้จัดการภาคใต้ ผจู้ ดั การภาค

28 ตะวันออก ผจู้ ดั การภาคตะวันตก ผจู้ ัดการภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผู้จดั การภาคกจ็ ะควบคมุ ดูแล พนกั งานขายประจาํ ภาคของตน การจัดองคก์ รการตลาดตามผลติ ภัณฑ์หรอื ตรายี่หอ้ เป็นการกาํ หนดภาระหนา้ ทแ่ี ละ โครงสร้างขององค์กรการตลาด โดยแยกประเภทตามลักษณะผลติ ภณั ฑห์ รือตรายหี่ ้อ ถอื วา่ มีการจัด โครงสร้างองค์กรตามผลติ ภณั ฑก์ ล่าวคือ ผจู้ ัดการฝา่ ยผลติ ภัณฑ์ ก ข ค อยูภ่ ายใตผ้ จู้ ดั การฝา่ ยขายทว่ั ไป หรแื ยกเปน็ ผจู้ ดั การฝา่ ยผลติ ภัณฑ์ข้ึนตรงต่อผบู้ รหิ ารการตลาดระดบั สูงก็ได้ การจดั องคก์ รการตลาดตามประเภทลูกคา้ เปน็ การกําหนดภาระหน้าท่ีและโครงสร้าง ขององคก์ รการตลาด โดยแยกตามกลุม่ ลกู คา้ ท่ีแตกตา่ งกนั ตัวอยา่ งผู้จดั การฝ่ายขายท่วั ไปสําหรบั รถ กระบะจะแยกภาระความรับผิดชอบตามประเภทลูกคา้ เช่น ผูจ้ ัดการขายสาํ หรับผูบ้ รโิ ภค ผ้จู ัดการขาย สําหรบั กล่มุ เกษตรกร ผจู้ ดั การขายสาํ หรบั กลุ่มธุรกจิ ผจู้ ดั การขายสําหรับกลุ่มขา้ ราชการ เปน็ ต้น การจัดโครงสร้างการตลาดโดยอาศยั หลกั เกณฑห์ ลายวิธรี ่วมกนั มักจะใชใ้ นธรุ กิจขนาดกลาง และใหญ่ โครงสรา้ งขององคก์ รการตลาดซ่งึ แยกตามหน้าทร่ี ่วมกับผลิตภณั ฑ์ 2. การจดั หาบคุ คลเข้าทาํ งาน การจัดหาบคุ คลเข้าทํางาน ประกอบดว้ ย การสรรหา และคัดเลือกบุคคลเข้าทาํ งานในองคก์ ร ในกระบวนการคัดเลอื กบคุ คลเป็นสงิ่ สาํ คญั มากโดยเฉพาะหน่วยงานขายเพราะหนว่ ยน้ีเปน็ หน่วยทีส่ ร้างรายได้และกําไรโดย เหตุนจี้ ึงเป็นส่ิงสําคญั ท่จี ะตอ้ งมีโปรแกรมการคดั เลอื กหน่วยงานขายทีด่ เี น่ืองจาก - พนกั งานท่ดี ียากทจี่ ะสรรหาและทาํ ใหเ้ กิดความลาํ บากในการคดั เลือกด้วย - การทีไ่ ดพ้ นกั งานทไ่ี ม่มคี ุณภาพเม่ือเล่ือนตําแหน่งเป็นผ้จู ัดการกจ็ ะกลายเป็นผจู้ ัดการไมม่ คี ณุ ภาพ - การคัดเลอื กทด่ี ีจะทําใหง้ านการบริหารงา่ ยขึ้น พนักงานท่ีไดร้ ับการคัดเลือกท่ดี จี ะงา่ ยต่อ การฝึกอบรม ควบคมุ และจูงใจ - การคดั เลือกท่ีดี โดยทัว่ ไปจะลดอัตราการออกจากงานและลดตน้ ทุนในการสรรหา การ คัดเลือก และฝึกอบรมด้วย - พนักงานขายที่ไดร้ ับการฝกึ อบรมทด่ี ีจะสามารถทาํ งานให้บรรลวุ ัตถุประสงคไ์ ด้ 3.การปฏบิ ตั ิการทางการตลาด การปฏบิ ตั กิ ารทางการตลาด ในขน้ั นี้จะเกีย่ วข้องกบั การสง่ั การและการปฏบิ ตั กิ ารทาง การตลาดตามโปรแกรมทีว่ างไว้ งานท่เี กยี่ วข้องในขัน้ นจี้ ะประกอบด้วย การมอบหมายงาน การ ประสานงาน การจงู ใจและตดิ ตอ่ สอ่ื สาร ดงั น้ี

29 การมอบหมายงาน ในขน้ั นผ้ี บู้ ริหารจะมอบหมายหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบให้ ผู้ใต้บังคับบญั ชา ความสามารถของผู้บริหารอาจจะวัดจาความสามารถของตัวเขา หรอื วัดจาก ความสามารถในการมอบหมายงานก็ได้ การประสานงาน หมายถงึ การจัดใหก้ ลมุ่ บคุ คลระหวา่ งฝา่ ยต่างๆ สามารถทํางานร่วมกัน ไดโ้ ดยบรรลวุ ตั ถุประสงค์ท่กี ําหนดไว้ การจงู ใจ หมายถึง การชักนาํ หรอื โนม้ นา้ วคนใหม้ ที ัศนคตแิ ละพฤติกรรมไปในทางทีผ่ จู้ งู ใจตอ้ งการ การท่ีจะจงู ใจพนกั งานไดส้ าํ เร็จนนั้ ต้องข้ึนอยู่กับเทคนคิ ของผู้บรหิ ารท่จี ะเปลีย่ นพฤติกรรมไป ในทางท่ีผู้จูงใจของพนกั งานให้เปน็ ไปในทศิ ทางขององค์กร การติดตอ่ ส่ือสาร หมายถงึ \"การถา่ ยทอดขา่ วสารจากผู้ส่งไปยังผรู้ ับ โดยท่ผี ู้ส่งข่าวสารและผรู้ ับขา่ วสารตา่ งก็มีความเข้าใจในขา่ วสารน้ัน\" การตดิ ต่อสอ่ื สารเป็นสิง่ สําคญั มาก สาํ หรบั การปฏบิ ัตกิ ารทางการตลาด เพราะทาํ ให้เกดิ ความเข้าใจตรงกัน 4.3 การประเมนิ ผลการทาํ งานทางการตลาด การประเมนิ ผลการทาํ งานทางการตลาด หมายถงึ การตรวจสอบหรือวดั ผลการปฏบิ ัตงิ านทาง การตลาดและแกไ้ ขปัญหาขอ้ ผดิ พลาดเกย่ี วกบั การปฏิบัตงิ านทผ่ี า่ นมา เพอ่ื ใหง้ านเปน็ ไปตามแผนการ ตลาดที่วางไว้ การประเมนิ ผลเป็นงานขัน้ สดุ ท้าย ในการบริหารการตลาด 1 .กระบวนการประเมินผลการทํางานทางการตลาดมีดังน้ี การเปรยี บเทยี บผลการทํางานกบั แผนการตลาด เพ่อื ดวู า่ ผลการทาํ งานเปน็ อยา่ งไร (What happened?) เสร็จแลว้ กน็ าํ ผลการทาํ งานน้ันไปเปรียบเทยี บกบั เปา้ หมาย กลยุทธ์หรอื ยทุ ธวธิ หี รือ โปรแกรมการตลาดทก่ี ําหนดไว้ ในข้ันนี้คอื การวางแผนการตลาด เช่น วดั ผลยอดขายจรงิ ได้ 8 ล้านบาทจะ นําไปเปรียบเทียบกับยอดขายท่กี ําหนดไว้ 10 ลา้ นบาท วิเคราะห์สาเหตทุ ่เี กิดผลในการทาํ งานนัน้ (Why? it happened?) เป็นการคน้ หาถึงสาเหตุที่ เกดิ ขนึ้ จากผลการทาํ งานทแ่ี ตกตา่ งจากแผนทกี่ าํ หนดไว้ เช่นวเิ คราะห์ถึงสาเหตุทย่ี อดขายต่ํากวา่ เป้าหมาย อาจเนอ่ื งมาจากผลติ ภัณฑล์ ้าสมยั การแก้ไขปรับปรงุ เป็นการพจิ ารณาว่าจะทาํ อะไรกบั ปัญหาท่เี กิดขนึ้ (What to do?) แนว ทางการแกไ้ ขปรับปรุงจะนํามาใช้ในการวางแผนการตลาดต่อไปในอนาคต เช่น ถ้าทราบวา่ สาเหตทุ ี่ ยอดขายลดเนอื่ งจากผลิตภัณฑล์ า้ สมัย บรษิ ทั จะต้องคน้ หาความตอ้ งการของลูกคา้ เก่ยี วกับผลติ ภัณฑใ์ หม่ รวมท้งั วางแผนโปรแกรมการตลาดสาํ หรับผลิตภณั ฑใ์ หมต่ อ่ ไป

30 2. รูปแบบของการประเมนิ ผลการทาํ งานทางการตลาด รูปแบบของการประเมินผลการทํางานทางการตลาดทีใ่ ชก้ นั มาก คอื การวเิ คราะห์ยอดขาย การ วิเคราะห์สว่ นครองตลาด โดยมรี ายละเอียดดงั น้ี การวเิ คราะหย์ อดขาย หมายถึง การเปรยี บเทยี บระหวา่ งยอดขายจริงกับยอดขายตามเปา้ หมายใน รปู แบบของจํานวนหนว่ ย หรอื จํานวนเงิน (รายได้จากการขาย) การวิเคราะหย์ อดขายอาจจะถอื เกณฑ์ วิเคราะห์ยอดขายรวม ยอดขายสําหรบั สายผลิตภัณฑห์ รอื แตล่ ะผลติ ภณั ฑห์ รือแต่ละตรายห่ี ้อ ยอดขายตาม อาณาเขตต่างๆ และยอดขายตามกลุ่มลูกคา้ เมอ่ื วัดยอดขายจรงิ ไดแ้ ล้วจะนํามาเปรียบเทียบกับยอดขาย ตามเปา้ หมายแล้ววเิ คราะห์ปญั หาท่ีอาจจะเกดิ ขึ้นและสาเหตขุ องปัญหารวมท้ังเสนอแนะวธิ ีแก้ไขปรับปรุง ปญั หาน้นั ต่อไป การวเิ คราะหส์ ่วนครองตลาด คําวา่ สว่ นครองตลาดหมายถึงอตั รายอดขายของบริษทั ตอ่ ยอดขาย ทงั้ สน้ิ ของอตุ สาหกรรม หรือยอดขายของคู่แขง่ ขนั ในการวเิ คราะหส์ ่วนครองตลาดบริษทั จะหาสว่ นครอง ตลาดที่เกิดข้นึ แล้วนําไปเปรยี บเทยี บกับอัตราสว่ นครองตลาดที่ไดก้ าํ หนดไว้ แลว้ วเิ คราะห์ถึงผลตา่ งท่ี เกดิ ขึ้นวา่ เกิดจากสาเหตอุ ะไรแลว้ จงึ หาวิธแี กไ้ ขปรับปรงุ ต่อไป

31 เรอ่ื งที่ 5 การบริหารงานบคุ คล การบรหิ ารงานบคุ คล หมายถงึ วิธกี ารจัดการหรือดาํ เนนิ การเกีย่ วกบั บุคคลในการทาํ งานในอันที่ จะทําใหบ้ ุคคลทมี่ ีความรู้ ความสามารถเหมาะสมกับการปฏบิ ตั ิงานใหบ้ รรลอุ ย่างมปี ระสิทธิภาพหรือ ศาสตร์ แขนงหนงึ่ ที่วา่ ด้วยการดําเนนิ การหรือการจดั การเกี่ยวกบั บุคคลในหน่วยงาน องคป์ ระกอบของการบริหารงานบคุ คล 1. องคก์ รและส่งิ แวดล้อม 2. งาน 3. บุคคล กระบวนการบรหิ ารงานบุคคล 1. การสรรหาบุคคล ไดแ้ ก่การวางแผน การกําหนดตาํ แหนง่ และการสรรหา (เปน็ ขั้นตอนท่ี สาํ คัญทสี่ ุด) 2. การใชบ้ ุคคล ได้แก่ การบรรจแุ ตง่ ตง้ั การย้าย การโอน 3. การพฒั นาบุคคล ไดแ้ ก่ การพัฒนา การพิจารณาความดี ความชอบ การเลื่อนตําแหนง่ 4. การธาํ รงรกั ษาบุคคล ได้แก่ การดาํ เนินการทางวินยั การอุทธรณ์ ร้องทุกข์ การจัดสวสั ดกิ ารการทะเบียน ประวตั ิ ระบบการบรหิ ารงานบคุ คล ระบบการบรหิ ารงานบุคคลที่สําคัญมี 2 ระบบ คอื 1. ระบบอุปถมั ภ์ ( Patronage System ) ใชม้ าตัง้ แตโ่ บราณ สามารถแบ่งออกได้ 3 ลักษณะ คอื 1.1ระบบสืบสายโลหติ 1.2 ระบบแลกเปลีย่ น นาํ สิง่ ของมาแลกเปลยี่ น 1.3 ระบบชอบพอกันพิเศษ 2. ระบบคณุ ธรรม ( Merit System ) บางแหง่ เรียกใชค้ าํ วา่ ระบบคณุ วุฒ-ิ ระบบความรู้ ความสามารถ- ระบบคุณความดี – ระบบความดีและความสามารถ มีหลกั สําคญั 4 ประการ คือ 2.1 หลักความสามารถ ( Put the right man on the right job ) 2.2 หลักความเสมอภาค –เปิดโอกาสใหเ้ ทา่ เทยี มกนั ( Equal Pay for Equal Work ) 2.3 หลักความม่นั คง-หลักประกนั ในการทาํ งาน 2.4 หลักความเปน็ กลางทางการเมอื ง

32 ภาคราชการนิยมใช้ ระบบคณุ ธรรม ภาคธรุ กิจ นยิ มใช้ ระบบคุณธรรมและระบบอปุ ถมั ภ์ ขอบขา่ ยในการบริหารงานบุคคล 1. การดําเนนิ การเกยี่ วกบั ความต้องการบุคคลในราชการ 2. การสรรหาบคุ ลากรเขา้ รบั ราชการ ไดแ้ ก่ การสอบแขง่ ขนั ,การคัดเลือก,การสอบคดั เลือก 3. การแตง่ ตงั้ ไดแ้ กก่ ารบรรจแุ ละแตง่ ตัง้ การย้าย การโอน การเลื่อนตาํ แหนง่ 4. การพฒั นาบคุ ลากร ได้แกก่ ารฝกึ อบรม 5. การพจิ ารณาความดีความชอบ 6. การรักษาระเบียบวินัย 7. การออกจากราชการ 8. การอทุ ธรณ์และการร้องทกุ ข์ 9. การจัดทาํ ทะเบยี นประวตั ิ 10. การให้บรกิ ารเกย่ี วกับงานบุคคล 5.1 การคดั เลอื กสรรหาบุคคล การสรรหาบคุ ลากร (Recruitment) หมายถงึ กระบวนการในการคน้ หาบุคคลที่มีความ เหมาะสมกับตาํ แหนง่ ทอ่ี งค์กรตอ้ งการจากแหลง่ ต่างๆใหส้ นใจสมัครเข้ารว่ มงานกับองคก์ ร โดยผมู้ ีหน้าทใ่ี น การสรรหาบคุ ลากรจะต้องเขา้ ถึงแหลง่ ที่มาของบคุ ลากร ดงึ ดูดบคุ ลากรทมี่ ีศกั ยภาพเหมาะสมกับงานให้ เกดิ ความสนใจทจี่ ะรว่ มงานกบั องคก์ รอยา่ งมปี ระสิทธิภาพภายใต้ข้อจํากัดของระยะเวลาและคา่ ใช้จ่าย การสรรหาบุคลากรจะต้องมีองคป์ ระกอบ 3 ดา้ นคือ 1. ต้องมีการสอ่ื สาร เช่น การโฆษณารบั สมคั ร การตดิ ประกาศทีบ่ ริษัท และแหลง่ ต่างๆ การส่อื สารผ่านพนักงานในบรษิ ทั ฯลฯ 2. ผ้หู างานตอ้ งมบี ุคลกิ ภาพและทักษะตรงกบั ความต้องการในตาํ แหนง่ งานน้ัน 3. ผหู้ างานต้องมแี รงจงู ใจทจี่ ะสมัครงาน การสรรหาจากแหล่งภายในองค์กร การสรรหาจากภายในองค์กร หมายถงึ การคดั เลือกจากคนในองค์กรทม่ี ีความรู้ความสามารถโดย การสบั เปลย่ี นโอนย้ายและเลื่อนตําแหน่งขน้ึ มา นโยบายการสรรหาภายในองคก์ ร (Internal Organization Policies) นโยบายการสง่ เสริมบคุ คลจากภายในองคก์ รมีผลดีหลายประการ คือ 1. เปน็ การประชาสมั พนั ธท์ ี่ดีต่อองคก์ ร 2. เปน็ การสรา้ งขวัญและกาํ ลงั ใจใหก้ ับบคุ คลในองคก์ ร 3. ช่วยกระตนุ้ เร่งเร้าคนที่ดี ซงึ่ ตอ้ งการความก้าวหนา้ และความทะเยอทะยาน 4. เปน็ การพสิ จู น์ความน่าจะเป็นของการคดั เลือกทีด่ ี 5. เป็นการเสยี ค่าใช้จา่ ยนอ้ ยกวา่ การสรรหาจากภายนอก

33 วธิ กี ารสรรหาจากแหลง่ ภายใน (Internal Recruiting Method) การสรรหาภายในมีวธิ ีการท่ีสาํ คัญอยู่ 5 วธิ ีด้วยกนั คอื 1. การแจ้งตําแหนง่ งานวา่ งและการคัดเลอื กด้วยตนเอง (Job Posting : Self Selection) เป็น กระบวนการแจง้ ข้อมลู ให้พนกั งานทราบวา่ มีตาํ แหน่งงานใดทีเ่ ปดิ รบั สมคั รอยู่ 2. การใช้ทกั ษะ (Skill Inventories) 3. การใชก้ ารอ้างองิ จากบุคคลภายใน (Referrals) 4. หวั หน้าทาํ หน้าทค่ี ัดเลอื กเอง 5. การจัดใหม้ แี ผนงานพฒั นานกั บริหาร (Executive Development Plan) การสรรหาจากแหล่งภายนอกองคก์ ร (External Organization) การสรรหาจากแหลง่ ภายนอกสามารถพจิ ารณาไดจ้ ากแหล่งต่าง ๆ ขึน้ อยกู่ บั จดุ มุง่ หมายของความ ตอ้ งการในการจ้างและผลการวเิ คราะห์แหลง่ ต่าง ๆ แหลง่ ภายนอกนัน้ ประกอบด้วย 1. สาํ นักงานจดั หางานของรฐั (Public Employment Services) 1.1 สาํ นักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) 1.2 กองการจดั หางานของกรมแรงงาน แระทรวงแรงงานและสวสั ดิการสังคม 2. สาํ นกั จัดหางานเอกชน (Private Employment Agencies) ตวั แทนหรอื นายหนา้ จัดหางานเอกชน ก็คือ สาํ นักจดั หางานต่าง ๆ ท่ีมใี บอนุญาตประกอบ กจิ การจัดหางาน ซึ่งได้รับอนุญาตจากกรมแรงงาน กระทรวงแรงงาน ซึง่ ส่วนใหญ่เราจะเหน็ จากหนา้ หนงั สอื พมิ พ์ 3. หน่วยจัดหางานของสถาบันการศกึ ษา (High School, Trade and Vocational Schools,Colleges, Professional Schools and Universities) 4. จากผู้มาสมัครงานด้วยตวั เอง (Personal Application) หรอื ท่เี รียกวา่ Walk in โดยผูส้ นใจหางานทํามาสมคั รเองที่หน่วยงาน องคก์ รหลายแหง่ ใชว้ ธิ ีรบั สมคั รไว้ล่วงหน้า ทาํ การคดั เลอื กจากใบสมัครและเกบ็ รายชอื่ ไว้ในบญั ชี เพื่อรอการคดั เลอื กอีกครงั้ หน่ึงเมอ่ื มตี าํ แหน่งว่าง และบญั ชนี ้ีต้องแกไ้ ขปรบั ปรงุ อยเู่ สมอ เพราะถ้าเก็บไว้นานเกนิ ไปคนท่มี าสมคั รงานไวอ้ าจจะได้งาน จากที่อ่นื ไปก่อนแลว้ กไ็ ด้ 5. สมาคมทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการบรหิ ารงานบคุ คล หรือสมาคมวชิ าชีพตา่ ง ๆ สมาคมดังกลา่ ว ได้แก่ สมาคมการจดั การงานบุคคลแหง่ ประเทศไทย (Thailand Management Association) สมาคมจะมเี อกสารหรอื วารสารแจกเก่ยี วกบั ตําแหนง่ วา่ งอนื่ ๆ และมักจะใหค้ วามร่วมมือ บอกตําแหน่งว่างกับผสู้ นใจสอบถาม และบางคร้งั ก็ชว่ ยลงเผยแพรค่ ณุ สมบัติของผ้สู มัครไวด้ ้วย

34 6. ประกาศรับสมคั ร วิธีการนี้องค์กรสามารถสรรหาบุคลากรโดยประกาศผา่ นทางสอ่ื สารมวลชน เชน่ วิทยุ โทรทัศน์ หนังสอื ทัศน์ หรอื ปิดประกาศตามแหลง่ ตา่ ง ๆ เพอ่ื ดงึ ดูดบุคคลทม่ี คี วามเหมาะสมกบั ตาํ แหนง่ งานนั้น ๆ ให้สนใจสมคั รเขา้ รบั การคัดเลือกจากองค์กร 7. วันตลาดนดั แรงงาน (Labor Market Day) การจัดตลาดแรงงานจะได้รับความรว่ มมือจากบริษทั ห้างหุ้นส่วนต่าง ๆ งานดงั กล่าวน้ีมี จดุ ประสงคเ์ พอื่ แนะนาํ อาชพี ต่าง ๆ และพร้อมทจ่ี ะเปิดรบั สมัครผคู้ นต่าง ๆ ใหเ้ ขา้ มาทาํ งานในตาํ แหน่ง วา่ งต่าง ๆ ของวนั เวลาท่ีไดจ้ ัดขึ้นมาจรงิ ๆ การจดั ตลาดนัดแรงงานจะถกู โฆษณาตามหนงั สอื พิมพต์ า่ ง ๆ หนว่ ยราชการและสถานทที่ ใ่ี ห้บรกิ ารเก่ียวกบั การจดั หางานทําสถานท่ีทจี่ ัดมักจะถกู กําหนดขน้ึ ตาม เมอื งใหญ่ทม่ี ีผคู้ นอยเู่ ป็นจํานวนมาก และจะมที ีมงานทพี่ รอ้ มจะใหค้ าํ แนะนําตา่ ง ๆ แกผ่ ูท้ ม่ี ีความสนใจ 8. แหลง่ อื่นๆ (Other Sources) จากศูนย์ส่งเสรมิ วิชาชีพคนพิการ หรอื จากสถานฝกึ อาชีพของคนบางประเภท ซ่ึงมกี ารอบรม และฝกึ หดั ใหป้ ฏบิ ัติงานบางอย่าง เปน็ ต้น 5.2 สวสั ดิการของกลมุ่ สวสั ดิการ คอื การดาํ เนนิ การใดๆ ไม่ว่าโดยนายจ้าง สหภาพแรงงาน (ลูกจา้ ง) หรอื รฐั บาล ทม่ี ี ความมงุ่ หมายเพือ่ ให้ลูกจา้ งสามารถมรี ะดับความเป็นอย่ทู ด่ี พี อสมควร มคี วามผาสกุ ท้ังกายและใจ มี สุขภาพอนามัยท่ดี ี มีความปลอดภัยในการทํางาน มคี วามเจริญกา้ วหนา้ มคี วามมั่นคงในการดาํ เนินชีวิตไม่ เฉพาะแตต่ ัวลกู จา้ งเทา่ นนั้ แตร่ วมถงึ ครอบครัวของลกู จ้างด้วย การดําเนินการเพอ่ื ให้มีการจดั สวัสดิการขึ้น ในสถานประกอบการนน้ั กรมสวัสดกิ ารและค้มุ ครองแรงงานดําเนินภารกจิ 3 ประการ ดงั น้ี 1. กําหนดและพัฒนารปู แบบการจัดสวสั ดกิ าร 2. สง่ เสรม สนบั สนุนและดําเนินการใหม้ กี ารจดั สวัสดิการ 3. ปฏบิ ตั ิงานร่วมกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบตั งิ านของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวขอ้ งหรอื ท่ี ไดร้ ับมอบหมาย 5.3 การพัฒนาบคุ ลากร เปน็ การแกป้ ัญหา เก่ียวกบั การบรหิ ารงานบุคคล เนอ่ื งจากความเจริญของวทิ ยาการตา่ ง ๆ ตลอดจนเทคนคิ ในการทํางานที่เปลีย่ นแปลงอยเู่ สมอ คนท่มี ีความร้คู วามสามารถเหมาะสมกบั ตําแหนง่ หนา้ ทใี่ นสมัยหน่ึง ก็อาจกลายเป็นคนที่หยอ่ นความสามารถไปในอกี สมยั หนึง่ ก็ได้ เพ่อื ใหผ้ ูป้ ฏิบัตงิ านเป็นผู้ ทมี่ ีความรู้ความเหมาะสมกับตําแหนง่ หน้าท่อี ยเู่ สมอ ไม่วา่ วทิ ยาการและหนา้ ทีค่ วามรบั ผดิ ชอบจะได้ เปลีย่ นแปลงไป

35 ความหมายของการพัฒนาบุคลากร การพฒั นาบุคลากร มคี วามหมายตรงกบั คาํ ว่า Development of Personnelการพัฒนา บุคลากร หมายถงึ กระบวนการท่ีมุ่งจะเปลี่ยนแปลงวธิ กี ารทาํ งาน ความร้คู วามสามารถ ทกั ษะและทัศนคติ ของบุคลากรใหเ้ ปน็ ไปทางท่ดี ขี ึ้นเพอ่ื ให้บุคลากรท่ีได้รับการพฒั นาแลว้ นัน้ ปฏิบัตงิ านไดผ้ ลตามวตั ถปุ ระสงค์ ของหน่วยงานอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ หลกั การพัฒนาบุคลากร จะต้องคํานึงถึงสิ่งตอ่ ไปน้ี 1. ควรตอบสนองความตอ้ งการขององค์การ 2. ควรมกี ารวางแผนในการพฒั นาบคุ ลากร 3. ควรตอบสนองความตอ้ งการของบุคลากร 4. ควรสนองความตอ้ งการของชมุ ชนทอี่ งคก์ ารนน้ั ต้งั อยู่ การพัฒนาบคุ ลากร นบั เปน็ กระบวนการทมี่ ีความจาํ เป็นมากในการบรหิ ารงานบุคลากรและเป็น กระบวนการทีจะต้องกระทาํ ต่อเน่อื งกนั ไปตลอดระยะเวลาท่อี งคก์ ารดาํ เนินอยู่ซงึ่ มีวิธกี ารพฒั นาบุคลากร แตกตา่ งกันออกไปในแต่ละหน่วยงาน กระบวนการพฒั นาบคุ ลากร กระบวนการพฒั นาบุคลากร การพัฒนาบุคลากรนน้ั สามารถแบง่ การดําเนนิ การเปน็ ขนั้ ตอน ได้ 4 ขั้นตอนคอื 1. การหาความจาํ เป็นในการพัฒนาบุคคล หรือหาปัญหาทีต่ ้องแก้โดยวิธกี ารพัฒนาบคุ คล 2. การวางแผนในการพฒั นาบุคคล 3. การดําเนนิ การในการพฒั นาบคุ คล 4. การติดตามและประเมนิ ผลการพัฒนาบุคคล ซง่ึ กระบวนการในพัฒนาบคุ คล และขนั้ ตอนนีเ้ ปน็ กระบวนการดาํ เนินการทีส่ าํ คัญและจาํ เปน็ ท่ี จะตอ้ งดําเนนิ การ จะขาดเสียมไิ ดแ้ ละในการพัฒนาบคุ ลากรนน้ั จะตอ้ งดําเนินการตามกระบวนการดังกลา่ ว น้อี ยา่ งสอดคล้องตอ่ เนอื่ ง และสมั พันธก์ นั อย่างครบวงจร โดยเรม่ิ จากการหาความจําเปน็ ในการพัฒนา บคุ ลากร การวางแผนในการพัฒนาบุคลากร การดาํ เนินการพฒั นาบคุ ลากร และการตดิ ตามประเมินผล ซึ่ง มรี ายละเอยี ดดงั ต่อไปนี้ 1. การหาความจาํ เปน็ ในการพฒั นาบุคลากร หรือหาปญั หาท่จี ะตอ้ งพฒั นาบคุ ลากร การสํารวจ ความตอ้ งการบุคลากรนนั้ ธรี วฒุ ิ ประทมุ นพรตั น์ (2539 : 63) ไดเ้ สนอแนะว่า องค์การพงึ กระทาํ เปน็ ระยะ เพ่อื ทราบระดับความตอ้ งการว่าสงู พอนาํ ไปทําโปรแกรมขึ้นหรือไม่ ทนี่ า่ สนใจคือบคุ ลากรได้ร่วมในการ พัฒนาบุคลากรอยดู่ ว้ ย ซ่ึงแนวโน้มจะเกดิ ความพึงพอใจสูงและมีระดับขวัญสูงในการปฏิบัติงานตามมา

36 2. การวางแผนในการพฒั นาบุคลากรมีกิจกรรมทต่ี อ้ งกําหนดในการวางแผนการพฒั นาบคุ ลากร อยู่หลายประการ เชน่ จะจดั โปรแกรมอะไร ดว้ ยวธิ ีการอย่างไร เร่ืองอะไรควรอยใู่ นการวางแผนระยะยาว อะไรเป็นสิง่ ที่ตอ้ งรีบทาํ ส่งิ ท่อี าจจะเกิดปญั หาอปุ สรรคในการปฏิบตั ิตามแผนทีม่ ีอะไรบา้ ง ถ้ามปี ัญหา เกิดข้นึ จะมวี ธิ กี ารขจัดปัญหาน้นั อยา่ งไร ตลอดจนการวางแผนในดา้ นการจัดสรรทรพั ยากรเพอ่ื การบริหาร การพัฒนาบุคลากรการกาํ หนดตัวบุคลากรท่จี ะรับผดิ ชอบ การวางแผนในการพัฒนาบคุ คลนน้ั โดยทว่ั ไปจะ ดาํ เนินการ ดงั น้ี 2.1 การกาํ หนดขอบข่ายของการพฒั นากาํ ลงั คนโดยกําหนดว่าจะพฒั นากําลังคนโดย วธิ กี ารใดบ้างเพ่ือท่จี ะแกป้ ัญหาของหนว่ ยงานโดยกําหนดเป็นงานหรือโครงการ เชน่ การฝึกอบรม การส่ง บคุ คลไปศึกษา ฝกึ อบรม ดงู าน การพัฒนาโดยกระบวนการปฏบิ ตั ิงาน การพัฒนาดว้ ยตนเอง การพัฒนา ทมี งานหรอื พฒั นาองคก์ าร 2.2 การวางแผนดาํ เนินการพฒั นาบุคคลในแต่ละวธิ หี รือในแตล่ ะเร่ือง กาํ หนดวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ข้ันตอนในการดําเนนิ งาน และแผนการดาํ เนินงานในแตล่ ะขั้นตอนวา่ จะดําเนินการเมือ่ ไร 2.3 กาํ หนดผรู้ ับผิดชอบว่ามผี ใู้ ดรับผดิ ชอบงานใด อย่างไร 2.4 กําหนดงบประมาณคา่ ใชจ้ า่ ยวา่ ในการพฒั นาบคุ ลากรในแต่ละเรอื่ งหรอื แต่ละ โครงการจะใชง้ บประมาณจากหมวดไหน จาํ นวนเทา่ ไร 2.5 กาํ หนดระบบ วิธกี ารตดิ ตาม และประเมนิ ผลในการพัฒนาบุคคลว่าจะตดิ ตามผลและ ประเมินผลอยา่ งไร 2.6 จัดทําโครงการและเสนอผลมอี ํานาจเพอื่ พิจารณาอนุมตั ิโครงการ 3. การดําเนนิ การพัฒนาบุคคล เป็นการดําเนนิ การพัฒนาบคุ คลตามทีไ่ ด้วางแผนไวต้ ามระยะเวลา หรือปฏทิ ินการปฏบิ ัติงานท่ีกาํ หนด 4. การตดิ ตามและประเมนิ ผล การตดิ ตามและประเมินผลการพฒั นากาํ ลงั คนวธิ ตี า่ ง ๆ ตามแผน ท่ีกาํ หนดไวว้ า่ ได้ดาํ เนนิ การไปตามแผนงาน วัตถปุ ระสงค์และเปา้ หมายทก่ี าํ หนดไวแ้ คไ่ หน การตดิ ตามและ ประเมนิ ผลงานนัน้ อาจดําเนนิ การไดเ้ ปน็ สามระยะคือ 4.1 การตดิ ตามและประเมินผลในระหวา่ งการดําเนนิ การพัฒนาบคุ ลากร 4.2 ประเมนิ ผลหลงั จากการเสรจ็ สิ้นการพฒั นาบุคลากร หรือหลังจากสนิ้ สุดโครงการ 4.3 การติดตาม และประเมินผลภายหลังจากท่บี คุ คลนน้ั เสรจ็ ส้ินจากการกลับไปปฏบิ ตั งิ าน ในระยะหน่ึง เพือ่ จะได้ทราบว่าผ้นู ัน้ ไดน้ าํ ผลการพัฒนาบคุ ลากรไปใชป้ ระโยชนแ์ กเ่ ขาอย่างไรบ้าง กลา่ วโดยสรุป กระบวนการในการพัฒนาบุคลากรนั้นเปน็ ไปในลกั ษณะของกระบวนการ บริหารงานบคุ คล หรอื การบริหารงานด้านตา่ ง ๆ ท่วั ไป แต่ไดม้ บี างขน้ั ตอนท่ีแยกออกมาให้เดน่ ชดั ขึน้ เพ่อื จะดาํ เนินการได้ดยี ิง่ ขึ้น

37 เรื่องที่ 6 ปจั จยั สู่ความสาํ เรจ็ ปจั จัยสู่ความสําเร็จ คนส่วนใหญ่ท่ีคิดทําธุรกิจเป็นของตนเอง ต้องมีสัญชาตญาณของความเป็น ผู้ประกอบการคนท่ีไม่มีสัญชาติญาณของความเป็นผู้ประกอบการมักจะทําธุรกิจไม่ประสบความสําเร็จ ถึงแม้คนเหล่าน้ันจะไม่พอใจกับงานท่ีทําอยู่ และกําลังขวนขวายหาธุรกิจที่เหมาะสมจะลงทุน ดังน้ันคนท่ีจะเป็น ผู้ประกอบการมักจะไม่สะทกสะท้านกับปัญหาอุปสรรคใดที่จะเกิดข้ึน มีแต่ตั้งใจแน่วแน่ว่าจะทํา ต้องทําให้ได้ แม้จะ เหน็ดเหนื่อยอยา่ งไรก็อดทน ทํางานหนักต่อไปและมคี วามผกู พนั กับงานที่ทําเพือ่ ให้เกิดความสาํ เรจ็ ไดม้ ีผ้ศู กึ ษาคุณลักษณะของความเปน็ ผูป้ ระกอบการทปี่ ระสบความสาํ เรจ็ นัน้ ตอ้ งมหี ลายประการ ประกอบกัน ทา่ นที่จะเปน็ ผปู้ ระกอบการอาจจะไมจ่ าํ เปน็ จะต้องมใี หค้ รบทุกข้อ ยกเว้นขอ้ ท่จี ําเป็นบางข้อ ท่ีคณุ ควรจะมี ดงั น้นั ขอให้ทา่ นพจิ ารณาดูตนเองวา่ ขาดขอ้ ใดบ้าง เหน็ สมควรที่จะพฒั นาให้ เกิดขน้ึ กบั ตนเองกจ็ ะเป็นประโยชน์ คุณลกั ษณะดังกล่าวมดี งั ต่อไปน้ี 1. ความกล้าเสี่ยง (Risk Taking) \"ธุรกิจ\" กบั \"ความเสยี่ ง\" เปน็ ของค่กู ัน ผู้ที่เป็น ผู้ประกอบการ ชอบทํางานที่ท้าทายความรู้ ความสามารถของเขา เขาจะไม่มคี วามภูมใิ จกับงานที่ ง่าย หรอื งานทีม่ คี วามเปน็ ไปได้รอ้ ยเปอรเ์ ซ็นต์หรือเท่ากับไมม่ ีความเสย่ี งเลย และเขาจะหลกี เลย่ี งงานที่มี ความเสี่ยงสูงเกนิ ไป แต่เขาชอบงานที่มคี วามเสีย่ งปานกลาง คือมีโอกาสประสบความสําเร็จหรือความ ลม้ เหลว ความเส่ยี งระดับนีเ้ ขาประเมินแลว้ ไม่เกินความสามารถของเขาทจ่ี ะทาํ ให้บรรลผุ ลสาํ เรจ็ โดย เขาหาทางเลอื กไวห้ ลายทาง เช่นการลงทนุ ธรุ กิจ เขาจะใชเ้ วลาศึกษาวางแผนตลาด เลือกการผลิตท่ี เหมาะสมกับวตั ถดุ บิ เคร่ืองจักร อปุ กรณ์ เงินลงทุน หลกั การบรหิ าร พร้อมทงั้ คํานวณผลตอบแทน ท่ี คาดวา่ จะไดร้ บั ภายใตภ้ าวะเศรษฐกจิ สงั คม การเมือง และหน่วยงานของรฐั บาล ศึกษาอยา่ งละเอียดถ่ี ถว้ น แลว้ ค่อยตัดสินใจพร้อมทีจ่ ะผจญกับปัญหาต่าง ๆ เขาจะไมเ่ หมือนกับคนทว่ั ไปท่หี ลกี เล่ียงความ เสยี่ ง แต่เขาจะกล้าเสีย่ งระดบั ปานกลางทค่ี ดิ ว่ามกี ารประเมินความเปน็ ไปได้อย่างดแี ลว้ 2. ตอ้ งการมุ่งความสําเรจ็ (Need for Achievement) เมื่อมองเหน็ โอกาสแหง่ ความเปน็ ไป ได้ พร้อมทัง้ พิจารณาอย่างละเอยี ดถี่ถ้วนแลว้ เขาจะมงุ่ ม่ันใชพ้ ลังงานความคิดสติปัญญา ความสามารถ ทั้งหมด ทํางานหนักทุ่มเทใหก้ ับงาน เพือ่ ใหบ้ รรลุความสาํ เร็จตามชอ่ งทางทว่ี างไว้ โดยไม่คํานงึ ถึงความ ยากลาํ บาก เขายังคงต่อสูต้ ่อไป พร้อมจะท่มุ เทเวลาทง้ั หมดให้กบั งาน เกดิ การเรียนรถู้ ึงความผิดพลาด จากท่ผี า่ นมา เพอื่ แกไ้ ขไปสคู่ วามสําเร็จ พอใจภูมใิ จท่ีงานออกมาดีเด่น จดุ มงุ่ หมายทางธรุ กิจมิได้อยู่ท่ีทาํ กาํ ไร แตจ่ ะทาํ เพ่ือการขยายความเจริญเตบิ โตของกิจการ กําไรเปน็ เพียงเคร่อื งสะท้อนวา่ จะทาํ ได้เขาไม่ เพยี งสนใจทีผ่ ลบรรลุเป้าหมาย แตเ่ ขาสนใจวธิ ีการของขบวนการทีท่ ําให้บรรลเุ ป้าหมายด้วย 3. มีความคดิ ริเร่ิมสรา้ งสรรค์ (Creativity Thinking) เม่ือท่านต้องการประสบความสาํ เร็จ ตอ้ ง เป็นผูท้ ี่มคี วามคดิ ริเรม่ิ สร้างสรรค์ ไมพ่ อใจทจี่ ะทาํ ในสง่ิ ซา้ํ ๆเหมอื นแบบด้ังเดมิ แต่เป็นผู้ท่ชี อบเอา ประสบการณ์ท่ผี ่านมา นํามาประยุกต์ใชส้ ร้างสรรคห์ าวธิ ีการใหมท่ ีด่ ีกวา่ เดิมนาํ มาใช้กบั การ

38 บริหารธรุ กจิ เป็นผู้เข้าถึงปัญหาแล้วหาทางแกไ้ ข หาแนวทางพฒั นาผลิตภณั ฑ์ ปรับปรุงการผลติ ตลอดเวลา กล้าทจ่ี ะผลติ สนิ คา้ ทแี่ ตกต่างจากตลาดท่ีมอี ยู่เดมิ กลา้ ใช้วธิ ีการขายท่ีไม่เหมอื นใคร กล้า ประดิษฐค์ ้นคว้าสงิ่ แปลกใหมเ่ ขา้ สตู่ ลาดและเกอื บทกุ ครั้งของความแตกต่างนน้ั ทาํ ให้ไดผ้ ลเปน็ อยา่ ง ดี นอกจากนีย้ ังกลา้ คดิ คน้ ประดิษฐเ์ คร่ืองจักร เครอ่ื งมืออุปกรณใ์ หม่ ๆมาใชใ้ นการผลิต นําเทคโนโลยใี หมๆ่ มา ใช้ พรอ้ มท้ังแสวงหาวตั ถใุ หม่ๆมาทดแทนปรบั ปรุงการดําเนนิ งานนําการจัดการสมัยใหม่มาใช้ผลิตใหม้ ปี ระสิทธภิ าพลด ตน้ ทุนการผลิตความคิดสร้างสรรคน์ เี้ ขาอาจคิดข้ึนมาเองหรอื เอาแนวคดิ มาจากนักประดิษฐ์ นักวิจยั ผู้เชยี่ วชาญที่ศึกษามา กไ็ ด้ 4.รูจ้ ักผูกพันตอ่ เป้าหมายเมือ่ การต้ังเปา้ หมายมกี ารวาดภาพจินตนาการไปถึงความสําเร็จและจะต้องทําอย่างไรถ้า ลม้ เหลวจะเกิดจากอะไรแกไ้ ขอย่างไรดงั นน้ั เพือ่ ให้เกดิ ความสําเร็จตามเป้าหมายทีต่ ้งั ไว้ เขาจะทมุ่ เททุกอยา่ งเพ่ือให้บรรลุ เปา้ หมายเป้าหมายนัน้ ล้วนแตเ่ ป็นการเอาชนะทั้งน้นั ความคดิ ผูกพนั ทีจ่ ะเอาชนะถงึ กับวางแผนกลยทุ ธไ์ ว้ล่วงหน้าเปน็ อย่างดี เพราะกลัวความล้มเหลว มกี ารวิเคราะห์ปัญหาอปุ สรรคท์ ี่อาจขดั ขวางในการไปสเู่ ป้าหมายเตรียมป้องกนั ท่ีจะ เอาชนะปัญหาอุปสรรค์ท่ีคาดวา่ จะทําให้เกดิ การลม้ เหลวแต่ขณะเดยี วกันมองโลกในแงด่ ี มคี วามหวังมุ่งม่ันตอ่ เป้าหมาย ของความสาํ เรจ็ จนมองเหน็ อนาคต 5. ความสามารถโน้มน้าวจติ ใจผูอ้ ่ืน ผปู้ ระกอบการทด่ี ีนอกจากมคี วามสามารถในการทาํ งานแล้วยงั ต้องมี ความสามารถในการชักจูงโนม้ น้าวจติ ใจ ผู้อนื่ ให้ความรว่ มมือชว่ ยเหลือในการทํางานรู้จกั ใช้ความสามารถในการทํางาน สร้างทัศนคติและแรงจูงใจต่อผรู้ ่วมงานให้สามารถเขา้ ใจการทาํ งานเตม็ ใจปฏิบัติงานตามท่ีวางไว้ สามารถโน้มน้าวใจแหลง่ เงินทนุ เชน่ ธนาคารญาติพ่ีนอ้ งเพือ่ นฝูง ให้คลอ้ ยตามความคดิ ของเขาและยินดใี ห้การสนบั สนุนทางการเงนิ ลงทนุ แก่ เขา คุณศุภกิจ รงุ่ โรจน์ ผ้มู ีช่ือเสยี งในการทําพซิ ซ่าลอยฟ้าเจ้าของบริษัท อัลเพรโดเอ็นเตอรไ์ พรส์ จํากัดมี สาขา19แห่งได้กล่าวเกย่ี วกับเร่ืองการโน้มนา้ วจิตใจผอู้ ่นื ไว้ ดงั น้ี \"คดิ อะไรเราจะเริ่มจากความคิดเม่อื คิดวา่ เปน็ ไปไดก้ ็ นาํ ไปสู่ความเช่ือเมอ่ื เช่ือแล้วก็ต้องบอกว่าทาํ ได้ เมอื่ เปน็ เช่นน้ีก็ต้องขายความเช่ือให้กับผูท้ ่รี ว่ มทําให้สาํ เรจ็ คอื ต้องขาย ความคิดน้ีใหห้ ุน้ สว่ นใหก้ บั ลูกน้องให้กบั ผขู้ ายวัตถุดิบ(ซัพพลายเออร)์ ใหก้ บั ลกู ค้าและครอบครัว\" 6. ยืนหยดั ต่อสู้ทาํ งานหนักเม่อื พจิ ารณารอบคอบแล้วตั้งเป้าหมายพยายามทาํ งานหนกั ทาํ งานอยา่ งเตม็ กําลงั ความสามารถยากท่ีจะหยดุ ยั้งหรือทอ้ แทไ้ ด้ แม้วา่ จะตอ้ งเผชิญกับปัญหาอุปสรรคถกู กดดันอย่างใหญ่หลวงก็ไม่สามารถ หยุดยั้งได้ ขอเพียงให้งานที่เขารับผดิ ชอบสาํ เร็จเท่านั้นพดู ได้ว่าเขาเก็บตัวอยกู่ ับงานตลอดเวลา 7. เอาประสบการณใ์ นอดีตมาเปน็ บทเรียน เป็นคุณลกั ษณะสาํ คญั ทค่ี วรจะปฏิบตั ิสําหรบั ผปู้ ระกอบการ เป็นการมองในอดีตทเ่ี คยทําผิดพลาด นาํ มาเปน็ บทเรียนสะท้อนไม่ใหเ้ กิดเหตุการณ์เช่นนนั้ อีก หรอื นาํ ไป ประยุกต์ใชใ้ นการทาํ งานหรือนาํ ไปปรับปรุงเปลี่ยนแปลงการทํางาน ใหม้ ุง่ ไปสกู่ ารทํางานทีด่ กี ว่าเดิม เขาจะมองเหตุการณ์ ตา่ งๆ เป็นโอกาสท่จี ะไดเ้ รียนรู้ ในการทาํ งาน บางครัง้ เขาไม่สามารถทําไดส้ ําเร็จ เขาก็จะหยุดคิดหาวธิ ีใหม่ ๆมาแก้ไข ปัญหา เขาจะไมม่ ทุ ะลุยึดมั่นกบั แผนเดมิ แล้วทาํ ไมไ่ ด้ เขาจะยืดหย่นุ เปล่ียนแปลงจนทําได้สาํ เรจ็ ฟังความคิดเหน็ ของผู้ร้ผู ู้ แนะนํา