Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมต้น

สังคมต้น

Description: สังคมต้น

Search

Read the Text Version

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 93 ตอ งแสดงวธิ ใี ช เพอ่ื ใหผ บู รโิ ภคเขา ใจวา สนิ คา นน้ั ใชเ พอ่ื สง่ิ ใด ขอ แนะนาํ ในการใชห รอื หา มใช เพอ่ื ความถกู ตอ งในการใหป ระโยชนแ กผ บู รโิ ภค วนั เดอื น ป ทผ่ี ลติ หรอื วนั เดอื น ป ทห่ี มดอายกุ ารใช หรอื วนั เดอื น ป ทค่ี วร ใชก อ น วนั เดอื น ป ทร่ี ะบนุ น้ั เพอ่ื ใหเ ขา ใจในประโยชนข องคณุ ภาพหรอื คณุ สมบตั ขิ องสนิ คา นน้ั (ถา ม)ี ราคาโดยระบหุ นว ยเปน บาท และจะระบเุ ปน เงนิ สกลุ อน่ื กไ็ ด 2. สอบถามขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกบั คณุ ภาพของสนิ คา จากผขู าย หรอื ผทู เ่ี คยใชส นิ คา นน้ั แลว 3. ศึกษาเงือ่ นไข หรอื ขอจํากัดของสนิ คา เชน วัน เดือน ป ท่ีผลติ หรือหมดอายุ วธิ ี การใช การเกบ็ รกั ษา คาํ เตอื นหรอื ขอ ควรระวงั ของสนิ คา ใหเ ขา ใจอยา งถอ งแท เพอื่ ผบู รโิ ภค สามารถใชส นิ คา ไดอยา งเตม็ ประสิทธภิ าพและประหยดั 4. รอ งขอใหห นว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งตรวจสอบคณุ ภาพ และปรมิ าณของสนิ คา วา เปน จรงิ ตาม ทร่ี ะบไุ วท ฉ่ี ลากของสนิ คา หรอื ไม เพอ่ื ใหไ ดส นิ คา ทม่ี คี ณุ ภาพและเปน ธรรมแกผ บู รโิ ภค 5. ผูบริโภคอยาดวนหลงเช่ือคําโฆษณาของสินคาหรือบริการ ตองศึกษาเง่ือนไข รายละเอียดอ่นื ๆ ของตัวสินคา หรือบริการท่อี าจไมไดระบุไวในการโฆษณา เน่อื งจากการ โฆษณาสินคาหรือบริการของผูประกอบธุรกิจสวนใหญจะเสนอแตขอดีและเง่ือนไขท่ีเปน ประโยชนตอผบู ริโภค สวนขอเสียมักจะไมกลาวถึงในการโฆษณา จึงจําเปนท่ผี บู ริโภคตอง ศกึ ษาหาความรเู พม่ิ เตมิ จากการสอบถามผขู ายหรอื บรษิ ทั ผผู ลติ ตลอดจนผมู คี วามรู ผเู คย มปี ระสบการณใ นการใชส นิ คา นน้ั ๆ มาแลว ขอ ความโฆษณาตอ ไปน้ี ถอื วา เปน ขอ ความทไ่ี มเ ปน ธรรมตอ ผบู รโิ ภค หรอื เปน ขอ ความ ทอ่ี าจกอ ใหเ กดิ ผลเสยี หายตอ สงั คมเปน สว นรวม ขอ ความทเ่ี ปน เทจ็ หรอื เกนิ ความจรงิ ขอความท่กี อใหเกิดความเขาใจผิดในสาระสําคัญเก่ยี วกับสินคาหรือบริการ ไมวาจะ เปน การกระทาํ โดยใชห รอื อา งองิ รายงานทางวชิ าการ สถติ หิ รอื สง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ อนั เปน ความจรงิ หรอื เกนิ ความจรงิ หรอื ไมก ต็ าม ขอความท่ีเปนการสนับสนุนโดยตรงหรือโดยออมใหมีการกระทําผิดกฎหมายหรือ ศลี ธรรม หรอื นาํ ไปสคู วามเสอ่ื มเสยี ในวฒั นธรรมของชาติ

94 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) ขอ ความทจ่ี ะทาํ ใหเ กดิ ความแตกแยกหรอื เสอ่ื มเสยี ความสามคั คใี นหมปู ระชาชน ขอความอยางอ่ืนตามท่ีกําหนดในกระทรวงท่ีผูประกอบธุรกิจตองระบุขอความให ครบถว น หากฝา ฝน มโี ทษตามกฎหมาย ขอ ควรปฏบิ ตั หิ ลงั จากซอ้ื สนิ คา หรอื บรกิ าร ผบู รโิ ภคมหี นา ทใ่ี นการเกบ็ รกั ษาพยานหลกั ฐานตา งๆ ทแ่ี สดงถงึ การละเมดิ สทิ ธขิ อง ผบู รโิ ภคไว เพอ่ื การเรยี กรอ งตามสทิ ธขิ องตน พยานหลกั ฐานดงั กลา ว อาจเปน สนิ คา ทแ่ี สดง ใหเ หน็ วา มปี รมิ าณ หรอื คณุ ภาพไมเ ปน ไปตามมาตรฐานทร่ี ะบไุ วใ นฉลาก มคี วามสกปรก หรอื มพี ษิ ทก่ี อ ใหเ กดิ อนั ตราย ควรจาํ สถานทซ่ี อ้ื สนิ คา หรอื บรกิ ารนน้ั ไว เพอ่ื ประกอบการรอ งเรยี น และตอ งเกบ็ เอกสารโฆษณาและใบเสรจ็ รบั เงนิ เอาไวด ว ย เมอ่ื มกี ารละเมดิ สทิ ธขิ องผบู รโิ ภคขน้ึ ผบู รโิ ภคมหี นา ทใ่ี นการดาํ เนนิ การรอ งเรยี น ตาม สทิ ธขิ องตน โดยรอ งเรยี นไปยงั หนว ยงานทเ่ี กย่ี วขอ งกบั การกาํ กบั ดแู ลสนิ คา หรอื บรกิ ารนน้ั หรือรองเรียนมาท่ีสํานักงานคณะกรรมการคุมครองผูบริโภค ตางจังหวัดรองเรียนท่ีคณะ อนกุ รรมการการคมุ ครองผบู รโิ ภคประจาํ จงั หวดั การเตรยี มตวั เพอ่ื รอ งทกุ ขส าํ หรบั ผบู รโิ ภค พระราชบญั ญตั คิ มุ ครองผบู รโิ ภค พ.ศ. 2522 ซง่ึ แกไ ขเพม่ิ เตมิ โดยพระราชบญั ญตั ิ คมุ ครองผบู รโิ ภค (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2541 มาตรา 4 ไดบ ญั ญตั สิ ทิ ธขิ องผบู รโิ ภคทจ่ี ะไดร บั การคมุ ครอง 5 ประการ ไดแ ก สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ขา วสารรวมทง้ั คาํ พรรณนาคณุ ภาพทถ่ี กู ตอ งและเพยี งพอเกย่ี วกบั สนิ คา หรอื บรกิ าร สทิ ธทิ จ่ี ะมอี สิ ระในการเลอื กหาสนิ คา หรอื บรกิ าร สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความปลอดภยั จากการใชส นิ คา หรอื บรกิ าร สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความเปน ธรรมในการทาํ สญั ญา สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั การพจิ ารณาและชดเชยความเสยี หาย ดงั นน้ั การรอ งทกุ ขเ มอ่ื ไมไ ดร บั ความเปน ธรรมจากการซอ้ื สนิ คา หรอื บรกิ าร ถอื เปน เรอ่ื งทช่ี อบธรรม ทผ่ี บู รโิ ภคควรกระทาํ เพอ่ื ใหผ ปู ระกอบธรุ กจิ ชดใชค วามเสยี หายและเพอ่ื เปน การลงโทษหรอื ปรามมใิ หผ ปู ระกอบธรุ กจิ เอารดั เอาเปรยี บผบู รโิ ภค การเตรยี มตวั ของผบู รโิ ภค เพอ่ื จะมารอ งทกุ ขเ ปน ขน้ั ตอนทม่ี คี วามสาํ คญั หากเอกสาร หลกั ฐานทผ่ี บู รโิ ภคนาํ มาไมค รบถว น จะทาํ ใหผ บู รโิ ภคเสยี เวลาในการยน่ื เรอ่ื ง การเตรยี มเอกสาร หลกั ฐานของผรู อ งเรยี น ผรู องเรียนจะตองเตรียมเอกสาร หลักฐานใหพรอม เพ่อื จะนํามาใชประกอบกับการ บนั ทกึ คาํ รอ งเรยี น ใหผ บู รโิ ภคยน่ื เรอ่ื งรอ งเรยี น ทส่ี าํ นกั งานคณะกรรมการคมุ ครองผบู รโิ ภค (กรงุ เทพมหานคร) หรอื คณะอนกุ รรมการการคมุ ครองผบู รโิ ภคประจาํ จงั หวดั ในจงั หวดั ทท่ี า นอาศยั อยู โดยมขี น้ั ตอนดงั น้ี

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 95 1. ผรู อ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบบนั ทกึ คาํ รอ งเรยี นพรอ มแนบเอกสาร (เอกสาร ลงชอ่ื รบั รองสาํ เนาทกุ ฉบบั ) มอบใหเ จา หนา ท่ี 2. ผรู อ งเรยี นกรอกรายละเอยี ดในแบบหนงั สอื มอบอาํ นาจ (มอบอาํ นาจให สคบ.ดาํ เนนิ การแทนผรู อ ง) 3. กรณผี บู รโิ ภคไมส ามารถรอ งเรยี นดว ยตนเองได ผมู ารอ งเรยี นแทนจะตอ งมหี นงั สอื รบั รองมอบอาํ นาจจากผบู รโิ ภค (พรอ มตดิ อากรแสตมป จาํ นวน 30 บาท) นาํ มายน่ื ตอ เจา หนา ท่ี ดว ย หากมขี อ สงสยั ประการใดโปรดสอบถามเจา หนา ทเ่ี พม่ิ เตมิ หรอื โทรศพั ทต ดิ ตอ หนว ยงาน ทใ่ี หก ารคมุ ครองผบู รโิ ภค เรือ่ งที่ 5 ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศตางๆ ในเอเชีย ความสาํ คญั ของกลมุ ทางเศรษฐกจิ ในเอเชยี การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ในภมู ภิ าคตา งๆ หลักการการรวมกลมุ ทางเศรษฐกิจ ความสัมพันธของการคาระหวางประเทศมี วิวัฒนาการเปล่ยี นแปลงไปจากการคาในอดีต ท้งั ในรูปแบบทางการคา ขอบขายกิจกรรม ทางการคา ประเทศคคู า และเทคโนโลยสี ารสนเทศทอ่ี าํ นวยความสะดวกทางการคา การเจรจา ทางการคา เปน เรอ่ื งสาํ คญั และเปา หมายหลกั ของผเู จรจาทางการคา ทม่ี าจากภาครฐั คอื เพอ่ื สทิ ธปิ ระโยชนท างการคา ของชาตติ นเอง เนอ่ื งจากการแขง ขนั ทางการคา ประเทศตา งๆ จงึ มนี โยบายและมาตรการทใ่ี ชบ ดิ เบอื นทางการคา ซง่ึ ทาํ ใหก ารคา ระหวา งประเทศขาดความเปน ธรรมและขาดความเปน เสรี การเจรจาทางการคา นน้ั มงุ หวงั วา จะเปน การแลกเปลย่ี นหรอื ลด หยอ นสทิ ธพิ เิ ศษทางการคา จดั ทาํ ขอ ตกลงทางการคา ความรว มมอื และพฒั นารปู แบบการคา และเพ่อื แกไขขอพิพาททางการคาระหวางประเทศ รูปแบบการเจรจาตอรองทางการคาน้นั สามารถแบง ไดต ามระดบั ของการเจรจา คอื ทวภิ าคี (Bilateral) ซง่ึ เปน ความสมั พนั ธร ะหวา ง ประเทศตอ ประเทศการเจรจามากฝา ย (Plurilateral) อาทเิ ชน การเจรจา 3 ฝา ย หรอื การ เจรจา 4 ฝา ย การเจรจาหลายฝา ยหรอื พหภุ าคี (Multilateral) ซง่ึ เปน การเจรจาทม่ี ปี ระเทศ เขา รว มและใชเ วลายาวนานกวา จะไดข อ สรปุ การเจรจาตอ รองทางการคา เหลา นน้ี าํ ไปสรู ะดบั ความสมั พนั ธท างการคา ระหวา งประเทศในรปู แบบตา ง ๆ ปจ จบุ นั ระดบั ความสมั พนั ธใ นระดบั กลมุ ประเทศในภมู ภิ าคใกลเ คยี งกนั และมขี อ ตกลง ตอ กนั (Regional Trade Arrangements) เปน กลมุ เศรษฐกจิ และเปน เรอ่ื งสาํ คญั ตอ การพฒั นาทน่ี าํ ไปสกู ารคา เสรขี องโลก รปู แบบของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ มไี ดห ลายรปู แบบและมวี วิ ฒั นาการแตกตา งกนั โดยแตล ะรปู แบบจะมคี วามเขม ขน ของความสมั พนั ธซ ง่ึ กนั และกนั แตกตา งกนั ไป เชน 1. ขอ ตกลงการใหส ทิ ธพิ เิ ศษทางศลุ กากร (Preferential Tariff Agreement) เปน ขอ ตกลงเพอ่ื ลดภาษใี หแ กก นั และกนั โดยอตั ราภาษที เ่ี รยี กเกบ็ จะนอ ยกวา อตั ราภาษที เ่ี รยี กเกบ็

96 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) จากประเทศทส่ี าม เชน การรวมตวั กนั ของกลมุ LAIA (Latin American Integration Association) , ASEAN และ Trade Expansion and Cooperation Agreement เปน ตน 2. สหภาพศลุ กากรบางสว น (Partial Customs Union) การรวมตวั ทางเศรษฐกจิ ใน รปู แบบน้ี ประเทศทท่ี าํ ขอ ตกลงกนั ยงั คงอตั ราภาษไี วใ นระดบั เดมิ แตม กี ารกาํ หนดอตั ราภาษี ศลุ กากรในการคา กบั ประเทศภายนอกกลมุ รว มกนั 3. เขตการคา เสรี (Free Trade Areas) ในเขตการคา เสรี การซอ้ื ขายสนิ คา และบรกิ าร ระหวา งประเทศภาคี สามารถทาํ ไดอ ยา งเสรปี ราศจากขอ กดี กนั ทางการคา ทง้ั มาตรการทาง ภาษีและมาตรการกีดกันทางการคาท่มี ิใชภาษี ในขณะเดียวกันแตละประเทศสมาชิกยังคง สามารถดาํ เนนิ นโยบายกดี กนั ทางการคา กบั ประเทศนอกกลมุ ไดอ ยา งอสิ ระ เชน การรวมตวั กนั ของกลมุ EFTA , NAFTA และ CER เปน ตน 4. สหภาพศลุ กากร (Customs Union) เปน รปู แบบของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ท่ี มรี ะดบั ความเขม ขน สงู ขน้ึ มาอกี ระดบั หนง่ึ โดยการรวมกลมุ ในลกั ษณะน้ี นอกจากจะขจดั ขอ กีดกันทางการคาออกไปแลว ยังมีการกําหนดพิกัดอัตราภาษีศุลกากรในการคากับประเทศ ภายนอกกลมุ รว มกนั และใหม อี ตั ราเดยี วกนั ดว ย 5. ตลาดรว ม (Common Market) รปู แบบของการรวมกลมุ ประเภทน้ี นอกจากจะมี ลักษณะเหมือนกับสหภาพศุลกากรแลว การเคล่อื นยายปจจัยการผลิต (แรงงาน ทุน และ เทคโนโลย)ี สามารถทาํ ไดอ ยา งเสรี เชน การรวมตวั กนั ของกลมุ EU กอ นป 1992 6. สหภาพทางเศรษฐกจิ (Economic Union) นอกจากจะมกี ารคา เสรี การเคลอ่ื นยา ย ปจ จยั การผลติ อยา งเสรี และนโยบายการคา รว มแลว ยงั มกี ารประสานความรว มมอื กนั ในการ ดาํ เนนิ นโยบายทางเศรษฐกจิ ทง้ั นโยบายการเงนิ และการคลงั อกี ดว ย เชน การรวมตวั ของ กลมุ EU ในปจ จบุ นั 7. สหภาพทางเศรษฐกจิ แบบสมบรู ณ (Total Economic Union) เปน การรวมตวั ทาง เศรษฐกจิ ทม่ี คี วามเขม ขน มากทส่ี ดุ จะมกี ารจดั ตง้ั รฐั บาลเหนอื ชาติ และมนี โยบายทางเศรษฐกจิ เดยี วกนั การมขี อ ตกลงทางการคา เสรแี ละบทบาทของ WTO แกตตห รอื องคก ารการคา โลก (WTO) ในปจ จบุ นั มวี ตั ถปุ ระสงคท ส่ี าํ คญั ประการหนง่ึ คอื ตอ งการใหก ารคา โลกดาํ เนนิ ไปอยา งเสรี บนพน้ื ฐานของความเทา เทยี มกนั คอื ไมม กี ารเลอื ก ปฏบิ ตั ริ ะหวา งประเทศภาคสี มาชกิ การจดั ตง้ั กลมุ เศรษฐกจิ ในระดบั ภมู ภิ าคไมว า จะอยใู นรปู ทวภิ าคหี รอื พหภุ าคคี วามเปน เสรีทางการคามากข้นึ ระหวางประเทศในกลมุ แตไมอาจหลีกเล่ยี งการกีดกันทางการคาตอ ประเทศนอกกลมุ ไปได เมอ่ื พจิ ารณาจากบทบญั ญตั ขิ อง WTO จะเหน็ ไดว า การรวมกลมุ หรอื การทาํ ความตกลงทางการคา ระดบั ภมู ภิ าคเชน นเ้ี ปน สง่ิ ทด่ี าํ เนนิ การได ถอื วา เปน “ขอ ยกเวน ” อยา งหนง่ึ ของ WTO ทป่ี ระเทศภาคสี มาชกิ สามารถเลอื กปฏบิ ตั ไิ ด ระหวา งประเทศในกลมุ กบั ประเทศนอกกลุม แตจะตองดําเนินการใหสอดคลองกับเง่ือนไขท่ีกําหนดไวในบทบัญญัติ มฉิ ะนน้ั อาจจะขดั กบั พนั ธกรณภี ายใต WTO ได

« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 97 การจดั ตง้ั กลมุ เศรษฐกจิ ตามมาตรา 24 นน้ั มอี ยู 3 รปู แบบ คอื 1. สหภาพศลุ กากร 2. เขตการคา เสรี 3. ขอ ตกลงชว่ั คราวกอ นทจ่ี ะจดั ตง้ั สหภาพศลุ กากรหรอื เขตการคา เสรี เหตผุ ลของการรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ ประเทศเลก็ ทก่ี าํ ลงั พฒั นากอ ตวั เปน กลมุ เศรษฐกจิ มากขน้ึ เพราะนานาประเทศตระหนกั วา การทม่ี ตี ลาดใหญ การรว มใชท รพั ยากร การแบง งานกนั ทาํ อยา งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยเฉพาะ ประเทศท่อี ยใู นอาณาบริเวณใกลเคียงกันจะนําไปสพู ัฒนาการทางเศรษฐกิจท่แี ข็งแกรงและ สามารถแขง ขนั กบั ตลาดใหญๆ ได ประเทศไทยไดร ว มมอื ทางเศรษฐกจิ กบั ประเทศอน่ื ๆ อยา งกวา งขวาง และไดเ ขา รว มเปน สมาชกิ ขององคก รระหวา งประเทศหลายองคก รดงั น้ี 1. กลมุ อาเซยี น หรอื สมาคมประชาชาตเิ อเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต (Association of Southeast Asian Nations : ASEAN) ประกอบดว ย 6 ประเทศ ไดแ ก อนิ โดนเี ซยี มาเลเซยี ฟล ปิ ปน ส สงิ คโปร บรไู น และไทย สาํ นกั งานใหญต ง้ั อยทู เ่ี มอื งจาการต า ประเทศอนิ โดนเี ซยี องคกรน้มี ีวัตถุประสงค เพ่อื สงเสริมความรวมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร และ เทคโนโลยี สงั คม และวฒั นธรรม ตลอดจนการเมอื งระหวา งประเทศสมาชกิ จากการกอ ตง้ั กลมุ อาเซยี น มาตง้ั แต พ.ศ. 2510 มาจนถงึ ปจ จบุ นั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นมกี ารขยายตวั ทางเศรษฐกจิ อยา งรวดเรว็ โครงสรา งทางเศรษฐกจิ กเ็ ปลย่ี นแปลงจาก ภาคเกษตรไปสภู าคอตุ สาหกรรมมากขน้ึ สง ผลใหป ระเทศสมาชกิ ประสบปญ หาทง้ั ทางดา น การขาดดลุ การคา การเพม่ิ อตั ราคา จา งแรงงาน และการขาดแคลนการบรกิ ารพน้ื ฐาน 2. กลมุ เอเปค (Asia-Pacific Economic Cooperation : APEC) กอ ตง้ั ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2532 มสี มาชกิ 12 ประเทศ ไดแ ก สหรฐั อเมรกิ า เกาหลใี ต สงิ คโปร ฟล ปิ ปน ส นวิ ซแี ลนด มาเลเซยี ญป่ี นุ อนิ โดนเี ซยี แคนาดา บรไู น ออสเตรเลยี และไทย องคก รนม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื สง เสรมิ ความรว มมอื ในการแกป ญ หารว มกนั สง เสรมิ การคา เสรี ตลอดจนการปรบั ปรงุ แบบแผนการตดิ ตอ การคา ระหวา งกนั และเพอ่ื ตง้ั รบั การรวม ตวั เปน ตลาดเดยี วกนั ระหวา งประเทศสมาชกิ 3. คณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ และสงั คมสาํ หรบั เอเชยี และแปซฟิ ก (Economic and Social Commission for Asia and pacific : ESCAP) องคกรน้เี ปนองคกรท่จี ัดต้งั ข้นึ โดยองคการสหประชาชาติ มีวัตถุประสงคเพ่อื สง เสรมิ ความรว มมอื ในการพฒั นาดา นเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศสมาชกิ ทอ่ี ยใู นเอเชยี และ แปซฟิ ก รวมทง้ั ประเทศไทยดว ย ESCAP เปน องคก รทข่ี ยายมาจากคณะกรรมาธกิ ารเศรษฐกจิ แหง เอเชยี และตะวนั ออกไกล (Economic commission for Asia and the Far East : ECAFE) ซง่ึ จดั ตง้ั ขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2490 และใน พ.ศ. 2517 ไดข ยายมาเปน ESCAP ทง้ั นเ้ี พอ่ื ใหค รอบคลมุ ประเทศในพน้ื ทเ่ี อเชยี และแปซฟิ ก ทง้ั หมด ประเทศทเ่ี ปน สมาชกิ จะไดร บั ความ ชว ยเหลอื ในการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คม สาํ นกั งานตง้ั อยทู ก่ี รงุ เทพมหานคร ประเทศไทย

98 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) 4. ขอ ตกลงทว่ั ไปวา ดว ยภาษศี ลุ กากรและการคา (General Agreement of Tariffs and Trade : GATT) กอ ตง้ั เมอ่ื วนั ท่ี 30 ตลุ าคม พ.ศ. 2490 มปี ระเทศสมาชกิ เกอื บทว่ั โลก ประเทศไทยเขา เปน สมาชกิ เมอ่ื วนั ท่ี 20 พฤศจกิ ายน 2525 องคก รนม้ี วี ตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื สง เสรมิ ระบบการคา เสรี และสง เสรมิ สมั พนั ธภ าพทางการคา และเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ โดย ทกุ ประเทศสมาชกิ ตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บของ GATT ประเทศไทยไดร บั การสง เสรมิ ดา น การขยายตัวทางการคา ทําใหความเสียเปรียบดานการเจรจาการคาระหวางประเทศกับ มหาอาํ นาจทางเศรษฐกจิ ลดลงไปมาก ลกั ษณะ ประเภทสนิ คา ของประเทศในเอเชยี ประเทศตางๆ ในเอเชียมีการผลิตสินคาท่มี ีลักษณะคลายคลึงกัน เน่อื งจากลักษณะ ภมู ปิ ระเทศทเ่ี ปน ทต่ี ง้ั ของประเทศ ทส่ี ามารถผลติ สนิ คา ไดด ี โดยเฉพาะผลผลติ ทเ่ี ปน อาหาร ของโลกทไ่ี ดจ ากการเกษตร เชน ขา ว ยางพารา มนั สาํ ปะหลงั แตก ม็ หี ลายประเทศ เชน จนี ญป่ี นุ อนิ เดยี ทพ่ี ลกิ ผนั ไปผลติ สนิ คา ทเ่ี ปน เทคโนโลยสี มยั ใหม เชน ยานยนต อปุ กรณไ ฟฟา คอมพวิ เตอร และอน่ื ๆ ประเทศไทย มกี ารผลติ สนิ คา ทส่ี ง ออกขายทว่ั โลก สนิ คา เกษตรสง ออกสาํ คญั ทน่ี าํ รายไดเ ขา ประเทศสงู สดุ 10 อนั ดบั แรก ไดแ ก ยางพาราและผลติ ภณั ฑ ขา วและผลติ ภณั ฑ ปลาและผลติ ภณั ฑ กงุ และผลติ ภณั ฑ ไมแ ละผลติ ภณั ฑ มนั สาํ ปะหลงั และผลติ ภณั ฑ นาํ้ ตาล และผลติ ภณั ฑ ผลไมแ ละผลติ ภณั ฑ กระดาษและผลติ ภณั ฑ 47,235 ลา นบาท และเนอ้ื ไก นอกจากน้นั ยังมีสินคาท่ปี ระเทศไทยทําการคาระหวางประเทศ เชน ส่งิ ทอและวัสดุ สง่ิ ทอ การออกแบบผลติ ภณั ฑ อญั มณี และอตุ สาหกรรมการทอ งเทย่ี ว อนิ โดนเี ซยี มที รพั ยากรปา ไม พน้ื ทส่ี ว นใหญเ ปน ปา ดงดบิ เปน ประเทศทม่ี ปี า ไมม าก ทส่ี ดุ ในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต ผลติ ผลจากปา ไมส ว นใหญเ ปน ไมเ นอ้ื แขง็ แรธ าตุ แรธ าตทุ ่ี สาํ คญั ไดแ ก นาํ้ มนั ปโ ตรเลยี ม ทาํ รายไดใ หก บั ประเทศมากทส่ี ดุ อนิ โดนเี ซยี เปน สมาชกิ ของ องคก ารประเทศ ผสู ง นาํ้ มนั เปน สนิ คา ออก เกษตรกรรม มกี ารปลกู พชื แบบขน้ั บนั ได พชื เศรษฐกจิ ไดแ ก ขา ว ยาสบู ขา วโพด เครอ่ื งเทศ ประมง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน หมเู กาะทาํ ให อนิ โดนเี ซยี สามารถจบั สตั วน าํ้ ไดม าก อตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรมทส่ี าํ คญั ไดแ ก การกลน่ั นาํ้ มนั การตอ เรอื ญป่ี นุ การสง ออกของญป่ี นุ สนิ คา สง ออกของญป่ี นุ ทส่ี าํ คญั เปน ประเภทยานพาหนะ และอปุ กรณข นสง เครอ่ื งจกั ร และสนิ คา อเิ ลก็ ทรอนกิ ส เรอื ผลติ ภณั ฑเ ภสชั กรรม เครอ่ื งสาํ อาง รถไฟ/รถรางและอปุ กรณ รวมถงึ ผลติ ภณั ฑจ ากกระดาษ เชน การบรรจภุ ณั ฑ สงิ คโปร ไมม ที รพั ยากรธรรมชาตขิ องตนเอง ไมม แี รธ าตใุ ดๆ แมก ระทง่ั นาํ้ จดื ยงั ไมม เี พยี ง พอ ตอ งพง่ึ แหลง นาํ้ จดื จากมาเลเซยี อตุ สาหกรรมสาํ คญั ๆ โดยนาํ เขา วตั ถดุ บิ จากประเทศ เพอ่ื นบา น เชน อตุ สาหกรรมกลน่ั นาํ้ มนั โดยซอ้ื นาํ้ มนั ดบิ จากอนิ โดนเี ซยี และบรไู น นอกจาก น้ียังมีอุตสาหกรรมถลุงแรเหล็กและดีบุก อุตสาหกรรมเคมี อุตสาหกรรมเคร่ืองใชไฟฟา อตุ สาหกรรมผลติ รถยนตแ ละชน้ิ สว นอะไหล ฯลฯ

« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 99 ประเทศสงิ คโปร สาธารณรฐั ประชาชนลาว สนิ คา สง ออกของลาว ไดแ ก ไมแ ละไมแ ปรรปู สนิ คา ประมงและสตั ว แรธ าตุ สนิ คา การเกษตร เชน ชา กาแฟ เครอ่ื งเทศ ฯลฯ เครอ่ื งนงุ หม พาหนะ และอะไหล หนังสัตวและผลิตภัณฑหนังฟอก เคร่อื งจักรกลท่ไี มใชไฟฟาและสวนประกอบ เครอ่ื งพลาสตกิ ผลติ ภณั ฑแ ละเครอ่ื งอปุ โภค เวยี ดนาม สนิ คา สง ออกทส่ี าํ คญั ของเวยี ดนาม ไดแ ก ขา ว นาํ้ มนั ดบิ สง่ิ ทอและ เสอ้ื ผา สาํ เรจ็ รปู รองเทา ผลติ ภณั ฑส ตั วน าํ้ ทะเล ไมแ ละเฟอรน เิ จอร กาแฟ สาธารณรัฐแหงสหภาพพมา(เมยี นมาร) รฐั บาลพมา ประกาศนโยบายตง้ั แตเ ขา ยึดอํานาจการปกครองใหมๆ ท่จี ะเปล่ยี นแปลงเศรษฐกิจพมาจากระบบวางแผนสวนกลาง (Centrally-planned economy) เปน ระบบตลาดเปด ประเทศ รองรบั และสง เสรมิ การลงทนุ จากภายนอก สง เสรมิ การสง ออก การทอ งเทย่ี ว และขยายความรว มมอื ทางเศรษฐกจิ กบั ภมู ภิ าค แตใ นทางปฏบิ ตั กิ ารปรบั โครงสรา งเศรษฐกจิ ของพมา ไมค บื หนา รฐั บาลพมา ไมไ ดด าํ เนนิ การ ในทศิ ทางดงั กลา วอยา งเตม็ ท่ี รฐั บาลยงั คงคมุ และแทรกแซงภาคการผลติ ตา งๆ อยา งเขม งวด มกี ารเปลย่ี นแปลงกฎระเบยี บดา นการคา การลงทนุ ดา นเกษตรกรรม รฐั บาลพมา ใหค วามสาํ คญั ตอ การผลติ และสง ออกผลผลติ ถว่ั ขา ว ยางพารา ไดป รบั ระบบการสง ออกถว่ั ขน้ึ ใหม เพอ่ื ใหเ กดิ ความคลอ งตวั และจงู ใจใหเ กษตรกร ขยายการเพาะปลกู และรฐั บาลพมา พยายามสง เสรมิ โครงการปลกู ขา วเพอ่ื การสง ออก ปจ จบุ นั แมวารัฐบาลพมา ยังไมไดดําเนินการใดๆ ท่ีสําคัญเพ่ือปฏิรูประบบเศรษฐกิจมหภาค แต พยายามเรง การพฒั นาภาคการเกษตร การสง เสรมิ การลงทนุ จากตา งประเทศ การสง เสรมิ การ ทอ งเทย่ี ว การนาํ ทรพั ยากรมาใชโ ดยเฉพาะกา ซธรรมชาตแิ ละพลงั นาํ้

100 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) ประเทศจนี ประเทศจนี มปี ระชากรมาก และอาณาเขตกวา งขวางเปน ทส่ี องของโลก ผลผลติ ตา งๆ สว นใหญเ พอ่ื เลย้ี งชพี คนในประเทศ แตอ ยา งไรกต็ ามรฐั บาลไดก าํ หนดนโยบายเพอ่ื การพฒั นา เศรษฐกจิ ใหส ามารถสง ออกไปยงั นานาประเทศได โดยเนน ศกั ยภาพของพลเมอื งเปน สาํ คญั เชน ทางตะวนั ตกเฉยี งเหนอื มแี รเ หลก็ มาก กจ็ ะเนน การเจรญิ เตบิ โตดา นการผลติ เหลก็ กลา และ ผลติ ภณั ฑท ท่ี าํ จากเหลก็ เมอื งทเ่ี ปน กลางการคา กเ็ นน การบรกิ ารสง ออก การผลติ สนิ คา ยานยนต เครือ่ งใชไ ฟฟา และอีเลก็ ทรอนกิ ส เชน เซย่ี งไฮ เมอื งท่ีมีทรพั ยากรธรรมชาติสวยงาม กเ็ นน ธรุ กจิ การทอ งเทย่ี ว และทส่ี าํ คญั ผลผลติ ทางการเกษตรทเ่ี ปน ของจนี สามารถสง ออกจาํ หนา ย เปนคูแ ขงทส่ี าํ คญั ของประเทศในภูมภิ าคเอเชยี เชน ผัก ผลไม และอาหารทะเล เปน ตน 

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 101 กจิ กรรมทา ยบทท่ี 3 เศรษฐศาสตร กิจกรรมที่ 1 ใหผ เู รยี นตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี เพอ่ื เสรมิ ความรจู ากในหนงั สอื เรยี น โดยถามจากผูรู 1.1 ใหผ เู รียนศกึ ษาคน ควาเรอ่ื ง สถานการณเศรษฐกิจไทยปจจุบันเปนอยา งไร มี จดุ ออ น จุดแขง็ อยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 1.2 เพอ่ื ปอ งกนั ถกู เอาเปรยี บการใชส นิ คา หรอื รบั บรกิ ารทา นมวี ธิ ปี อ งกนั หรอื แกไ ข อยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... กิจกรรมท่ี 2 ถา ผเู รยี นเปน ผผู ลติ ในระบบเศรษฐกจิ ทา นคดิ วา ทา นจะผลติ อะไรใน ชมุ ชนทค่ี าดวา จะมผี ลกาํ ไรเพยี งพอตอการดาํ เนนิ ชีวติ และจะใช ปจจยั การผลติ และกระบวนการผลติ อยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

102 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) กจิ กรรมท่ี 3 ใหผูเรียนตอบคาํ ถามตอไปน้ี 3.1 เศรษฐศาสตร หมายถึงวิชาทวี่ า ดว ยการศกึ ษาอะไร มีความสําคัญอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3.2 ความตองการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตรห มายถึงอะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3.3 คณุ ธรรมของผผู ลิตมอี ะไรบาง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3.4 ระบบเศรษฐกิจแบบผสมหมายถึงอะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 103 กจิ กรรมที่ 4 จงเลือกคาํ ตอบที่ถูกท่ีสดุ เพยี งคาํ ตอบเดียว 1. วิชาเศรษฐศาสตรส ว นใหญเ ปน เรอ่ื งเกย่ี วกับสิง่ ใด ก. การผลติ สนิ คา ข. การใหบ รกิ าร ค. การใชท รพั ยากร ง. การทาํ มาหากนิ ในชวี ติ ประจาํ วนั 2. การแขง ขนั ทางการคา จะกอ ใหเ กดิ ผลดที างเศรษฐกจิ อยา งไรบา ง ก. พอ คา จะไดก าํ ไรจากการขายสนิ คา ข. ปอ งกนั ไมใ หร ฐั บาลเขา ไปควบคมุ ในกจิ การคา ค. ชว ยปอ งกนั การคา กาํ ไรเกนิ ควร ง. ประชาชนใชส นิ คา มากขน้ึ 3. ขอ ใดทแ่ี สดงวา ผบู รโิ ภคนาํ วชิ าเศรษฐศาสตรม าใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั ก. ซอ้ื สนิ คา เฉพาะทจ่ี าํ เปน และราคาไมแ พง ข. กกั ตนุ สนิ คา เมอ่ื รวู า จะขน้ึ ราคา ค. เลอื กซอ้ื สนิ คา ทถ่ี กู ทส่ี ดุ ง. ซอ้ื สนิ คา จากการโฆษณา 4. ขอ ใดอธบิ ายความหมายของ “ระบบเศรษฐกจิ ” ไดถ กู ตอ งมากทส่ี ดุ ก. สงั คมทม่ี แี นวปฏบิ ตั ทิ างเศรษฐกจิ ภายใตร ปู แบบเดยี วกนั ข. สงั คมทอ่ี นญุ าตใหเ อกชนเปน เจา ของปจ จยั การผลติ ค. สงั คมทใ่ี ชก ลไกของราคาเขา มาแกไ ขปญ หาเศรษฐกจิ ง. สงั คมทม่ี กี ารผลติ ภายใตก ารควบคมุ ของรฐั บาล 5. ประเทศไทยตอ งกเู งนิ จากสถาบนั การเงนิ ระหวา งประเทศ เพอ่ื มาแกไ ขสภาวะเศรษฐกจิ จาก สถาบนั การเงนิ ในขอ ใด ก. โอเปค (OPEC) ข. ไอ เอม็ เอฟ (IMF) ค. อซี ี (EC) ง. อาเซยี น (ASEAN) 

104 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) บทท่ี 4 การเมืองการปกครอง สาระสาํ คญั รัฐธรรมนูญเปน หัวใจสาํ คญั ของระบอบประชาธปิ ไตย กลาวคอื เปนกฎหมายสงู สดุ วาดวยการจัดระเบียบการปกครองโดยยึดม่ันหลักการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมี พระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ มรี ปู แบบการปกครองแบบอาํ นาจอธปิ ไตย ซงึ่ เปน อาํ นาจสงู สดุ ในการปกครองประชาชนและการใชอํานาจตองเปนไปตามรัฐธรรมนูญ โดยมีบทบัญญัติ กฎหมายรองรบั ประชาชนจงึ ตอ งมหี นา ทปี่ ฏบิ ตั ติ นตอ บา นเมอื งตามทกี่ าํ หนดไวใ นกฎหมาย รฐั ธรรมนญู ผลการเรยี นรูทคี่ าดหวัง 1. อธิบายสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญและการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษตั ริยทรงเปนประมขุ 2. ตระหนกั ในปญ หาการไมปฏิบตั ติ ามกฎหมาย 3. มสี ว นรว มสง เสรมิ และสนบั สนนุ ทางการเมอื งการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มีพระมหากษตั รยิ ทรงเปน ประมขุ ขอบขา ยเนื้อหา เร่ืองท่ี 1 การเมอื งการปกครองทใ่ี ชอยูใ นปจจบุ นั ของประเทศไทย 1.1 การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย 1.2 รัฐธรรมนญู ของไทย 1.3 กฎหมายและหนา ท่ีของพลเมือง เร่ืองที่ 2 เปรียบเทียบรูปแบบทางการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย และระบอบอืน่ ๆ

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 105 เร่อื งที่ 1 การเมอื งการปกครองทใ่ี ชอยูในปจจบุ นั ของประเทศไทย ประเทศไทยไดย ดึ หลกั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ มีรัฐธรรมนูญการปกครองแผน ดินมาตงั้ แตพทุ ธศกั ราช 2475 จนถงึ รัฐธรรมนูญ แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศักราช 2550 เปนแนวทางสําคัญตลอดมา 1.1 การปกครองในระบอบประชาธิปไตย การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย หมายถงึ การปกครองทป่ี ระชาชนมอี าํ นาจสงู สดุ หรอื แบง การปกครองของประชาชนโดยประชาชนและเพอื่ ประชาชน อนั มพี ระมหากษัตรยิ  เปน ประมขุ และทรงอยูใ ตรฐั ธรรมนูญ หลักการสําคัญของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย เปาหมายของการปกครองระบอบประชาธิปไตยเพ่ือจัดระเบียบการอยูรวมกัน ของผูค นในลกั ษณะที่เอ้อื อํานวยประโยชนต อ ประชาชนทกุ คนในรฐั ใหค วามคุมครองสิทธิ และเสรีภาพอยา งเสมอภาคและยุติธรรม มหี ลกั การสาํ คญั ดงั นี้ 1. มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดที่ใชในการปกครองประเทศ ซ่ึงไดกําหนด ความสัมพนั ธระหวา งสถาบนั การเมือง การปกครองและประชาชน รวมถงึ สิทธิเสรภี าพและ หนา ท่ขี องประชาชนทุกคน 2. มีอํานาจสูงสุดในการปกครอง คือ อํานาจอธิปไตย ประกอบดวย อํานาจ นิติบัญญัติ อํานาจบริหารและอํานาจตุลาการในระบอบประชาธิปไตย ประชาชนมีอํานาจ สงู สุดในการปกครองประเทศและการใชอํานาจตอ งเปน ไปตามรัฐธรรมนญู ทก่ี ําหนด 3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยใหถือวาเสียงขางมากหรือเหตุผลของคน สวนใหญเปน มติท่ีตอ งยอมรับ 4. มคี วามเสมอภาค โดยประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธเิ ทา เทยี มกนั ในทกุ ๆ ดา น เพราะ ทุกคนอยภู ายใตการปกครองของรฐั ธรรมนูญฉบับเดยี วกัน รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย รูปแบบของการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แบงอํานาจในการบริหาร ประเทศออกเปน 3 สว น รวมเรยี กวา “อาํ นาจอธปิ ไตย” ประกอบดวย 1. อาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ิ พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ผใู ชพ ระราชอาํ นาจนติ บิ ญั ญตั ผิ าน ทางรฐั สภา ซง่ึ เปน อาํ นาจทใี่ ชใ นการตรากฎหมาย ควบคมุ การบรหิ าราชการแผน ดนิ ของฝา ย บริหารและกําหนดนโยบายใหฝายบริหารปฏิบัติ สถาบันทางการเมอื งท่เี ก่ียวขอ งกับอาํ นาจ นิติบญั ญัติ ไดแก รัฐสภา ประกอบดว ย สภาผแู ทนราษฎรและวุฒิสภา และใหถือวารฐั สภา เปนตัวแทนของประชาชนทัง้ ประเทศและเปนผรู ักษาผลประโยชนของประชาชน 2. อาํ นาจบรหิ าร พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ผใู ชพ ระราชอาํ นาจบรหิ ารผา นทาง รฐั บาลหรือคณะรฐั มนตรี มีหนา ท่ใี นการวางนโยบาย กําหนดเปาหมายดาํ เนนิ กิจการตา งๆ ของรัฐ เพ่อื บาํ บัดทกุ ขบาํ รุงสขุ ของประชาชน ดวยเหตุน้อี ํานาจบริหารจึงมคี วามสาํ คัญตอ ระบบการปกครองของรฐั

106 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) 3. อํานาจตลุ าการ พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ผูใชพ ระราชอํานาจตุลาการฝาย ทางศาล มอี าํ นาจหนา ทรี่ กั ษาความยตุ ธิ รรมตามทก่ี ฎหมายกาํ หนด รกั ษาเสรภี าพของบคุ คล ปองกันและแกไขมิใหบุคคลลวงลํ้าเสรีภาพตอกัน ตลอดจนคอยควบคุมมิใหเจาหนาท่ีของ รัฐใชอ ํานาจเกินขอบเขต การกําหนดใหมีการแยกใชอ าํ นาจอธิปไตย 3 สวน และมีสถาบัน รัฐสภา รัฐบาลและ ศาล คอยรบั ผดิ ชอบเฉพาะสว น ทง้ั นเ้ี ปน ไปตามหลกั การประชาธปิ ไตยทไี่ มต อ งการใหม กี าร รวบอาํ นาจ แตต อ งใหม กี ารถว งดลุ อาํ นาจซง่ึ กนั และกนั เปน การปอ งกนั มใิ หเ กดิ การใชอ าํ นาจ แบบเผด็จการ ยกตัวอยางเชน ถาใหคณะรัฐมนตรีใชอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจบริหาร คณะรฐั มนตรกี อ็ าจจะออกกฎหมายทไ่ี มส อดคลอ งกบั ความตอ งการของประชาชน และเพอ่ื นํากฎหมายนั้นมาบังคับใชก็จะไมเกิดประโยชนตอทุกฝายโดยเฉพาะประชาชน ดังน้ันการ บรหิ ารประเทศไทยทงั้ 3 สถาบนั จงึ เปน หลกั ประกนั การคานอาํ นาจซงึ่ กนั และกนั และประการ สําคัญเปน การปอ งกนั การใชอ าํ นาจเผดจ็ การ ความสมั พันธร ะหวา งรัฐบาลกบั ประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย ดงั ไดก ลา วแลว วา การปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประชาชนเปน ผมู อี าํ นาจสงู สดุ มีสิทธิเสรีภาพและหนาที่ตามกฎหมายกําหนด ท่ีสําคัญคือประชาชนเลือผูแทนราษฎรซ่ึง สงั กดั พรรคการเมอื งและรฐั บาลมาจากผแู ทนราษฎรตามทกี่ าํ หนดไวใ นกฎหมายรฐั ธรรมนญู ดงั นนั้ รฐั บาลกบั ประชาชนจงึ มคี วามเกยี่ วพนั กนั ตลอดเวลา กลา วคอื รฐั บาลกม็ หี นา ทอี่ อก กฎหมายบริหารประเทศตามเจตนารมณของประชาชน จึงตองอาศัยความสัมพันธกับ ประชาชนอยางใกลชิด เชน คอยสํารวจตรวจสอบปญหาและความตอ งการของประชาชน อยเู สมอและตอ งปฏบิ ตั ติ อ ประชาชนอยา งเสมอภาคกนั ทกุ คน ขณะเดยี วกนั ประชาชนกต็ อ ง ประพฤตปิ ฏิบตั ติ นตอ บา นเมอื งตามที่กําหนดไวในกฎหมายรัฐธรรมนญู เหมอื นกนั จงึ อาจ กลาวไดว า ความสัมพันธระหวา งรัฐบาลกับประชาชนในระบอบประชาธปิ ไตย จึงเปนไปใน ลักษณะการปกครองท่ตี องพง่ึ พาอาศัยซึ่งกนั และกัน การใชอํานาจอธปิ ไตยของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตย อํานาจอธิปไตยเปนอํานาจสูงสุดในการปกครองประเทศตามระบอบ ประชาธิปไตย ประชาชนสามารถใชอํานาจอธปิ ไตยของตนได 2 วธิ ี คอื 1. โดยทางตรง หมายถงึ การใชอํานาจอธปิ ไตยดวยตนเองโดยตรง จะใชไ ด กบั รฐั เลก็ ๆ ท่ีมีประชากรไมมาก 2. โดยทางออ ม หมายถึง การใชอํานาจอธิปไตยโดยผานผูแทน ของประชาชนเนื่องจากจํานวนของ ประชากรในประเทศมีมาก ไมสามารถ ใหทุกคนใชอํานาจอธิปไตยไดดวย ตนเอง จึงตองมีการเลือกผูแทนของ ประชาชนไปใชอํานาจอธิปไตยในการ

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 107 ปกครองประชาชน ปจ จุบนั มหี ลายประเทศทัว่ โลกท่ีใชว ิธีนีร้ วมทั้งประเทศไทยดวย ขอดขี องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการดํารงชีวิตในทุกๆ ดาน ทั้งการเมืองการ ปกครอง การประกอบอาชพี สทิ ธใิ นทด่ี นิ ครอบครองทรพั ยส นิ การนบั ถอื ศาสนาและอน่ื ๆ โดยไมล ะเมดิ กฎหมาย 2. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธเิ สรภี าพในดา นตา งๆ อยา งเทา เทยี มกนั ไมว า จะรา่ํ รวย ยากจน รา งกายสมบรู ณหรอื พิการเพราะทกุ คนตองปฏิบัติตามกฎหมายเชน เดียวกัน 3. ประชาชนมคี วามกระตอื รอื รน ในการประกอบอาชพี เพราะสามารถประกอบ อาชพี ตามความตอ งการของตน ทาํ ใหเ ศรษฐกจิ ของประเทศสามารถพฒั นาไปสคู วามเจรญิ ได 4. รฐั บาลไมส ามารถผกู ขาดอาํ นาจได เนอื่ งจากประชาชนเปน ผคู ดั เลอื กรฐั บาล และหากไมพอใจยังสามารถถอดถอนรัฐบาลได ดังนั้นรัฐบาลจึงตองมีความสามารถในการ บริหารราชการแผน ดนิ และมีจรยิ ธรรมในการทาํ งาน 5. มคี วามรนุ แรงระหวางประชาชนและรฐั บาลในระดับนอย เน่อื งจากกฎหมาย ใหอํานาจประชาชนในการคัดเลือกรัฐบาลและการชุมนุมเรียกรองโดยสันติวิธี มีการเจรจา อยา งมเี หตผุ ล อกี ทงั้ มหี นว ยงานทรี่ องรบั กรณพี พิ าทระหวา งรฐั และเอกชน เชน ศาลปกครอง เปน ตน 6. ในกรณที ม่ี ปี ญ หาตอ งแกไ ขจะตอ งใหค วามสาํ คญั กบั เสยี งสว นใหญแ ละเคารพ เสยี งสวนนอย 1.2 รฐั ธรรมนูญของไทย รัฐธรรมนูญ หมายถึง กฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศที่ออกโดยฝาย นติ บิ ญั ญตั ิ คอื รฐั สภา ซงึ่ มบี ทบญั ญตั กิ าํ หนดหลกั การสาํ คญั ตา งๆ เชน รปู แบบการปกครอง การใชอ าํ นาจอธปิ ไตย ความสมั พนั ธร ะหวา งสถาบนั การปกครอง ตลอดจนสทิ ธเิ สรภี าพและ หนาท่ขี องประชาชน ความสาํ คญั ของรฐั ธรรมนญู รัฐธรรมนูญเปนกฎหมายหลักท่ี สาํ คญั ทีส่ ดุ มรี ปู แบบการปกครองในระบอบ ประชาธปิ ไตยทเี่ รยี กวา อาํ นาจอธปิ ไตยอนั มี พระมหากษัตริยเปนประมุข ปกครองใน ระบบรฐั สภา การบรหิ ารประเทศหรอื การออก กฎหมายยอมตองดําเนินการภายในกรอบ ของบทบญั ญตั ใิ นรฐั ธรรมนญู บทบญั ญตั แิ หง กฎหมายใดถา ขดั แยงกบั รฐั ธรรมนูญยอ มไมม ีผลบังคับใช ประเภทของรฐั ธรรมนญู 1. รฐั ธรรมนญู ลายลกั ษณอ กั ษร เปน รฐั ธรรมนญู ทเ่ี ขยี นไวเ ปน ลายลกั ษณอ กั ษร ท่ีชัดเจน ดงั เชน รัฐธรรมนูญของประเทศไทยและประเทศสหรัฐอเมรกิ า

108 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) 2. รัฐธรรมนูญจารีตประเพณี เปนรัฐธรรมนูญที่ไมไดเขียนไวเปนลายลักษณ อกั ษรอยา งชดั เจน ครบถว นในเอกสารฉบบั เดยี วและไมไ ดบ ญั ญตั ไิ วใ นรปู ของกฎหมาย เชน ขนบธรรมเนียมประเพณีในการปกครองตางๆ ประเทศอังกฤษเปนประเทศหน่ึงท่ีมี รฐั ธรรมนูญประเภทน้ี ววิ ฒั นาการรัฐธรรมนญู ของประเทศไทย นับตั้งแตประเทศไทยไดมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบรู ณาญาสิทธิราชย ตั้งแตพ ุทธศักราช 2475 มาเปนการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุขจนถึงปจจุบันมีการเปล่ียนแปลงแกไขและประเทศใช รฐั ธรรมนญู และรฐั ธรรมนญู การปกครองแลว รวม 18 ฉบบั ทงั้ นเ้ี พอ่ื ใหเ หมาะสม สอดคลอ ง กับสถานการณในประเทศในแตละยุคสมัย อยางไรก็ตามรัฐธรรมนูญท่ีมีมาทุกฉบับมีหลัก การสาํ คญั เหมอื นกนั คอื ยดึ มน่ั การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมุขและแตละฉบับจะสะทอนใหเห็นถึงรูปแบบและวิธีการของการปกครองของประเทศ เปนอยางดี สําหรับรัฐธรรมนูญของไทยท่ีประกาศใชอยูในปจจุบันเปนรัฐธรรมนูญแหงราช อาณาจักรไทย พทุ ธศักราช 2550 ฉบบั ที่ 18 โดยรฐั ธรรมนญู ฉบบั นไี้ ดย ึดตามแนวทางและ แกไ ขจดุ ออนของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2540 เพ่อื ใหประชาชน ไดรับประโยชนจากรัฐธรรมนญู นรี้ วม 4 ประการ คอื 1. คุมครอง สงเสรมิ ขยายสิทธิและเสรภี าพของประชาชนอยา งเตม็ ที่ 2. ลดการผูกขาดอํานาจรฐั และเพมิ่ อาํ นาจประชาชน 3. การเมอื งมคี วามโปรงใส มีคณุ ธรรมและจรยิ ธรรม 4. องคกรตรวจสอบมคี วามอสิ ระ เขมแขง็ และทาํ งานอยางมีประสทิ ธภิ าพ รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 ประกาศใชเมือ่ วนั ท่ี 24 สงิ หาคม 2550 ประกอบดวยหมวดตางๆ ดังนี้ หมวดท่ี 1 บททั่วไป มาตรา 1 - 7 หมวดท่ี 2 พระมหากษัตรยิ  มาตรา 8 - 25 หมวดท่ี 3 สิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย มาตรา 26 - 69 หมวดที่ 4 หนา ทีข่ องชนชาวไทย มาตรา 70 - 74 หมวดท่ี 5 แนวนโยบายพ้ืนฐานแหง รัฐ มาตรา 75 - 87 หมวดที่ 6 รฐั สภา มาตรา 87 - 162 หมวดท่ี 7 การมสี ว นรว มทางการเมอื งโดยตรงของประชาชน มาตรา 163 - 165 หมวดที่ 8 การเงินการคลงั และงบประมาณ มาตรา 166 - 170 หมวดท่ี 9 คณะรฐั มนตรี มาตรา 171 - 196 หมวดที่ 10 ศาล มาตรา 197 - 228 หมวดที่ 11 องคก รตามรัฐธรรมนญู มาตรา 229 - 258 หมวดที่ 12 การตรวจสอบการใชอ าํ นาจรัฐ มาตรา 259 - 278

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 109 หมวดที่ 13 จรยิ ธรรมของผดู าํ รงตาํ แหนง ทางการเมอื งและเจา หนา ทข่ี องรัฐ มาตรา 279 - 280 หมวดท่ี 14 การปกครองสวนทองถน่ิ มาตรา 281 - 290 หมวดที่ 15 การแกไ ขเพิม่ เติมรฐั ธรรมนญู มาตรา 291 บทเฉพาะกาล มาตรา 292 - 309 1.3 กฎหมายและหนา ท่ขี องพลเมือง กฎหมาย คือ ขอบงั คับท้ังหลายของรฐั หรือประเทศทใ่ี ชบ ังคบั ความประพฤติ ของบุคคล ซง่ึ ผูใ ดจะฝา ฝนไมป ฏิบตั ติ ามจะตอ งมคี วามผิดและตอ งถกู ลงโทษ กฎหมายจงึ มีความสําคัญตอบทบาทของทุกๆ สังคม ท้ังในดานใหความคุมครองและถูกลงโทษตาม เหตุการณ ความสําคญั ของกฎหมาย แยกไดเปน 2 ประการหลัก คอื 1. กฎหมายเปรียบเสมือนเปน เคร่อื งมือบริหารประเทศโดยตรง เชน กฎหมาย รฐั ธรรมนญู เปน หลกั เกณฑส าํ คญั ในการวางรปู แบบโครงสรา งและกลไกการบรหิ ารงาน และ กฎหมายปกครองเปน กฎหมายทจ่ี ดั ระเบยี บการปกครองประเทศหรอื การบรหิ ารรฐั เปน ตน 2. กฎหมายเปน เครอื่ งมอื ในการรกั ษาความสงบเรยี บรอ ยในสงั คมใหส มาชกิ ใน สงั คม สามารถอยรู ว มกนั ไดด ว ยความสงบสขุ เชน กฎหมายอาญา กฎหมายแรงงาน กฎหมาย คมุ ครองผบู รโิ ภค เปน ตน ซง่ึ กฎหมายเหลา นนี้ อกจากจะมงุ เนน ใหป ระโยชนส ขุ แกป ระชาชน แลว ยังปองกันการกระทาํ ท่เี ปน ผลรา ย มิใหม ีการรงั แก เอาเปรียบซ่งึ กันและกนั ผูที่กอให เกดิ ผลภัย กระทาํ การไมด ีถือวา กระทาํ ตนไมถ ูกตองตามกฎหมายตองถกู ลงโทษ เพื่อมใิ ห ผูอนื่ เอาเย่ยี งอยางและเพอ่ื ความสงบสุขของคนสว นใหญใ นสงั คม กฎหมายเปนขอบังคับที่ประชาชนตองปฏิบัติตาม ผูใดจะฝาฝนไมปฏิบัติตาม ไมได กฎหมายจึงมีความเก่ียวของกับการดําเนินชีวิตของมนุษยตั้งแตเกิดจนตาย ดังน้ัน ประชาชนจึงมคี วามจาํ เปนตองรแู ละเขา ใจถึงประโยชนของกฎหมายดังนี้ 1. ไดรูจักระวังตน ไมพลาดพลั้งกระทําความผดิ อันเนื่องมาจากไมร ูกฎหมาย 2. รูจกั การปองกนั ไมใหผอู น่ื เอาเปรียบและถูกโกงโดยไมรูกฎหมาย 3. เห็นประโยชนในการประกอบอาชีพ เพราะหากมีความรูในหลักกฎหมายที่ เกย่ี วขอ งกบั การประกอบอาชพี ของตน ยอ มจะปอ งกนั ความผดิ พลาดอนั เนอ่ื งมาจากความ ไมร กู ฎหมายได 4. เปน ประโยชนใ นทางการเมอื งการปกครอง เชน เมอ่ื ประชาชนรใู นสทิ ธิ หนา ท่ี ตลอดจนปฏิบัติตนตามหนาท่ีอยางครบถวนก็จะทําใหสังคมสงบสุข ปราศจากความเดือด รอ น บา นเมืองกจ็ ะสงบสุขดว ย ประเทศไทยมกี ารปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ มีรัฐธรรมนูญเปนกฎหมายสูงสุดของประเทศ หนาท่ที ่สี ําคัญของประชาชนทุกคนคือ ตอง ประพฤติปฏิบัติตนใหถูกตองตามขอบังคับของกฎหมายและตองมีความเคารพยําเกรงตอ กฎหมาย หลกี เล่ยี งการกระทาํ ท่ีละเมดิ ขอ บงั คับของกฎหมาย เพื่อใหส งั คมไทยเปน สังคมที่

110 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) ปกครองโดยกฎหมายอยางแทจริง ดังนั้นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยจึงมีความ สําคัญตอ การดํารงชีวิตของประชาชนชาวไทยและตระหนักถึงคณุ คา ของประชาธิปไตย ซง่ึ กลา วโดยสรปุ ไดด งั น้ี ประชาชนชาวไทยทกุ คนเปน สมาชกิ ในสงั คมประชาธปิ ไตย จงึ ตอ งมคี ณุ ลกั ษณะ ประจาํ ตัวและพงึ ปฏบิ ตั ใิ นสิง่ ตอไปนี้ 1. คดิ และปฏบิ ัตดิ ว ยความเปนประชาธปิ ไตย 2. ตระหนักวาตนเปนสวนหนึ่งของสังคมดวยการมีสวนรวมในกิจการตางๆ และเม่ือมปี ญหาควรชว ยกนั แกไขดว ยการใชเ หตุผลและยอมฟง ความคดิ เหน็ ของผอู นื่ 3. เปนผูนาํ และผูตามทดี่ ขี องสงั คม ตามบทบาทและหนา ท่ีของตน 4. ยดึ มน่ั ในวฒั นธรรม จารตี ประเพณแี ละพฒั นาตนเองและสงั คมอยเู สมอ คณุ คา ของประชาธิปไตย 1. คุณคาทางการเมืองการปกครอง เชน ประชาชนสามารถเลือกบุคคลที่เปน ตวั แทนปกครองตวั เองไดดว ยการใชส ทิ ธลิ งคะแนนเสยี งเลือกผแู ทนราษฎร 2. คุณคาทางเศรษฐกิจ เชน มีสิทธิเสรีภาพในการซื้อขายจากการผลิต การ บรกิ าร โดยไดร บั การคมุ ครองจากรฐั อยางเปน ธรรม 3. คุณคาทางสังคม เชน ไดรับความคุมครองจากรัฐทั้งชีวิตและทรัพยสินภาย ใตก ฎหมายเทา เทียมกัน การปกครองระบอบประชาธิปไตยเปนลักษณะการปกครองเพ่ือความสงบสุข ของประชาชนโดยแทจ รงิ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของบคุ คลจะเปน ไปอยา งสงบสขุ ไดน น้ั ตอ งมคี วาม เขาใจ ตระหนักถึงความสําคัญและเห็นคุณคาของประชาธิปไตยเปนแนวทางดําเนินชีวิต ประจําวัน 

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 111 กิจกรรมเร่ืองท่ี 1 การเมอื งการปกครอง ใหนกั ศึกษาเลอื กคาํ ตอบขอท่ถี กู ตอ งท่ีสุดเพียงขอเดียวในขอคาํ ถามดังตอไปนี้ 1. การปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภาเปดโอกาสใหฝายบริหารควบคุม ฝายนติ ิบัญญัติไดดวยวธิ ใี ด ก. ยุบรัฐสภา ข. ลงมตไิ มไววางใจ ค. ยบุ สภาผูแ ทนราษฎร ง. แตงตั้งวุฒสิ มาชิกใหม 2. บทบาทและหนาท่ีของรฐั สภาคอื ขอ ใด ก. ออกกฎหมายควบคุมรัฐบาลและประชาชน ข. ยับยั้งกฎหมายและอภิปรายลงมติไมไววางใจ ค. ถวายคําแนะนําแกพ ระมหากษัตริยใ นการตรากฎหมายฉบบั ตา งๆ ง. ออกกฎหมายและควบคมุ การบรหิ ารราชการแผน ดนิ ของราชการ 3. คําวา “อํานาจอธิปไตย” ตามท่ีบัญญัติไวในกฎหมายรัฐธรรมนูญหมายความวา อยางไร ก. อํานาจสงู สุดของรัฐสภาในการรางกฎหมาย ข. อํานาจสูงสุดของประชาชนในการบริหารประเทศ ค. อาํ นาจสูงสดุ ของฝา ยบรหิ ารในการปกครองประเทศ ง. อาํ นาจสงู สดุ ของคณะรฐั มนตรใี นการบริหารประเทศ 4. หวั ใจสาํ คญั ของระบบการปกครองแบบประชาธปิ ไตยคือขอ ใด ก. ประชาชน ข. การเลือกต้ัง ค. รัฐธรรมนญู ง. พรรคการเมอื ง 5. การจัดระเบยี บสงั คมเกยี่ วของกับสถาบนั ใดมากทส่ี ดุ ก. สถาบันศาสนา ข. สถาบันการศึกษา ค. สถาบนั ครอบครวั ง. สถาบนั การปกครอง 6. ขอใดคอื อํานาจของรัฐสภา ก. ศาล ข. บริหาร ค. ตลุ าการ ง. นิตบิ ัญญตั ิ

112 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) 7. การปกครองแบบรัฐสภา ผูทด่ี ํารงตาํ แหนงหวั หนารัฐบาลคอื ใคร ก. องคมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี ค. ประธานวุฒิสภา ง. ประธานรัฐสภา 8. ผูท ีม่ หี นาทใี่ ชอ าํ นาจในการบริหารคอื ใคร ก. นายกรฐั มนตรี ข. คณะรัฐมนตรี ค. ประธานวฒุ ิสภา ง. ประธานรฐั สภา 9. ผทู ่มี หี นา ท่ตี ราพระราชบญั ญตั คิ อื ใคร ก. คณะรัฐมนตรี ข. นายกรัฐมนตรี ค. สภาผแู ทนราษฎร ง. พระมหากษัตริย 10. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยผูท ่มี ีอาํ นาจสงู สดุ คอื ใคร ก. พระมหากษตั ริย ข. นายกรัฐมนตรี ค. ผบู ญั ชาการเหลาทัพ ง. ประชาชนชาวไทย 11. วัฒนธรรมในการทํางานแบบใดที่จะสงเสริมใหมีความเจริญกาวหนาของการ ปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยเพิ่มมากขึ้น ก. การทาํ งานคนเดยี ว ข. การทาํ งานเปนทีม ค. การทํางานตามที่ตนถนดั ง. การทาํ งานกับคนท่ชี อบพอกนั 12. รัฐธรรมนูญจะประกอบไปดวยสว นตา งๆ หลายสวน สว นใดทมี่ ผี ลโดยตรงตอ อํานาจอธปิ ไตยของประชาชน ก. หมวดทัว่ ไป ข. หมวดหนา ทข่ี องปวงชน ค. หมวดแนวนโยบายพน้ื ฐานแหง รฐั ง. หมวดสิทธแิ ละเสรภี าพของประชาชนชาวไทย

« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 113 13. สิทธิของปวงชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญในการมีสวนรวมทางการเมืองระดับ ทอ งถ่นิ คอื ขอ ใด ก. การเลอื กต้ังสมัชชาแหง ชาติ ข. การเลือกต้ังสมาชกิ วฒุ สิ ภา ค. การเลือกต้งั สมาชิกสภาผแู ทนราษฎร ง. การเลอื กต้งั ผวู าราชการกรงุ เทพมหานคร 14. สทิ ธเิ สมอภาคทางกฎหมาย หมายถงึ อะไร ก. ประชาชนทกุ คนมสี ิทธิอ์ อกกฎหมายเหมือนกัน ข. ประชาชนทุกคนมีสิทธิ์รับรกู ฎหมายโดยเทาเทยี มกนั ค. ประชาชนทุกคนมีสิทธไ์ิ ดรบั สวสั ดกิ ารจากรฐั โดยเทาเทยี มกัน ง. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธิไ์ ดรบั การคุมครองตามกฎหมายโดยเทาเทียมกัน 15. เพราะเหตใุ ดจงึ ตอ งมีการจํากัดสทิ ธิของประชาชนใหอยภู ายใตกฎหมาย ก. เพอ่ื รกั ษาความม่นั คงของชาติ ข. เพอื่ รกั ษาความสงบสุขของบานเมือง ค. เพอ่ื ปองกนั ไมใหเ กดิ การละเมดิ สิทธิซึง่ กนั และกนั ง. ถกู หมดทกุ ขอ 16. กฎหมายจราจรทางบกไดเ พ่มิ โทษสงู แกผฝู า ฝน ในลกั ษณะใด ก. เมาสุรา ข. ขบั รถฝา ไฟแดง ค. ขับรถโดยประมาท ง. ขบั รถโดยไมมีใบอนญุ าตขบั ขี่ 17. สทิ ธิเสรีภาพถกู ควบคมุ โดยขอ ใด ก. รฐั บาล ข. จรยิ ธรรม ค. กฎหมาย ง. เจา หนา ทต่ี าํ รวจ 18. ใครคือบุคคลไดรบั ความคมุ ครองสทิ ธิและเสรีภาพจากรัฐ ก. ประชาชน ข. ขาราชการ ค. เดก็ และคนชรา ง. ถูกทกุ ขอ

114 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) 19. ตามรัฐธรรมนญู ประชาชนไมม สี ิทธใ์ิ นดา นใด ก. การนับถือศาสนา ข. การวารายผูอ ื่น ค. การประกอบอาชีพ ง. การเลือกที่อยูอาศัย 20. ตามรฐั ธรรมนญู ของไทยสทิ ธใิ นดา นใดของมนษุ ยจ ะไดร บั การปกปอ งเปน พเิ ศษ ก. สิทธสิ ว นบุคคล ข. การเมืองการปกครอง ค. สิทธดิ านการพดู ในทีส่ าธารณะ ง. สทิ ธดิ านการถอื ครองทรพั ยส ิน  กิจกรรมเรอ่ื งท่ี 2 ใหนกั ศึกษาตอบคาํ ถามโดยอธิบายใหเ ขาใจดังน้ี 1. เพราะเหตุใดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถือวาเหมาะสมท่ีสุด ในปจจบุ นั ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. รฐั ธรรมนญู กําหนดใหประชาชนมีสว นรว มในทางการเมอื งอยางไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 115 3. รัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญที่ไมเปน ลายลักษณอ กั ษรอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 

116 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) เรอื่ งที่ 2 เปรียบเทียบรูปแบบทางการเมืองการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยและระบอบอืน่ ๆ ระบอบการเมืองการปกครอง หมายถงึ การจดั ระบบใหคนสวนใหญใ นสงั คมสามารถ ดาํ เนนิ ชวี ติ อยรู ว มกนั ไดอ ยา งมรี ะเบยี บแบบแผน มคี วามสมั พนั ธก นั อนั กอ ใหเ กดิ ขอ ตกลง อนั ดงี ามรวมกัน บังเกิดความผาสกุ และความสามัคคใี นสงั คม ซึ่งแบงออกเปน 2 รปู แบบ คอื 1. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบประชาธปิ ไตย 2. ระบอบการเมอื งการปกครองแบบมีประธานาธบิ ดเี ปน ประมุข ระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธปิ ไตย ประชาธปิ ไตยเปน ระบบการปกครองทปี่ ระเทศสว นใหญใ นโลกนยิ มใชเ ปน หลกั ในการ จัดการปกครองและบริหารประเทศ รวมทั้งประเทศไทยซึ่งใชมานานกวา 70 ปแลว การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตยเกดิ จากความศรทั ธาในคณุ คา ของความเปน มนษุ ยแ ละเชอ่ื วา คนเราสามารถปกครองประเทศได จงึ กาํ หนดใหป ระชาชนเปน เจา ของอาํ นาจในการปกครอง ซ่ึงถอื วา การเมือง การปกครองมาจากมวลชน รูปแบบการปกครองแบบประชาธิปไตย แบง ออกเปน 2 ประเภท คอื 1. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รัฐธรรมนูญและ การ ปกครองของไทยทกุ ฉบบั กาํ หนดไวอ ยา งชดั แจง วา เทดิ ทนู พระมหากษตั รยิ เ ปน สถาบนั สงู สดุ ดาํ รงอยใู นฐานะอันเปนที่เคารพ สักการะผูใดจะละเมิดมไิ ด รัฐธรรมนญู กําหนดวา ผใู ดจะ กลาวหาหรือฟองรองพระมหากษัตริยในทางใดๆ มไิ ด พระราชอํานาจของพระมหากษตั ริย จงึ มกี าํ หนดไวใ นรฐั ธรรมนญู โดยปกตริ ฐั ธรรมนญู กาํ หนดใหพ ระมหากษตั รยิ เ ปน ผใู ชอ าํ นาจ อธปิ ไตย ซง่ึ เปน ของประชาชนโดยใชอ าํ นาจนติ บิ ญั ญตั ผิ า นทางรฐั สภา อาํ นาจบรหิ ารผา นทาง คณะรฐั มนตรแี ละอาํ นาจตลุ าการผา นทางศาล การกาํ หนดเชน นห้ี มายความวา อาํ นาจตา ง ๆ จะใชใ นพระปรมาภิไธยของพระมหากษัตรยิ ซึ่งในความเปนจริง อํานาจเหลานี้มอี งคก รเปน ผูใช ฉะนั้นการท่ีบัญญัติวาพระมหากษัตริยเปนผูใชอํานาจนิติบัญญัติ อํานาจบริหารและ อาํ นาจตลุ าการผานทางองคก รตางๆ นน้ั จึงเปน การเฉลิมพระเกียรติ แตอ าํ นาจท่แี ทจริงอยู ท่ีองคก รทีเ่ ปนผพู ิจารณานําขึ้นทลู เกลาฯ ถวายเพือ่ พระมหากษตั ริยทรงลงพระปรมาภไิ ธย อยางไรกต็ าม แมกระท่งั พระมหากษตั รยิ ใ นระบอบรฐั ธรรมนูญ จะไดร บั การเชดิ ชูให อยูเหนือการเมืองและกําหนดใหมีผูรับสนองพระบรมราชโองการในการปฏิบัติการทางการ ปกครองทุกอยาง แตพระมหากษัตริยก็ทรงมีพระราชอํานาจบางประการที่ไดรับการรับรอง โดยรัฐธรรมนญู และเปนพระราชอาํ นาจที่ทรงใชไดต ามพระราชอธั ยาศยั จริงๆ ไดแก การตัง้ คณะองคมนตรี การพระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ เปน ตน

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 117 พระราชอํานาจทสี่ งผลกระทบตอการเมืองการปกครองอยางแทจรงิ คือ พระราช อาํ นาจในการยบั ยง้ั รา งพระราชบญั ญตั ิ ในกรณที พ่ี ระมหากษตั รยิ ท รงไมเ หน็ ดว ยกบั รา งพระ ราชบัญญัติทีผ่ า นการเหน็ ชอบของรัฐสภามาแลว และนายกรฐั มนตรนี ําขึน้ ทลู เกลาฯ ถวาย เพอื่ พระมหากษตั รยิ ท รงลงพระปรมาภไิ ธยประกาศใช กอ็ าจใชพ ระราชอาํ นาจยบั ยงั้ เสยี กไ็ ด ซ่ึงรัฐสภาจะตองนํารางพระราชบัญญัติท่ีถูกยับย้ังน้ันไปพิจารณาใหม แตในทางปฏิบัติไม ปรากฏวา พระมหากษัตรยิ ท รงใช พระราชอาํ นาจนี้ 2. ระบอบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปนประมุข ระบบนี้ไดถูกสรางข้ึนมา นานกวา 200 ปแลว โดยมปี ระเทศสหรฐั อเมริกาเปนแมแบบ ซึ่งมบี ทบาทสําคัญทางการ เมอื ง คอื ตวั ประธานาธบิ ดี จะเปน ทงั้ ผนู าํ ทางการเมอื งและเปน ผนู าํ ประเทศ ประธานาธบิ ดี มาจากการเลือกตง้ั ของประชาชนท่ัวประเทศ โดยผา นคณะผูเลือกต้งั สว นสมาชกิ วุฒสิ ภา จะมาจากการเลอื กตง้ั ของประชาชนแตล ะมลรฐั และสมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรมาจากการเลอื ก ตั้งของประชาชนในแตละเขตเลือกต้ัง มีการบริหารประเทศโดยมีรองประธานาธิบดีและ รัฐมนตรรี วม

118 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) ปจจุบันมีระบอบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยแบบมีประธานาธิบดีเปน ประมขุ เรียกวา ระบบกงึ่ ประธานาธบิ ดี ซ่ึงมีมาเมือ่ ประมาณ 40 ปน้ี โดยมปี ระเทศฝรัง่ เศส เปน แมแ บบ ระบบนีป้ ระชาชนจะเปน ผูเลอื กต้งั ประธานาธิบดีและผูแทนราษฎรโดยตรง แต การเลือกวุฒิสภาจะเลือกโดยสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สมาชิกสภาจังหวัดและผูแทนสภา เทศบาลจะเปนผูเลือกแทนประชาชน ประธานาธิบดีจะเปนท้ังประมุขและผูนําประเทศที่ สําคัญท่ีสุด แตจะไมมีตําแหนงรองประธานาธิบดี จะมีนายกรัฐมนตรีเปนผูจัดต้ังคณะ รฐั มนตรี โดยมีความเห็นชอบและไววางใจจาก สภาผูแ ทนราษฎรและสภาผแู ทนราษฎรนมี้ ี อาํ นาจปลดนายกรฐั มนตรหี รอื รฐั มนตรไี ด แตน ายกรฐั มนตรไี มม สี ทิ ธย์ิ บุ สภา ผมู อี าํ นาจยบุ สภา คอื ประธานาธิบดีและคณะรัฐมนตรีสามารถเสนอรางกฎหมายไดเ หมือนระบบรัฐสภา โดยท่ัวไป ระบอบการเมอื งการปกครองแบบเผดจ็ การ การปกครองแบบเผดจ็ การ เปน ระบบการเมอื งทร่ี วมอาํ นาจแบบเบด็ เสรจ็ ไวท ผี่ นู าํ คน เดยี วหรอื คณะเดยี ว ใหอ าํ นาจการตดั สนิ ใจทร่ี ฐั การปกครองและการบรหิ ารประเทศใหค วาม สําคัญกับรัฐมากกวา ประชาชน รวมทงั้ ประโยชนท ีร่ ัฐจะไดร บั ประชาชนเปรียบเสมอื นเปน สว นประกอบ ของรฐั เทา นน้ั และทส่ี าํ คญั รฐั จะตอ งสงู สดุ และถกู ตอ งเสมอ การปกครองแบบ เผดจ็ การ แบงออกเปน 2 รูปแบบ คอื แบบอาํ นาจนิยมและแบบเบ็ดเสรจ็ นิยม เผด็จการแบบอํานาจนิยม หมายถึง การใหอํานาจแกผูปกครองประเทศเปนสําคัญ ประชาชนไมมีสวนรวมและรับรูความเปนไปของบานเมือง จะรูก็ตอเมื่อผูนําหรือคณะผู ปกครองประเทศมคี วามตอ งการใหร บั รเู ทา นน้ั โดยถอื วา เรอ่ื งการเมอื งเปน เรอ่ื งเฉพาะของผู ปกครองประเทศเทา นน้ั ประชาชนจะเขาไปเกี่ยวของไดในกรณีที่ผูปกครองตองการสราง ความชอบธรรมในบางเรื่องและบางสถานการณ แตก เ็ ปน ไปโดยจาํ กดั ประชาชนตอ งอยใู ต การปกครองและจะตองฟงคําส่ังอยางเครงครัด แตประชาชนจะไดรับสิทธิเสรีภาพในการ นับถือศาสนา สําหรับเรื่องทางเศรษฐกิจและสังคมท่ัวไป ผูปกครองท่ีมักจะเปดโอกาสให ประชาชนไดดาํ เนินกิจการตา งๆ ไดอยางเตม็ ที่ แตต องระมดั ระวังไมใหกระทบอํานาจของ ผปู กครอง ลกั ษณะการปกครองแบบอํานาจนยิ ม 1. อํานาจทางการเมืองเปนของผูนํา มุงหมายที่จะควบคุมสิทธิเสรีภาพของทางการ ปกครองของประชาชนเปนสาํ คญั 2. การบรหิ ารประเทศดาํ เนนิ ไปอยา งมเี อกภาพ รวมอาํ นาจไวท ร่ี ฐั บาลกลาง ประชาชน ไมม สี วนรวมในการปกครองประเทศ 3. ประชาชนตอ งปฏบิ ตั ติ ามคาํ สง่ั ของผนู าํ อยา งเครง ครดั และตอ งไมด าํ เนนิ การใดๆ ที่ขัดขวางนโยบายของผนู าํ 4. ควบคมุ ประชาชนดว ยวธิ กี ารลงโทษอยา งรนุ แรงแตก ม็ กี ารใชก ระบวนการยตุ ธิ รรม อยูบา ง

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 119 5. ลกั ษณะการปกครองแบบนป้ี จ จบุ นั ยงั ใชก นั อยหู ลายประการ ทง้ั ในทวปี อเมรกิ าใต แอฟริกาและเอเชยี เผด็จการแบบเบ็ดเสร็จนิยม หมายถึง รัฐบาลจะใชอํานาจอยางเต็มท่ี ควบคุม กจิ กรรมทง้ั ดา นการเมอื ง เศรษฐกจิ และสงั คมของประชาชนทกุ คน แสดงใหเ หน็ ถงึ ประชาชน ไมม สี ทิ ธเิ สรภี าพอนั ใด ระบบเผดจ็ การแบบนย้ี งั แบง รปู แบบออกไดอ กี 2 รปู แบบคอื 1. ระบบเผดจ็ การแบบเบด็ เสรจ็ นยิ มของพวกฟาสซสิ ต รปู แบบของระบบนจ้ี ะเหน็ การใชอ าํ นาจรัฐควบคมุ กิจกรรมตา งๆ ของประชาชนอยา งทั่วถึง นโยบายสง เสรมิ ชาตนิ ยิ ม เปน ไปอยา งรนุ แรงและสรา งความแขง็ แกรง เพอ่ื แสดงถงึ ความยง่ิ ใหญข องชาติ 2. ระบบเผดจ็ การแบบเบด็ เสรจ็ นยิ มคอื การปกครองแบบคอมมวิ นสิ ต รปู แบบของ ระบบนเ้ี นน การใชอ าํ นาจรัฐควบคุมกิจกรรมตา งๆ ของประชาชนอยางทัว่ ถงึ คลายกบั พวก ฟาสซิสตแ ตจ ะเชดิ ชชู นชน้ั กรรมาชพี และทาํ ลายลา งชนชน้ั อน่ื ๆ ใหห มดสน้ิ รวมทง้ั ชนชน้ั อน่ื ๆ ทกุ สงั คมทั่วโลก เปา หมายตองการใหม สี งั คมโลก มกี ารปกครองแบบคอมมวิ นิสต ลกั ษณะการปกครองแบบเผดจ็ การเบด็ เสรจ็ นิยม 1. สรา งศรทั ธาใหป ระชาชนยดึ มน่ั ในระบบการปกครองและผนู าํ อยา งมน่ั คงและตอ เนอ่ื งตลอดไป 2. ควบคมุ การดาํ เนนิ กจิ กรรมตา งๆ ของประชาชนทง้ั ดา นการเมอื ง เศรษฐกจิ และ สงั คม ประชาชนไมม สี ทิ ธเิ สรภี าพใดๆ ทง้ั สน้ิ 3. ประชาชนตอ งเชอ่ื ฟง คาํ สง่ั ของผนู าํ อยา งเครง ครดั จะโตแ ยง ไมไ ด 4. มกี ารลงโทษอยา งรนุ แรง 5. รฐั บาลมอี าํ นาจอยา งเตม็ ท่ี กจิ การในดา นการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม ศาสนา วฒั นธรรม และการศกึ ษาจะตอ งอยภู ายใตก ารควบคมุ ของรฐั 6. มกี ารโฆษณาชวนเชอ่ื และอบรมประชาชนในรปู แบบตา งๆ 7. ลกั ษณะการปกครองแบบน้ี ปจ จบุ นั ยงั ใชก นั อยหู ลายประเทศ เชน โซเวยี ตรสั เซยี สาธารณรฐั ประชาชนจนี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว เขมร เวยี ดนามและเยอรมนี เปน ตน แตส งั คมในโลกปจ จบุ นั การแขง ขนั เศรษฐกจิ สงู สง ผลใหป ระเทศตา งๆ เหลา นพ้ี ยายาม ผอ นคลายกฏเกณฑล งมคี วามเปน ประชาธปิ ไตยเพม่ิ ขน้ึ เพอ่ื ใหม คี วามสามารถในทางเศรษฐกจิ

120 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) เปรยี บเทยี บขอ ดี ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครองระบอบ เผดจ็ การ ขอ ดขี องการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ขอ ดขี องการปกครองระบอบ 1. ประชาชนทุกคนมีความเทาเทียมกันใน เผดจ็ การ 1. รฐั บาลมคี วามเขม แขง็ ดา นกฎหมาย 2. รฐั บาลมคี วามมน่ั คงเปน ปก แผน 2. ประชาชนทุกคนมีสิทธิเสรีภาพในทุกๆ 3. การตดั สนิ ใจในกจิ การตา งๆ เปน ไป ดา นเพราะทกุ คนตอ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย อยา งรวดเรว็ เชน เดยี วกนั 3. รัฐบาลไมสามารถผูกขาดอํานาจได เน่อื งจากประชาชนเปนผคู ัดเลือกรัฐบาล และหากไมพอใจยังสามารถถอดถอน รฐั บาลได 4. การแกไ ขปญ หาตา งๆ ยดึ ถอื แนวทางสนั ติ วิธีมีการเจรจาอยางมีเหตุผลและมีหนวย งานรองรับกรณีพิพาทระหวางรัฐและ เอกชน เชน ศาลปกครอง ขอ เสยี ของการปกครองระบอบ ขอ เสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ ประชาธปิ ไตย 1. ประชาชนไมม สี ว นรว มในการปกครอง 2. ไมค าํ นงึ ถงึ ความตอ งการของประชาชน 1. การแกไขบานเมืองบางคร้ังมีความ 3. รฐั บาลและประชาชนไมม คี วามสมั พนั ธ ลาชา เน่อื งจากมีกระบวนการหลาย ขน้ั ตอนทต่ี อ งผา นความเหน็ ชอบ ซง่ึ กนั อยา งใกลช ดิ บางครง้ั อาจแกไ ขไดไ มท นั เวลา 4. ประชาชนไมไ ดร บั ความเปน ธรรมเทา ท่ี 2. ในบางประเทศประชาชนสว นใหญย งั ควร ขาดความรูในดานการเมืองการ 5. ผนู าํ อาจใชอ าํ นาจเพอ่ื ประโยชนส ว นตน ปกครอง ในกรณีคัดเลือกผูแทน บรหิ ารอาจไมเ หมาะสม จะสง ผลกระ และพวกพอ งได ทบตอ รฐั บาลได 6. การบริหารประเทศอยูท่ีผูนําหรือคณะ 3. ในการเลอื กตง้ั แตล ะครง้ั จาํ เปน ตอ งใช เพยี งกลมุ เดยี ว การตดั สนิ ใจ การแกไ ข เงินเปนจํานวนมาก ดังน้ันประเทศ ปญ หาอาจผดิ พลาดไดง า ย ยากจนจงึ เหน็ วา เปน การเสยี เงนิ โดย 7. ประชาชนไมมีอิสระในการประกอบ ไมก อ ใหเ กดิ ประโยชนแ ละควรนาํ เงนิ อาชพี อยา งเตม็ ท่ี สง ผลใหค วามเปน อยู ไปใชใ นการพฒั นาประเทศ สง เสรมิ ให ของประชาชนไมคอยดีและอาจทําให ประชาชน มีงานทําหรือชวยเหลือ ไมม คี วามสขุ ประชาชนทย่ี ากจน

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 121 กจิ กรรมท่ี 3 ใหน กั ศกึ ษาตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี โดยอธบิ ายใหเ ขา ใจและไดใ จความทส่ี มบรู ณ 1. รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยแบบมีพระมหากษัตริยเปนประมุข รฐั ธรรมนญู การปกครองของไทยทกุ ฉบบั กาํ หนดสาระไวอ ยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยระบบประธานาธบิ ดมี ลี กั ษณะการปกครองอยา งไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของทกุ ประเทศจะมรี ปู แบบการปกครองแตก ตา งกนั แตห ลกั การใหญ ๆ จะมเี หมอื นกนั คอื อะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

122 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) 4. ใหนักศึกษาบอกขอดีและขอเสียของการปกครองระบอบประชาธิปไตยและการ ปกครองระบอบเผดจ็ การ ขอ ดี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... ขอ ดี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... ขอ เสยี ของการปกครองระบอบเผดจ็ การ 1. .......................................................................................................................... 2. .......................................................................................................................... 3. .......................................................................................................................... กจิ กรรมท่ี 4 ใหน กั ศกึ ษาเลอื กคาํ ตอบทถ่ี กู ตอ งทส่ี ดุ เพยี งขอ เดยี วในขอ คาํ ถามตอ ไปน้ี 1. หนา ทข่ี องคนไทยทต่ี อ งดาํ รงความเปน ไทย คอื ขอ ใด ก. การปอ งกนั ประเทศ ข. เคารพสทิ ธเิ สรภี าพของผอู น่ื ค. การรบั ราชการทหารและเสยี ภาษอี ากร ง. ดาํ รงไวซ ง่ึ ชาติ ศาสนาและพระมหากษตั รยิ  2. ขอ ใดไมใ ชส ทิ ธขิ องประชาชนชาวไทยทก่ี ฎหมายรฐั ธรรมนญู บญั ญตั ไิ ว ก. สทิ ธใิ นทรพั ยส นิ ข. สทิ ธทิ างการเมอื ง ค. สทิ ธเิ สนอเรอ่ื งราวรอ งทกุ ข ง. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั สวสั ดกิ ารเมอ่ื สงู อายุ

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 123 3. ประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธแิ ละเสรภี าพเพยี งใด ก. ไมม ขี อบเขตจาํ กดั ข. มจี าํ กดั โดยอาํ นาจของผปู กครอง ค. มจี าํ กดั โดยขอ บญั ญตั ขิ องกฎหมาย ง. มจี าํ กดั ตามฐานะของแตล ะบคุ คล 4. พฤตกิ รรมในขอ ใดทแ่ี สดงวา ประชาชนยงั ไมต ระหนกั ถงึ สทิ ธแิ ละหนา ทข่ี องตนเอง ตามระบอบประชาธปิ ไตย ก. ลงุ บญุ มี ฟง ขา วสารการเมอื งจากวทิ ยกุ อ นนอนทกุ คนื ข. นายออ น รว มเดนิ ขบวนประทว งนโยบายปรบั คา จา งแรงงาน ค. สมหญงิ เขยี นบทความลงหนงั สอื พมิ พเ สนอวธิ แี กป ญ หายาเสพตดิ ง. สมชาย ไมไ ปลงคะแนนเลอื กตง้ั สมาชกิ สภาผแู ทนราษฎรเพราะไมว า ง 5. เพราะเหตใุ ดการปกครองแบบประชาธปิ ไตยจงึ ไดร บั ความนยิ มมากกวา การปกครอง แบบอน่ื ก. พระมหากษตั รยิ ท รงเปน ประมขุ ข. มกี ารจดั ตง้ั พรรคการเมอื งไดห ลายพรรค ค. มกี ารเลอื กตง้ั ผนู าํ ฝา ยบรหิ ารเขา ไปปกครองประเทศ ง. ประชาชนมโี อกาสทจ่ี ะเขา ไปมสี ว นรว มในการปกครอง 6. ความมอี สิ ระในการกระทาํ ของบคุ คลโดยไมข ดั ตอ กฎหมายคอื อะไร ก. สทิ ธิ ข. หนา ท่ี ค. อาํ นาจ ง. เสรภี าพ 7. ลกั ษณะการสง เสรมิ การปกครองแบบประชาธปิ ไตยทด่ี คี อื ขอ ใด ก. เปด โอกาสใหป ระชาชนแสดงออก ข. ใหก ารศกึ ษาแกป ระชาชนอยา งเตม็ ท่ี ค. ใหม กี ารเลอื กตง้ั สมาํ่ เสมอเปน ประจาํ ง. สง เสรมิ รายไดป ระชาชนอยา งตอ เนอ่ื ง 8. นกั ศกึ ษาคดิ วา การเมอื งเปน เรอ่ื งของใคร ก. คณะรฐั มนตรี ข. รฐั สภาเทา นน้ั ค. ประชาชนทกุ คน ง. พรรคการเมอื งเทา นน้ั

124 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) 9. ขอ ความใดกลา วถกู ตอ ง ก. ประเทศจนี และลาวมรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั ข. ประเทศรสั เซยี กบั จนี มรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั ค. ประเทศไทยและประเทศองั กฤษมรี ะบอบการปกครองเหมอื นกนั ง. ประเทศองั กฤษและประเทศสหรฐั อเมรกิ ามรี ะบบการปกครองแตกตา งกนั 10. ขอ ใดเปน เรอ่ื งทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา อยหู วั องคป จ จบุ นั ทรงใหค วามชว ยเหลอื ประชาชนมากทส่ี ดุ ก. สนบั สนนุ ใหม อี าชพี ข. ใหท นุ การศกึ ษาเดก็ ยากจน ค. ใหย ารกั ษาโรค ชว ยเหลอื ผปู ว ย ง. แสวงหาแหลง นาํ้ เพอ่ื การเกษตร 

« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 125 แนวเฉลยกจิ กรรม บทท่ี 1 ภมู ศิ าสตรก ายภาพทวปี เอเชยี กจิ กรรมท่ี 1.1 ลกั ษณะทางภมู ศิ าสตรก ายภาพของประเทศในทวปี เอเชยี 1) ใหผ เู รยี นอธบิ ายจดุ เดน ของลกั ษณะภมู ปิ ระเทศในทวปี เอเชยี ทง้ั 5 เขต 1. เขตท่ีราบตํ่าตอนเหนือ สวนใหญอยูในเขตโครงสรางแบบหินเกา มีลักษณะ ภมู ปิ ระเทศเปน ทร่ี าบขนาดใหญ มแี มน าํ้ ออ บ แมน าํ้ เยนเิ ซ และแมน าํ้ ลนี า ไหลผา น แตไ มค อ ยมี ผคู นอาศยั อยู เพราะเนอ่ื งจากมภี มู อิ ากาศหนาวเยน็ มากและทาํ การเพาะปลกู ไมไ ด 2. เขตท่รี าบลมุ แมนํา้ มีลักษณะภูมิประเทศเปนท่รี าบ และมักมีดินอุดมสมบูรณ เหมาะแกก ารเพาะปลกู สว นใหญอ ยทู างเอเชยี ตะวนั ออก เอเชยี ใต และเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ ก ทีร่ าบลุมฮวงโห แยงซี จนี สนิ ธุ คงคา พรหมบตุ ร ในประเทศปากีสถาน อินเดยี และ บงั กลาเทศ ท่รี าบลมุ แมน ํ้าไทกรสิ ยูเฟรทสี ในประเทศอริ ัก ท่รี าบลุมแมน ้าํ โขงตอนลา ง ใน ประเทศกัมพูชาและเวียดนาม ท่ีราบลุมแมน้ําแดง ในประเทศเวียดนาม ที่ราบลุมแมนํ้า เจา พระยา ในประเทศไทย ทรี่ าบลมุ แมน า้ํ สาละวนิ ตอนลา ง ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ อริ ะวดี ในประเทศ สาธารณรัฐแหง สหภาพพมา 3. เขตเทือกเขาสูง เปน เขตเทือกเขาหินใหม เทอื กเขาสงู เหลานีส้ วนใหญเ ปน เทอื ก เขา ทแ่ี ยกตวั ไปจากจดุ รวมทเ่ี รยี กวา ปามรี น อต ตอนกลางประกอบไปดว ยทร่ี าบสงู มเี ทอื ก เขาทแ่ี ยกไปทางทศิ ตะวนั ออก ไดแ ก เทอื กเขาหมิ าลยั เทอื กเขาอาระกนั โยมา และเทอื กเขาท่ี มแี นวตอ เนอ่ื งลงมาทางใต มบี างสว นทจ่ี มหายไปในทะเล และบางสว นโผลข น้ึ มาเปน เกาะ ใน มหาสมทุ รอนิ เดยี และมหาสมทุ รแปซฟิ ก ถดั จากเทอื กเขาหมิ าลยั ขน้ึ ไปทางเหนอื มเี ทอื กเขา ทแ่ี ยกไปทางตะวนั ออก ไดแ ก เทอื กเขาคนุ ลนุ เทอื กเขาอลั ตนิ ตกั เทอื กเขานานชาน และแนว ทแ่ี ยกไปทางทศิ ตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ไดแ ก เทอื กเขาเทยี นชาน เทอื กเขาอลั ไต ฯลฯ เทอื กเขา ทแ่ี ยกไปทางทศิ ตะวนั ตก แยกเปน แนวเหนอื และแนวใต แนวเหนอื ไดแ ก เทอื กเขาฮนิ ดกู ชู เทอื กเขาเอลบชู ร สว นแนวใต ไดแ ก เทอื กเขาสไุ ลมาน เทอื กเขาซากรอส 4. เขตท่รี าบสูงตอนกลางทวีป เปนท่รี าบสูงอยรู ะหวางเทือกเขาท่หี ินใหม ไดแก ท่ีราบสูงทิเบต ซ่ึงเปนท่ีราบสูงขนาดใหญและสูงท่ีสุดในโลก ท่ีราบสูงยูนนาน ทางใตของ ประเทศจนี และทร่ี าบสงู ทม่ี ลี กั ษณะเหมอื นแอง ชอ่ื ตากลามากนั ซง่ึ อยรู ะหวา งเทอื กเขาเทยี น ชานกบั เทอื กเขาคนุ ลนุ แตอ ยสู งู กวา ระดบั นาํ้ ทะเลมาก และมอี ากาศแหง แลง เปน เขตทะเลทราย 5. เขตทร่ี าบสงู ตอนใตแ ละตะวนั ตกเฉยี งใต เปน ทร่ี าบสงู ตอนใต และตะวนั ตกเฉยี ง ใต ไดแ ก ทร่ี าบสงู ขนาดใหญท างตอนใตข องทวปี เอเชยี ซง่ึ มคี วามสงู ไมม ากเทา กบั ทร่ี าบสงู ทางตอนกลางของทวปี ทร่ี าบสงู ดงั กลา ว ไดแ ก ทร่ี าบสงู เดคคาน ในประเทศอนิ เดยี ทร่ี าบสงู อหิ รา น ในประเทศอหิ รา น และอฟั กานสิ ถาน ทร่ี าบสงู อนาโตเลยี ในประเทศตรุ กแี ละทร่ี าบสงู อาหรบั ในประเทศซาอดุ อี าระเบยี

126 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) 2) ภมู อิ ากาศแบบใดทม่ี หี มิ ะปกคลมุ ตลอดป และพชื พรรณทป่ี ลกู เปน ประเภทใด ภมู อิ ากาศแบบทนุ ดรา (ขว้ั โลก) พชื พรรณธรรมชาตเิ ปน พวกตะไครน าํ้ และมอสส กจิ กรรมท่ี 1.2 การเปลย่ี นแปลงสภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพ 1) ใหผ เู รยี นอธบิ ายวา การเกดิ แผน ดนิ ไหวอยา งรนุ แรง จะสง ผลกระทบตอ ประชากร และสง่ิ แวดลอ มอยา งไรบา ง - ประชาชนไดร บั ความเดอื ดรอ น อาจถงึ ขน้ั เสยี ชวี ติ หรอื บาดเจบ็ สาหสั ขาดทอ่ี ยอู าศยั - ประชาชนปว ยเปน โรคจติ เวช ซง่ึ เกดิ ขน้ึ กบั เหยอ่ื ภยั พบิ ตั ทิ กุ ชนดิ - อาคารและสง่ิ กอ สรา งตา งๆ เสยี หาย - อาชพี การใหบ รกิ าร เชน คา ขาย ฯลฯ 2) ใหบ อกความแตกตา งและผลกระทบทเ่ี กดิ ตอ ประชากรและสง่ิ แวดลอ มของพายฝุ น ฟา คะนอง พายหุ มนุ เขตรอ น และพายทุ อรน าโด 1. พายุฝนฟาคะนอง มีลักษณะเปนลมพัดยอนไปมา หรือพัดเคล่อื นตัวไปใน ทศิ ทางเดยี วกนั อาจเกดิ จากพายทุ อ่ี อ นตวั และลดความรนุ แรงของลมลง หากสภาพแวดลอ ม ตา งๆ เหมาะสม กจ็ ะเกดิ ฝนตก ผลกระทบ คอื อาจจะถกู ฟา ผา เกดิ นาํ้ ทว มขงั 2. พายหุ มนุ เขตรอ นตา งๆ เชน เฮอรร เิ คน ไตฝ นุ และไซโคลน ซง่ึ ลว นเปน พายุ หมนุ ขนาดใหญเ ชน เดยี วกนั จะเรม่ิ ตน กอ ตวั ในทะเล หากเกดิ เหนอื เสน ศนู ยส ตู ร จะมที ศิ ทาง การหมนุ ทวนเขม็ นากิ า และหากเกดิ ใตเ สน ศนู ยส ตู รจะหมนุ ตามเขม็ นากิ า โดยมชี อ่ื ตา ง กนั ตามสถานทเ่ี กดิ ผลกระทบ คอื ฝนตกชกุ นาํ้ ทว ม ประชาชนอาจไดร บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ อาคาร บา นเรอื น ทรพั ยส นิ และสาธารณปู โภคตา งๆ เสยี หาย ถา พายมุ คี วามเรว็ สงู กจ็ ะทาํ ใหส ง่ิ กอ สรา ง และอาคารบา นเรอื นพงั เสยี หาย ราบเปน หนา กลอง 3. พายทุ อรน าโด เปน ชอ่ื เรยี กพายหุ มนุ ทเ่ี กดิ ในทวปี อเมรกิ า มขี นาดเนอ้ื ทเ่ี ลก็ หรอื เสน ผา ศนู ยก ลางนอ ย แตห มนุ ดว ยความเรว็ สงู หรอื ความเรว็ ทจ่ี ดุ ศนู ยก ลางสงู มากกวา พายุ หมนุ อน่ื ๆ กอ ความเสยี หายไดร นุ แรงในบรเิ วณทพ่ี ดั ผา น เกดิ ไดท ง้ั บนบกและในทะเล ผลกระทบ คอื ประชาชนอาจไดร บั บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ สง่ิ กอ สรา งและอาคารบา น เรอื นพงั เสยี หาย ราบเปน หนา กลอง 3) คลน่ื สนึ ามสิ ง ผลกระทบตอ สง่ิ แวดลอ มมากมายหลายอยา ง ในความคดิ เหน็ ของผเู รยี น ผลกระทบดา นใดทเ่ี สยี หายมากทส่ี ดุ พรอ มใหเ หตผุ ลประกอบ ผลกระทบตอ ชวี ติ ของประชากรและทรพั ยส นิ ทอ่ี ยอู าศยั เพราะเมอ่ื เกดิ เหตกุ ารณแ ลว ประชาชนจะรสู กึ กลวั วา จะเกดิ เหตกุ ารณแ บบนอ้ี กี ในอนาคต ทาํ ใหเ กดิ วติ กจรติ การสญู เสยี

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 127 ชวี ติ ของญาตมิ ติ ร ครอบครวั ภมู ทิ ศั นใ นการประกอบอาชพี เปลย่ี นแปลงไปเพราะทกุ อยา ง โดนกวาดตอนลงทะเลไปในเวลาฉับพลันเปนการสูญเสียคร้งั ย่งิ ใหญ ดังน้นั ผทู ่อี าศัยอยใู น บรเิ วณน้ี จงึ มคี วามวติ กจรติ อยตู ลอดเวลา กจิ กรรมท่ี 1.3 วธิ ใี ชเ ครอ่ื งมอื ทางภมู ศิ าสตร 1) ถาตองการทราบระยะทางจากท่ีหน่ึงไปยังอีกท่ีหน่ึง ผูเรียนจะใชเคร่ืองมือทาง ภมู ศิ าสตรช นดิ ใด แผนท่ี 2) ภาพถา ยจากดาวเทยี ม มปี ระโยชนใ นดา นใดบา ง ใหข อ มลู พน้ื ผวิ ของเปลอื กโลก ทาํ ใหเ หน็ ภาพรวมของการใชพ น้ื ท่ี และการเปลย่ี นแปลง ตา งๆ ตามทป่ี รากฏบนพน้ื โลก ซง่ึ เหมาะแกก ารศกึ ษาทรพั ยากรผวิ ดนิ เชน ปา ไม การใช ประโยชนจ ากดนิ หนิ และแร 3) แผนท่ี มปี ระโยชนใ นดา นใดบา ง 1. ดานการเมืองการปกครอง เพ่ือใชศึกษาสภาพทางภูมิศาสตรและนํามาวางแผน ดาํ เนนิ การ เตรยี มรบั หรอื แกไ ขสถานการณท เ่ี กดิ ขน้ึ ได 2. ดา นการทหาร ในการพจิ ารณาวางแผนทางยทุ ธศาสตรข องทหาร ตอ งหาขอ มลู หรอื ขา วสารทเ่ี กย่ี วกบั สภาพภมู ศิ าสตร และตาํ แหนง ทางสง่ิ แวดลอ ม 3. ดา นเศรษฐกจิ และสงั คม ดา นเศรษฐกจิ ใชง านในการวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สงั คมแหง ชาติ ใชเ ปน ขอ มลู พน้ื ฐานเพอ่ื ใหท ราบทาํ เลทต่ี ง้ั สภาพทางกายภาพ แหลง ทรพั ยากร 4. ดา นสงั คม สภาพแวดลอ มทางสงั คมมกี ารเปลย่ี นแปลงอยเู สมอ การศกึ ษาสภาพการ เปลย่ี นแปลงตอ งอาศยั แผนทเ่ี ปน สาํ คญั และอาจชว ยใหก ารดาํ เนนิ การวางแผนพฒั นาสงั คม เปน ไปในแนวทางทถ่ี กู ตอ ง 5. ดา นการเรยี นการสอน แผนทเ่ี ปน ตวั สง เสรมิ กระตนุ ความสนใจ และกอ ใหเ กดิ ความ เขา ใจในบทเรยี นดขี น้ึ ใชเ ปน แหลง ขอ มลู ทง้ั ทางดา นกายภาพ ภมู ภิ าค 6. ดา นสง เสรมิ การทอ งเทย่ี ว แผนทม่ี คี วามจาํ เปน ตอ นกั ทอ งเทย่ี วในอนั ทจ่ี ะทาํ ใหร จู กั สถานทท่ี อ งเทย่ี วไดง า ย สะดวกในการวางแผนการเดนิ ทางหรอื เลอื กสถานทท่ี อ งเทย่ี วตาม ความเหมาะสม 4) ถา ตอ งการทราบวา ประเทศไทยอยพู กิ ดั ภมู ศิ าสตรท เ่ี ทา ไหร ผเู รยี นจะใชเ ครอ่ื งมอื ทาง ภมู ศิ าสตรช นดิ ใดไดบ า ง แผนท่ี และลกู โลก

128 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) กจิ กรรมท่ี1.4 สภาพภมู ศิ าสตรก ายภาพของไทยทส่ี ง ผลตอ ทรพั ยากรตา งๆ และ สง่ิ แวดลอ ม 1) ใหผ เู รยี นอธบิ ายวา สภาพภมู ศิ าสตรข องประเทศไทย ทง้ั 6 เขต มอี ะไรบา ง และ แตล ะเขตสว นมากประกอบอาชพี อะไร 1. เขตภเู ขาและหบุ เขาทางภาคเหนอื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน ภเู ขาและเทอื กเขา จะ ทอดยาวในแนวหรอื ใตส ลบั กบั ทร่ี าบหบุ เขา โดยมที ร่ี าบหบุ เขาแคบๆ ขนานกนั ไป อนั เปน ตน กาํ เนดิ ของแมน าํ้ ลาํ คลองหลายสาย ทาํ ใหเ กดิ ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ ซง่ึ อยรู ะหวา งหบุ เขาอนั อดุ ม สมบูรณไปดวยทรัพยากรธรรมชาติ ภูมิอากาศคลายคลึงกับภูมิอากาศทางตอนใตของเขต อบอนุ ของประเทศทม่ี ี 4 ฤดู ประกอบอาชพี เพาะปลกู เลย้ี งสตั ว และทาํ เหมอื งแร 2. เขตเทือกเขาทางภาคตะวนั ตก ลักษณะภมู ิประเทศเปน พ้นื ท่แี คบๆ ทอดยาว ขนานกบั พรมแดนประเทศพมา สว นใหญเ ปน ภเู ขา มแี หลง ทรพั ยากรแรธ าตุ และปา ไมข อง ประเทศ มีปริมาณฝนเฉล่ยี ตํา่ กวาทุกภาค ประชากรสวนใหญอยใู นเขตท่รี าบลมุ แมนํา้ และ ชายฝง ลกั ษณะภมู อิ ากาศ โดยทว่ั ไปมคี วามแหง แลง มากกวา ในภาคอน่ื ๆ ประกอบอาชพี ปลกู พชื ไรแ ละการประมง 3. เขตทร่ี าบของภาคกลาง ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศสว นใหญเ ปน ทร่ี าบลมุ แมน าํ้ อนั กวา งใหญ มลี กั ษณะเอยี งลาดจากเหนอื ลงมาใต เปน ทร่ี าบทม่ี คี วามอดุ มสมบรู ณม ากทส่ี ดุ เพราะเกดิ การ ทบั ถมของตะกอน ประกอบอาชพี การเกษตร (ทาํ นา) 4. เขตภเู ขาและทร่ี าบบรเิ วณชายฝง ทะเลตะวนั ออก ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เทอื ก เขาสงู และทร่ี าบซง่ึ สว นใหญเ ปน ทร่ี าบลกู ฟกู และมแี มน าํ้ ทไ่ี หลลงสอู า วไทย แมน าํ้ ในภาคตะวนั ออกสว นมากเปน แมน าํ้ สายสน้ั ๆ ซง่ึ ไดพ ดั พาเอาดนิ ตะกอนมาทง้ิ ไว จนเกดิ เปน ทร่ี าบแคบๆ ตามทล่ี มุ ลกั ษณะชายฝง และมลี กั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน เกาะ อา ว และแหลม ลกั ษณะภมู อิ ากาศ มลี มมรสมุ ตะวนั ตกเฉยี งใตจ าก อา วไทย จงึ ทาํ ใหม ฝี นตกชกุ หนาแนน บางพน้ื ท่ี ประกอบอาชพี การประมง ทาํ สวนผลไม ปจ จบุ นั มกี ารทาํ สวนยางพารา 5. เขตทร่ี าบสงู ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน ทร่ี าบสงู ขนาดตาํ่ ทางบริเวณตะวันตกของภาคจะมีภูเขาสูง ทางบริเวณตอนกลางของภาคมีลักษณะเปนแอง กระทะ มแี มน าํ้ ชแี ละแมน าํ้ มลู ไหลผา น ยงั มที ร่ี าบโลง อยหู ลายแหง โดยมแี นวทวิ เขาภพู าน ทอดโคงยาวคอนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือของภาค ถัดเลยจากแนวทิวเขาภูพานไปทาง เหนอื มแี อง ทรดุ ตาํ่ ของแผน ดนิ ประกอบอาชพี ทาํ นา การประมงนาํ้ จดื 6. เขตคาบสมทุ รภาคใต ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศเปน คาบสมทุ รยน่ื ไปในทะเล มเี ทอื กเขา ทอดยาวในแนวเหนอื ใต ทเ่ี ปน แหลง ทบั ถมของแรด บี กุ บรเิ วณชายฝง ทะเล ทง้ั สองดา นของ ภาคใตเ ปน ทร่ี าบ มปี ระชากรอาศยั อยหู นาแนน ภาคใตไ ดร บั อทิ ธพิ ลความชน้ื จากทะเลทง้ั สอง ดา น มฝี นตกชกุ ตลอดป และมปี รมิ าณฝนเฉลย่ี สงู ประกอบอาชพี ยางพารา ปาลม นาํ้ มนั การประมง

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 129 2) ผเู รยี นคดิ วา ประเทศไทยมที รพั ยากรอะไรทม่ี ากทส่ี ดุ บอกมา 5 ชนดิ แตล ะชนดิ สง ผล ตอ การดาํ เนนิ ชวี ติ ของประชากรอยา งไรบา ง ปาไม ประชากรประกอบอาชีพ ทําเฟอรนิเจอร ทาํ ของปาขาย แรดบี กุ ประชากรประกอบอาชพี อุตสาหกรรมเหมืองแร ลกิ ไนต ประชากรประกอบอาชีพ อตุ สาหกรรมเหมอื งแร พลอย ประชากรประกอบอาชพี การเจยี รนัยพลอย ทรพั ยากรสตั วนา้ํ ประชากรประกอบอาชีพ การประมง กจิ กรรมท่ี 1.5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชวี ติ ใหส อดคลอ งกบั ทรพั ยากร ในประเทศ 1) ใหผ เู รยี นอธบิ ายวา ในภาคเหนอื ของไทยประชากรจะอาศยั อยหู นาแนน ในบรเิ วณใด บา ง พรอ มใหเ หตผุ ล และสว นมากจะประกอบอาชพี อะไร ประชากรสว นใหญอ าศยั อยหู นาแนน ตามทร่ี าบลมุ แมน าํ้ ประกอบอาชพี ทาํ นา ทาํ ไร 2) ผเู รยี นคดิ วา ภาคใดของไทย ทส่ี ามารถสรา งรายไดจ ากการทอ งเทย่ี วมากทส่ี ดุ พรอ ม ใหเ หตผุ ลและสถานทท่ี อ งเทย่ี วดงั กลา วคอื อะไรบา ง พรอ มยกตวั อยา ง ภาคใตและภาคตะวันออก เพราะมีชายฝงทะเลท่ีงดงาม มีเกาะแกงมากมาย มีการ บรกิ ารท่ปี ระทบั ใจ ภาคเหนือมปี าไม มวี ัฒนธรรมดัง้ เดิมคือจังหวดั เชยี งใหม เชยี งราย 3) ปจ จัยใดทที่ าํ ใหม ปี ระชากรอพยพเขา มาอาศัยอยใู นภาคตะวันออกมากขน้ึ การเจริญเติบโตของเขตอุตสาหกรรมมาบตาพุต และทาเรือน้ําลึกเพ่ือขนสงลงทะเล และมีแหลง ทองเท่ียวอนั งดงาม 4) ทวปี ใดท่ีกลา วกนั วาเปนทวปี “แหลงอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจึงกลาวเชน นั้น ทวีปเอเชียเพราะเปนดินแดนที่ความเจริญเกิดขึ้นกอนทวีปอ่ืนๆ ประชากรรูจักและ ต้ังถนิ่ ฐานกนั มากอ น อารยธรรมท่สี ําคัญๆ คืออารยธรรมจนี อินเดีย ขอม 5) ในทวปี เอเชยี ประชากรจะอาศัยอยูกันหนาแนน บริเวณใดบาง เพราะเหตุใด รมิ ชายฝง ทะเลและทร่ี าบลมุ แมน าํ้ ตา ง ๆ เชน ลมุ แมน าํ้ เจา พระยา ลมุ แมน า้ํ แยงซเี กยี ง ลุมแมนํ้าแดงและลุมแมนํ้าคงคา และในเกาะบางเกาะท่ีมีดินอุดมสมบูรณ เชน เกาะของ ประเทศฟล ปิ ปนส อนิ โดนีเซีย และญป่ี ุน

130 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) แนวเฉลยกิจกรรม บทที่ 2 ประวตั ิศาสตรท วีปเอเชยี คาํ ชแ้ี จง ใหผ เู รยี นเขยี นเครอื่ งหมายถกู ( ) หนา ขอ ความทถ่ี กู และเขยี นเครอ่ื งหมาย ผิด () หนา ขอ ความทผี่ ิด ............ 1. ประเทศจนี เปน ประเทศในแถบภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกทม่ี พี น้ื ทใ่ี หญท ส่ี ดุ ในโลก ........... 2. ประเทศอนิ เดียเปนประเทศประชาธปิ ไตยท่ีมปี ระชากรมากท่สี ดุ ในโลก ........... 3. กษัตรยิ พ มา ทส่ี ามารถรวบรวมประเทศใหเปนปก แผน เดียวกนั ไดส าํ เร็จเปน คร้งั แรกคือพระเจา อโนรธา กษัตริยเ มอื งพยู ............ 4. พระเจา ตะเบง็ ชะเวตี้ กษตั รยิ พ มา ทส่ี ามารถตกี รงุ ศรอี ยธุ ยาแตกในป พ.ศ. 2112 ............ 5. ประเทศอินโดนีเซียเปนประเทศทเี่ ปนหมเู กาะทีใ่ หญท ่ีสุดในโลก ............ 6. สงครามเจ็ดป (Seven Years’ War) เปน สงครามทเ่ี กดิ ข้ึนในฟล ปิ ปนส จนทําใหญปี่ ุนเกิดการสญู เสยี มากทีส่ ดุ ........... 7. ประเทศญีป่ ุน ไดชื่อวา “ดินแดนแหง พระอาทิตยอ ุทยั ” ........... 8. ยคุ ศักดินา หมายถงึ ยุคทีจ่ กั รพรรดิเปน ใหญท่ีสดุ ในญป่ี ุน ........... 9. การทงิ้ ระเบดิ ทเ่ี มอื งฮโิ รชมิ าและนางาซากิ ทาํ ใหญ ป่ี นุ ตอ งยอมแพส งครามโลก ครง้ั ท่ี 1 ........... 10. ญ่ีปนุ เปนประเทศหนึ่งทตี่ อ ตา นสหรัฐเมรกิ าสงกองกําลงั ทหารไปสูรบในอิรกั ........... 11. ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนจนี มกี ารลงทนุ ในประเทศไทยเปน อันดบั 2 รองจากญี่ปุน ........... 12. กลุม ICS เปนกลุมชนชั้นกรรมกรท่ีอังกฤษคัดเลือกใหทํางานในอินเดีย และพมา ........... 13. ประเทศไทยตกเปนอาณานิคมของชาติตะวันตกและทําใหเสียดินแดนไปถึง 14 คร้ัง ........... 14. สงครามเดียนเบียนฟูเปนสงครามที่ประเทศไทยรวมมือกับฝรั่งเศสขับไล จีนฮอออกจากเวียดนามจนสําเรจ็ ........... 15. สงครามเย็นทําใหเกิดการแบงสถานภาพกลุมประเทศเปน 3 กลุม ไดแก กลมุ ประเทศมหาอาํ นาจ กลมุ ประเทศกาํ ลงั พฒั นา และกลมุ ประเทศดอ ยพฒั นา เฉลยกจิ กรรมทายบท .... …. 1. ….…. 2. ….…. 3. ….…. 4. ….…. 5. .... …. 6. ….…. 7. .... …. 8. .... …. 9. ….…. 10. ….…. 11. .... …. 12. ….…. 13. ….…. 14. .... …. 15.

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 131 แนวเฉลยกิจกรรม บทที่ 3 เศรษฐศาสตร กิจกรรมที่ 3.1 เศรษฐศาสตร หมายถงึ วชิ าที่วาดวยการศกึ ษาอะไร มีความ สําคัญอยา งไร เศรษฐศาสตร หมายถงึ การเลอื กใชทรัพยากรท่มี ีจาํ กัดและหายากในการผลติ สนิ คา และบริการใหมีประสิทธิภาพมากท่ีสุด ซึ่งรวมถึงการกระจายสินคาและบริการเพ่ือใหความ เปน ธรรม และความอยูด กี ินดขี องประชาชนทง้ั ในปจจบุ ันและอนาคต กจิ กรรมท่ี 3.2 ความตองการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตรห มายถงึ อะไร ความตอ งการ (Wants) ในวชิ าเศรษฐศาสตร หมายถงึ ความปรารถนาทจ่ี ะไดส ง่ิ ตา งๆ มาบริโภค เพอ่ื ตอบสนองความจาํ เปนในการดํารงชีวิตและเพอ่ื อํานวยความสะดวกตา งๆ กจิ กรรมท่ี 3.3 คุณธรรมของผผู ลิตมีอะไรบาง คณุ ธรรมของผูผ ลิตมีดงั น้ี 1. ความขยัน เปนความพยายามมุมานะที่จะประกอบการในการผลิตและบริการให ประสบผลสําเรจ็ อยา งไมย อทอ ตอปญหาอุปสรรค 2. ความซ่ือสตั ย โดยเฉพาะซือ่ สัตยตอผูบริโภค เชน ไมคา กาํ ไรเกนิ ควร ไมโฆษณา สินคาเกินความเปนจริง ไมปลอมปนสินคา ไมผลิตสินคาท่ีไมไดคุณภาพ หรือสินคาท่ีผิด กฎหมาย 3. ความรับผิดชอบ ในการผลิตสินคาและบริการเพ่ือสนองตอความตองการของผู บริโภค รับผดิ ชอบตอความเสยี หายอนั เกิดจากการผลติ และบริการ 4. พัฒนาคณุ ภาพสินคาใหเปน สนิ คา และบริการเปนที่พงึ พอใจของผบู รโิ ภค 5. ดูแลสังคม แบงสวนกําไรท่ีไดรับคืนสูสังคม เชน ทํากิจกรรมเพื่อสวนรวม ชวย เหลอื ผดู อ ยโอกาสในรปู แบบตา งๆ กจิ กรรมท่ี 3.4 ระบบเศรษฐกจิ แบบผสมหมายถึงอะไร ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม หมายถงึ ระบบเศรษฐกจิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากปญ หาและขอ บกพรอ ง ของระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมและสังคมนิยม โดยมีกลไกราคาเปนตัวกําหนด มีการ วางแผนจากรฐั บาลสว นกลาง บางสว นใหเ อกชนตดั สินใจดําเนนิ กจิ กรรมเอง กจิ กรรมท่ี 4 จงเลือกคาํ ตอบท่ีถกู ท่สี ุดเพยี งคาํ ตอบเดยี ว 1. ง 2. ค 3. ก 4. ค 5. ข

132 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) แนวเฉลยกิจกรรม บทท่ี 4 การเมอื งการปกครอง กิจกรรมท่ี 1 1. ค 2. ก 3. ข 4. ก 5. ง 6. ง 7. ข 8. ข 9. ง 10. ง 11. ข 12. ง 13. ง 14. ง 15. ง 16. ก 17. ค 18. ง 19. ข 20. ก กิจกรรมท่ี 2 1. เพราะเหตุใดระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงถือวาเหมาะสมท่ีสุด ในปจจุบัน แนวตอบ เปน ระบอบการปกครองทย่ี อมรบั สทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคของประชาชน เปด โอกาสใหป ระชาชนทกุ คนมสี ว นรว มในการใชอ าํ นาจปกครองประเทศอยา งทว่ั ถงึ และมกี ลไก ทีม่ ีประสิทธิภาพในการปองกันการผูกขาดอํานาจทางการเมอื งของคนกลุมใดกลมุ หนงึ่ 2. รัฐธรรมนูญกาํ หนดใหป ระชาชนมสี วนรวมในทางการเมอื งอยางไร แนวตอบ ใหป ระชาชนกาํ หนดนโยบายการตดั สนิ ใจทางการเมอื ง การวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คมและการเมือง รวมถึงการตรวจสอบการใชอํานาจของรฐั 3. รัฐธรรมนูญท่ีเปนลายลักษณอักษร มีลักษณะแตกตางกับรัฐธรรมนูญท่ีไม เปนลายลกั ษณอกั ษรอยางไร แนวตอบ รัฐธรรมนูญที่เปนลายลักษณอักษร เปนรัฐธรรมนูญที่รวบรวมกฎหมายการปกครอง ประเทศไวในเอกสารฉบับเดียว สวนรัฐธรรมนูญที่ไมเปนลายลักษณอักษร มีลักษณะเปน รฐั ธรรมนญู ท่อี าศัยจารีตประเพณีท่ปี ฏบิ ตั สิ บื ตอ กันมาเปนกฎหมาย กจิ กรรมที่ 3 1. รปู แบบการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยแบบมพี ระมหากษตั รยิ เ ปน ประมขุ รฐั ธรรมนญู การปกครองของไทยทกุ ฉบับกาํ หนดสาระไวอยา งไร แนวตอบ พระมหากษตั รยิ ด าํ รงอยูใ นฐานะอนั เปน ท่เี คารพสักการะ ผใู ดจะละเมดิ และกลาวหา หรอื ฟองรองในทางใดๆ มิได 2. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบบประธานาธบิ ดี มลี กั ษณะการปกครอง อยา งไร

« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 133 แนวตอบ ผทู ม่ี บี ทบาทสาํ คญั ทางการเมอื ง คอื ประธานาธบิ ดี เปน ทงั้ ผนู าํ ทางการเมอื งและเปน ผูนําประเทศ มาจากการเลือกตั้งของประชาชน บริหารประเทศรวมกับรองประธานาธิบดี และคณะรฐั มนตรี มีประเทศสหรัฐอเมรกิ าเปน แมแ บบ 3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของทกุ ประเทศ จะมรี ูปแบบการปกครอง แตกตางกนั แตห ลักการใหญๆ จะมเี หมอื นกันคืออะไร แนวตอบ ประชาชนปกครองตนเอง โดยประชาชนทกุ คนมสี ทิ ธเิ สรภี าพและความเสมอภาคภาย ใตกฎหมาย ซ่งึ บญั ญตั ขิ ้ึนตามเสียงสวนใหญของประชาชน 4. ใหบ อกขอ ดี ขอ เสยี ของการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยและการปกครอง ระบอบเผด็จการ แนวตอบ ขอ ดี ขอ ดี ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของการปกครองระบอบเผด็จการ 1. ประชาชนทุกคนมีความเทาเทียมกัน 1. รฐั บาลมคี วามเขม แขง็ ในดานกฎหมาย 2. รัฐบาลมีความมัน่ คงเปน ปก แผน 2. ประชาชนทกุ คนตองปฏิบตั ิตามกฎหมาย 3. การตัดสนิ ใจในกจิ การตา งๆ เปนไป และมีสทิ ธเิ สรภี าพในทกุ ๆ ดา น อยางรวดเร็ว อาจเกิดการผิดพลาด 3. การแกไ ขปญหาตางๆ ยึดถือแนวทาง ไดงา ย สันตวิ ธิ ี มีการเจรจาอยา งมเี หตุผล ฟง เสียงขา งมาก ขอ เสีย ขอ เสีย ของการปกครองระบอบประชาธิปไตย ของการปกครองระบอบเผด็จการ 1. การแกไ ขบา นเมอื ง บางเรอื่ งอาจมคี วาม 1. ประชาชนไมมีสิทธิเขารวมในการ ลา ชา หลายขัน้ ตอน ปกครอง 2. ประชาชนสวนใหญยังขาดความรูใ นดา น 2. ไมคํานึงถึงความตองการของ การบริหารประเทศ ประชาชน 3. ประชาชนขาดความสุข รฐั บาลและ ประชาชนไมม คี วามสมั พนั ธก นั อยา ง ใกลช ิด กิจกรรมที่ 4 1. ง 2. ก 3. ค 4. ง 5. ง 6. ง 7. ก 8. ง 9. ค 10. ง

134 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) บรรณานุกรม การศึกษานอกโรงเรียน, กรม. ชุดการเรียนทางไกล หมวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน . พฤษภาคม 2540. การศึกษาทางไกล. สถาบัน. กรมการศึกษานอกโรงเรียน. ชุดการเรียนทางไกล ระดับ มัธยมศึกษาตอนตน หมวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค รุ สุ ภาลาดพราว, 2546. โกเมน จิรัฐกุล, รศ.ดร.และเสรี ลีลาลัย, รศ. หนังสือเรียน ส.504 สังคมศึกษา ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 5. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานชิ จาํ กดั . คมิ ไชยแสนสุข, รศ.และศนั สนยี  วรรณาวกูร. ชุดปฏิรปู การเรยี นรหู ลักสูตรการศึกษา ขั้นพน้ื ฐาน พ.ศ. 2544 กลุมสาระการเรยี นรู สวนศกึ ษา ศาสนาและ วัฒนธรรม ชว งชน้ั ท่ี 4 สาระ 3 เศรษฐศาสตร. กรงุ เทพฯ : สาํ นกั พมิ พ ประสานมติ ร, 2545. เคน จันทรวงษ สรปุ เขม ลุยโจทยคลงั ขอ สอบสงั คม ศาสนาและวฒั นธรรม สํานักพิมพ SCIENEC CENTER, มปป. ชาญ นพรัตน และสิทธา มีชอบธรรม หมวดวิชาพัฒนาสังคมและชุมชน ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน ตามหลกั เกณฑแ ละวธิ กี ารจดั การศกึ ษานอกโรงเรยี น หลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2544 บรษิ ทั ปย มติ ร มลั ตมิ เิ ดยี จาํ กดั , 2546. ถนอม พนั ธมุ ณ.ี หนังสอื เรยี นหลกั สตู รการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พ.ศ. 2544 หมวดวิชา พัฒนาสังคมและชุมชน ระดับมัธยมศึกษาตอนตน. พิมพคร้ังที่ 2. กรุงเทพฯ : เสนาธรรม, มปป. นิชา แกวพาณิช. เสริมสาระการเรยี นรูพื้นฐานสังคมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.3 : สํานกั พิมพเ ดอะบคุ ส จํากดั , 2551. ประเวศ วะส.ี เศรษฐกจิ พอเพยี งและประชาสงั คม : แนวทางผลติ ฟน ฟเู ศรษฐกจิ สงั คม. กรงุ เทพฯ พมิ พด ,ี 2544. ปยพร บุญเพ็ญ. หลักเศรษฐศาสตร 3200-0101, 005-110-103. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั บณั ฑติ สาสน จาํ กัด, มปป. เพญ็ สรุ ตั น หอมแยม และคณะ. คมู อื เตรยี มสอบ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.1-2-3 กรงุ เทพฯ : ไฮเดด พบั ลชิ ชง่ิ จาํ กดั , “มปป.” เพ็ญสุรัตน หอมเย็น และคณะ. คมู อื เตรยี มสอบ สงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม ม.1-2-3 : บริษทั ไทเนรมติ กจิ อนิ เตอรโ ปรเกรสซฟี จาํ กัด, 2537. ไพฑรู ย พงศะบตุ ร และวนั ชยั ศริ ริ ตั น. หนงั สอื เรยี นสงั คมศกึ ษา ส.504 สงั คมศกึ ษา

« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 135 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที่ 5. กรุงเทพมหานคร : บริษทั โรงพิมพไ ทยวฒั นา พานชิ ย จาํ กดั , 2537. มานติ กิตตจิ ูงจิต และสรุ พล เอีย่ มอทู รัพย. กลุม สาระการเรียนรู สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชว งชน้ั ที่ 3 : แสงจนั ทรก ารพมิ พ, 2546. รจุ เิ รจ โลหารชนุ และคณะ. หนงั สอื เรยี นชดุ การศกึ ษานอกโรงเรยี น (กศน.) หมวดวชิ า พัฒนาสังคมและชุมชน. (สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม) ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน . กรงุ เทพฯ : ประสานมติ ร (ปมส.), 2549. วิไล ทรงโฉม, หมวดวิชาพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน การศึกษา นอกโรงเรียน : บริษทั สามเจริญพาณชิ ย (กรงุ เทพฯ) จาํ กัด, 2546. สมนกึ ปฏปิ ทานนท และคณะ. คมู อื เตรยี มสอบสงั คมศกึ ษา ชว งชน้ั ท่ี 3 (ม.1-ม.3) กรงุ เทพฯ : ภมู บิ ณั ฑติ การพมิ พ, 2537. สมสวย เห็นงาม และคณะ. ติวเขมกอนสอบ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชวงชน้ั ท่ี 3 : บรษิ ัท ฐานบัณฑติ จํากดั กรงุ เทพฯ, 2537. สพุ ชิ ฌาย สวสั ดริ าษฎร และกลุ ธดิ า รตั นโกศล. หมวดวชิ าพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน : บรษิ ทั สาํ นกั พมิ พ ลองไลฟ เอด็ จาํ กดั นนทบรุ ,ี 2549. อภนิ ันท จันตะนี และชัยยศ ผลวัฒนา. ระบบเศรษฐกิจไทยและการสหกรณ. กรุงเทพฯ : สํานกั พมิ พ พิทกั ษอ ักษร, 2538. อภินันท จันตะนี. เอกสารคําสอนเศรษฐศาสตรมหภาค 1. ภาควิชาเศรษฐศาสตร คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พมิ พ พทิ กั ษอ กั ษร, 2538. เอกสาร เรอ่ื งคลน่ื สนึ ามกิ บั ผลกระทบสง่ิ แวดลอ ม โดย พชั รยี า ฉตั รเท http://earthquake.usgs.gov/ http://www.thaigoodview.com http://www.vcharkarn,com/varticle/33610 http://www.bloggang.com http://www.thaipr.net http://www.thai.cri.cn http://www.thaigoodview.com http://th.wikipedia.org http://rirs3.royin.go.th/dictionvary,asp http://www.thaigoodview.com/node/76621 http://www.mwit.ac.th

136 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) คณะผจู ัดทํา ท่ีปรึกษา บญุ เรอื ง เลขาธกิ าร กศน. อ่ิมสวุ รรณ รองเลขาธิการ กศน. 1. นายประเสริฐ จําป รองเลขาธกิ าร กศน. 2. ดร.ชัยยศ แกว ไทรฮะ ทป่ี รึกษาดา นการพัฒนาหลกั สตู ร กศน. 3. นายวัชรนิ ทร ตณั ฑวุฑโฒ ผูอาํ นวยการกลุมพฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 4. ดร.ทองอยู 5. นางรกั ขณา ผูเ ขียนและเรยี บเรียง 1. นางสาวสดุ ใจ บุตรอากาศ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 2. นางสาวพมิ พาพร อินทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 3. นางดษุ ณี เหลยี่ มพนั ธุ สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 4. นางดวงทิพย แกว ประเสริฐ สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 5. นายนพิ นธ ณ จันตา สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 6. นางอุบลรตั น มโี ชค สถาบัน กศน. ภาคเหนอื 7. นางกรรณกิ าร ยศต้อื สถาบนั กศน. ภาคเหนอื 8. นางณิชากร เมตาภรณ สถาบัน กศน. ภาคเหนอื ผูบรรณาธกิ ารและพัฒนาปรบั ปรุง 1. นางพรทิพย เขม็ ทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน 2. นางสาวพิมพาพร อนิ ทจักร สถาบนั กศน. ภาคเหนือ 3. นางสาวสรุ ัตนา บรู ณะวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 4. นางสาวสปุ รดี า แหลมหลกั สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 5. นางสาวสาลนิ ี สมทบเจริญกลุ สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก 6. นายอดุ มศกั ด์ิ วรรณทวี สํานกั งาน กศน. อ.โขงเจียม 7. นายเรอื งเวช แสงรตั นา สาํ นกั งาน กศน. ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 8. นางพฒั นส ุดา สอนซ่ือ ขาราชการบาํ นาญ 9. นางธญั ญาวดี เหลา พาณชิ ย ขา ราชการบาํ นาญ 10.นางพรทิพย เข็มทอง กลมุ พฒั นาการศึกษานอกโรงเรียน 11.นางสาววรรณพร ปทมานนท กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 12.นายเรอื งเดช แสงวัฒนา สถาบนั กศน. ภาคตะวันนออกเฉียงเหนอื 13.นางมยรุ ี สุวรรณาเจรญิ สถาบัน กศน. ภาคใต 14.นางสาววาสนา บรู ณาวทิ ย สถาบนั กศน. ภาคตะวันออก

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 137 15. นางสาววาสนา โกลยี วฒั นา สถาบนั การศกึ ษาทางไกล 16. นางธัญญาวดี เหลา พาณิชย ขา ราชการบํานาญ 17. นางพรทิพย เข็มทอง กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น คณะทํางาน มนั่ มะโน กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรียน ศรรี ัตนศลิ ป กลมุ พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 1. นายสุรพงษ ปทมานนท กลุม พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น 2. นายศภุ โชค กุลประดษิ ฐ กลุมพฒั นาการศึกษานอกโรงเรยี น 3. นางสาววรรณพร เหลืองจติ วัฒนา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวศริญญา 5. นางสาวเพชรนิ ทร ผูพิมพตน ฉบับ 1. นางปย วดี คะเนสม กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 2. นางเพชรินทร เหลืองจิตวฒั นา กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน 3. นางสาวกรวรรณ กวีวงษพิพัฒน กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 4. นางสาวชาลีนี ธรรมธิษา กลมุ พัฒนาการศกึ ษานอกโรงเรยี น 5. นางสาวอริศรา บา นชี กลุม พฒั นาการศกึ ษานอกโรงเรียน ผูอ อกแบบปก นายศุภโชค ศรรี ัตนศิลป กลมุ พัฒนาการศึกษานอกโรงเรยี น

138 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook