Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สังคมต้น

สังคมต้น

Description: สังคมต้น

Search

Read the Text Version

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 43 กิจกรรมท่ี 1.5 ความสาํ คญั ของการดาํ รงชีวิตใหสอดคลองกบั ทรัพยากรในประเทศ 1) ใหผ เู รยี นอธิบายวา ในภาคเหนือของไทย ประชากรจะอาศยั อยูห นาแนนในบรเิ วณ ใดบาง พรอ มใหเหตผุ ล และสว นมากจะประกอบอาชีพอะไร ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 2) ผเู รยี นคดิ วา ภาคใดของไทยทส่ี ามารถสรา งรายไดจ ากการทอ งเทยี่ วมากทสี่ ดุ พรอ ม ใหเหตุผล และสถานท่ที อ งเท่ยี วดังกลาว คืออะไรบาง พรอ มยกตัวอยาง ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 3) ปจ จัยใดทีท่ ําใหมปี ระชากรอพยพเขา มาอาศยั อยใู นภาคตะวันออกมากข้นึ ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... .....................................................................................................................................

44 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) 4) ทวีปใดที่กลาวกนั วา เปน ทวีป “แหลงอารยธรรม” เพราะเหตใุ ดจงึ กลา วเชน น้นั ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 5) ในทวีปเอเชีย ประชากรจะอาศยั อยูก ันหนาแนน บริเวณใดบาง เพราะเหตใุ ด ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... ..................................................................................................................................... 

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 45 บทที่ 2 ประวตั ศิ าสตรท วปี เอเชีย สาระสําคญั ทวปี เอเชยี ประกอบดว ย ประเทศสมาชกิ หลายประเทศ ในทนี่ จ้ี ะกลา วถงึ ประวตั ศิ าสตร ของประเทศในแถบเอเชียที่มีพรมแดนติดและใกลเคียงกับประเทศไทย ไดแก ประเทศ สาธารณรฐั ประชาชนจนี อนิ เดยี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว เมยี นมา อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปน ส และประเทศญปี่ นุ โดยสงั เขป นอกจากนไี้ ดเ กดิ เหตกุ ารณส าํ คญั ๆ ในประเทศไทย และประเทศในทวีปเอเชยี ทน่ี าสนใจ เชน ยุคลาอาณานิคม และยคุ สงครามเยน็ เปนตน ผลการเรียนรทู ค่ี าดหวงั หลังจากผเู รยี นเรยี นเร่อื งประวตั ิศาสตรท วปี เอเชยี จบแลว ทําใหผเู รียนสามารถ 1. บอกถงึ ประวตั ิศาสตรโดยสงั เขปของสาธารณรัฐประชาชนจนี อินเดยี สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว สาธารณรฐั แหง สหภาพพมา อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปน สแ ละประเทศ ญี่ปนุ ได 2. บอกเหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรท เี่ กดิ ขน้ึ ในประเทศไทยและประเทศในทวปี เอเชยี ได ขอบขา ยเนอื้ หา เรอ่ื งท่ี 1 ประวตั ิศาสตรส งั เขปของประเทศในทวปี เอเชยี ไดแก 1.1 ประวัตศิ าสตรป ระเทศสาธารณรฐั ประชาชนจีน 1.2 ประวตั ศิ าสตรประเทศอนิ เดีย 1.3 ประวตั ศิ าสตรสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว 1.4 ประวตั ศิ าสตรประเทศสาธารณสาธารณรฐั แหง สหภาพพมา 1.5 ประวัติศาสตรป ระเทศอนิ โดนีเซีย 1.6 ประวตั ิศาสตรป ระเทศฟลิปปน ส 1.7 ประวัตศิ าสตรประเทศญ่ีปุน เร่อื งที่ 2 เหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรท เ่ี กดิ ขนึ้ ในประเทศไทยและประเทศใน ทวปี เอเชยี 2.1 ยคุ ลาอาณานคิ ม 2.2 ยคุ สงครามเย็น

46 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) สื่อประกอบการเรียนรู สอ่ื ที่ผเู รยี นสามารถใชในการศกึ ษาเรยี นรูป ระกอบดว ย 1. สือ่ แบบเรยี น หมวดวชิ าพฒั นาสังคมและชมุ ชน ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน 2. หนังสือพมิ พ วารสาร เอกสารทางวิชาการตามหองสมุดและแหลง เรยี นรูใ นชมุ ชน และหองสมุดประชาชน หอ งสมดุ เฉลมิ ราชกุมารใี นทองถ่นิ 3. เครือขายอนิ เทอรเนต็ การวดั ผลการเรียนรู 1. ศึกษาจากหนังสือเรียนหมวดวิชาการพัฒนาสังคมและชุมชน ระดับมัธยมศึกษา ตอนตน 2. ทํากจิ กรรมทา ยบทที่กาํ หนดให 3. ทดสอบปลายภาคเรยี น 

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 47 เร่ืองที่ 1 ประวัตศิ าสตรสังเขปของประเทศในทวปี เอเชยี 1.1 ประวตั ศิ าสตรส งั เขปของประเทศสาธารณรฐั ประชาชนจนี ประเทศจีนหรือสาธารณรัฐประชาชนจีน เปนประเทศท่ีมีความเจริญรุงเรือง และมี อารยธรรมยาวนานท่ีสุดประเทศหนึ่งของโลก โดยหลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีสามารถ คน ควาท่มี ีการบนั ทกี เปน ลายลกั ษณอ กั ษรและมหี ลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร ศลิ ปวฒั นธรรมท่ี หลากหลายสวยงาม ไดบ ง ชว้ี าอารยธรรมจีนท่ีบงบอกถึงความเจริญงอกงามของจีนโบราณ ต้ังแตช วง 2,500 - 2,000 ป กอนคริสตศ กั ราช เรม่ิ จากสมัยราชวงศตา ง ๆ มาจนถงึ จีน ยคุ ใหมค อื ยคุ ปจจบุ นั ป ค.ศ. 2009 รวมมอี ายยุ าวนานถงึ 4,000 - 5,000 ป ประเทศจนี เปน ประเทศทใี่ หญที่สดุ ในภมู ิภาคเอเชยี ตะวันออก มปี ระชากรมากที่สุด ในโลก คือ มีประชากรกวา 1.3 พันลา นคน หรอื ประมาณหนึ่งในหา ของประชากรโลก โดย ประชากรสวนใหญเ ปนชาวจีนฮน่ั มพี นื้ ทีก่ วา งใหญม ขี นาดเปนอนั ดบั 3 ของโลก เปนรอง เพยี งรสั เซียและแคนาดา เปน ประเทศทีค่ ิดคนเขม็ ทิศ การผลิตกระดาษ ดนิ ปน ระบบการ พิมพ ระบบชลประทาน การกอ สรา งกาํ แพงเมอื งจนี และการขดุ คลองขนุ ถอื เปน โครงการ ดา นวศิ วกรรมอนั ยง่ิ ใหญแ ตโ บราณกาลที่มีมากวา 2000 ป ดวยเหตุนี้ ประเทศจีนจึงเปน สญั ลกั ษณข องความมงั่ คง่ั ทางศลิ ปะ วฒั นธรรมทช่ี าวจนี ไดผ า นประวตั ศิ าสตรร ปู แบบสงั คม แบบตา งๆ ทั้งสงั คมแบบยคุ มนษุ ยห นิ สงั คมทาส สังคมศกั ดนิ า สังคมก่งึ ศักดินา สงั คมกง่ึ เมืองขึน้ จนเขาสสู ังคมนยิ มในปจจบุ ัน

48 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) ประเทศจนี มีพรมแดนติดกบั 15 ประเทศ คือ เวียดนาม ลาว พมา อนิ เดยี ภูฏาน สิกขิม เนปาล ปากีสถาน อัฟกานิสถาน ทาจิกิสถาน คีรกีซสถาน คาซัคสถาน รัสเซีย มองโกเลีย และเกาหลีเหนือ ตงั้ แตก อ ตง้ั สาธารณรฐั เมอ่ื ป พ.ศ. 2492 ประเทศจนี อยภู ายใตก ารปกครองของพรรค คอมมวิ นสิ ตจ นี ประเทศจนี อา งอธปิ ไตยเหนอื เกาะไตห วนั เผงิ หู เอห มงึ และหมาจู แตไ มไ ด ปกครองโดยท่ีเกาะเหลานี้ปกครองโดยสาธารณรัฐจีน ซึ่งมีเมืองหลวงอยูท่ีกรุงไทเป ฐานะ ทางการเมืองของสาธารณรฐั จนี น้นั ยังเปน ที่โตแ ยงกันอยู คาํ วา “จนี แผน ดนิ ใหญ” ใชเ รยี กสว นของจนี ทอี่ ยภู ายใตก ารปกครองของสาธารณรฐั ประชาชนจนี (ยกเวนเขตบริหารพเิ ศษ 2 แหง คอื ฮองกง และมาเกา ) นิยมเรยี กสาธารณรัฐ ประชาชนจีนวา “จนี แดง” (Read Chaina) ปจจบุ ันประเทศสาธารณรัฐประชาชนจนี และ ประเทศญี่ปุนเปนมหาอํานาจในภูมิภาคเอเชีย มีเศรษฐกิจและกําลังทางทหารใหญท่ีสุดใน ภมู ิภาคเอเชยี ในดา นภาษาในการตดิ ตอ สอื่ สารนน้ั จนี ใชภ าษาจนี กลาง หรอื ภาษาธรรมดา เปน ภาษา ประจาํ ชาติ ซง่ึ เปน ภาษาหนง่ึ ในหา ภาษาทางการทใ่ี ชใ นองคก ารสหประชาชาติ ประเทศจนี มชี น เผา ตางๆ 56 ชนเผา ซึ่งสวนใหญจ ะมภี าษาประจําเผา ของตวั เอง ภาษากวางตงุ เปน หนึ่ง ในภาษาถน่ิ ทใ่ี ชพ ดู ในทางใตข องประเทศ สาํ หรบั ภาษาเขยี นนน้ั ภาษาจนี มมี ากวา 6000 ปแ ลว จากชนเผา ท้ังหมด 56 เผา มีชนเผาฮ่ัน เปนชนเผา ท่ใี หญท สี่ ุด มีจาํ นวนประชากร ถงึ 91.02 % ของประชากรทง้ั หมด ทเ่ี หลอื อกี 8.98 % เปน ชนกลมุ นอ ยซง่ึ ประกอบไปดว ย 55 เผา โดยทกุ ชนเผา มีสิทธเิ ทา เทียมกันภายใตกฎหมาย รากฐานทางอารยธรรมทส่ี าํ คญั ของจนี คอื การสรา งระบบภาษาเขยี น ในยคุ ราชวงศฉ นิ (ศตวรรษที่ 3 กอ น ค.ศ.) และการพฒั นาแนวคดิ ลทั ธขิ งจอ๊ื เมอ่ื ประมาณ ศตวรรษท่ี 2 กอ น

« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 49 ค.ศ. ประวตั ศิ าสตรจ นี มที ง้ั ชว งทเ่ี ปน ปก แผน และแตกเปน หลายอาณาจกั รสลบั กนั ไป ในบาง คร้งั ก็ถูกปกครองโดยชนชาติอื่น วัฒนธรรมของจีนมีอทิ ธพิ ลอยา งสงู ตอ ชาติอื่นๆ ในทวปี เอเชีย ซง่ึ ถายทอดดว ยการอพยพของประชากร การคา และการยดึ ครอง 1.2 ประวัตศิ าสตรส ังเขปของประเทศอนิ เดีย ประเทศอินเดีย หรอื มีชื่อเรียกอยางเปน ทางการวา สาธารณรัฐอินเดีย ตงั้ อยูใน ทวีปเอเชียใต เปนพ้ืนท่ีสวนใหญของอนุทวปี อนิ เดยี มีประชากรมากเปน อันดับที่สองของ โลก และเปนประเทศประชาธิปไตยที่มีประชากรมากที่สุดในโลก โดยมีประชากรมากกวา หนง่ึ พนั ลา นคน มภี าษาพดู ประมาณแปดรอ ยภาษา ในดานเศรษฐกจิ อินเดยี มอี ํานาจการซือ้ มากเปนอันดบั ทส่ี ข่ี องโลก โดย อาณาเขตทางทิศเหนอื ตดิ กับสาธารณรัฐประชาชนจนี เนปาล และภฏู าน ทศิ ตะวันตกเฉียงเหนอื ติดปากสี ถาน ทิศตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตดิ สาธารณรฐั แหงสหภาพพมา ทศิ ตะวนั ออกเฉียงใตและตะวนั ตกเฉียงใตจ รดมหาสมทุ รอนิ เดีย ทศิ ตะวนั ออกตดิ บงั กลาเทศ อนิ เดีย มีพน้ื ที่ 3,287,590 ตารางกิโลเมตร ซ่งึ ใหญกวาไทยประมาณ 6 เทา ประวตั ศิ าสตรอ นิ เดยี เรม่ิ ตน เมอ่ื 3,000 ปก อ นครสิ ตกาล หลกั ฐานทางโบราณคดี ท่ี พบในแควนปญจาบและแควนคุชราตของอินเดียบงบอกถึงความรงุ เรืองของสังคมเมืองและ อารยธรรมกลมุ นาํ้ สนิ ธใุ นยคุ สมยั นน้ั ในศตวรรษท่ี 6 กอ นครสิ ตศกั ราช ชนเผา อนิ โด-อารยนั ท่ีปกครองอินเดียอยูในขณะนั้น ไดต้ังอาณาจักรที่ปกครองโดยกษัตริยนักรบขึ้นเปน ผปู กครองดนิ แดนทร่ี าบลมุ แมน าํ้ คงคา (Gangaplain) มชี นเผา ตา งๆ เปน บรวิ ารอยรู อบๆ ตอมามีการตอตานความมีอํานาจของพวกพราหมณท่ีมีอิทธิพลตอชีวิตความเปนอยูของ ชาวอนิ เดยี สว นใหญพ วกทไ่ี มเ หน็ ดว ยตา งพากนั แสวงหาศาสดาใหม เปน บอ เกดิ ของศาสนา ใหมๆ ความเชอ่ื ใหมๆ ขน้ึ จงึ ทาํ ใหเ กดิ ศาสนาสาํ คญั ขน้ึ 2 ศาสนา คอื ศาสนาพทุ ธ (Buddhism) กบั ศาสนาเชน (Jainism) ในขณะท่ีศาสนาฮินดรู ุงเรืองและมอี ิทธิพลอยางมากอยูในอินเดีย พวกมคธ (Magodh) มอี ํานาจปกครองอยใู นแถบท่ีราบตอนเหนอื พระเจา จนั ทรคุปตแ หง ราชวงคโมริยะ (Chandragupta Maurya) เปนกษัตริยองคสําคัญในประวัติศาสตรของ อนิ เดยี พระเจา จนั ทรคปุ ตท รงตง้ั เมอื งปาฏะลบี ตุ ร (Pataliputra) เปน เมอื งหลวงของอนิ เดยี ซึ่งกลาวกนั วาเมอื งปาฏะลบี ตุ รเปน เมอื งใหญทีส่ ุดของโลกในเวลานั้น ตอมาพระเจาจันทรคุปตหันไปนับถือศาสนาเชนและบําเพ็ญทุกขรกิริยา ดวยการอด อาหารตามความเชื่อของศาสนาเชนจนกระท่ังส้ินพระชนม จากน้ันราชวงคโมริยะซึ่งเจริญ รงุ เรอื งมากทสี่ ดุ ในยคุ สมยั ของพระเจา อโศกมหาราช ผแู ผอ ทิ ธพิ ลและขยายอาณาจกั รอนิ เดยี ออกไปไกลจนทศิ เหนือจรดแควนกศั มรี ห รือแคชเมียร (Kashmir) ดานทศิ ใตจรดไมเซอร (Mysore) ทศิ ตะวนั ออกจรดโอรสิ สา(Orissa) เมอ่ื ขน้ึ ครองราชยใ หมๆ พระเจา อโศกมหาราช ทรงใชวิธีปราบปรามผูตอตานพระองคอยางโหดเห้ียม ทรงขยายอาณาจักรดวยกองทัพที่

50 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) เกรียงไกร เขนฆาผูคนลมตายเปนใบไมรวง แตภายหลังเม่ือพระเจาอโศกมหาราชหันมา นับถือพุทธศาสนา ทรงเปล่ียนวิธีการขยายอาณาจักรดวยกองทัพธรรมเผยแผศาสนาพุทธ โดยสงสมณทูตไปทั่วโลก โดยเฉพาะประเทศในเอเชีย และประเทศไทยนับเปนอีกประเทศ หนง่ึ ทไี่ ดรบั อิทธิพลพุทธศาสนาเขา มาเผยแผอยา งกวางขวาง ตอมาไดมีการรวมพลังกันตอสูเพ่ืออิสรภาพของอินเดีย มีการต้ังพรรคการเมืองช่ือ พรรค National Congress ขน้ึ จดุ ประสงคม ไิ ดเ ลน การเมอื ง แตม งุ ไปทก่ี ารหาทางปลดปลอ ย อนิ เดยี ใหเ ปน เอกราช มีการรณรงคใ หค วามรแู ละปลุกระดมความเปน ชาตนิ ิยมขน้ึ ในอนิ เดยี นําโดยมหาบุรุษคนสําคัญของอินเดีย คือ ทานโมหันทาสการามจัน คานธี (Mohandas Karamchand Gandhi) ซง่ึ ชาวอนิ เดยี เรยี กดว ยความยกยอ งวา “มหาตมะ” (Mahatama แปลวา Great Soul) ผใู ชว ธิ อี หงิ สา (nonviolence) ตอ สกู บั ผปู กครององั กฤษอยา งเงยี บๆ มหาตมะ คานธี เปน ผูนาํ ชาวอินเดยี ทงั้ ประเทศทําการประทว งอยางสนั ติในป ค.ศ. 1922 และไดนาํ ชาวอนิ เดียตอ ตานกฎหมายเรยี กเก็บภาษเี กลอื ของอังกฤษในป ค.ศ. 1930 และ เดนิ ขบวนครง้ั ใหญเ รยี กรอ งใหอ งั กฤษปลดปลอ ยอนิ เดยี ในป ค.ศ. 1942 มกี ารกอ การจลาจล กลางเมอื งจนถงึ ขัน้ นองเลอื ดเกิดขน้ึ ในหลายเมอื งของอินเดีย เหตุการณเหลานี้บีบบังคับใหอังกฤษตองทําความตกลงยอมยกอํานาจการปกครอง ประเทศใหอ ินเดีย ในวันท่ี 15 สงิ หาคม ค.ศ. 1947 ซ่งึ ชาวอินเดยี ถือวา เปน วนั ประกาศ อสิ รภาพ และวนั หยดุ ราชการของประเทศดว ย ในป ค.ศ. 1947 อนิ เดยี ไดเ อกราชจากองั กฤษ แตอ นิ เดยี ตอ งแบง ประเทศออกเปน 2 ประเทศ คอื อนิ เดยี ทม่ี ปี ระชากรสว นใหญเ ปน ประเทศ สาธารณรัฐอินเดีย อินเดียสวนนอยที่มีประชาชนเปนมุสลิมแยกตัวไปต้ังประเทศใหมเปน รฐั อิสลามช่อื ปากีสถาน ประชากรอนิ เดยี มีประมาณ 1,000 ลานคน โดยมีเชอ้ื ชาตอิ ินโด-อารยนั รอ ยละ 72 ดราวเิ ดยี น รอ ยละ 25 มองโกลอยด รอ ยละ 2 และอน่ื ๆ รอ ยละ 1 อตั ราการเพม่ิ ของประชากร รอ ยละ 1.8 พ.ศ. 2542 (ค.ศ. 1999) และอตั ราการรหู นงั สอื รอ ยละ 52.1 ประชากรกวา 1,000 ลา นคนเหลา นี้ มคี วามแตกตา งทางดา นชาตพิ นั ธุ และวฒั นธรรม มีภาษาหลักใชพูดถึง 16 ภาษา เชน ภาษาฮินดี ภาษาอังกฤษ ภาษาเบงกาลี ภาษาอูรดู เปนตน และมีภาษาถนิ่ มากกวา 100 ภาษา ภาษาฮินดี ถอื วา เปนภาษาประจาํ ชาติ เพราะคน อินเดยี กวา รอ ยละ 30 ใชภาษานี้ คนอินเดียทอี่ าศัยอยูรัฐทางตอนเหนือและรัฐทางตอนใต นอกจากจะใชภ าษาทแ่ี ตกตา งกนั แลว การแตง กาย การรบั ประทานอาหารกแ็ ตกตา งกนั ออก ไปดว ย 1.3 ประวตั ศิ าสตรส ังเขปของสาธารณรฐั ประชาธิปไตยประชาชนลาว ลาวหรือสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว เปนประเทศหนึ่งท่สี บื เชือ้ สาย บรรพบรุ ษุ เดยี วกบั ชาวไทย แตล าวประกอบดว ยชนกลมุ นอ ยมากมายหลายเผา ลาวแทๆ มี เพยี ง 50 เปอรเ ซน็ ตเ ทา นนั้ ซงึ่ สว นใหญอ าศยั อยรู มิ นาํ้ โขงบนทรี่ าบ สว นชาวเขานยิ มอยบู น เทอื กเขา

« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 51 ตามหลักฐานทางประวตั ิศาสตรเ มอื่ ประมาณ 4,000 - 5,000 ปก อ น กลุม ชนที่พดู ภาษาไต ไดอพยพเขามาอยูในประเทศลาวและที่ราบสูงในภาคอีสาน รวมถึงพวกไท-กะได มง -เม่ยี นทเ่ี ปนบรรพบุรุษของชาวลาวลมุ และพวกมง-เยาท่ีอพยพจากตอนใตของประเทศ จีน แรกเริ่มกลุมชนเหลานี้ไมมีการตั้งหลักแหลงที่แนนอน ตอมาเม่ือชนเผาตางๆ ท้ังไท พมา และเวยี ดนามอพยพลงมาในเขตเทอื กเขาและหบุ เขาของดนิ แดนเอเชยี อาคเนย ซง่ึ เปน ถนิ่ ทอ่ี ยขู องชนชาตมิ อญ-เขมร ความจาํ เปน ในการสรา งบา นเรอื นกเ็ รม่ิ มขี นึ้ จนพฒั นาตอ มา เปนเมืองเกษตรกรรม และตั้งถ่ินฐานอยูบริเวณหุบเขาและที่ราบลุมภายใตอํานาจของ อาณาจักรเขมร ตอ มาในป พ.ศ.1896 พระเจา ฟา งมุ ทรงทาํ สงครามตเี อานครเวยี งจนั ทน หลวงพระบาง หวั เมอื งพวนทง้ั หมด ตลอดจนหวั เมอื งอกี หลายแหง ในทร่ี าบสงู โคราชเขา รวมเปน อาณาจกั ร เดียวกันภายใตการชวยเหลือของกษัตริยเขมร กอตั้งเปนอาณาจักรลานชางข้ึนบนดินแดน ที่ตั้งอยูกึ่งกลางระหวางลมุ แมน าํ้ โขงกบั เทอื กเขาอนั หนาํ มศี นู ยก ลางอยทู เ่ี มอื งเชยี งดง-เชยี ง ทอง เปน อาณาจกั รทร่ี งุ เรอื งในทกุ ดา น หลังจากสถาปนาเมอื งเชียงดง-เชยี งทองแลว พระเจา ฟา งมุ ทรงรบั พทุ ธศาสนาลทั ธลิ งั กาวงศ จากราชสาํ นกั เขมรมาเปน ศาสนาประจาํ ชาติ และได อัญเชิญพระบางเปน พระพทุ ธรูปศิลปะสงิ หลจากราชสํานักเขมรมายงั ลานชาง เจา ฟา งุม ทรง เปลย่ี นชือ่ เปน “เมืองหลวงพระบาง” เมอ่ื พระเจา ฟา งมุ สน้ิ พระชนม พระยาสามแสนไทไตรภวู นาถ โอรสของพระเจา ฟา งมุ ได ขน้ึ ครองราชยอ าณาจกั รลา นชา งเรม่ิ เสอ่ื มลง เพราะสงครามแยง ชงิ อาํ นาจและเกดิ กบฏตา งๆ นานนับรอ ยป จนถงึ พ.ศ. 2063 พระโพธิสารราชเจา ขน้ึ ครองราชย และรวบรวมแผน ดิน ขนึ้ ใหมใ หเ ปน ปก แผน และใหย า ยเมอื งหลวงของอาณาจกั รลา นชา งไปอยทู เ่ี มอื งเวยี งจนั ทน เพื่อใหไ กลจากการรุกรานของสยาม และสรา งความเจริญใหก บั อาณาจักรลา นชา งเปน อยา ง มากและทรงมีสายพระเนตรยาวไกล ทรงโปรดใหพระเจาไชยเชษฐาธิราชพระราชโอรสไป ครองอาณาจักรลานนา เพ่ือเปนการคานอํานาจพมา ครั้นเมื่อพระเจาโพธิสารราชเจาเสด็จ สวรรคต พระเจา ไชยเชษฐาธิราชเสดจ็ กลบั มาลานชา ง และทรงอญั เชญิ พระแกว มรกตจาก เชยี งใหมไ ปยงั เวยี งจนั ทน ในรชั สมยั ของพระองคพ ระพทุ ธศาสนาทรงมคี วามเจรญิ รงุ เรอื งมาก ทรงสรา งวดั พระธาตหุ ลวง หรอื ทเ่ี รยี กวา “พระธาตเุ จดยี โ ลกจฬุ ามณ”ี และสรา งวดั พระแกว ข้ึน เพ่อื ประดิษฐานพระแกว มรกต หลังแผนดินพระเจาไชยเชษฐาธิราช อาณาจักรลานชางมีกษัตริยปกครองสืบตอกัน มาหลายรชั กาล เจรญิ สงู สดุ ในรชั กาลพระเจา สรุ ยิ วงศาธรรมกิ ราช ถอื วา เปน ยคุ ทองแหง อาณาจกั ร ลา นชา ง พระองคท รงเปน กษตั รยิ ท ตี่ ง้ั มน่ั อยใู นทศพธิ ราชธรรมและเปน ทนี่ บั ถอื ของประชาชน หลังสมเด็จ พระเจาสุริยวงศาธรรมิกราชสวรรคตแลว ลานชางแตกออกเปน 3 อาณาจักร คอื อาณาจักรลา นชา ง หลวงพระบาง อาณาจักรลานชา งเวยี งจันทน และอาณาจักรลานชา ง จาํ ปาศกั ดิ์ โดยตกอยูภายใตการ ยดึ ครองของประเทศเพือ่ นบาน รวมทง้ั จีน เวยี ดนาม และ สยาม กองทัพสยามพิชิตหัวเมืองลาวตอนเหนือลงได จึงไดผนวกหลวงพระบางเขาเปน

52 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) ดนิ แดนสว นหนง่ึ ของตน ราชวงศเ หวยี นของเวยี ดนามแผอ าํ นาจยดึ ครองลาวทางตอนกลาง ของแมน า้ํ โขงรอบ ๆ นครเวยี งจนั ทน จนถงึ พ.ศ. 2322 กองทัพสยามเขายึดครองแผนดนิ ลา นชา งท่ีแตกแยกออกเปน 3 อาณาจักรไดท ง้ั หมด ครน้ั ถึงป พ.ศ. 2365 เจาอนวุ งศ แหง เวียงจันทนวางแผนกอกบฏเพ่ือกอบกูเอกราช แตไมสําเร็จถูกตัดสินโทษประหารชีวิต กองทพั สยามในรชั กาลท่ี 3 ยกมาตนี ครเวยี งจนั ทนไ ดร อื้ ทาํ ลายกาํ แพงเมอื ง เอาไฟเผาราบ ท้งั เมอื ง ทรพั ยส นิ ถกู ปลน สะดม ผคู นถกู กวาดตอ น วดั ในนครเวยี งจนั ทนเ หลอื อยเู พยี งวดั เดยี วทไ่ี มถ กู ไฟไหม คอื วดั สสี ะเกด อาจมีสาเหตุสําคัญจากสถาปตยกรรมของวัดสีสะเกด แหงนสี้ รางตามแบบอยา งของสถาปต ยกรรมไทยในสมยั รัตนโกสินทรตอนตน ตอ มาในป พ.ศ. 2428 พวกจนี ฮอ จากมณฑลยนู นาน ยกทพั มารกุ รานลาวและตเี มอื ง ตางๆ ไลจากทางตอนเหนือไลมาถึงนครเวียงจันทนตอนใต รัชกาลท่ี 5 ทรงแตงตั้งให กรมหมื่นประจักษศิลปาคม เปนขาหลวงใหญมาประจําอยูหัวเมืองลาวฝายเหนือ และ ยกกองทัพขามแมนํ้าโขงมาตีฮอที่เวียงจันทน พวกจีนฮอพายแพหนีขึ้นไปเชียงขวาง ไทย ตามตีจนถงึ เมอื งเชียงขวาง จนพวกฮอแตกพา ยไปหมด จนถึงป พ.ศ. 2436 ไทยตอ งเสยี ดินแดนแถบฝงซา ยของแมนํา้ โขงใหแกฝ ร่ังเศส หลังจากที่ไดป กครองลาวมาถงึ 114 ป เม่ือมหาอํานาจตะวันตกเร่ิมแผนอิทธิพลเขาสูอินโดจีน ฝร่ังเศสไดใชสนธิสัญญา ท่ี ไมเปนธรรมบีบสยามใหยกดินแดนฝงซายของแมน้ําโขงทั้งหมดใหกับตน (ประเทศลาวใน ปจจุบัน) ฝรั่งเศสปกครองลาวแตละแขวงโดยมีคนฝร่ังเศสเปนเจาแขวงหรือขาหลวง คอย ควบคุมเจาเมืองท่ีเปนคนลาวอีกตอหนึ่ง ซ่ึงตองเก็บสวยตัวเลขจากชายฉกรรจใหขาหลวง ฝรง่ั เศส ตลอดเวลาทล่ี าวตกเปน เมอื งขน้ึ นน้ั ฝรงั่ เศสไมร กั ษาโบราณสถาน โบราณวตั ถุ โดย รอื้ สรา งเปน ถนนไมไ ดส นใจกบั ประเทศลาวเทา ไรนกั เพราะถอื วา เปน ดนิ แดนบา นปา ลา หลงั ไมมีคาในเชิงเศรษฐกิจ ตอมาในสงครามโลกครั้งท่ีสอง เยอรมันนีมีชัยเหนือประเทศฝร่ังเศสและกอตั้งคณะ รัฐบาลขึ้นทเ่ี มืองวซิ ี คณะขา หลวงฝรั่งเศสในอินโดจีนใหก ารหนนุ หลงั รฐั บาลวซิ ี และตกลง เปนพันธมิตรกับญ่ีปุน คร้ันถึงป พ.ศ. 2484 รัฐบาลภายใตการนําของพลตรีหลวงพิบูล สงครามเริ่มดําเนินการตอตานอํานาจของฝรั่งเศสท่ีเริ่มเส่ือมถอย ดวยการยึดแขวงไชยบุรี และจําปาศกั ด์ิกลับคืนมา ญ่ีปุนยใุ หลาวประกาศเอกราช แตก องทัพฝรัง่ เศสก็ยอนกลบั คืน มาอีกคร้งั หลงั สงครามยตุ ไิ ดไ มน าน ลาวหนั มาปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธริ าช โดยมี รัฐธรรมนญู เปน กฎหมายสูงสดุ ภายใตก ารควบคมุ ดูแลของฝรัง่ เศส พ.ศ. 2492 สหรัฐอเมริกาและสหราชอาณาจักรฯ (อังกฤษ) ขบวนการลาวอิสระ ลม สลาย แนวรกั รว มชาตไิ ดพ ฒั นาเปน ขบวนการคอมมวิ นสิ ตป ระเทศลาว ในเวลาตอ มาโดย ไดรบั การสนับสนุนจากโฮจมิ นิ หแ ละพรรคคอมมวิ นสิ ตของเวียดนาม พ.ศ. 2495 ลาวในหัวเมืองดานตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มกอการจลาจลตอตานการ ปกครองของฝรั่งเศสภายใตก ารสนับสนนุ จากรัฐบาลกรงุ ฮานอย เมอ่ื ฝรง่ั เศสแพส งครามทคี่ า ยเดยี นเบยี นฟู ลาวจงึ ไดร บั เอกราชอยา งสมบรู ณ ฝรงั่ เศส

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 53 ถอนกาํ ลงั ออกจากประเทศลาวซงึ่ แตกแยกออกเปน 2 ฝา ย คอื ฝา ยสนบั สนนุ ระบบกษตั รยิ  ในเวยี งจันทน (ฝายขวา) กบั ฝา ยขบวนการประเทศลาว (ฝา ยซา ย) พ.ศ. 2498 ลาวไดร บั การยอมรบั ใหเขา เปนสมาชกิ ขององคการสหประชาชาติ พ.ศ. 2500 เจาสวุ รรณภมู า ขนึ้ ดาํ รงตาํ แหนง นายกรัฐมนตรเี ปน ผนู ํารฐั บาลผสมใน นครเวยี งจันทน พ.ศ. 2506 รฐั บาลคอมมวิ นสิ ตเ วยี ดนามหนั มาใชเ สน ทางโฮจมิ นิ หใ นภาคตะวันออก ของลาว เปนเสนทางหลักในการสงกําลังพลไปปราบปรามพวกตอตานคอมมิวนิสตใน เวียดนามใต กองกําลังอเมริกันเร่ิมเขามาปฏิบัติการลับในลาว พ.ศ. 2516 สหรัฐอเมริกา ถอนตัวออกจากสงครามเวยี ดนาม “การทาํ สงครามหลังฉาก” ในประเทศลาวจึงตอ งเลกิ รา ไปดวย พ.ศ. 2518 หลังจากรัฐบาลคอมมิวนิสตมีชัยเหนือเวียดนามท้ังประเทศไดไมนาน โดยยดึ กรงุ พนมเปญเปน แหง แรก ตอ มาไดไ ซง อ น ขบวนการประเทศลาวยดึ อาํ นาจไดท งั้ หมด ในเดือนธันวาคม เจามหาชีวิตศรีสวางวัฒนาถูกปลดออกจากราชบัลลังก ตามมาดวยการ สถาปนาประเทศใหมช อ่ื วา “สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว” หรือ สปป.ลาว เมื่อ วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2518 ระยะ 5 ป หลังการเปล่ียนแปลงการปกครอง ลาวใชนโยบายคอมมิวนิสตปกครอง อยางเขมงวด ควบคุมพุทธศาสนา ตัดสัมพันธกับประเทศไทย ปราบปรามชนกลุมนอย ราษฎรหลายหมนื่ คนถกู จบั สง ผลใหป ญ ญาชนและชนชนั้ กลางจาํ นวนมากหลบหนอี อกนอก ประเทศ เจาสวา งวฒั นาและพระญาติวงศส ้นิ พระชนมอ ยูใ นคา ยกกั กนั ชาวบา นยากจนลง พ.ศ. 2535 นายไกสอน พรหมวหิ าร ประธานประเทศผเู ชอื่ มนั่ ในระบอบคอมมวิ นสิ ต ถึงแกอสัญกรรม นายหนูฮัก พูมสะหวัน ขึ้นดํารงตําแหนงแทน การจํากัดเสรีภาพคอยๆ ถกู ยกเลกิ ไป ชาวลาวทอี่ พยพไปอยตู า งประเทศไดร บั การเชอ้ื เชญิ ใหก ลบั คนื สบู า นเกดิ เมอื ง นอน ลาวเร่ิมเปดประเทศตอ นรบั นกั ทองเทย่ี วและฟน ฟคู วามสัมพนั ธก บั ประเทศไทย พ.ศ. 2537 มพี ิธเี ปด “สะพานมิตรภาพ” ขา มแมน ํ้าโขงเช่อื มลาว-ไทย เขาดวยกนั สง ผลใหไ ทยมอี ทิ ธพิ ลตอ ลาวมากขน้ึ ทงั้ ในดา นวฒั นธรรมและเศรษฐกจิ และการทป่ี ระธาน หนูฮัก พูมสะหวนั เดินทางมาเยือนไทยอยางเปนทางการและไดเขาเฝาพระบาทสมเด็จ พระเจา อยหู วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ การปฏริ ปู เหลา นี้ ทาํ ใหล าวไดร บั การยอมรบั เขา เปน สมาชกิ อาเซียนในป พ.ศ. 2540 พ.ศ. 2548 ลาวครบรอบ 30 ป การสถาปนาประเทศใหมเ ปน สาธารณรฐั ประชาธปิ ไตย ประชาชนลาว (สปป.ลาว) และในปเ ดียวกนั น้เี อง สะพานมติ รภาพไทย - ลาว ก็ไดเ ปดใช อกี เปนแหง ทีส่ องทจ่ี ังหวัดเลย

54 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) 1.4 ประวัตศิ าสตรส ังเขปของประเทศพมา หรอื สาธารณรัฐแหง สหภาพเมียนมาร ประวตั ศิ าสตรข องพมา นัน้ ยาวนาน มีประชาชนหลายเผา พนั ธเุ คยอาศยั อยใู นดนิ แดน แหง น้ี เผา พนั ธเุ กา แกท ส่ี ดุ ทป่ี รากฏไดแ ก มอญ ตอ มาราวศตวรรษท่ี 13 ชาวพมาไดอ พยพ ลงมาจากบริเวณพรมแดนระหวางจีนและทิเบต เขาสูท่ีราบลุมแมนํ้าอิระวดี และกลายเปน ชนเผา สวนใหญทป่ี กครองประเทศในเวลาตอ มา ประวัติศาสตรของสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา มีความเกี่ยวของกับชนชาติตางๆ หลายเช้ือชาติ ไดแ ก มอญ พยู รวมถึงมีการเก่ยี วพันธก บั อาณาจกั รและราชวงศต างๆ เชน มอญ เปน ชนเผา แรกทส่ี ามารถสรา งอารยธรรมขนึ้ เปน เอกลกั ษณข องตนได กค็ อื ชาว มอญไดอ พยพเขา มาอาศยั อยใู นดนิ แดนแหง นเ้ี มอื่ ราว 2400 ปก อ นพทุ ธกาล และไดส ถาปนา อาณาจกั รสุวรรณภูมิ อนั เปน อาณาจักรแหง แรกขึ้นในราวพุทธศตวรรษท่ี 2 ณ บริเวณใกล เมืองทาตอน (Thaton) ชาวมอญไดรับอิทธิพลของศาสนาพุทธผานทางอินเดียในราว พุทธศตวรรษท่ี 2 ซึ่งเชอื่ วามาจากการเผยแพรพ ระพุทธศาสนาในรัชสมัยของพระเจาอโศก มหาราช บนั ทกึ ของชาวมอญสว นใหญถ กู ทาํ ลายในระหวา งสงคราม วฒั นธรรมของชาวมอญ เกิดข้ึนจากการผสมเอาวัฒนธรรมจากอินเดีย จึงเปนเอกลักษณของตนเองจนกลายเปน วัฒนธรรมลักษณะลูกผสม ในราวพุทธศตวรรษที่ 14 ชาวมอญไดเขาครอบครองและมี อิทธพิ ลในดนิ แดนตอนใตข องพมา และไดเ กิดอาณาจักรใหมข้ึน เรยี กวา อาณาจกั รสุธรรม วดี ท่ีเมืองพะโค (หงสาวดี) ปยุ : พยู : เพยี ว ชาวปยหุ รอื พยหู รอื เพยี ว คอื กลมุ ทเี่ ขา มาอาศยั อยใู นดนิ แดนประเทศสาธารณรฐั แหง สหภาพพมาต้ังแตพุทธศตวรรษที่ 4 และไดสถาปนานครรัฐข้ึนหลายแหง เชนท่ี พินนาคา (Binnaka) มองกะโม (Mongamo) ศรีเกษตร (Sri Ksetra) เปยทะโนมโย

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 55 (Peikthanomyo) และหะลินยี (Halingyi) ในชว งเวลาดังกลาว ดินแดนพมาเปนสว นหนง่ึ ของเสนทางการคา ระหวางจนี และอินเดยี จากเอกสารของจีนพบวามีเมอื งอยภู ายใตอ ํานาจ ปกครองของชาวพยู 18 เมือง และชาวพยูเปนชนเผาที่รักสงบ ไมปรากฏวามีสงคราม เกดิ ขน้ึ ระหวา งชนเผา พยู ขอ ขดั แยง มกั ยตุ ดิ ว ยการคดั เลอื กตวั แทนใหเ ขา ประลองความสามารถ กนั ชาวพยูสวมใสเคร่ืองแตงกายที่ทําจากฝาย อาชญากรมักถูกลงโทษดวยการโบยหรือ จาํ ขัง เวนแตไดก ระทําความผดิ อันรายแรงจงึ ตองโทษประหารชวี ติ ชาวพยนู บั ถอื พระพุทธ ศาสนานิกายเถรวาท เด็กๆ ไดร บั การศกึ ษาทีว่ ัดตง้ั แตอ ายุ 7 ขวบจนถึง 20 ป นครรัฐของชาวพยูุไมเคยรวมตัวเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน แตนครรัฐขนาดใหญมักมี อิทธิพลเหนือนครรัฐขนาดเล็ก ซึ่งแสดงออกโดยการสงเคร่ืองบรรณาการใหนครรัฐท่ีมี อทิ ธพิ ลมากที่สุด ไดแ ก ศรเี กษตร ซึ่งมหี ลกั ฐานเชอ่ื ไดว า เปนเมืองโบราณทม่ี ขี นาดใหญ ท่ีสุดในสาธารณรัฐแหงสหภาพพมา ไมปรากฏหลักฐานวาอาณาจักรศรีเกษตรถูกสถาปนา ข้ึนเม่ือใด แตมีการกลาวถึงในพงศาวดารวามีการเปลี่ยนราชวงศเกิดข้ึนในปพุทธศักราช 637 ซึ่งแสดงใหเ หน็ วา อาณาจักรศรเี กษตรตอ งไดรับการสถาปนาขึ้นกอ นหนา นั้น มีความ ชัดเจนวา อาณาจักรศรีเกษตรถูกละทิ้งไปในปพุทธศักราช 1199 เพ่ืออพยพยายข้ึนไป สถาปนาเมืองหลวงใหมทางตอนเหนือ แตยังไมทราบอยางแนชัดวาเมืองดังกลาวคือเมือง ใด นักประวัติศาสตรบางทานเชื่อวาเมืองดังกลาวคือเมืองหะลินคยี อยางไรก็ตามเมืองดัง กลาวถูกรุกรานจากอาณาจักรนานเจาในราวพุทธศตวรรษที่ 15 จากนั้นก็ไมปรากฏ หลกั ฐานกลาวถงึ ชาวพยอู กี เลย อาณาจักรพุกาม ชาวพมาเปนชนเผาจากทางตอนเหนือท่ีคอยๆ อพยพแทรกซึมเขามาสั่งสม อทิ ธิพลในดนิ แดนสาธารณรัฐแหง สหภาพพมาทีละนอ ย กระท่งั ปพุทธศกั ราช 1392 จึงมี หลกั ฐานถงึ อาณาจกั รอนั ทรงอาํ นาจ ซง่ึ มศี นู ยก ลางอยทู เ่ี มอื ง “พกุ าม” (Bagan) โดยไดเ ขา มาแทนที่ภาวะสูญญากาศทางอํานาจภายหลังจากการเส่ือมสลายไปของอาณาจักรชาวพยู อาณาจกั รของชาวพกุ ามแตแ รกนน้ั มไิ ดเ ตบิ โตขนึ้ อยา งเปน อนั หนง่ึ อนั เดยี วกนั กระทงั่ ในรชั สมยั ของพระเจา อโนรธา (พ.ศ. 1587 - 1620) พระองคจ ึงสามารถรวบรวมแผน ดินพมา ให เปนอันหนึ่งอันเดียวกันสําเร็จ และเม่ือพระองคทรงตีเมืองทาตอนของชาวมอญไดในป พุทธศักราช 1600 อาณาจักรพุกามก็กลายเปนอาณาจักรที่เขมแข็งที่สุดในดินแดนพมา อาณาจกั รพกุ าม มคี วามเขม แขง็ เพ่ิมมากข้นึ ในรัชสมยั ของพระเจา กยนั สทิ ธา (พ.ศ. 1624 - 1655) พระเจา อลองสทิ ธู (พ.ศ. 1655 - 1710) ทําใหใ นชวงปลายพทุ ธศตวรรษที่ 17 ดินแดนในสุวรรณภูมิเกือบท้ังหมดถูกครอบครองโดยอาณาจักรเพียงสองแหง คือ เขมร (เมอื งพระนคร) และพุกาม อํานาจของอาณาจกั รพกุ ามคอย ๆ เส่ือมลง ดวยเหตผุ ลหลักสองประการ สว นหน่ึง จากการถกู เขา ครอบงาํ โดยคณะสงฆผ มู อี าํ นาจ และอกี สว นหนง่ึ จากการรกุ รานของจกั รวรรดิ มองโกล ท่ีเขามาทางตอนเหนือ พระเจา นราธหิ บดี (ครองราชย พ.ศ. 1779 - 1830) ได

56 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) ทรงนําทัพสูยูนนานเพื่อยับย้ังการขยายอํานาจของมองโกล แตเม่ือพระองคแพสงคราม ในปพ ทุ ธศกั ราช 1820 ทพั ของอาณาจกั รพกุ ามกร็ ะสาํ่ ระสายเกอื บทง้ั หมด พระเจา นราธหิ บดี ถูกพระราชโอรสปลงพระชนมในปพุทธศักราช 1830 กลายเปนตัวเรงที่ทําใหอาณาจักร มองโกลตัดสินใจรกุ รานอาณาจกั รพกุ ามในปเดยี วกนั น้ัน ภายหลังสงครามคร้งั น้ี อาณาจักร มองโกลก็สามารถเขาครอบครองดินแดนของอาณาจักรพุกามไดท้ังหมด ราชวงศพุกาม สน้ิ สุดลงเม่อื มองโกลไดแ ตงต้งั รัฐบาลหุนขึน้ บริหารดินแดนพมา ในปพุทธศกั ราช 1832 อังวะและหงสาวดี หลังจากการลมสลายของอาณาจักรพุกาม พมาไดแตกแยกออกจากกันอีกครั้ง ราชวงศอ ังวะ ซึง่ ไดรบั อทิ ธพิ ลทางวฒั นธรรมจากอาณาจักรพุกามไดถ กู สถาปนาขน้ึ ที่เมือง อังวะในปพ ทุ ธศกั ราช 1907 ศลิ ปะและวรรณกรรมของพกุ ามไดถกู ฟน ฟจู นยคุ นี้กลายเปน ยคุ ทองแหง วรรณกรรมของพมา แตเ นอ่ื งดว ยอาณาเขตทย่ี ากตอ การปอ งกนั การรกุ รานจาก ศตั รู เมืองอังวะจงึ ถกู ชาวไทใหญเขา ครอบครองไดในปพ ุทธศักราช 2070 สําหรับดินแดนทางใต ชาวมอญไดสถาปนาอาณาจักรของพวกตนข้ึนใหมอีกคร้ังท่ี เมืองหงสาวดี โดยกษัตริยธรรมเจดีย (ครองราชย พ.ศ. 1970 - 2035) เปนจุดเร่ิมตน ยุคทองของมอญ ซงึ่ เปน ศนู ยกลางของพทุ ธศาสนานกิ ายเถรวาทและศูนยกลางทางการคา ขนาดใหญในเวลาตอ มา อาณาจักรตองอู หลังจากอาณาจักรพุกามถูกรุกรานจากไทใหญ ชาวอังวะไดอพยพลงมาสถาปนา อาณาจักรแหงใหม โดยมีศูนยกลางท่ีเมืองตองอูภายใตการนําของพระเจามิงคยินโย ในป พุทธศกั ราช 2074 พระเจาตะเบงชะเวตี้ (ครองราชย พ.ศ. 2074 - 2093) ซงึ่ สามารถ รวบรวมพมาเกอื บท้งั หมดใหเ ปนอันหน่ึงอันเดยี วกันไดอกี ครง้ั ในชวงระยะเวลาน้ี ไดมีการเปล่ียนแปลงขนาดใหญเกิดขึ้นในภูมิภาค ชาวไทใหญมี กําลังเขมแข็งเปนอยางมากทางตอนเหนือ การเมืองภายในอาณาจักรอยุธยาเกิดความไม ม่ันคง ในขณะท่ีโปรตุเกสไดเร่ิมมีอิทธิพลในเอเชียตะวันออกเฉียงใตและสามารถเขาครอบ ครองมะละกาได เกี่ยวกับการเขามาของบรรดาพอคาชาวยุโรป พมากลายเปนศูนยกลาง ทางการคาที่สําคัญอีกครั้งหน่ึง การท่ีพระเจาตะเบงชะเวต้ีไดยายเมืองหลวงมาอยูที่เมือง หงสาวดี เหตุผลสวนหน่ึงก็เน่ืองดวยทําเลทางการคา พระเจาบุเรงนอง (ทรงครองราชย พ.ศ. 2094 - 2124) ซง่ึ เปนพระเทวัน (พี่เขย) ของพระเจาตะเบงชะเวต้ี ไดข นึ้ ครองราชย สบื ตอ จากพระเจา ตะเบงชะเวต้ี และสามารถเขา ครอบครองอาณาจกั รตา งๆ รายรอบได อาทิ มณีปุระ (พ.ศ. 2103) อยุธยา (พ.ศ. 2112) การทําสงครามของพระองคทําใหพมามี อาณาเขตกวา งใหญไ พศาลที่สดุ อยา งไรกต็ าม ทง้ั มณปี ุระและอยธุ ยาตา งกส็ ามารถประกาศ ตนเปน อสิ ระไดภายในเวลาตอมาไมนาน เม่ือตองเผชิญกับการกอกบฏจากเมืองข้ึนหลายแหง ประกอบกับการรุกรานของ โปรตเุ กส กษตั รยิ แ หง ราชวงศต องอจู าํ เปน ตอ งถอนตวั จากการครอบครองดนิ แดนทางตอน

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 57 ใต โดยยา ยเมืองหลวงไปอยูท่ีเมอื งองั วะ พระเจาอะนอกะเพตลุน (Anaukpetlun) พระนัน ดาของพระเจาบุเรงนอง สามารถรวบรวมแผนดินพมาใหเปนอันหน่งึ อนั เดยี วกนั อกี ครง้ั ใน พุทธศกั ราช 2156 พระองคต ัดสนิ ใจ ท่จี ะใชก ําลังเขาตอ ตา นการรุกรานของโปรตเุ กส พระ เจา ธารนุ (Thalun) ผสู บื ทอดราชบลั ลงั ก ไดฟ น ฟหู ลกั ธรรมศาสตรข องอาณาจกั รพกุ ามเกา แตพระองคทรงใชเวลากับเรื่องศาสนามากเกินไป จนละเลยท่ีจะใสใจตออาณาเขตทางตอน ใต ทายท่ีสุด หงสาวดีที่ไดรับการสนับสนุนจากฝรั่งเศสซ่ึงต้ังมั่นอยูในอินเดีย ก็ไดทําการ ประกาศเอกราชจากอังวะ จากน้ันอาณาจักรของชาวพมาก็คอยๆ ออนแอลงและลมสลาย ไปในปพ ทุ ธศักราช 2259 จากการรกุ รานของชาวมอญ ราชวงศอ ลองพญา ราชวงศอ ลองพญา ไดร บั การสถาปนาขน้ึ และสรา งความเขม แขง็ จนถงึ ขดี สดุ ไดภ ายใน เวลาอนั รวดเร็ว อลองพญาซง่ึ เปน ผนู าํ ทไี่ ดร บั ความนยิ มจากชาวพมา ไดข บั ไลชาวมอญท่ี เขามาครอบครองดินแดนของชาวพมาไดในป พ.ศ. 2296 จากนั้นก็สามารถเขายึดครอง อาณาจกั รมอญได อีกครัง้ ในป พ.ศ. 2302 ทัง้ ยังสามารถกลบั เขา ยดึ ครองกรุงมณปี ุระ ได ในชวงเวลาเดียวกัน พระองคสถาปนาใหเ มืองยา งกุงเปน เมืองหลวงในป พ.ศ. 2303 หลัง จากเขายดึ ครองตะนาวศรี (Tenasserim) พระองคไดยาตราทัพเขา รุกรานอยุธยา แตต อง ประสบความลม เหลวเมอื่ พระองคท รงสวรรคตในระหวา งสงคราม พระเจา สนิ บหู ชนิ (Hsin- byushin , ครองราชย พ.ศ. 2306 - 2319) พระราชโอรส ไดน าํ ทัพเขา รุกรานอาณาจกั ร อยุธยาอีกคร้ังในป พ.ศ. 2309 และประสบความสําเร็จในปถัดมา ในรัชสมัยน้ี แมจีนจะ พยายามขยายอาํ นาจเขา สดู นิ แดนพมา แตพ ระองคก ส็ ามารถยบั ยง้ั การรกุ รานของจนี ไดท ง้ั สค่ี รง้ั (ในชว งป พ.ศ. 2309 - 2312) ทําการขยายพรมแดนของจีนทางดานนี้ถกู ยตุ ิลง ในรชั สมัย ของพระเจา โบดอพญา (Bodawpaya ครองราชย พ.ศ. 2324 - 2362) พระโอรสอกี พระองค ของพระเจาอลองพญา พมาตองสูญเสียอํานาจที่มีเหนืออยุธยาไป แตก็สามารถผนวกดิน แดนยะไข (Arakan) และตะนาวศรี (Tenasserim) เขามาไวได ในชวงเดือนมกราคมของ ป พ.ศ. 2366 ซ่ึงอยูในรัชสมัยของพระเจาบาคยีดอว (Bagyidaw) ขนุ นางช่อื มหาพนั ธุละ (Maha Bandula) เขารุกรานแควนอัสสัมไดสําเร็จ ทําใหพมาตองเผชิญหนาโดยตรงกับ อังกฤษทีค่ รอบครองอนิ เดียอยูในขณะนัน้ สงครามกบั องั กฤษและการลม สลายของราชอาณาจักรพมา สงครามระหวา งพมาและองั กฤษคร้งั ทีห่ นึง่ (พ.ศ. 2367 2369) ยตุ ิลงโดยอังกฤษ เปนฝายไดรับชัยชนะ ฝายพมาจําตองทําสนธิสัญญายันดาโบ (Yandaboo) กับอังกฤษ ทําใหพมาตองสูญเสียดินแดนอัสสัม มณีปุระ ยะไข และตะนาวศรีไป ซึ่งอังกฤษก็เร่ิมตน ตักตวงทรพั ยากรตา งๆ ของพมานบั แตนน้ั เพื่อเปนหลักประกนั สาํ หรับวตั ถุดิบท่จี ะปอนสู สิงคโปร สรางความแคนเคืองใหกบั ทางพมาเปนอยางมาก กษัตรยิ องคต อมาจึงทรงยกเลิก สนธสิ ญั ญายนั ดาโบ และทาํ การโจมตผี ลประโยชนข องฝา ยองั กฤษ เปน ตน เหตใุ หเ กดิ สงคราม ระหวา งพมา และองั กฤษครง้ั ทส่ี อง ซง่ึ กจ็ บลงโดยชยั ชนะเปน ขององั กฤษอกี ครง้ั หลงั สนิ้ สดุ

58 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) สงครามครงั้ นี้ องั กฤษไดผ นวกหงสาวดแี ละพน้ื ทใ่ี กลเ คยี งเขา ไวก บั ตน โดยไดเ รยี กดนิ แดน ดังกลาวเสียใหมวาพมาตอนใต สงครามครั้งน้ีกอใหเกิดการปฏิวัติคร้ังใหญในพมา เร่ิมตน ดวยการเขา ยึดอํานาจโดยพระเจามินดง (Mindon Min) จากพระเจา ปะกนั (Pagin Min) ซ่ึงเปนพระเชษฐาตางพระชนนี พระเจามินดงพยายามพัฒนาประเทศพมาเพื่อตอตานการ รุกรานของอังกฤษ พระองคไดสถาปนากรุงมัณฑะเลย ซ่ึงยากตอการรุกรานจากภายนอก ข้นึ เปนเมืองหลวงแหง ใหม แตก ็ยงั ไมเ พียงพอทจ่ี ะหยดุ ยงั้ การรกุ รานจากอังกฤษได รชั สมยั ตอ มา พระเจา ธบี อ (Thibow) ซงึ่ เปน พระโอรสของพระเจา มนิ ดง ทรงมบี ารมี ไมพอที่จะควบคุมพระราชอาณาจักรได จึงทําใหเกิดความวุนวายไปทั่วในบริเวณชายแดน ในทส่ี ดุ พระองคไ ดต ดั สนิ พระทยั ยกเลกิ สนธสิ ญั ญากบั องั กฤษทพี่ ระเจา มนิ ดงไดท รงกระทาํ ไว และไดป ระกาศสงครามกบั องั กฤษเปน ครง้ั ทส่ี ามในปพ ทุ ธศกั ราช 2428 ผลของสงคราม ครั้งน้ีทําใหอังกฤษสามารถเขาครอบครองดินแดนสาธารณรัฐแหงสหภาพพมาสวนที่เหลือ เอาไวได พมาตกเปนอาณานิคมของอังกฤษในป พ.ศ. 2429 และระยะกอนการเกิด สงครามโลกครัง้ ที่ 2 เล็กนอ ย ญปี่ ุนไดเขา มามีบทบาทในเอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต ตะข่ิน เปน กลมุ นักศกึ ษาหนุมท่ีหวั รนุ แรงมี อองซาน นกั ชาตินยิ ม และเปน ผนู ําของนักศกึ ษาใน มหาวิทยาลัยยางกุง พวกเขาคิดวาญ่ีปุนจะสนับสนุนการประกาศอิสรภาพของพมาจาก องั กฤษ แตเ มอื่ ญป่ี นุ ยดึ ครองพมา ไดแ ลว กลบั พยายามหนว งเหนย่ี วมใิ หพ มา ประกาศเอกราช ดงั นนั้ อองซานไดก อ ตง้ั องคก ารสนั นบิ าตเสรภี าพแหง ประชาชนตอ ตา นฟาศซสิ ต (Anti-Fascist Peoples Freedom League : AFPEL) เพ่อื ตอ ตา นญีป่ ุนอยา งลบั ๆ และ ไดกลายเปน พรรคการเมืองชอื่ พรรค AFPEL เมอ่ื ญป่ี นุ แพสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 แลว พรรค AFPEL ไดเจรจากบั อังกฤษโดยอังกฤษยนื ยันท่จี ะใหพ มามอี ิสรภาพปกครองตนเองภายใต เครือจักรภพ และมีขาหลวงใหญอังกฤษประจําพมาชวยใหคําปรึกษา แตพรรคการเมือง AFPEL ตอ งการเอกราชอยา งสมบูรณ องั กฤษไดพ ยายามสนับบสนนุ พรรคการเมอื งอ่นื ๆ ขึ้นแขงอาํ นาจพรรค AFPEL ของอองซานแตไ มเปน ผลสาํ เรจ็ จงึ ยนิ ยอมใหพรรค AFPEL ขึน้ บริหารประเทศ อองซานมนี โยบายสรา งความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ และตอ งการเจรจากบั รฐั บาลองั กฤษ โดยสันตวิ ธิ ี จึงทําใหเกดิ ความขดั แยงกบั ฝา ยนิยมคอมมิวนสิ ตใ นพรรค AFPEL อองซาน และคณะรัฐมนตรีอีก 6 คน จึงถกู ลอบสงั หาร เมื่อวันท่ี 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2490 ขณะ เดนิ ทางออกจากทปี่ ระชมุ สภา ตอ มาตะขน้ิ นหุ รอื อนู ไุ ดข นึ้ เปน นายกรฐั มนตรแี ทนและมกี าร ประกาศใชร ฐั ธรรมนญู เมอ่ื วนั ที่ 17 ตลุ าคม 2490 โดยองั กฤษไดม อบเอกราชใหแ กพ มา แต ยงั รักษาสทิ ธทิ างการทหารไว วันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2491 องั กฤษจึงไดม อบเอกราชใหแก พมา อยางสมบรู ณ ปจ จบุ นั ประเทศพมา ปกครองในคณะรฐั บาลทหารทม่ี าจากการเลอื กตงั้ และยงั มปี ญ หา การสูรบกนั ในชนเผานอ ยอยตู ลอดเวลา

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 59 พระเจา มนิ ดงผูสรา งราชวังมัณฑะเลย ราชธานสี ุดทายของพมา 1.5 ประวัติศาสตรส ังเขปของประเทศอินโดนีเซีย อนิ โดนเี ซยี (Indonesia) หรอื ชอ่ื ทางการคอื สาธารณรฐั อนิ โดนเี ซยี (Requblic of Indonesia) เปนหมูเกาะที่ใหญที่สุดในโลก ตั้งอยูระหวางคาบสมุทรเอเชียตะวันออก เฉียงใตและทวีปออสเตรเลียและระหวางมหาสมุทรอินเดีย และแปซิฟก มีพรมแดนติดกับ ประเทศมาเลเซียบนเกาะบอรเนียว (อินโดนีเซีย : กาลิมันตัน), ประเทศปาปวนิวกินีบน เกาะนวิ กินี (อินโดนเี ซยี : อิเรยี น) และประเทศติมอรต ะวันออกบนเกาะตมิ อร อนิ โดนเี ซยี ประกอบดว ยหมเู กาะทมี่ คี วามเจรญิ รงุ เรอื งมาชา นาน แตต อ มาตอ ง ตกอยภู ายใตก ารปกครองของเนเธอรแ ลนดอ ยนู านประมาณ 300 ป ในเดอื นมกราคม พ.ศ. 2485 ซ่ึงเปนชวงสงครามโลกครัง้ ท่ี 2 ญี่ปุนบกุ อนิ โดนีเซีย และทําการขบั ไลเนเธอรแลนด เจา อาณานิคมของอนิ โดนเี ซยี ออกไปไดส าํ เรจ็ จึงทําใหผนู าํ อนิ โดนีเซยี คนสําคญั ๆ ในสมัย นนั้ ใหความรวมมือกบั ญี่ปุน แตไ มไ ดใ หความไววางใจกบั ญป่ี นุ มากนัก เพราะมเี หตเุ คลือบ แคลง คือ เมื่อมผี รู ักชาติชาวอินโดนีเซยี จดั ตั้งขบวนการตา งๆ ข้นึ มา ญ่ปี นุ จะขอเขารว ม ควบคมุ และดาํ เนินงานดว ย เมอ่ื ญป่ี นุ แพส งครามและประกาศยอมจาํ นนตอ ฝา ยพนั ธมติ ร อนิ โดนเี ซยี ไดถ อื โอกาสประกาศเอกราชในวนั ท่ี 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 แตเ นเธอรแ ลนดเ จา อาณานคิ มเดมิ ไมย อมรบั การประกาศเอกราชของอนิ โดนเี ซยี จงึ ยกกองทพั เขา ปราบปราม ผลจากการสรู บ ปรากฏวาเนเธอรแลนด ไมส ามารถปราบปรามกองทพั ของชาวอินโดนเี ซยี ได อังกฤษซ่ึง เปน พันธมิตรกบั เนเธอรแลนดจ งึ เขา มาชว ยไกลเกลี่ย เพอื่ ใหย ุตคิ วามขดั แยง กัน โดยใหท ั้ง สองฝายลงนามในขอตกลงลงิ กัดยาติ (Linggadjati Agreement) เมอ่ื พ.ศ. 2489 โดย เนเธอรแ ลนดย อมรบั อาํ นาจของรฐั บาลอนิ โดนเี ซยี ในเกาะชวาและ สมุ าตรา ตอ มาภายหลงั เนเธอรแ ลนดไ ดล ะเมดิ ขอ ตกลง โดยไดน าํ ทหารเขา โจมตอี นิ โดนเี ซยี ทาํ ใหป ระเทศอน่ื ๆ เชน ออสเตรเลียและอินเดยี ไดย ืน่ เร่อื งใหค ณะมนตรคี วามม่ันคงแหง สหประชาชาติ เขา จัดการ

60 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสงั คมศึกษา (สค21001) สหประชาชาตไิ ดเ ขา ระงบั ขอ พพิ าท โดยตง้ั คณะกรรมการประกอบดว ย ออสเตรเลยี เบลเยยี ม และสหรฐั อเมรกิ า เพอื่ ทาํ หนา ทไี่ กลเ กลยี่ ประนปี ระนอม และไดเ รยี กรอ งใหม กี ารหยดุ ยงิ แต เนเธอรแ ลนดไ ดเ ขา จบั กมุ ผนู าํ คนสาํ คญั ของอนิ โดนเี ซยี คอื ซกู ารโ นและฮตั ตาไปกกั ขงั ตอ มาทหารอินโดนีเซียนําตัวผูนําทั้งสองออกมาได ในระยะน้ีทุกประเทศทั่วโลกตางตําหนิ การกระทําของเนเธอรแ ลนดอยา งย่ิง และคณะมนตรีความมนั่ คงไดก ดดนั ใหเนเธอรแลนด มอบเอกราชแกอ นิ โดนีเซยี ในวันที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2492 อินโดนเี ซียไดร บั เอกราช และปกครองระบบ ประชาธิปไตยมีประธานาธิบดีเปนประมุขของประเทศแตความยุงยากยังคงมีอยู เนื่องจาก เนเธอรแลนดไมยินยอมใหรวมดินแดนอิเรียนตะวันตกเขากับอินโดนีเซีย ทั้งสองฝายจึง ตา งเตรยี มการจะสรู บกนั อกี ผลทสี่ ดุ เนเธอรแ ลนดก ย็ อมโอนอาํ นาจใหส หประชาชาตคิ วบคมุ ดูแลดินแดนอิเรียนตะวันตก และใหชาวอิเรียนตะวันตกแสดงประชามติวาจะรวมกับ อินโดนีเซียหรือไม ผลการออกเสียงประชามติ ปรากฏวาชาวอิเรียนตะวันตกสวนใหญ ตองการรวมกับอินโดนีเซีย สหประชาชาตจิ งึ โอนอเิ รยี นตะวนั ตกใหอ ยใู นความปกครองของ อนิ โดนเี ซยี เมอ่ื เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. 2506 1.6 ประวตั ิศาสตรส งั เขปของประเทศฟล ิปปน ส ฟลิปปนส (the Philippines) หรือช่ือทางการคือ สาธารณรัฐฟลิปปนส (Republic of the Philippines) เปนประเทศที่ประกอบดวยเกาะจํานวน 7,107 เกาะ ตง้ั อยใู นมหาสมทุ รแปซฟิ ก หา งจากเอเชยี แผน ดนิ ใหญท างตะวนั ออกเฉยี งใต ประมาณ 100 กม. และมลี กั ษณะพเิ ศษคอื เปน ประเทศเพยี งหนง่ึ เดยี วทม่ี พี รมแดนทางทะเลทต่ี ดิ ตอ ระหวา ง กันยาวมากทสี่ ดุ ในโลก นวิ สเปน(พ.ศ. 2064 - 2441) และสหรฐั อเมรกิ า (พ.ศ. 2441 - 2489) ไดค รองฟล ปิ ปน สเ ปน อาณานคิ มเปนเวลา 4 ศตวรรษ และเปนสองอิทธิพลใหญท่ีสุดตอ วัฒนธรรมของฟล ิปปนส ฟล ปิ ปน สเ ปน ชาตเิ ดยี วในเอเชยี ทป่ี ระชากรสว นใหญน บั ถอื ศาสนาครสิ ต และเปน หนง่ึ ในชาติที่ไดรับอิทธิพลจากตะวันตกมากท่ีสุด เปนการผสมผสานกันระหวางตะวันตกและ ตะวนั ออก ทเ่ี ปน เอกลกั ษณเ ฉพาะ อารโ นลด โจเซฟ ทอยนบ ี (Arnold Joseph Toynbee) นกั ประวตั ศิ าสตรช าวองั กฤษ ไดกลาวไวในงานของเขาวา ประเทศฟลิปปนสเปนประเทศ ลาตินอเมรกิ าที่ถูกพัดพาไปยังตะวนั ออก โดยคลน่ื ทะเลยกั ษ หลักฐานทางโบราณคดีและโบราณชีววิทยาบงบอกวามีมนุษยโฮโมเซเปยนส เคยอาศัยอยูในเกาะปาลาวันต้ังแตประมาณ 50,000 ปกอน ชนเผาท่ีพูดภาษาในตระกูล ออสโตรนีเซียไดเขามาตั้งรกรากในฟลิปปนส และจัดต้ังเสนทางเครือขายการคากับเอเชีย อาคเนยสวนที่เหลือทั้งหมดตั้งแต 5,000 ปกอนคริสตกาลภาษาท่ีชาวฟลิปปนสใชพูดคือ ภาษาตากาลอ็ ค เฟอรดนิ ันด มาเจลลัน มาถงึ หมเู กาะฟล ปิ ปนสใ นป ค.ศ. 1521 (พ.ศ. 2064) มีเกล โลเปซ เดเลกัสป มาถึงฟล ิปปน สในป ค.ศ. 1565 (พ.ศ. 2108) และตั้งชุมชนชาว

« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 61 สเปนขึน้ ซึ่งนําไปสูการต้งั อาณานคิ มในเวลาตอ มา หลงั จากนั้น นกั บวชศาสนาครสิ ตนกิ าย โรมนั คาทอลกิ ไดท าํ ให ชาวเกาะทงั้ หมดใหห นั มานบั ถอื ศาสนาครสิ ต ในชว ง 300 ปน บั จาก นัน้ กองทพั สเปนไดต อสูกบั เหตุการณกบฏตา งๆ มากมาย ทง้ั จากชนพนื้ เมืองและจากชาติ อืน่ ท่พี ยายามเขา มาครอบครองอาณานคิ ม ซึง่ ไดแก องั กฤษ จีน ฮอลนั ดา ฝร่งั เศส ญีป่ นุ และโปรตุเกส สเปน สูญเสียไปมากท่ีสุดในชวงที่อังกฤษเขาครอบครองเมืองหลวงเปนการ ชว่ั คราวในชว งสงครามเจด็ ป (Seven Years’ War) หมูเกาะฟลิปปน สอยใู ตก ารปกครอง ของสเปนในฐานะอาณานิคมของสเปนใหม (New Spain) นบั ตัง้ แตป ค.ศ. 1565 (พ.ศ. 2108) ถงึ ป ค.ศ. 1821 (พ.ศ. 2364) และนบั จากนัน้ ฟลปิ ปนสก ็อยใู ตก ารปกครองของ สเปนโดยตรง การเดินเรือมะนลิ าแกลเลียน (Manial Galleon) จากฟลิปปนสไปเมก็ ซิโก เรมิ่ ตน ขึ้นในชวงปลายศตวรรษท่ี 16 และหมูเ กาะฟลปิ ปน สเปด ตัวเองเขา สูการคาโลกในป ค.ศ. 1834 ปจจุบันประเทศฟลิปปนสปกครองดวยระบบประชาธิปไตยมีประธานาธิบดีเปนผูนํา ประเทศ 1.7 ประวตั ศิ าสตรสงั เขปของประเทศญปี่ ุน ญป่ี นุ (Nihon/Nippon นฮิ ง/นปิ ปง) มีชอื่ ทางการคอื ประเทศญี่ปุน (Nihon- koku/Nippon-koku-นิฮงโกะกุ/นิปปงโกะกุ) เปนประเทศหมูเกาะในภูมิภาคเอเชียตะวัน ออก ตง้ั อยใู นมหาสมทุ รแปซฟิ ก ทางตะวนั ตกตดิ กบั คาบสมทุ รเกาหลี และสาธารณรฐั ประชาชน จนี โดยมที ะเลญป่ี นุ กน้ั สว นทางทศิ เหนอื ติดกบั ประเทศรัสเซีย มีทะเลโอค็อตสก เปน เสน แบงแดน ตัวอักษรคันจิของช่ือญี่ปุนแปลวาถิ่นกําเนิดของดวงอาทิตย จึงทําใหบางคร้ัง ถูกเรียกวาดินแดนแหงอาทติ ยอทุ ยั ญ่ีปุนมีเน้ือที่กวา 377,835 ตารางกิโลเมตร นับเปนอันดับที่ 62 ของโลก หมูเกาะญ่ีปุนประกอบไปดวยเกาะนอยใหญกวา 3,000 เกาะ เกาะท่ีใหญที่สุดก็คือเกาะ ฮนชู ฮกไกโด คิวชู และ ชิโกกุ ตามลาํ ดับ เกาะของญ่ปี ุนสวนมากจะเปนหมูเ กาะภเู ขา ซึง่ ในนน้ั มจี าํ นวนหนง่ึ เปน ภเู ขาไฟ เชน ภเู ขาไฟฟจู ิ ภเู ขาทสี่ งู ทส่ี ดุ ในประเทศ เปน ตน ประชากร ของญป่ี ุนนนั้ มมี ากเปนอนั ดับท่ี 10 ของโลก คอื ประมาณ 128 ลานคน เมืองหลวงของ ญปี่ นุ คอื กรงุ โตเกยี ว ซงึ่ ถา รวมบรเิ วณปรมิ ณฑลเขา ไปดว ยแลว จะกลายเปน เขตเมอื งทใี่ หญ ทส่ี ดุ ในโลกท่ีมปี ระชากรอยอู าศัยมากกวา 30 ลา นคน สนั นษิ ฐานวา มนษุ ยม าอาศยั ในญป่ี นุ ครง้ั แรกตง้ั แตย คุ หนิ เกา การกลา วถงึ ญป่ี นุ ครง้ั แรกปรากฏขน้ึ ในบนั ทกึ ของราชสาํ นกั จนี ตง้ั แตค รสิ ตศ ตวรรษท1่ี ญป่ี นุ ไดร บั อทิ ธพิ ลจาก จนี ในหลายดา น เชน ภาษา การปกครองและวฒั นธรรม แตใ นขณะเดยี วกนั กม็ กี ารปรบั เปลย่ี น ใหเปนเอกลักษณของตนเองจึงทําใหญ่ีปุนมีวัฒนธรรมท่ีโดดเดนมาจนปจจุบัน อีกหลาย ศตวรรษตอมา ญ่ีปุนก็รับเอาเทคโนโลยีตะวันตกและนํามาพัฒนาประเทศจนกลายเปน ประเทศทก่ี า วหนา และมอี ทิ ธพิ ลมากทส่ี ดุ ในเอเชยี ตะวนั ออก หลงั จากแพส งครามโลกครง้ั ท่ี สอง ญป่ี นุ กม็ กี ารเปลย่ี นแปลงทางการปกครองโดยการใชร ฐั ธรรมนญู ใหมใ น พ.ศ. 2490

62 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) ญปี่ นุ เปน ประเทศผนู าํ ทางเศรษฐกจิ โดยมจี ดี พี สี งู เปน อนั ดบั สองของโลก ญปี่ นุ เปนสมาชกิ ของสหประชาชาติ จี 8 โออีซดี ี และเอเปค และมีความต่ืนตวั ทจ่ี ะมสี ว นรว มใน การแกไขปญหาของตางประเทศ ญ่ีปุนมีมาตรฐานความเปนอยูท่ีดี และยังเปนผูนําทาง เทคโนโลยีเครอื่ งจักรและเครอ่ื งยนต ประวัติศาสตรญ่ีปุนเร่ิมตนดวย ยุคยะโยอิ เร่ิมเม่ือประมาณ 300 ปกอน คริสตศักราช เปนยุคที่ผูคนเริ่มเรียนรูวิธีการปลูกขาว การตีโลหะ ซึ่งไดรับความรูมาจาก ผอู พยพชาวจนี แผน ดนิ ใหญ การกลา วถงึ ญปี่ นุ ครงั้ แรกปรากฏขน้ึ ในบนั ทกึ ของราชสาํ นกั จนี สมัยราชวงศฮั่น โฮวฮั่นชู ในป 57 กอนคริสตกาล ซ่ึงเรียกชาวญ่ีปุนวา วะ ในชวงพุทธ ศตวรรษท่ี 8 อาณาจกั รทที่ รงอํานาจมากทีส่ ุดในญป่ี ุน คือ ยะมะไทโคะกุ ปกครองโดยราชนิ ี ฮิมิโกะ ซง่ึ เคยสง คณะทตู ไปยงั ประเทศจนี ผานทางเกาหลดี วย ยุคโดะฮง ซึ่งตั้งช่ือตามสุสานท่ีนิยมสรางข้ึนกันในยุคดังกลาวเร่ิมตนต้ังแต ประมาณพุทธศตวรรษที่ 9 จนถึง 12 เปนยุคที่ญ่ีปุนเริ่มมีการปกครองแบบราชวงศ ซ่ึง ศูนยกลางการปกครองน้ันอยูบริเวณเขตคันไซ ในยุคน้ีพระพุทธศาสนาไดเขามาจาก คาบสมุทรเกาหลีสูหมูเกาะญี่ปุนไดรับอิทธิพลมาจากจีนเปนหลัก เจาชายโชโตะกุทรงสง คณะราชทูตไปเจรญิ สัมพันธไมตรีกบั จีน ญี่ปุนจึงไดรับนวัตกรรมใหมๆ จากจนี นอกจากน้ี ยังทรงตรารัฐธรรมนูญสิบเจ็ดมาตรา ซ่ึงเปนกฎหมายญี่ปุนฉบับแรกอีกดวย และในทส่ี ดุ พระพทุ ธศาสนากไ็ ดร บั การยอมรบั มากขน้ึ ตง้ั แตส มยั อะซกึ ะ ซง่ึ ตง้ั ชอ่ื ตามสสุ านทน่ี ยิ มสรา งขน้ึ กนั ในยคุ ดงั กลา วเรมิ่ ตน ตงั้ แตป ระมาณพทุ ธศตวรรษที่ 9 จนถงึ 12 เปน ยคุ ทญ่ี ป่ี นุ เรม่ิ มกี าร ปกครองแบบราชวงศ ซึ่งศูนยกลางการปกครองนั้นอยูบริเวณเขตคันไซ ในยุคนี้พระพุทธ ศาสนาไดเขามาจากคาบสมุทรเกาหลีสูหมูเกาะญี่ปุน แตพระพุทธรูปและพุทธศาสนาใน ประเทศญี่ปนุ หลังจากน้ันไดร บั อิทธิพลจากจนี เปน หลัก เจาชายโชโตะกุทรงสง คณะราชทูต ไปเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั จนี ญปี่ นุ จงึ ไดร บั นวตั กรรมใหมๆ จากแผน ดนิ ใหญม าเปน จาํ นวน มาก นอกจากนย้ี งั ทรงตรารฐั ธรรมนญู สบิ เจด็ มาตรา ซงึ่ เปน กฎหมายญปี่ นุ ฉบบั แรกอกี ดว ย และในท่ีสุดพระพุทธศาสนาก็ไดรับการยอมรับมากขึน้ ตงั้ แตสมัยอะซึกะ ยุคนะระ (พ.ศ. 1253 - 1337) เปนยุคแรกที่มีการกอตัวเปนอาณาจักรที่ เขมแข็ง มีการปกครองอยางมีระบบใหเห็นไดอยางชัดเจน โดยการนําระบอบการปกครอง มาจากจีนแผนดินใหญ ศนู ยก ลางการปกครองในขณะนน้ั กค็ อื เฮโจเกยี วหรอื จงั หวดั นะระใน ปจจุบัน ในยุคนะระเร่มิ พบการเขียนวรรณกรรม เชน โคจิกิ (พ.ศ.1255) และนิฮงโชะกิ (พ.ศ. 1263) เมืองหลวงถกู ยา ยไปทีน่ ะงะโอกะเกียว เปนชวงเวลาส้ันๆ และถูกยายอีกครงั้ ไปยังเฮองั เกียว ซึ่งเปน จุดเร่ิมตนของยุคเฮอัง ระหวาง พ.ศ. 1337 จนถงึ พ.ศ. 1728 ซึ่งเปนยุคเฮองั น้นั ถอื ไดว าเปน ยุค ทองของญป่ี นุ เนอื่ งจากเปน ยคุ สมยั ทวี่ ฒั นธรรมของญป่ี นุ เองเรมิ่ พฒั นาขน้ึ สงิ่ ทเ่ี หน็ ไดอ ยา ง ชดั มากทส่ี ุดคอื การประดษิ ฐต วั อกั ษร ฮริ างานะ ซง่ึ ทาํ ใหเ กดิ วรรณกรรมทแ่ี ตง โดยตวั อกั ษรน้ี เปน จาํ นวนมาก เชน ในชว งกลางพทุ ธศตวรรษท่ี 16 ไดม กี ารแตงนวนิยายเรื่องนิทานเกนจิ ขน้ึ ซง่ึ เปน นยิ ายทบี่ รรยายเกย่ี วกบั การใชช วี ติ การปกครองของตระกลู ฟจุ วิ าระ และบทกลอน

« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 63 ที่ถกู ใชเ ปนเนอื้ เพลงของเพลงชาตญิ ่ีปุน คมิ ิงะโยะ กถ็ ูกแตงขึ้นในชวงนีเ้ ชน เดยี วกัน ยุคศักดินาญี่ปุนเริ่มตนจากการท่ีผูปกครองทางการทหารเร่ิมมีอํานาจข้ึน พ.ศ.1728 หลงั จากการพา ยแพข องตระกลู ไทระ มนิ ะโมะโตะ โน โยรโิ ตโมะ ไดแ ตง ตง้ั ตนเอง เปน โชกุน และสรา งรัฐบาลทหารในเมอื งคะมะกรุ ะ ซ่ึงเปน จดุ เริ่มตนของยุคคะมะกุระ ซึ่งมี การปกครองแบบศกั ดนิ า แตร ฐั บาลคามากรุ ะกไ็ มส ามารถปกครองทงั้ ประเทศได เพราะพวก ราชวงศย ังคงมีอาํ นาจอยูในเขตตะวนั ตก หลงั จากการเสยี ชีวติ ของโชกนุ โยริโตโมะ ตระกลู โฮโจ ไดก าวข้ึนมาเปนผูสาํ เร็จราชการใหโ ชกนุ รัฐบาลคะมะกรุ ะสามารถตอตา นการรุกราน ของจกั รวรรดิมองโกลใน พ.ศ. 1817 และ พ.ศ. 1824 โดยไดรบั ความชวยเหลอื จากพายุ กามกิ าเซ ซงึ่ ทําใหกองทัพมองโกลประสบความเสียหายมาก อยางไรก็ตาม รัฐบาลคะมะกุระก็ออนแอลงจากสงครามครั้งนี้ จนในท่ีสุดตอง สูญเสยี อํานาจใหแ กจกั รพรรดโิ กไดโกะ ผซู ึง่ พายแพตออาชกิ างะ ทากาอจุ ิในเวลาตอมาไม นานอาชิกางะ ทากาอจุ ิ ยา ยรฐั บาลไปตง้ั ไวท ม่ี โิ รมะจิ จงั หวดั เกยี วโต จงึ ไดช อ่ื วา ยคุ มโุ รมะจิ ในชว ง กลางพทุ ธศตวรรษท่ี 20 อาํ นาจของโชกนุ เร่ิมเส่อื มลงและเกิดสงครามกลางเมืองขึน้ เพราะ บรรดาเจา ครองแควน ตา งทาํ การสรู บเพอื่ แยง ชงิ ความเปน ใหญ ซง่ึ ทาํ ใหญ ป่ี นุ เขา สยู คุ สงคราม ท่เี รียกวา ยุคเซงโงกุ ในระหวา งพทุ ธศตวรรษท่ี 21 มีพอ คา และมิชชันนารีจากโปรตเุ กสเดนิ ทางมา ถงึ ญป่ี นุ เปน ครง้ั แรก และเรม่ิ การคา ขายและแลกเปลย่ี นวฒั นธรรมระหวา งญป่ี นุ กบั โลกตะวนั ตก สงครามดาํ รงอยหู ลายสิบปจนโอดะ โนบนุ ากะเอาชนะเจาครองแควนอ่นื หลาย คน โดยใชเ ทคโนโลยแี ละอาวธุ ของยโุ รปและเกอื บจะรวมประเทศญป่ี นุ ใหเ ปน ปก แผน ไดแ ลว เมอื่ เขาถกู ลอบสงั หารใน พ.ศ. 2125 โทโยโทมิ ฮเิ ดโยชิ ผสู บื ทอดเจตนารมณต อ มาสามารถ ปราบปรามบานเมอื งใหส งบลงไดใน พ.ศ. 2133 ฮเิ ดโยชริ กุ รานคาบสมุทรเกาหลถี งึ 2 ครงั้ แตก ไ็ มป ระสบความสําเรจ็ จนเมอื่ เขาเสียชวี ติ ลงใน พ.ศ. 2141 ญ่ีปนุ กถ็ อนทพั หลังจากฮิเดโยชิเสียชีวิต โทกุงะวะ อิเอะยะสึ แตงตั้งตนเองขึ้นเปนผูสําเร็จ ราชการใหแกล ูกชายของฮเิ ดโยชิ โทโยโทมิ ฮเิ ดโยริ เพ่อื ทจ่ี ะไดอ ํานาจทางการเมืองและการ ทหาร อเิ อะยะสึเอาชนะไดเมยี วตา งๆ ไดในสงครามเซะกิงะฮะระ ใน พ.ศ. 2143 จึงข้ึนเปน โชกนุ ใน พ.ศ. 2146 และกอต้งั รัฐบาลใหมทเี่ มืองเอะโดะ ยุคเอะโดะจงึ เริ่มตน ขึน้ รฐั บาล ใชวธิ หี ลายอยาง เชน บเุ กโชฮตั โต เพ่ือควบคมุ ไดเมยี วทง้ั หลาย ในพ.ศ. 2182 รฐั บาลเรม่ิ นโยบายปด ประเทศและใชน โยบายนอ้ี ยา งไมเ ขม งวดนกั ตอเน่อื งถึงประมาณสองรอ ยหาสิบป ในระหวางน้ญี ่ปี นุ ศึกษาเทคโนโลยตี ะวนั ตกผานการติดตอ กบั ชาวดตั ชทส่ี ามารถเขา มาท่ี เกาะเดจิมะ (ในจังหวัดนะงะซะกิ) เทานั้น ความสงบสุขจากการปดประเทศเปนเวลานาน ทาํ ใหชนที่อยใู ตอ ํานาจปกครองอยางเชนชาวเมืองไดมีโอกาสท่ีจะประดษิ ฐส ่ิงใหมๆ ขน้ึ มา ในทางของตนเอง ในยคุ เอะโดะนย้ี งั มกี ารเรม่ิ ตน การใหศ กึ ษาประชาชนเกย่ี วกบั ประเทศญป่ี นุ อกี ดว ย

64 หนังสอื เรียนสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) แตญี่ปุนก็ถูกกดดันจากประเทศตะวันตกใหเปดประเทศอีกคร้ัง ในวันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2394 นาวาเอก (พิเศษ) แมทธิว เพอรร่ี และเรือดํานํ้าของกองทัพเรือ สหรัฐอเมริกาบุกมาถึงญ่ีปุนเพื่อบังคับใหเปดประเทศดวยสนธิสัญญาสัมพันธไมตรีกับ ประเทศสหรฐั อเมรกิ า หลงั จากนน้ั ญปี่ นุ กต็ อ งทาํ สนธสิ ญั ญาแบบเดยี วกนั กบั ประเทศตะวนั ตกอน่ื ๆ ซง่ึ สนธสิ ญั ญาเหลา นท้ี าํ ใหญ ป่ี นุ ประสบปญ หา ทงั้ ทางเศรษฐกจิ และการเมอื ง เพราะ การเปดประเทศและใหสิทธิพิเศษกับชาวตางชาติทําใหชาวญ่ีปุนจํานวนมากไมพอใจตอ รัฐบาลเอะโดะ และเกิดกระแสเรียกรองใหคืนอํานาจอธิปไตยแกองคจักรพรรดิ (ซ่ึงมัก เรยี กวาการปฏิรปู เมจ)ิ จนในทีส่ ุดรัฐบาลเอะโดะกห็ มดอาํ นาจลง ในยุคเมจิ รฐั บาลใหมภ ายใตการปกครองของสมเดจ็ พระจักรพรรดเิ มจไิ ดยา ย ฐานอาํ นาจขององคจ กั รพรรดมิ ายงั เอะโดะ และเปลย่ี นชอ่ื เมอื งหลวงจากเอะโดะเปน โตเกยี ว มีการเปลี่ยนแปลงระบบการปกครองตามแบบตะวันตก เชน บังคับใชรัฐธรรมนูญใน พ.ศ. 2443 และกอตั้งสภานติ ิบญั ญัตแิ หงชาตโิ ดยใชระบบสองสภา นอกจากน้ี จักรวรรดิ ญ่ีปุนยังสนับสนุนการรับเอาวิทยาการจากประเทศตะวันตก และทําใหมีความกาวหนาทาง อตุ สาหกรรมเปน อยา งมาก จกั รวรรดญิ ป่ี นุ เรมิ่ มคี วามขดั แยง ทางทหารกบั ประเทศขา งเคยี ง เมื่อพยายามขยายอาณาเขต หลังจากท่ีไดชัยชนะในสงครามจีน - ญ่ีปุน คร้ังที่หนึ่ง (พ.ศ. 2437 - 2438) และสงครามรัสเซยี - ญ่ีปนุ (พ.ศ. 2447 - 2448) ญี่ปุนก็ไดอาํ นาจ ปกครองไตหวัน เกาหลี และตอนใตข องเกาะซาคาลนิ ญี่ปุนยอมแพสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 สงครามโลกคร้ังที่หน่ึงทําใหญี่ปุนซึ่งอยูฝายไตรภาคี ผูชนะสามารถขยาย อาํ นาจและอาณาเขตตอ ไปอกี ญปี่ นุ ดาํ เนนิ นโยบายขยายดนิ แดนตอ ไป โดยการครอบครอง แมนจเู รยี ใน พ.ศ. 2474 และเม่ือถูกนานาชาติประณามในการครอบครองดนิ แดนน้ี ญป่ี ุน ก็ลาออกจากสันนิบาตชาติในสองปตอมา ในป 1936 ญ่ีปุนลงนามในสนธิสัญญาตอตาน องคก ารคอมมวิ นสิ ตสากลกับนาซีเยอรมนี และเขา รว มกับฝายอกั ษะในป 1941

« ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน » 65 ในยคุ สงครามโลกครง้ั ทสี่ อง ญปี่ นุ ไดเ สรมิ สรา งอาํ นาจทางการทหารใหเ ขม แขง็ ยิง่ ขนึ้ หลงั จากญีป่ นุ ถกู กีดกันทางการคา จากสหรัฐอเมริกา ตอ มาจึงไดเปด ฉากสงครามใน แถบเอเชียแปซิฟก (ซ่ึงรูจกั กนั ท่วั ไปในชื่อ สงครามมหาเอเชียบูรพา) ในวันที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2484 โดยการโจมตฐี านทพั เรอื สหรัฐอเมรกิ าท่ีอา วเพิรล และการยาตราทพั เขามายงั เอเชียตะวันออกเฉียงใต ซ่ึงสวนใหญเปนดินแดนอาณานิคมของสหรัฐอเมริกา สหราช อาณาจกั รและเนเธอรแลนด ตลอดสงครามครงั้ นั้น ญปี่ นุ สามารถยึดครองประเทศตางๆ ใน เอเชียตะวันออกเฉียงใตไดทั้งหมด แตหลังจากญ่ีปุนพายแพใหแกสหรัฐอเมริกาในการรบ ทางนํา้ ในมหาสมทุ รแปซิฟก หลงั จากยทุ ธนาวีแหงมดิ เวย (พ.ศ. 2485) ญป่ี นุ กต็ กเปน ฝา ย เสียเปรยี บมากข้ึนเรื่อยๆ แตก็ยังไมย อมแพแ กฝายสมั พันธมิตรโดยงาย เมอื่ ตองเผชญิ หนา กับระเบิดปรมาณขู องสหรฐั อเมรกิ า ซง่ึ ถกู ทิ้งทเี่ มืองฮโิ รชมิ าและนางาซากิ (ในวันท่ี 6 และ 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2488 ตามลําดบั ) และการรกุ รานของสหภาพโซเวยี ต (วนั ที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2488) ญป่ี นุ จงึ ประกาศยอมแพอ ยา งไมม เี งอ่ื นไขในวนั ท่ี 15 สงิ หาคม ปเ ดยี วกนั สงคราม ทาํ ใหญ ป่ี นุ ตอ งสญู เสยี พลเมอื งนบั ลา นคนและทําใหอุตสาหกรรมและโครงสรางพ้ืนฐานของ ประเทศเสยี หายอยา งหนกั ฝา ยสมั พนั ธมติ รซง่ึ นาํ โดยสหรฐั อเมรกิ าไดส ง พลเอกดกั ลาส แมก อารเธอรเขามาควบคุมญี่ปนุ ตง้ั แตหลงั สงครามจบ ใน พ.ศ. 2490 ญป่ี นุ เรม่ิ ใชร ฐั ธรรมนญู ฉบบั ใหมซ งึ่ เนน เรอ่ื งประชาธปิ ไตยอสิ ระ การควบคมุ ญป่ี นุ ของฝา ยสมั พนั ธมติ รสน้ิ สดุ เมอ่ื มกี ารลงนามในสนธสิ ญั ญาซานฟรานซสิ โกใน พ.ศ. 2499 และญป่ี นุ ไดเ ปน สมาชกิ สหประชาชาตใิ นป 1956 หลงั จากสงครามญป่ี นุ สามารถ พัฒนาทางเศรษฐกิจดวยอัตราการเจริญเติบโตท่ีสูงมากจนกลายเปนประเทศท่ีมีเศรษฐกิจ ใหญเปน อันดบั สองของโลก บรรยากาศในตอนกลางคนื และ อาคารโตเกยี วทาวเวอร ประเทศญีป่ ุน

66 หนังสอื เรียนสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) ประเทศญี่ปุนปกครองดวยระบอบประชาธิปไตยแบบเสรีภายใตรัฐธรรมนูญ โดยมี สมเด็จพระจักรพรรดิทรงเปนประมุข แตพระจักรพรรดิไมมีพระราชอํานาจในการบริหาร ประเทศ โดยมีบัญญตั ิไวในรฐั ธรรมนูญแหงญ่ีปุน วา สัญลักษณแหง รฐั และความสามคั คีของ ชนในรัฐ อํานาจการปกครองสวนใหญตกอยูกับนายกรัฐมนตรีและสมาชิกอื่นๆ ในสภา นิตบิ ญั ญตั แิ หง ชาติ อํานาจอธปิ ไตยนัน้ เปนของชาวญีป่ ุน พระจกั รพรรดิทรงทําหนาท่ีเปน ประมขุ แหง รฐั ในพธิ กี ารทางการทตู พระองคป จ จบุ นั คอื จกั รพรรดอิ ะกฮิ โิ ตะ สว นรชั ทายาท คือมกฎุ ราชกมุ ารนะรฮุ โิ ตะ องคกรนติ ิบญั ญตั ขิ องญ่ีปนุ คือ สภานิตบิ ญั ญตั แิ หงชาติ หรอื ที่เรียก “ไดเอ็ต” เปน ระบบสองสภา ประกอบดว ย สภาผแู ทนราษฎร (องั กฤษ : House of Representatives) เปน สภาลา ง มสี มาชกิ สร่ี อ ยแปดสบิ คนซง่ึ มวี าระดาํ รงตาํ แหนง สป่ี  และ มนตรสี ภา (องั กฤษ : House of Councillors) เปน สภาสงู มสี มาชิกสองรอยสส่ี ิบสองคนซึง่ มีวาระดาํ รงตําแหนง หกป โดยมกี ารเลอื กต้งั สมาชิกมนตรสี ภาจาํ นวนคร่ึงหน่ึงสลบั กันไปทกุ สามป สมาชกิ ของ สภาทง้ั สองมาจากการเลอื กตง้ั ทวั่ ประเทศ สว นผมู สี ทิ ธเิ ลอื กตงั้ นน้ั มอี ายยุ ส่ี บิ ปบ รบิ รู ณเ ปน ตน ไป พรรคเสรปี ระชาธปิ ไตยเปน พรรครฐั บาลมาโดยตลอดตง้ั แตก อ ตง้ั พรรคใน พ.ศ. 2498 ยกเวน ชวงส้ันๆ ใน พ.ศ. 2536 ท่ีเกิดรัฐบาลผสมของพรรคฝายคาน ทั้งน้ีแกนนําฝายคานคือ พรรคประชาธปิ ไตยญปี่ ุน สําหรับอํานาจบริหารน้ัน พระจักรพรรดิทรงแตงต้ังนายกรัฐมนตรีจากสมาชิกสภา ผูแทนราษฎรท่ีไดรับเลือก โดยสมาชิกดวยกันเองใหเปนหัวหนารัฐบาล นายกรัฐมนตรี มอี าํ นาจแตง ตง้ั รฐั มนตรแี ละใหร ฐั มนตรพี น จากตาํ แหนง นโยบายตางประเทศและการทหาร ญปี่ นุ รกั ษาความสมั พนั ธท างเศรษฐกจิ และทางทหารกบั สหรฐั อเมรกิ าซง่ึ เปน พนั ธมติ ร หลักโดยมีความรวมมือทางความม่ันคงระหวางสหรัฐอเมริกาและญ่ีปุนเปนเสาหลักของ นโยบายตา งประเทศ ญี่ปุน เปน สมาชิกของสหประชาชาตติ ัง้ แตป 1956 ไดเปน สมาชกิ ไม ถาวรของคณะมนตรคี วามมน่ั คงแหง สหประชาชาติ รวม 9 ครงั้ (ลา สดุ เมอ่ื ป 2005 - 2006) และยงั เปน หนง่ึ ในกลมุ G4 ซงึ่ มงุ หวงั จะเขา เปน สมาชกิ ถาวรในคณะมนตรคี วามมน่ั คง ญป่ี นุ ซ่ึงเปนสมาชิกของ G8 และเอเปค มีความต่ืนตัวที่จะมีสวนรวมในการแกไขปญหาของ ตางประเทศและกระชับความสัมพนั ธท างการทูต กับประเทศคูค าทีส่ าํ คัญทว่ั โลก นอกจาก นี้ยังเปนผูท่ีใหความชวยเหลือเพ่ือการพัฒนาอยางเปนทางการ (ODA) รายใหญของโลก โดยบรจิ าค 7.69 พนั ลานดอลลารสหรัฐในป 2007 จากการสํารวจของบบี ซี ีพบวานอกจาก ประเทศจีนและเกาหลีใตแลว ประเทศสว นใหญมองอทิ ธิพลของญี่ปนุ ทมี่ ีตอ โลกเชงิ บวก ญี่ปุนมีปญหาขอพิพาทเรื่องสิทธิในดินแดนตางๆ กับประเทศเพื่อนบาน เชน กับรัสเซีย เร่ืองเกาะคูริล กับเกาหลีใตเร่ืองหินลีอังคอรท (หรือทะเกะชิมะ ในภาษาญี่ปุน) กบั จนี และไตห วนั เรอ่ื งเกาะเซงกากุ กบั จนี เรอ่ื งเขตเศรษฐกจิ จาํ เพาะรอบๆ โอะกโิ นะ โทะรชิ มิ ะ เปน ตน นอกจากนี้ ญ่ีปนุ ยงั คงมีปญ หากับเกาหลเี หนอื กรณกี ารลักพาตวั ชาวญี่ปุนและเรอื่ ง การครอบครองอาวุธนิวเคลียร และเน่ืองจากขอพิพาทเร่ืองเกาะคูริล ในทางกฎหมายแลว ญี่ปุนยังคงทําสงครามอยูกับรัสเซีย เพราะไมเคยมีการลงนามในขอตกลงใดๆ เกี่ยวกับ ปญหานี้

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 67 เร่อื งที่ 2 เหตกุ ารณสําคัญทางประวัติศาสตรท เ่ี กิดข้ึนใน ประเทศไทยและประเทศในทวีปเอเชีย 2.1 ยคุ ลา อาณานคิ ม ยคุ ลา อาณานคิ มเกดิ ขน้ึ เนอ่ื งจากประเทศทางโลกตะวนั ตก ไดแ ก องั กฤษ ฝรง่ั เศส โปรตเุ กส ฮอลนั ดา ฯลฯ พยายามขยายอาณานคิ มของตนเองไปยงั ประเทศตา งๆ ทว่ั โลก โดย เฉพาะประเทศในแถบทวปี เอเชยี เปน ประเทศเปา หมายสาํ คญั ทป่ี ระเทศมหาอาํ นาจเหลา นเ้ี ดนิ ทางมาเพอ่ื ลา เปน เมอื งขน้ึ ทง้ั ประเทศอนิ เดยี พมา อนิ โดนเี ซยี ฟล ปิ ปน ส ลาว เวยี ดนาม เปน ตน ในบทนจ้ี ะกลา วถงึ ประเทศทถ่ี กู ยดึ เปน อาณานคิ มพอเปน สงั เขปดงั น้ี ประเทศพมาตั้งอยูในเขตพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต มีระบบการปกครอง ที่มอบอํานาจใหแ กก ษตั รยิ แ ละขนุ นางซง่ึ เปน เพยี งกลมุ คนจาํ นวนนอ ยในสงั คม สว นไพรแ ละ ทาสซง่ึ เปน คนสว นใหญแ ละมหี ลากหลายชาตพิ นั ธจุ ะมหี นา ทใ่ี นการสง สว ยหรอื ใชแ รงงานแก รฐั ตามกลไกระบบศกั ดนิ า หลงั สงครามองั กฤษกบั พมา ครง้ั ท่ี 3 สน้ิ สดุ พระเจา ธบี อและมเหสกี ถ็ กู เนรเทศ องั กฤษกไ็ ดผ นวกพมา เขา กบั อนิ เดยี ทาํ ใหร ะบบการปกครองของพมา ลม เหลว ขนุ นางขาด แหลง อา งองิ ในการใชอ าํ นาจทช่ี อบธรรม พระราชวงั มณั ฑะเลยก ลายเปน ศนู ยก ลางรวมกอง บญั ชาการทหาร นอกจากนน้ั องั กฤษยงั ทาํ การเลกิ ระบบไพรแ ละทาสดว ย ขุนนางของพมาจํานวนมากยอมใหความรวมมือกับอังกฤษและตอมาไมนานก็ ถกู ระบบขององั กฤษดดู กลนื หลงั จากนน้ั องั กฤษกไ็ ดข น้ึ มาเปน ชนชน้ั ปกครองของพมา พมา ไดถูกสรางภาพลักษณใหมใหซึมซาบถึงทุกชนช้นั ซ่งึ นักศึกษาสวนใหญเช่อื วาพมาสมัยใหม เปน ผลผลติ ขององั กฤษ ICS เปน กลมุ นกั บรหิ ารอาณานคิ ม ทเ่ี กดิ จากการคดั เลอื กซง่ึ จะทาํ งานอยใู นอนิ เดยี และพมา เจา หนา ท่ี 1 คน ตอ งรบั ผดิ ชอบคนราว 300,000 คน ทาํ ใหค อ นขา งทาํ งานหนกั การทาํ งานของ ICS จาํ เปน จะตอ งปฏสิ มั พนั ธก บั คนพน้ื เมอื ง เชน ในพมา แตด ว ยความทม่ี ี อคตมิ องวา ชาวพมา เปน ชนชน้ั ทต่ี าํ่ ตอ ยจงึ ทาํ ให ICS สว นใหญไ มส นใจทจ่ี ะเรยี นรเู กย่ี วกบั พน้ื เมอื งพมา มากนกั ทาํ ให ICS และคนพน้ื เมอื งพมา คอ นขา งทจ่ี ะเกดิ ความรสู กึ แปลกแยกทง้ั จากเชอ้ื ชาตเิ ดยี วกนั และตา งเชอ้ื ชาติ การปกครองขององั กฤษในดา นการเกบ็ ภาษี โดยเฉพาะสว ยทร่ี ฐั บาลเรยี กเกบ็ ราย บคุ คลทาํ ใหภ าวะราคาขา วตกตาํ่ จนชาวพมา เกดิ ความกดดนั และนาํ ไปสกู ารตอ ตา นเกดิ กบฏ หยา ซาน แตก ารเกดิ ความขดั แยง นน้ั องั กฤษมองวา เปน การกระทาํ ทเ่ี กดิ จากไสยศาสตร ความ คดิ แบบจารตี ไมไ ดก ลา ววา เปน การเกดิ จากปญ หาสงั คม - เศรษฐกจิ คร้นั ถึงชวงปลายพุทธศตวรรษท่ี 24 ตอชวงตนพุทธศตวรรษท่ี 25 ประเทศ ฝรง่ั เศสเรม่ิ ใหค วามสนใจทจ่ี ะขยายอาํ นาจเขา มาสดู นิ แดนในแถบลมุ แมน าํ้ โขง เพอ่ื หาทางเขา ถงึ ดนิ แดนตอนใตข องจนี เพอ่ื เปด ตลาดการคา แหง ใหมแ ขง กบั องั กฤษ ซง่ึ สามารถยดึ พมา ได

68 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) กอนหนานน้ั แลว โดยฝรง่ั เศสเรม่ิ จากการยดึ ครองแควน โคชนิ จนี หรือเวียดนามใตกอ นในป พ.ศ. 2402 รุกคบื เขามาสดู นิ แดนเขมร สวนนอก ซง่ึ ไทยปกครองในฐานะประเทศราชในป พ.ศ. 2406 (ไทยตกลงยอมสละอาํ นาจเหนอื เขมรสว นนอกอยา งเปน ทางการในป พ.ศ. 2410) จากนน้ั จงึ ไดข ยายดนิ แดนในเวยี ดนามตอ จนกระทง่ั สามารถยดึ เวยี ดนามได ทง้ั ประเทศในป พ.ศ. 2426 พรมแดนของสยามทางดา น ประเทศราชลาวจงึ ประชดิ กบั ดนิ แดนอาณานคิ มของฝรง่ั เศสอยา งหลกี เลย่ี งไมไ ด ในระยะเวลาเดียวกัน ในประเทศจีนไดเกิดเหตุการณกบฏไทผิงตอตานราชวงศชิง กองกาํ ลงั กบฏชาวจนี ฮอ ทแ่ี ตกพา ยไดถ อยรน มาตง้ั กาํ ลงั ซอ งสมุ ผคู นอยใู นแถบมนฑลยนู นาน ของจนี ดนิ แดนสบิ สองจไุ ทย และตามแนวชายแดนประเทศราชลาวตอนเหนอื กองกาํ ลงั จนี ฮอ ไดท าํ การปลน สะดมราษฎรตามแนวพน้ื ทด่ี งั กลา วอยา งตอ เนอ่ื ง สรา งปญ หาตอ การปกครอง ของทง้ั ฝา ยไทยและฝรง่ั เศสอยา งยง่ิ เพราะสง กาํ ลงั ไปปราบปรามหลายครง้ั กย็ งั ไมส งบ เฉพาะ กบั อาณาจกั รหลวงพระบางนน้ั ทางกรงุ เทพถงึ กบั ตอ งปลดพระเจา มหนิ ทรเทพนภิ าธร เจา ผู ครองนครหลวงพระบางออกจากตาํ แหนง เนอ่ื งจากไมส ามารถรกั ษาเมอื งและปลอ ยใหก องทพั ฮอเขาปลนสะดมและเผาเมืองหลวงพระบางลงและต้งั เจาคําสุกข้นึ เปนพระเจาสักรินทรฤทธ์ิ ปกครองดนิ แดนแทน ไทย (หรอื สยามในเวลานน้ั ) จงึ รว มกบั ฝรง่ั เศสปราบฮอ จนสาํ เรจ็ โดยทง้ั สองฝา ยไลต กี อง กาํ ลงั จนี ฮอ จากอาณาเขตของแตล ะฝา ยใหม าบรรจบกนั ทเ่ี มอื งแถง (เดยี นเบยี นฟใู นปจ จบุ นั ) แตก เ็ กดิ ปญ หาใหม คอื ฝา ยฝรง่ั เศสฉวยโอกาสอา งสทิ ธปิ กครองเมอื งแถงและสบิ สองจไุ ทย โดยไมยอมถอนกําลังทหารออกจากเมืองแถงเพราะอางวาเมืองน้ีเคยสงสวยใหเวียดนาม มากอ น ปญ หาดงั กลา วนม้ี ที ม่ี าจากภาวะการเปน เมอื งสองฝา ยฟา ของเมอื งปลายแดน ซง่ึ จะ สง สว ยใหแ กร ฐั ใหญท กุ รฐั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลของตนเองเพอ่ื ความอยรู อด พระยาสรุ ศกั ดม์ิ นตรี (เจมิ แสง-ชโู ต) แมท พั ฝา ยไทย เหน็ วา ถา ตกลงกบั ฝรง่ั เศสไมไ ด จะทาํ ใหป ญ หาโจรฮอ บานปลายแกย าก จงึ ตดั สนิ ใจทาํ สญั ญากบั ฝรง่ั เศสในวนั ท่ี 22 ธนั วาคม พ.ศ. 2431 ใหฝ า ยไทยตง้ั กาํ ลงั ทหารทเ่ี มอื งพวน (เชยี งขวาง) ฝรง่ั เศสตง้ั กาํ ลงั ทหารทส่ี บิ สอง จไุ ทย สว นเมอื งแถงเปน เขตกลางใหม ที หารของทงั้ สองฝา ยดแู ลจนกวา รฐั บาลทงั้ สองชาตจิ ะ เจรจาเร่ืองปกปนเขตแดนได ผลจากสนธิสัญญาน้ีแมจะทําใหฝายไทยรวมมือปราบฮอกับ ฝรง่ั เศสจนสาํ เรจ็ และสามารถยตุ คิ วามขดั แยง เรอ่ื งแควน สบิ สองจไุ ทย เมอื งพวน และหวั พนั ทง้ั หา ทง้ั หกยตุ ลิ งไปชว่ั คราว แตก ต็ อ งเสยี ดนิ แดนสบิ สองจไุ ทยโดยปรยิ ายไป การลา อาณานคิ มขององั กฤษ ในยุคลาอาณานิคมน้นั กลมุ ประเทศมหาอํานาจตะวันตกหลายประเทศตางแสวงหา อาณานคิ มของตนเอง เชน ประเทศองั กฤษ โปรตเุ กส ฝรง่ั เศส ไดแ ผอ ทิ ธพิ ลเขา มาในทวปี เอเชยี หลายประเทศและประเทศหนง่ึ ทต่ี กเปน เมอื งขน้ึ ขององั กฤษคอื อนิ เดยี นน่ั เอง บรษิ ทั อสิ ตอ นิ เดยี ขององั กฤษเขา มาทาํ การคา ในประเทศอนิ เดยี เปน ประวตั ศิ าสตรท ่ี ศนู ยอ าํ นาจชาวองั กฤษทเ่ี ขา มาสอู นิ เดยี นน้ั มาในนามของพอ คา ความจรงิ แลว มหี ลายชาตทิ ่ี

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 69 เขา มาทาํ การคา กบั อนิ เดยี ทส่ี าํ คญั เชน ชาวโปรตเุ กส ชาวฮอลนั ดา ชาวฝรง่ั เศส เปน ตน โปรตเุ กส นบั เปน ยโุ รปชาตแิ รกๆ ทเ่ี ขา มาทาํ การคา บนแผน ดนิ อนิ เดยี นบั ตง้ั แต วสั โก ดากามา เดนิ ทางมาถงึ เมอื งกาลกิ ตั ทางตะวนั ตกของอนิ เดยี ตง้ั แตป ลายครสิ ตศ ตวรรษ ท่ี 15 และสามารถสรา งเมอื งทา ของตวั เองขน้ึ เปน ผลสาํ เรจ็ ทเ่ี มอื งกวั (Goa) หลงั จากชาว โปรตุเกสแลว ก็มีชาวฮอลันดาและชาวฝร่ังเศส สวนอังกฤษน้ันเขามาในภายหลังเม่ือชาว โปรตเุ กส ฮอลนั ดา และฝรง่ั เศสไดม กี จิ การทอ่ี นิ เดยี อยกู อ นแลว และนาํ ศาสนาครสิ ตม าเผยแผ ในอนิ เดยี ดว ย บรษิ ทั อสิ ตอ นิ เดยี ขององั กฤษ ทาํ ใหเ กดิ เปน ปฏปิ ก ษก บั ชาวอนิ เดยี ทง้ั ทเ่ี ปน มสุ ลมิ และฮินดู เพราะบทเรียนเชนน้ี พอคาชาวอังกฤษจึงไมปรารถนาจะใหเร่ืองศาสนามาเปน อปุ สรรคในการทาํ ธรุ กจิ การคา ทส่ี าํ คญั คอื ชาวองั กฤษเองกลบั เปน ผสู นบั สนนุ ชาวอนิ เดยี ไม วา จะเปน มสุ ลมิ หรอื ฮนิ ดใู นการตอ สกู บั พอ คา ตา งศาสนา แมจ ะเขา มาสอู นิ เดยี หลงั ชาตอิ น่ื แตอ งั กฤษกลบั ประสบความสาํ เรจ็ อยา งรวดเรว็ และมากกวา ชาตอิ น่ื ภายในเวลาไมน าน บรษิ ทั อสิ ตอ นิ เดยี ขององั กฤษ กส็ ามารถจดั ตง้ั ศนู ยก ารคา ของตวั เองไดต ามเมอื งทา สาํ คญั นบั ตง้ั แตแ ถบตะวนั ตกทเ่ี มอื งสรุ ตั บอมเบย มาจนถงึ แถบ ตะวนั ออก คอื มทั ราส และกลั กตั ตา ทง้ั นก้ี ด็ ว ยความชว ยเหลอื จากเจา ผคู รองนครตา งๆ เมอ่ื มาถงึ ชว งกลางครสิ ตศ ตวรรษท่ี 18 เปน ชว งทอ่ี าํ นาจปกครองรวมศนู ยโ ดย กษตั รยิ ม สุ ลมิ เรม่ิ เสอ่ื มลง เปน โอกาสใหพ อ คา ชาวองั กฤษมโี อกาสเขา ไปแทรกแซงดว ยการชว ย เหลอื ฝา ยใดฝา ยหนง่ึ ทม่ี คี วามขดั แยง กนั จนในทส่ี ดุ บรษิ ทั อสิ ตอ นิ เดยี กม็ อี ทิ ธพิ ลเหนอื เจา ผู ปกครองเหลา นน้ั และนาํ ไปสกู ารมอี าํ นาจเหนอื แผน ดนิ อนิ เดยี ในเวลาตอ มา ลว งมาถงึ ศตวรรษท่ี 19 ประเทศอนิ เดยี ทง้ั หมดกต็ กอยภู ายใตอ ทิ ธพิ ลขององั กฤษ นน่ั คอื บางสว นเปน เขตปกครองขององั กฤษโดยตรง เรยี กวา บรทิ ชิ ราช (British Raj) เขต ปกครองโดยตรงนม้ี ปี ระมาณ 3 ใน 5 ของอนิ เดยี ทง้ั หมด สว นทเ่ี หลอื เปน การปกครองโดย มหาราชาผคู รองนคร ทแ่ี ตกแยกเปน แควน เลก็ แควน นอ ย ทแ่ี มจ ะปกครองตนเองไดแ ตก ต็ ก อยภู ายใตอ าํ นาจขององั กฤษ กลา วคอื ไมส ามารถปฏเิ สธอาํ นาจขององั กฤษได ชว งประมาณ 100 ป ตง้ั แตต น ศตวรรษท่ี 19 ถงึ ตน ศตวรรษท่ี 20 เปน รอ ยป แหง ความเปน ไปของอนิ เดยี ทถ่ี กู กาํ หนดทศิ ทางโดยผปู กครองชาวองั กฤษ อนิ เดยี ทแ่ี ตกเปน แควน เลก็ แควน นอ ยมานานหลายรอ ยป ถกู เชอ่ื มโยงใหต ดิ กนั เปน หนง่ึ เดยี ว ดว ยระบบทาง รถไฟและการสอ่ื สารไปรษณยี ท อ่ี งั กฤษจดั สรา งขน้ึ บนแผน ดนิ อนิ เดยี นบั ตง้ั แตช ว งตน ศตวรรษท่ี 20 มา จนถงึ ชว งไดร บั อสิ รภาพในชว งกลางศตวรรษ กระบวนการเรยี กรอ งเอกราชจากการปกครองขององั กฤษกท็ วรี นุ แรงขน้ึ เรอ่ื ยๆ จนในทส่ี ดุ อนิ เดยี สามารถประกาศเอกราชไดส าํ เรจ็ ผนู าํ ซง่ึ มหาตมะคานธซี ง่ึ ตอ ตา นองั กฤษดว ยวธิ กี าร “อหงิ สา” ซง่ึ เปน วธิ กี ารสงบสนั ติ พรอ มๆ กบั การแตกอนิ เดยี ออกเปน ฮนิ ดสู ถาน (เขตประเทศ ชาวฮนิ ด)ู และปากสี ถาน (เขตประเทศชาวมสุ ลมิ )

70 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสังคมศกึ ษา (สค21001) 2.2 ยคุ สงครามเยน็ ยโุ รปยคุ สงครามเยน็ สงครามเยน็ (Cold war) เปน สงครามทเ่ี กดิ จากการปะทะกนั ระหวา งสหรฐั อเมรกิ า (เสรปี ระชาธปิ ไตย) และสหภาพโซเวยี ต (คอมมวิ นสิ ต) ซง่ึ จะขอรวมเอาไวท ง้ั หนว ยงานสาํ คญั , สถาน ทต่ี า งๆ เปน ตน สงครามเยน็ เปน ลกั ษณะการเผชญิ หนา ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง คาํ วา สงครามเยน็ เปน คาํ ใหม ทเ่ี กดิ ขน้ึ กอ นสงครามยตุ ลิ ง และเรยี กตอ มาเปน การอธบิ ายลกั ษณะ ความตงึ เครยี ดระหวา งประเทศ หรอื ระหวา งกลมุ ทด่ี าํ เนนิ ไปอยา งตอ เนอ่ื ง โดยไมม กี ารจบั อาวธุ ขน้ึ ตอ สู เพราะถา มกี ารใชอ าวธุ สถานการณจ ะเปลย่ี นไปเปน สงครามรอ น (hot war) ซง่ึ จะมขี อบเขตกวา งขวางและกอ อนั ตรายอยา งใหญห ลวงแกม นษุ ยชาติ วธิ กี ารทใ่ี ชม ากใน สงครามเยน็ คอื การโฆษณาชวนเชอ่ื สงครามจติ วทิ ยา การแขง ขนั กนั ทางกาํ ลงั อาวธุ และ การสรา งความนยิ มลทั ธขิ องตน ในประเทศเลก็ ๆ ทอ่ี าจถกู รวมเขา มาเปน ประเทศบรวิ ารของ แตล ะฝา ย สมยั เรม่ิ ตน สงครามเยน็ นา จะอยใู นสมยั วกิ ฤตการณท างการทตู ในตอนกลางและ ปลาย ค.ศ. 1947 เม่อื สหรัฐอเมริกากับสหภาพโซเวียตเกิดขัดแยงเร่อื งการจัดต้งั องคการ สนั ตภิ าพในตรุ กี ยโุ รปตะวนั ออกและเยอรมนี ซง่ึ ทาํ ใหส หรฐั อเมรกิ าเรม่ิ ตระหนกั วา เปน หนา ท่ี ของตน ทจ่ี ะตอ งเปน ผนู าํ ตอ ตา น แผนการยดึ ครองโลกของสหภาพโซเวยี ต ทเ่ี ปน ผนู าํ ฝา ย คอมมวิ นสิ ต การแบง สถานภาพของประเทศตา งๆ ในสมยั สงครามเยน็ คอื 1) ประเทศมหาอาํ นาจ (Big Powers) คอื ประเทศพฒั นาแลว หมายถงึ ประเทศ ทม่ี กี ารพฒั นาอตุ สาหกรรม มภี าระหนา ทน่ี าํ อารยธรรมไปเผยแพรย งั ประเทศทล่ี า หลงั ทง้ั หมด เปน การสรา งลกั ษณะจกั รวรรดนิ ยิ มใหมใ นครสิ ตศ ตวรรษท่ี 19 คอื การลา เมอื งขน้ึ และยดึ ครอง ประเทศอาณานิคมในแอฟริกาและเอเชีย มีจุดประสงคคือความตองการตลาดระบายสินคา ตองการแรงงานราคาถูก และตองการทรัพยากรในประเทศน้ันมาใชประโยชนในงาน อตุ สาหกรรมของตน 2) ประเทศดอ ยพฒั นา (Underdeveloped Countries) คอื ประเทศทย่ี งั ไมม ี การพัฒนาอุตสาหกรรม หรือมีการพัฒนาในระดับตํา่ ประเทศเหลาน้จี ะมีความลาหลังทาง เทคโนโลยี มฐี านะเปน ประเทศพง่ึ พา (dependent) และตอ งเผชญิ หนา การลา อาณานคิ มของ ชาตติ ะวนั ตก สว นมากเปน ประเทศในเอเชยี และแอฟรกิ า 3) ประเทศอภมิ หาอาํ นาจ (Super Powers) คอื ประเทศทป่ี รากฏความสาํ คญั ขน้ึ มาแทนมหาอาํ นาจตะวนั ตก ภายหลงั สงครามโลกครง้ั ทส่ี อง มลี กั ษณะเปน ประเทศภาคพน้ื ทวปี (Continental Character) มกี ารพฒั นาเทคโนโลยรี ะดบั สงู และเปน ผนู าํ ลทั ธกิ ารเมอื ง สองฝา ยคอื ฝา ยโลกเสรแี ละฝา ยคอมมวิ นสิ ต

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 71 ระยะสงครามเยน็ 1) ค.ศ. 1947 - 1949 เปน ระยะความตงึ เครยี ดเนอ่ื งจากการเผชญิ หนา กนั ระหวา งอภมิ หาอาํ นาจ แตย งั ไมม กี ารประกาศสงครามหรอื ใชก าํ ลงั เปน สมยั การประกาศแผน การทรแู มน (Truman Doctrine) วนั ท่ี 12 มนี าคม ค.ศ. 1947 กบั การประกาศแผนการมาร แชลล เพอ่ื ฟน ฟบู รู ณะยโุ รป (The marshall Plan) การขยายอทิ ธพิ ลของสหภาพโซเวยี ตใน ยโุ รปตะวนั ออก และการแบง แยกเยอรมนี เปน ตน 2) ค.ศ. 1950 - 1960 เปน ระยะทส่ี าธารณรฐั ประชาชนจนี ไดเ ขา มามบี ทบาท ในวงการเมืองระหวางประเทศ เกิดวิกฤตการณหลายอยาง เชน สงครามเกาหลี สงคราม เวยี ดนามและการรกุ รานทเิ บตของจนี เปน ตน 3) ทศวรรษท่ี 1960 เปน ระยะการอยรู ว มกนั โดยสนั ติ (Peaceful Co-existence) คอื การสรา งความสมั พนั ธแ บบไมเ ผชญิ หนา ซง่ึ เปน นโยบายของ นายนกิ ติ า ครสุ ชอฟ ทาํ ให เกดิ ความคดิ แตกแยกระหวา งสหภาพโซเวยี ตกบั สาธารณรฐั ประชาชนจนี 4) ทศวรรษท่ี 1970 เปน ระยะการผอ นคลายความตงึ เครยี ด (Détente) คอื การ แตกขว้ั อาํ นาจระหวา งสองคา ยประชาธปิ ไตย และคอมมวิ นสิ ตท ส่ี หรฐั อเมรกิ ากบั สหภาพโซเวยี ต เผชญิ หนา กนั อยไู ดเ พม่ิ ขว้ั จนี คอมมวิ นสิ ตเ ขา มา เรม่ิ จากการไปเยอื นสาธารณรฐั ประชาชนจนี ในป ค.ศ. 1972 ของประธานาธบิ ดรี ชิ ารด นกิ สนั ของสหรฐั อเมรกิ า เยอื นสหภาพโซเวยี ต ค.ศ. 1973 และตอมาประธานาธิบดีเบรสเนฟ ของสหภาพโซเวียตก็เดินทางไปเยือน สหรฐั อเมรกิ าดว ย 5) ค.ศ. 1985 - 1991 นายมคิ าอลิ กอรบ าชอฟ (Mikhail Gorbachev) เสนอ นโยบาย กล็าสนอสต-เปเรสทรอยกา (Glasnost-Perestroika) หรือนโยบายเปด-ปรับ (openness-reconstructuring) ทางการเมืองและเศรษฐกิจของสหภาพโซเวียต จนถึง ค.ศ. 1989 เรม่ิ มกี ารทาํ ลายกาํ แพงเบอรล นิ และเยอรมนตี ะวนั ออกกบั ตะวนั ตกสามารถรวม ประเทศสาํ เรจ็ ใน ค.ศ. 1990 - 91 ประเทศกลมุ บอลตกิ (ลทิ วั เนยี ลตั เวยี เอสโตเนยี ) กข็ อ แยกตวั ออกจากสหภาพโซเวยี ต นายมคิ าอลิ กอรบ าชอฟ ไดเ ปน ประธานาธบิ ดจี ากการเลอื กตง้ั ในสภาแทนการ แตง ตง้ั โดยพรรคคอมมวิ นสิ ตด งั ทผ่ี า นมา มกี ารประชมุ สดุ ยอดทก่ี รงุ วอชงิ ตนั สหรฐั อเมรกิ า เปน การยตุ สิ งครามเยน็ แตเ กดิ รฐั ประหารใน ค.ศ. 1991 เปด ทางใหน ายบอรสิ เยลตซ นิ โดง ดงั ในฐานะผสู ามารถปราบกบฏ และเตรยี มการตง้ั เปน ประเทศเครอื รฐั เอกราช (Common- wealth of Independent States) ในเดอื นธนั วาคม นายกอรบ าชอฟลาออกจากตาํ แหนง ประธานาธบิ ดขี องสหภาพโซเวยี ต เปน การยตุ คิ วามคงอยขู องสหภาพโซเวยี ต คงใหส หรฐั อเมรกิ า เปน อภมิ หาอาํ นาจผนู าํ โลกเพยี งชาตเิ ดยี วและถอื วา เปน การยตุ สิ งครามเยน็ ดว ย จากเหตุการณประวัติศาสตรท่ีผานมาสงผลใหประเทศตางๆ ในเอเชียมีการเมือง การปกครองในรปู แบบประชาธปิ ไตยมากยง่ิ ขน้ึ และแมแ ตป ระเทศสงั คมนยิ ม เชน สหภาพ โซเวยี ต รสั เซียไดพ ฒั นาการเมืองการปกครองมาเปน สงั คมนิยมสมยั ใหมม ีการเปด ประเทศ และพฒั นาประเทศใหแ ขง็ แกรง ดา นเทคโนโลยแี ละเศรษฐกจิ ยง่ิ ขน้ึ

72 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวชิ าสังคมศึกษา (สค21001) การสน้ิ สดุ สงครามเยน็ ในทวปี เอเชยี ประเทศทวีปเอเชียอยูภายใตอิทธิพลของสังคมเย็น ระหวางรัสเซียและอเมริกาซ่ึง พยายามขยายอทิ ธพิ ลมายงั ประเทศตา งๆ ในเอเชยี เปน การแยง ชงิ ทรพั ยากรของมหาอาํ นาจ ทง้ั สองแตร ฐั เซยี ซง่ึ เปน ตน แบบการปกครองแบบคอมมวิ นสิ ตท จ่ี นี รบั มาและพฒั นาใหเ หมาะสม กับตนเอง จีนจึงเปนประเทศมหาอํานาจในเอเชียท่มี ีอิทธิพลตอประเทศตางๆ แทนรัสเซีย ดังนั้น สงครามเย็นที่เริ่มมีในเวียดนาม กัมพูชา เกาหลี จนปะทุ มาเปนสงครามเย็นชิง ประชาชนเพอ่ื ลทั ธกิ ารเมอื งการปกครองจงึ มปี ระเทศผสู นบั สนนุ คอื อเมรกิ า และจนี คนละฝา ย จนกระทง่ั เวยี ดนามแบง ประเทศเปน 2 ฝา ย และมารวมกนั เปน ประเทศเดยี วในทส่ี ดุ แตเ กาหลยี งั แบงแยกเปน 2 ประเทศอยู คอื ลทั ธิการเมืองแบบประชาธปิ ไตยและสังคมนิยม จงึ เปน การ ส้ินสดุ สงครามเยน็ ในเอเชยี 

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 73 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร สาระสาํ คญั เศรษฐศาสตรเปนวิชาท่ีวาดวยเรื่องเก่ียวกับการกระจายทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ใหสามารถสนองตอความตองการของคนในสังคมอยางเปนธรรม การพัฒนาเศรษฐกิจ เปน การเปลย่ี นแปลงโครงสรา งทางสังคม การเมอื ง และเศรษฐกจิ ใหอ ยใู นภาวะทเ่ี หมาะสม โดยแตละประเทศจะมีจุดมุงหมายในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ไมเหมือนกัน ทั้งนี้ข้ึนอยูกับ ทรพั ยากรการผลิต สภาพภมู ศิ าสตร ตลอดจนพน้ื ฐานทางวฒั นธรรมทแี่ ตกตางกนั โดยมี เปาหมายเหมือนกัน คือ ตองการใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ประชากรของ ประเทศมีมาตรฐานการครองชพี สงู ข้นึ ผลการเรียนรูท คี่ าดหวงั 1. อธบิ ายความหมาย ความสาํ คญั ของเศรษฐศาสตรมหภาคและจุลภาคได 2. อธิบายพรอมยกตวั อยางระบบเศรษฐกิจไทยได 3. เปรียบเทียบเศรษฐกิจของไทยกับประเทศในอาเซยี นได 4. ยกตวั อยางผลกระทบของการเปล่ยี นเศรษฐกจิ ท่มี ตี อ ประเทศไทยได 5. รแู ละเขา ใจสทิ ธิพืน้ ฐานของผบู ริโภคได 6. นําเสนอผลการเปรียบเทียบสภาพเศรษฐศาสตรข องประเทศในทวปี เอเชยี ขอบขายเนื้อหา เรอ่ื งที่ 1 ความหมาย ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตรมหภาคและจุลภาค เร่ืองท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจในประเทศไทย เร่ืองที่ 3 คณุ ธรรมในการผลิตและการบริโภค เรอ่ื งท่ี 4 กฎหมายและขอมลู การคมุ ครองผูบริโภค เร่ืองที่ 5 ระบบเศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในเอเชยี

74 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสงั คม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) เรือ่ งที่ 1 ความหมาย ความสําคญั ของเศรษฐศาสตรม หภาค และจลุ ภาค ความหมาย เศรษฐศาสตร เปน วชิ าวาดว ยการผลิต การจาํ หนา ย จายแจก และการ บรโิ ภค ใชสอยสิ่งตางๆ ของชมุ ชนมี 2 สาขา คอื เศรษฐศาสตรจ ลุ ภาค ไดแ ก เศรษฐศาสตร ภาคทศี่ กึ ษาปญ หา เศรษฐกจิ สว นเอกชน หรอื ปญ หาการหาตลาด เปน ตน และเศรษฐศาสตร มหภาค ไดแก เศรษฐศาสตรภาคที่ศึกษาปญหา เศรษฐกิจของประเทศโดยสวนรวม เชน ปญ หาเรอื่ งรายไดข องประชาชาติ การออมทรพั ยข องประชากร ปญ หาการลงทนุ (พจนานกุ รม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 : http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp) เศรษฐศาสตร เปน ศาสตรห รอื สาขาความรทู ว่ี า ดว ยการจดั สรรทรพั ยากรทม่ี จี าํ กดั อยา งมี ประสิทธิภาพ เพอื่ ประโยชนสงู สดุ ของสงั คม ดังนนั้ ไมวา จะเปนดานธรุ กิจ การผลิต การ ขาย การตลาด ดา นสขุ ภาพ ดานการกอ สรา ง ดานสถาปตยกรรม วิศวกรรม ดา นการคา การขนสง จะเก่ียวของกับการจัดสรรทรัพยากรอยางไร จะใชอยางไร จะระดมและแบง ทรัพยากรอยา งไรใหเกิดประสทิ ธิภาพ คมุ คาสูงสุด จะเปนเรอ่ื งที่เกย่ี วขอ งกับเศรษฐศาสตร ทง้ั สน้ิ เศรษฐศาสตรจ งึ นาํ มาใชอ ยา งกวา งขวาง นอกเหนอื จากการใชเ พอื่ ดาํ เนนิ นโยบายและ มาตรการเพ่ือการบริหารจัดการประเทศ เพอื่ ใหเกดิ ผลดตี อ เศรษฐกิจและสังคม นอกจากน้ี เศรษฐศาสตร เปน ศาสตรท ม่ี พี ลวตั และการพฒั นาเสมอ เรยี กวา เปน ศาสตรท ไี่ มต าย ทงั้ ดา น เทคนิค ทฤษฎี และการประยุกต จึงเปนศาสตรท่ีจะอยูคูโลกเสมอ และท่ีสําคัญนัก เศรษฐศาสตรต อ งใฝร ู ใชส ตปิ ญ ญาเสมอ และดา นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปน ธรรม กเ็ ปน ประเดน็ ทน่ี กั เศรษฐศาสตรไ มล ะเลย เพราะจะจดั สรรทรพั ยากรเพอื่ ใหส งั คมไดป ระโยชนส งู สดุ ตอ งใชทงั้ หลักประสิทธิภาพและเสมอภาคดวย ความสําคัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรสามารถจําแนกไดเปน 3 ลักษณะ ดังน้ี 1. ผบู ริโภค ชว ยใหผบู ริโภคสามารถปรับตวั ใหเ ขา กับสถานการณท างเศรษฐกจิ ของ ประเทศและของโลกได รแู ละเขา ใจในนโยบายทางเศรษฐกจิ ทร่ี ฐั บาลกาํ หนดจะสง ผลกระทบ ผบู รโิ ภคอยา งไร ชว ยใหเ ตรยี มตวั ในการวางแผนใชจ า ย หรอื ออมภายในครอบครวั หรอื การ ประกอบอาชพี ได 2. ผผู ลติ ชว ยใหผ ผู ลติ สนิ คา และบรกิ ารสามารถวเิ คราะหแ ละวางแผนการผลติ ไดว า จะผลติ อะไร จาํ นวนเทา ไร ผลติ อยา งไร สาํ หรบั ใคร ซง่ึ ตอ งคาํ นงึ ถงึ ในทกุ ขนั้ ตอนกอ นสนิ คา และบริการถึงมอื ผบู รโิ ภค เพื่อใหส ามารถแขง ขนั ในตลาดได 3. เศรษฐศาสตร ชวยใหรัฐบาลเขาใจพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน ผูผลิต ปจจัยในการกาํ หนดสินคาตางๆ ความสัมพนั ธระหวา งตลาดตางๆ ในระบบเศรษฐกิจ การ กาํ หนดนโยบายและมาตรการเพือ่ มาใชแกปญ หาและพฒั นาเศรษฐกิจ

« ระดับมัธยมศึกษาตอนตน » 75 เศรษฐศาสตรจุลภาค เปนการศึกษาถึงหนวยเศรษฐกิจยอยซ่ึงเปนสวนหนึ่งของ ระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ เชน การศึกษาพฤติกรรมในการบรโิ ภค ความชอบ การเลอื ก ความพงึ พอใจตอ สนิ คา และบรกิ าร เพอื่ นาํ ผลการศกึ ษามากาํ หนดราคา การคดิ ตน ทนุ การ กระจายสนิ คา และบรกิ าร เปนตน ขอบขายของเศรษฐศาสตร แบง เปน 2 ดานใหญๆ คอื 1. เศรษฐศาสตรม หภาค เปน การศกึ ษาถงึ หนว ยเศรษฐกจิ เปน สว นรวม เชน การผลติ รายได การบริโภค การออม การลงทุน การจางงาน การภาษีอากร การธนาคาร รายได ประชาชาติ การคาระหวา งประเทศ เปนตน 2. เศรษฐศาสตรจลุ ภาค (Micro Economics) หมายถึง การศึกษาพฤตกิ รรมของ หนวยเศรษฐกิจสวนยอย ซึ่งเปนสวนประกอบของระบบเศรษฐกิจสวนรวม เชน ศึกษา พฤติกรรมของผูบริโภคแตล ะราย หรอื กลมุ ของผบู รโิ ภคสนิ คา แตล ะชนดิ พฤตกิ รรมของผผู ลติ แตล ะราย กลมุ ผผู ลติ สนิ คา แตล ะชนดิ การกาํ หนดปรมิ าณซอ้ื ของผบู รโิ ภค การกาํ หนดปรมิ าณ การผลติ ของผผู ลติ การกาํ หนดราคาปจ จยั การผลติ ตลอดจนการทาํ งานของกลไกราคา เศรษฐศาสตรมหภาค (Macro Economics) เปนการศึกษาพฤติกรรมของระบบ เศรษฐกิจโดยสว นรวม ศกึ ษาถงึ ภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศในขณะหนง่ึ เชน ศกึ ษาเรอ่ื งรายได ประชาชาติ การจา งงาน การออม การลงทุน การเงนิ การธนาคาร การคลงั รฐั บาล การคา ระหวา งประเทศ การพัฒนาเศรษฐกจิ เปน ตน เศรษฐศาสตรทั้งสองแนวนี้มีความสําคัญเทาเทียมกัน การศึกษาแขนงใดแขนงหน่ึง จะทําใหค วามเขา ใจในการทํางานของระบบเศรษฐกจิ เปนไปอยางไมค รบถวน เพราะทง้ั สอง แขนงตา งเปนสวนประกอบซึ่งกนั และกัน ฐานความรขู องการศึกษาเศรษฐศาสตร ในการศกึ ษาเศรษฐศาสตรค วรเขาใจแนวคดิ และคําศัพทเพื่อเปน พืน้ ฐานในการศึกษาดงั นี้ 1. ความตอ งการ (Wants) หมายถงึ ความปรารถนาทจ่ี ะไดส ง่ิ ตา ง ๆ มาบรโิ ภค เพอ่ื ตอบสนองความจาํ เปน ในการดาํ รงชวี ติ และเพอื่ อาํ นวยความสะดวกตา ง ๆ ซงึ่ ความตอ งการ จะเปน กลไกสาํ คัญเบือ้ งตน ทีก่ อ ใหเกิดกจิ กรรมตาง ๆ ทางเศรษฐกจิ ตามมาอีกมากมาย 2. ทรพั ยากร หมายถงึ สงิ่ ทงั้ หลายทส่ี ามารถนาํ มาใชใ นการผลติ หรอื สรา งใหเ กดิ เปน สินคา และบรกิ าร ทรพั ยากร แบงออกไดเ ปน 2 ประเภท คือ 2.1 ทรัพยากรมนุษย เปนทรัพยากรที่สําคัญเปนอยางย่ิงในการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศ 2.2 ทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรที่มนุษยสรางข้ึน ทรัพยากรธรรมชาติเปน ทรพั ยากรทีม่ ีอยอู ยา งจาํ กัด เชน แรธ าตุ ท่ดี นิ นาํ้ มัน ปา ไม แหลงนํา้ เปนตน ทรัพยากรท่ีมนุษยสรางข้ึน เปนทรัพยากรที่ผลิตข้ึนจากการใชทรัพยากรธรรมชาติ เปน วตั ถุดิบ เชน เครอื่ งมือ เคร่ืองใช เคร่อื งจกั ร อาหาร เสอ้ื ผา เปน ตน

76 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) ตัวอยางเชน ถารัฐบาลใชจายงบประมาณแผนดิน สรางถนน 1 สาย ใชเงิน 20,000 ลา นบาท การใชจ า ยของรฐั บาลผา นบรษิ ทั ธรุ กจิ ทร่ี บั เหมากอ สรา งถนน ทาํ ใหม กี ารจา ง งานมากขน้ึ ซอ้ื วสั ดกุ อ สรา งมากขน้ึ ทาํ ใหป ระชาชนทเ่ี กย่ี วขอ งมรี ายไดม ากขน้ึ เมอ่ื มรี ายได มากขน้ึ กจ็ ะมอี าํ นาจซอ้ื สนิ คา และบรกิ ารมากขน้ึ คอื จะมอี ปุ สงคต อ สนิ คา บรกิ ารมากขน้ึ เรอ่ื งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ในประเทศไทย ระบบเศรษฐกจิ กอนที่จะเรียนรูถึงระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เราควรเขาใจถึงความหมายของ ระบบเศรษฐกิจกนั กอ น ระบบเศรษฐกิจ คือ กลุมหรือหนวยธุรกิจท่ีรวมตัวกันดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยอยภู ายใตร ปู แบบของการปกครอง จารตี ประเพณี สงั คม และวฒั นธรรมของแตล ะประเทศ เพอ่ื กาํ หนดวา จะผลติ อะไร ปรมิ าณมากนอ ยเทา ใด และใชว ธิ กี ารผลติ อยา งไร เพอ่ื ตอบสนอง ความตองการของหนว ยครวั เรือน หรอื กลุมผูบรโิ ภคหรือประชาชนนนั่ เอง ระบบเศรษฐกิจของแตล ะประเทศในโลก มคี วามแตกตา งกัน ทงั้ นี้ขึน้ อยูกบั รปู แบบ การปกครองและจารีตประเพณี โดยทั่วไปแลว แตล ะประเทศไดม ีการพัฒนาระบบเศรษฐกจิ แบบตา งๆ ขนึ้ เพ่ือแกไ ขขอบกพรอ งของระบบเดมิ ที่มอี ยู ดงั นนั้ จะเห็นวา ในปจจุบันจะมี ระบบเศรษฐกจิ อยู 3 แบบ คอื ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ ม ระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม และระบบเศรษฐกจิ แบบผสม ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ ม หมายถงึ ระบบเศรษฐกจิ ทเ่ี อกชนหรอื ประชาชนทวั่ ไป มเี สรีภาพในการตดั สนิ ใจทาํ กิจกรรมตางๆ ทางเศรษฐกิจ มีท้งั การผลิต การบริโภค การซื้อ ขาย แลกเปลยี่ น การประกอบอาชพี การจดั ตงั้ องคก ารทางเศรษฐกจิ รวมทง้ั การเปน เจา ของ ทรัพยส ิน โดยรัฐบาลจะไมเขามาเกีย่ วของ ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม หมายถึง ระบบเศรษฐกจิ ทีร่ ฐั บาลจะเปนผกู ําหนด และวางแผนในการทํากิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลเปนผูตัดสินใจในการดําเนิน เศรษฐกิจทั้งหมด เอกชนไมมเี สรีภาพในการตดั สินใจในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม หมายถึง ระบบเศรษฐกิจแบบผสมน้ีเกิดข้ึนเน่ืองจาก ปญ หาและขอ บกพรอ งของระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ยิ มและแบบสงั คมนยิ ม โดยจะมที งั้ การ ใชก ลไกราคา เปน การกาํ หนด และการวางแผนมาจากรฐั บาลสว นกลาง กลา วคอื มที งั้ สว น ที่ปลอยใหประชาชนตัดสินใจดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเอง และสวนที่รัฐบาลพรอมทั้ง เจาหนาทเี่ ขาไปควบคุมและวางแผนการทาํ กิจกรรมตา งๆ ทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทย ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในยุคปจจุบันมีแนวโนมจะเขาสูระบบเศรษฐกิจ แบบผสมมากขน้ึ จะเหน็ ไดจ ากการทร่ี ฐั บาลไดใ หโ อกาสประชาชนมเี สรภี าพทาํ กจิ กรรมทาง ธรุ กจิ ไดม ากขน้ึ โดยอาศัยกลไกราคาเปนเครื่องมือในการตัดสินใจแตกิจกรรมทางธุรกิจใน

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 77 บางลักษณะก็ยังมีความจาํ เปน ตอ งใชว ธิ กี ารควบคมุ หรอื ดาํ เนนิ การโดยรฐั เชน กจิ การไฟฟา ประปา โทรศพั ท ถนน เปน ตน ภาพการสง สนิ คา ขา ว อยา งไรกต็ ามระบบเศรษฐกจิ ของประเทศไทยนบั ตง้ั แตส มยั กรงุ สโุ ขทยั (พ.ศ. 1800 - 1892) ซง่ึ เปน ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรีนยิ ม มีการสงเสรมิ ใหม กี ารคาโดยเสรีและกวางขวาง พอมาถงึ สมยั กรงุ ศรอี ยธุ ยา (พ.ศ. 1893 - 2310) จะเปน ระบบเศรษฐกจิ แบบศกั ดนิ า ทาํ การ เกษตรเปน พื้นฐาน ประชาชนทาํ การผลิตแบบพอยงั ชีพ รายไดห ลักของรัฐบาลมาจากสว ย และภาษีอากร และเร่ิมเปล่ียนแปลงเปนระบบเศรษฐกิจแบบผสมในสมัยกรุงรัตนโกสินทร ตอนตน (พ.ศ. 2325 - 2398) โดยลักษณะระบบเศรษฐกิจจะเปนแบบก้ํากึ่งกันระหวาง เศรษฐกจิ แบบพอยงั ชพี และเศรษฐกจิ แบบตลาด กลา วคอื มกี ารทาํ การเกษตรเพอ่ื บรโิ ภคเอง และทาํ เกษตรเพอ่ื การคา แตก ารทาํ เพอ่ื การคา จะเปน ลาํ ดบั รอง นอกจากการทาํ การเกษตรแลว ในสมัยกรุงรัตนโกสินทรตอนตนนี้ ยังไดเร่ิมมีการอุตสาหกรรมข้ันตนเกิดข้ึนดวย เชน อตุ สาหกรรมเหมอื งแร และนา้ํ ตาลทราย เปน ตน ตอ จากนนั้ หลงั ชว งการเปลยี่ นแปลงการปกครอง ระหวา ง พ.ศ. 2475 - 2504 ระบบ เศรษฐกจิ ไทยเปลย่ี นแปลงไปมาก เนอ่ื งจากประเทศไทยไดเ ปด การคา เสรกี นั ประเทศตะวนั ตกตามขอตกลงใน “สนธสิ ัญญาเบาวร่ิง” เปนผลใหพลงั การผลติ ไมพ ัฒนา และไมส ามารถ จะแขงขันกับคูแขงทางการคาทั้งหลายได ผลผลิตท่ีพอจะกาวหนาและมีคุณภาพสูง ก็ถูก จาํ กดั ดว ยนายทนุ ตางชาติ และนายทนุ เหลานั้นสามารถควบคมุ เศรษฐกิจไทยได นอกจาก นภี้ ายหลงั จากสงครามโลกครง้ั ท่ี 2 (พ.ศ. 2488) สนิ้ สดุ ลง ประเทศไทยตอ งประสบกบั ปญ หา ทางเศรษฐกิจหลายประการ เชน ปญ หาการขาดแคลนสินคา อปุ โภคบริโภค ปญ หาเงินเฟอ ปญ หาการขาดแคลนเงนิ ตราตา งประเทศ และปญ หาจากการทต่ี อ งปฏบิ ตั ติ ามขอ ตกลงตาม สัญญาสมบูรณแบบกับประเทศอังกฤษ ดังน้ันในชวงน้ีประเทศไทยไดมีการแกปญหา โดย ไดม กี ารออกกฎหมายควบคมุ ราคาสินคา หา มกกั ตนุ สนิ คา ใหใชข องท่ีผลติ ขึน้ ในประเทศ มกี ารเปด ธนาคารของคนไทยเพม่ิ มากขนึ้ และใหธ นาคารเปน แหลง เงนิ ทนุ ไปทาํ ธรุ กจิ รฐั บาล จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม ไดใ ชน โยบายเศรษฐกจิ ชาตนิ ยิ ม และการขยายตวั ของทนุ นยิ มโดยรฐั

78 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) เชน รฐั เขา มาสง เสรมิ ใหม กี ารประกอบการอตุ สาหกรรม พาณชิ ยกรรม สาธารณปู โภค ฯลฯ สงเสริมใหคนไทยมีบทบาททางเศรษฐกิจมากขึ้น เชน มีการสงวนอาชีพบางประเภทให คนไทย สวนดานอตุ สาหกรรม รัฐบาลกจ็ ะเขาไปดาํ เนนิ การเอง นับตั้งแต พ.ศ. 2504 เปนตนมา ระบบเศรษฐกิจของไทยเปลี่ยนแปลงมาก อนั เนอ่ื งมาจากการเจรญิ เตบิ โตทางดา นประชากร และปญ หาดานทรพั ยากรซ่งึ มีจาํ กัด โดย รัฐบาลซ่ึงเปนตัวแทนของสังคมตองเขามาทําหนาท่ีเปนผูจัดทําเพื่อแกไขปญหาตางๆ ใน ชว งนเ้ี องจงึ ทาํ ใหป ระเทศไทยใหค วามสาํ คญั ในการวางแผนการพฒั นาเศรษฐกจิ โดยรฐั บาล และประชาชนรวมกันดําเนินการ ซึ่งอาจกลาวไดวาระบบเศรษฐกิจไทยไดเขาสูระบบ เศรษฐกิจแบบผสม โดยมกี ารวางแผนการพัฒนาเศรษฐกจิ และไดเ รม่ิ จัดทาํ เปนแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสงั คมแหงชาตขิ ึ้น โดยเรม่ิ ตงั้ แตฉบับท่ี 1 เมื่อ พ.ศ. 2504 มาจนถงึ ปจ จุบนั คือ ฉบับท่ี 10 ซึ่งมีกําหนดวาระของแผน ดงั น้ี (1) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2504 - 2509 (2) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2510 - 2514 (3) แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 3 พ.ศ. 2515 - 2519 (4) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2520 - 2524 (5) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 5 พ.ศ. 2525 - 2529 (6) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหง ชาติ ฉบับท่ี 6 พ.ศ. 2530 - 2534 (7) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ฉบับที่ 7 พ.ศ. 2535- 2539 (8) แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 พ.ศ. 2540 - 2544 (9) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2545 - 2549 (10) แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบบั ท่ี 10 พ.ศ. 2550 - 2554 ปญหาเศรษฐกจิ ของไทย ประเทศไทยไดช่อื วา เปน ประเทศทีก่ าํ ลังพฒั นา (Developing country) เหมอื นกบั ประเทศตา งๆ ในแถบเอเชียอกี หลายประเทศ ทง้ั น้ี เนื่องจากประเทศไทยประสบปญ หาทาง เศรษฐกิจหลายประการที่สําคัญคือ 1. ความแตกตางของรายได ผลจากการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศในอดีตท่ี ผา นมา มกี ารขยายตัวทางเศรษฐกิจเปน ไปในลักษณะทีข่ าดความสมดุล ระหวางประชาชน ในเมอื งกบั ชนบท ยงั ผลใหเ กดิ ปญ หาความแตกตา งทางรายไดอ ยา งเหน็ ไดช ดั ประชาชนในชนบท ยงั ยากจนมากกวา 10 ลา นคน หรอื ประมาณรอ ยละ 90 ของประชาชนในชนบท จากการสาํ รวจ พบวาผูป ระกอบอาชพี เกษตรกรรม มรี ายไดตํ่ากวาผูทีป่ ระกอบอาชีพอุตสาหกรรม 6 เทา ตวั พาณิชยกรรม เกือบ 10 เทา ตัว และดานบริการกวา 4 เทาตัว อกี ทง้ั ยังตํา่ กวา รายได เฉลย่ี ของประชาชนในชาตดิ ว ย ความแตกตา งของรายได ผปู ระกอบอาชพี ดา นตา งๆ ยงั คง ปรากฏอยใู นปจ จบุ นั ประชาชนทม่ี รี ายไดเ ฉลย่ี ตาํ่ สดุ ของประเทศอยใู นภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื

« ระดับมธั ยมศึกษาตอนตน » 79 2. สินคาขั้นปฐม เปนสินคาพ้ืนฐานของคนไทย อันไดแก สินคาดานการเกษตร เปน สนิ คา ผลติ ผลจากการทาํ นา ทาํ ไร ทาํ สวน เลย้ี งสตั วแ ละการประมง ลกั ษณะสนิ คา เกษตร ไทย ในปจ จบุ นั ราคาผลผลติ ตกตา่ํ เปน สาเหตใุ หเ กษตรกรมรี ายไดน อ ย รายไดไ มค อ ยจะพอ กับรายจา ย ถา เปนเกษตรกรรายยอ ย มักจะประสบปญ หาเกี่ยวกบั ราคาผลผลิตเสมอ อยา งไรก็ตามสินคา ผลผลิตขัน้ ปฐมของคนไทย ถาพิจารณาในภาพรวมของประเทศ สินคาประเภทนี้ยังเปนสินคาสงออกท่ีสําคัญของประเทศ และทํารายไดใหกับประเทศปละ มากๆ 3. การตลาด เปน กลไกท่ีทาํ ใหผ ูซ้ือและผขู ายมาพบกัน และเกดิ มีการแลกเปลีย่ น กนั ในกระบวนการแลกเปลย่ี นนน้ั ตลาดตอ งทาํ หนา ทเี่ กย่ี วกบั การจดั ซอื้ สนิ คา การเกบ็ รกั ษา สนิ คา การขายสินคาและบริการ การจาํ หนา ยมาตรฐานสินคา การขนสง การยอมรับความ เสี่ยงภยั และการเงนิ ลักษณะทางการตลาดของไทยมีท้ังเปนตลาดแบบผูกขาดและตลาดแบบกึ่งแขงขัน ก่ึงผกู ขาด ท่วี า เปนตลาดแบบผูกขาดน้ัน เปนตลาดท่ีมผี ูซือ้ และผขู ายเพยี งรายเดยี ว เชน การผลติ บหุ ร่ีของโรงงานยาสูบ ลักษณะของตลาดแบบน้ี ผูข ายเปนผกู าํ หนดราคาสนิ คา แต เพยี งผเู ดยี ว โดยไมต อ งระมดั ระวงั วา จะมผี แู ขง ขนั สาํ หรบั ลกั ษณะของตลาดอกี แบบหนงึ่ ท่ี เปนกงึ่ แขงขนั ก่ึงผกู ขาดนนั้ เปนลักษณะของผลผลิตที่มาจากผผู ลิตรายใหญเ พยี งไมกรี่ าย เชน บรษิ ัทผูผ ลติ เครือ่ งด่มื บรษิ ทั ผูผ ลติ สรุ า บรษิ ทั ผผู ลติ เหลา นจ้ี ะมผี ผู ลติ นอ ยราย และมี การแขง ขนั กนั ในการทจ่ี ะขายสนิ คา ของตน แตจ ะรวมตวั กนั เพ่ือขึ้นราคาสินคาหรือกําหนด ราคาสินคา ไดงาย ตลาดสนิ คา ไทยอกี อยา งหนง่ึ เปน ตลาดสนิ คา ทม่ี ผี ซู อ้ื และผขู ายจาํ นวนมาก ซง่ึ ตลาด เหลานม้ี ีอยทู ่ัวไปทกุ จงั หวดั อาํ เภอ ตําบลและหมบู า น การตลาดของไทยยงั มปี ญหาสินคา สว นใหญต กอยใู นกลมุ บคุ คลเพยี งไมก ก่ี ลมุ การทมี่ กี ลมุ ผลประโยชนเ หลา นข้ี น้ึ ถา เปน กลมุ ท่ีมคี ณุ ธรรมกจ็ ะกระจายรายไดโ ดยกาํ หนดราคาทเ่ี หมาะสม ไมค ดิ กาํ ไรมาก แตถ า กลมุ บคุ คล

80 หนงั สอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) เหลา นเ้ี ปน บคุ คลทเ่ี หน็ แกไ ด กลมุ เหลา น้ีก็จะรวมกันบบี ผูผลิตใหขายผลผลติ ในราคาตํา่ ซ่งึ สรางความเดอื ดรอ นใหแกประชาชน นอกจากนน้ั การกําหนดราคาสินคา ของเมอื งไทยเรา ยงั ไมมมี าตรฐานโดยเฉพาะอยางย่ิง สินคาดา นการเกษตร 4. การขาดดลุ การคา และดลุ การชาํ ระเงิน คําวา ดุลการคา หมายถงึ รายรบั ราย จายจากการคาระหวางประเทศ ดุลการคาเปนเพียงสวนหนึ่งของดุลการชําระเงินเทานั้น เพราะดุลการชาํ ระเงนิ หมายถึง รายงานท่แี สดงถงึ ยอดรายได - รายจาย ทีป่ ระเทศไดร ับ หรอื รายจายใหแกต างประเทศในระยะเวลา 1 ป ฉะนน้ั ประเทศอาจมดี ลุ การคา ขาดดุล แตมี ดุลการชําระเงินเกินดุลก็ได สําหรับดุลการคาของประเทศไทย ในชวงท่ีมีการพัฒนา อุตสาหกรรมนี้ จะขาดดุลการคากับบางประเทศ เพราะจะตองเสียคาใชจายในการสั่งซื้อ เคร่ืองจักร 5. การวา งงาน การวา งงานยอ มมผี ลกระทบตอ เศรษฐกจิ สงั คม และรวมถงึ การเมอื ง ดว ยผลกระทบทางเศรษฐกจิ เชน กอ ใหเ กดิ ความยากจน เปน ผลกระทบถงึ ปญ หาครอบครวั ปญ หาอาชญากรรม ฯลฯ และมผี ลถงึ การฝก ใฝใ นลทั ธเิ ศรษฐกจิ และลทั ธกิ ารเมอื ง ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาผกู อ การรา ยได ในทางเศรษฐศาสตรม กี ารศกึ ษาและกาํ หนดไวว า ถา ประเทศใดมอี ตั รา การวา งงานเกนิ 4% ของจาํ นวนแรงงานทง้ั หมดแลว จะมผี ลกระทบตอ ระบบเศรษฐกจิ ของ ประเทศนนั้ อยา งรนุ แรง อยา งไรกต็ าม ถงึ แมอ ตั ราการวา งงานจะไมถ งึ 4% ดงั กลา ว กส็ ามารถ ทาํ ใหเกิดปญ หาสังคมข้นึ ได 6. การเงินและการชําระหน้ี การกําหนดและควบคุมปริมาณเงินใหพอดีกับความ ตอ งการและความจาํ เปน ในการหมนุ เวยี นของระบบเศรษฐกจิ เปน สงิ่ จาํ เปน ทรี่ ฐั บาลจะตอ ง กําหนดเปนนโยบายไว เพราะถาปริมาณเงินท่ีใชหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมีมากเกินไป หรอื นอ ยเกนิ ไป เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ปรมิ าณสนิ คา หรอื บรกิ ารรฐั บาลจะตอ งเขา ไปแกไ ขโดยมอบหมาย ใหธ นาคารแหง ประเทศไทยเปน ผคู วบคุมปรมิ าณเงิน ทาํ ได 3 ทาง คือ

« ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน » 81 1. การนาํ หลกั ทรพั ยอ อกขายสตู ลาด ถา รฐั บาลตอ งการเกบ็ เงนิ กข็ ายหลกั ทรพั ย รัฐบาล ถา เงนิ ในมือฝด ลงรฐั บาลกร็ ีบซ้อื หลักทรพั ยก ลบั มาอกี ซึง่ จะเปน การปลอยเงินไปสู ประชาชนเพ่อื ใหเกิดเงินหมุนเวยี น 2. การเพมิ่ หรอื ลดอตั รารบั ชว งซอื้ ลดตวั๋ เงนิ ทาํ ใหธ นาคารพาณชิ ยก ยู มื เงนิ จาก ธนาคารแหงประเทศไทยเพ่ิมข้ึนหรือลดลง ดวยวิธีใหเงินสดในทองตลาดลดลง หรือถาให เงินสดในทองตลาดมีหมุนเวียนคลองตัวก็ตองกเู งินจากธนาคารกลางเพ่มิ ข้นึ เงินสดในมือ ประชาชนจะมมี ากขน้ึ 3. การเพิม่ หรอื ลดอัตราเงนิ สดสาํ รองตามกฎหมาย เมอื่ พจิ ารณาฐานะการคลัง ของรัฐบาล ปงบประมาณ 2540 - 2541 เปนชว งทีเ่ ศรษฐกิจของประเทศตกตา่ํ มาก จะพบ วาสถานภาพเงินคงคลังยังไมมีความม่ันคง รัฐบาลตองประหยัดและจะตองกูเงินจากตาง ประเทศมาชดเชยการขาดดลุ งบประมาณ ซงึ่ ปจ จบุ นั ประเทศไทยเปน หนต้ี า งประเทศจาํ นวน มาก รฐั บาลตอ งตงั้ งบประมาณชดใชห นส้ี นิ ปล ะนบั เปน หมน่ื ลา นบาท ซง่ึ ยงั ผลใหง บประมาณ ทจ่ี ะนาํ มาใชใ นงานพัฒนามนี อ ยมาก 7. เงินเฟอ (Inflation) เงินเฟอ หมายถงึ ภาวะท่รี าคาของสินคาสูงขน้ึ หรือหมาย ถึงภาวะที่คาของเงนิ ลดลง ส่ิงทจี่ ะทาํ ใหเห็นชัดถึงภาวะเงินเฟอ คือ ดชั นีผบู ริโภค เงนิ เฟอ มี 2 ประเภท คือ 1. เงินเฟออยา งออน คอื ภาวะทร่ี าคาของสินคาและบรกิ ารสูงข้นึ เรอื่ ย ๆ ใน อตั ราเล็กนอยราวปละ 2.3 % และไมเ กนิ 5 % 2. เงนิ เฟอ อยา งรนุ แรง คอื ภาวะทรี่ าคาสนิ คา เพม่ิ ขนึ้ อยา งรวดเรว็ ดชั นรี าคา จะสงู ขึน้ กวารอยละ 10 ตอ ป การทเี่ กดิ ภาวะเงินเฟอน้นั ยอมจะทําใหเกดิ ผลกระทบกระเทอื น ดงั น้ี คอื 1. ทําใหเกดิ ผลเสียหายแกก ารพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมของชาติ 2. ทาํ ใหเ กิดภาวะชะงกั งนั ทางเศรษฐกิจ เพราะคาของเงนิ ลดลง 3. เจาหนี้ทวั่ ไปจะเสยี ประโยชนจ ากมลู คา หนท้ี ่เี ปลีย่ นแปลง คอื 4. ผูมรี ายไดจ ากคาจา ง เงินเดือน และผมู ีรายไดค งท่ีอนื่ ๆ จะเดือดรอนจากการ ครองชพี เพราะรายไดไ มทนั กับรายจา ย 5. รฐั บาลประสบปญหามากข้ึนในการบริหารประเทศเพราะรัฐบาลตองกเู งินมาก ข้ึนรัฐบาลตองหาเงินมาใชใหพอกับอัตราการเฟอของเงินทําใหเงินทุนสํารองท่ีเปนเงินตรา ตางประเทศลดลง ผลจากการทรี่ ฐั บาลกาํ หนดใหค า เงนิ บาทลอยตวั เมอ่ื เดอื นกรกฎาคม 2540 ทาํ ให สินคามรี าคาสงู ขน้ึ คาของเงนิ บาทลดลง ทําใหเกดิ เงินเฟอ ปจ จบุ นั เงนิ เฟอ เร่ิมลดลง การเกิดเงนิ เฟอ มไิ ดม ีแตผ ลเสยี อยางเดยี ว ยงั มีประโยชนอ ยูบาง กลา วคือ 1. เปน ผลดแี กล กู หน้ี ลกู หนจี้ ะใชเ งนิ ลดลงเมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ภาวะเงนิ ปจ จบุ นั 2. เกษตรกรมรี ายไดเ พม่ิ ขน้ึ เพราะเมอื่ เกดิ เงนิ เฟอ ราคาผลผลติ ทางการเกษตร จะมรี าคาสูงข้นึ

82 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) 3. ผปู ระกอบธรุ กจิ การคา จะไดร บั ผลประโยชนเ นอื่ งจากเงนิ เฟอ จะชว ยสง เสรมิ การ ลงทุนการคา ทัว่ ๆ ไปใหขยายตัวมากขึน้ แนวทางพฒั นาเศรษฐกิจของไทย การพัฒนาอาชีพและรายได การประกอบอาชีพของคนไทยมีความหลากหลาย มี ทงั้ ขา ราชการพลเรอื น ขา ราชการตาํ รวจ ทหาร ลกู จา งของทางราชการ พนกั งานรฐั วสิ าหกจิ พอ คา แมค า ฯลฯ อาชพี ตางๆ เหลานี้ถา จะจัดเปนกลมุ อาชพี จะได 3 กลมุ อาชพี ไดแก อาชีพเกษตรกรรม อาชพี อุตสาหกรรม และอาชพี บริการ 1. อาชพี เกษตรกร ประชากรสว นใหญประกอบอาชีพทางการเกษตร ดงั นน้ั อาชพี เกษตรจงึ มคี วามสาํ คญั ยงิ่ สาํ หรบั คนไทย อาชพี เกษตรมที งั้ การทาํ นา ทาํ สวน ทาํ ไร และเลย้ี ง สตั ว สนิ คา เกษตรเปน สนิ คา ขนั้ ปฐมของไทย และเปน สนิ คา ทสี่ ง ไปขายตา งประเทศปล ะหลาย หมนื่ ลา นบาท รฐั บาลพยายามสง เสรมิ อาชพี เกษตรมากขนึ้ และพยายามเชญิ ชวนใหเ กษตรกร ไทยเปลยี่ นแปลงการปลกู พชื บางชนดิ เมอื่ เหน็ วา พชื นนั้ มผี ผู ลติ มาและลน ตลาด ทาํ ใหส นิ คา ราคาถูก 2. อาชีพอุตสาหกรรม จากขอมูลของกรมโรงงานอุตสาหกรรมพบวา โรงงาน อุตสาหกรรมในประเทศไทยเปน อุตสาหกรรมขนาดใหญเพยี งรอ ยละ 6 อีกรอ ยละ 94 เปน โรงงานอุตสาหกรรมขนาดยอม อุตสาหกรรมขนาดใหญแทนท่ีจะจางคนงานมาก แตกลับ จางคนงานนอย เพราะมีการใชเครื่องจักรแทนแรงคน ฉะน้ันความหวังท่ีจะเขาไปรับจาง ทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรมจงึ เปนเรอ่ื งยาก แนวโนม ของการขยายตวั ทางอตุ สาหกรรมนนั้ รฐั บาลไดพ ยายามสง เสรมิ ให เอกชน ลงทุน โดยรัฐบาลใหหลักประกัน พรอมทั้งเชิญชวนใหชาวตางประเทศมาลงทุนใน ประเทศไทยมากขน้ึ ถงึ กบั มกี ารจดั ตง้ั เขตอตุ สาหกรรมขนึ้ ที่ อาํ เภอบางละมงุ จงั หวดั ชลบรุ ี อยา งไรกต็ ามการสรา งโรงงานขนาดใหญ ไมส ง ผลตอ การจา งงานเพม่ิ ขนึ้ รฐั บาลจงึ พยายาม ท่ีจะสงเสริมใหมีการลงทุนในอุตสาหกรรมขนาดยอมเพิ่มขึ้น และขยายการลงทุนไปยังตาง จงั หวดั ใหม าก เพ่อื หวังจะใหม ีการจา งงานในสวนภมู ภิ าค มีแผนขยายเมอื งหลกั ทงั้ 4 ภาค ของประเทศ และขยายเขตอตุ สาหกรรมไปยังจังหวดั ใหญๆ ดวย 3. อาชีพบริการ ถาจะแบง เปน กลมุ ยอ ยจะได 3 กลุม คือ กลุมที่หน่ึง ประกอบดวย ขาราชการและลูกจางหนวยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ขาราชการ หมายรวมถึง ทหาร ตํารวจ ดวย กลุมอาชีพนี้มีหนาท่ีใหบริการแกประชาชน เพราะเปน ลูกจา งของรัฐ กลุมทส่ี อง เปน พวกทเี่ ปนลูกจา งหนวยงานเอกชน ตามโรงงานอตุ สาหกรรม ไร สวน และตามบรษิ ัทหา งรา นตางๆ การจางงานจากสถานบริการเหลา นี้ จะอยใู นวงจํากัดรับ ไดจ ํานวนไมมาก และจากความเจรญิ กาวหนา ทางวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี ทําใหความ จําเปน ในการจา งงานลดลง กลุมท่ีสาม เปนกลุมที่ประกอบอาชีพอิสระ แนวทางพัฒนาอาชีพในอนาคตนั้น เนอื่ งจากทางราชการรบั บคุ คลเขา ทาํ งานนอ ย หนว ยงานเอกชนกม็ กี ารจา งงานนอ ยลง ดว ย

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 83 เหตนุ แ้ี นวโนมตอไปในแผนพัฒนา ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) อาชีพอสิ ระมีความ จาํ เปน มากสําหรับประชาชน รัฐบาลก็ไดก าํ หนดเปน นโยบายไวว า “ใหจ ัดการศึกษาใหตรง กบั ความตอ งการของตลาดแรงงาน และใหส ามารถประกอบอาชพี สว นตวั หรอื สรา งงานดว ย ตนเองใหมากข้นึ เนนการพฒั นาคุณภาพของประชากรเปน สําคัญ” การพัฒนาตลาดแรงงาน ในป พ.ศ. 2540 ปญหาแรงงานในประเทศไทยเริม่ รนุ แรงมากขน้ึ โรงงานตางๆ หยดุ กจิ การ มกี ารเลกิ จา งงานมากขน้ึ ทาํ ใหเ กดิ ปญ หาการวา งงานทง้ั ในลกั ษณะทเ่ี ปน การวา งงาน โดยเปด เผย การวา งงานของผมู คี วามรแู ตท าํ งานตา่ํ กวา ระดบั รายไดแ ละความสามารถ ตลอด จนปญหาแรงงานเด็ก รัฐบาลจึงไดเรงหาแนวทางและมาตรการตางๆ ท่ีจะลดความรุนแรง ดา นปญ หาใหน อ ยลง ตลอดจนกาํ หนดนโยบายทจี่ ะพฒั นาเศรษฐกจิ เพอื่ ใหม งี านทาํ มากขน้ึ ดวยวิธกี ารตา ง ๆ เชน 1. การพฒั นาการเกษตรในรปู การเกษตรครบวงจร ตัง้ แตก ารพฒั นาผลผลติ การเกษตร อตุ สาหกรรมทต่ี อ เนอ่ื ง ตลอดจนการจดั การเรอ่ื งตลาดและเสถยี รภาพของราคาใน พชื หลกั ทม่ี อี ยู การพฒั นาการเกษตรแบบผสมผสานทเ่ี ปน การขยายชนดิ พชื และใชพ นื้ ทม่ี าก ขึ้นในเขตชลประทานและเขตนํ้าฝน 2. การสรา งงานเกษตรในฤดูแลง เปน ท่ีทราบกันทั่วไปวา ปญหาในเขตชนบท สวนใหญนั้นเกิดขึ้นในฤดูแลง มาตรการที่จะชวยสรางงานทางการเกษตร ไดแก การนํา เทคโนโลยีคิดคนมาไดไปปฏิบตั ิ เชน การทาํ ฝนเทยี ม ซ่งึ สว นใหญเ ปน พื้นทีช่ นบทยากจน เทคโนโลยีใหมๆ เหลานี้ไดแก การเพิ่มประสทิ ธภิ าพการเพาะปลกู พชื การเลย้ี งสตั ว การใช ประโยชนจ ากแหลง นาํ้ ใหม นี าํ้ พอเพยี งในฤดแู ลง สง ผลใหเ กดิ ผลดใี นดา นการประมง การเลย้ี ง สตั ว การเพาะปลกู ตลอดจนการเพมิ่ มาตรการเกยี่ วกบั ไมย นื ตน ไมโ ตเรว็ เพอ่ื ใชส อยในระดบั หมูบา น การสนบั สนนุ เร่อื งตา งๆ เหลานี้อยางพอเพียง จะกอ ใหเกิดงานทม่ี ผี ลผลติ และราย ไดขึ้นอยางกวา งขวางโดยเฉพาะในฤดแู ลง ซึง่ เปนฤดูทมี่ ปี ญ หาการวา งงานสงู 3. การสรา งงานโดยการสนับสนนุ อุตสาหกรรมชนบท สง เสริมอุตสาหกรรม ชนบทท่ีใชวัตถุดิบทางการเกษตร การสรางงานใหมากข้ึนในตางจังหวัดจะเปนการรองรับ แรงงานจาํ นวนมาก และลดความจาํ เปน ทจี่ ะอพยพเขา มาหางานทาํ ในกรงุ เทพมหานคร หรอื นอกทองถิ่น ในขณะนี้ไดมีการทดลองการใหบริการสนับสนุนอุตสาหกรรมตางจังหวัดโดย วธิ รี ะดมสรรพกาํ ลงั ภาครฐั บาลทม่ี อี ยใู นดา นทนุ เทคโนโลยี การจดั การและการตลาดในหลาย จังหวัด คอื พิษณโุ ลก สงขลา ขอนแกน และกาญจนบรุ ี 4. การสรางงานโดยการพฒั นาอาชพี นอกการเกษตร การขยายการจา งงาน ในสาขาเกษตร จาํ เปน ทจ่ี ะตอ งขยายงานนอกการเกษตรภายในชนบท เชน โครงการสง เสรมิ หัตถกรรมและอุตสาหกรรมในครัวเรือน ซึ่งเปนสินคาออกที่สําคัญประเภทหนึ่งของ ประเทศไทย โดยเนน การใชว ตั ถดุ บิ ในทอ งถนิ่ ใหม ากทสี่ ดุ โดยรฐั บาลตอ งใหค วามชว ยเหลอื จดั ใหม กี ารประสานงานระหวา งหนว ยงานทเ่ี กยี่ วขอ งทเี่ ขา ไปดาํ เนนิ การสง เสรมิ ในเรอื่ งนี้ ฝก

84 หนงั สือเรยี นสาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสังคมศกึ ษา (สค21001) อบรมผูที่สนใจใหมีความรูพิจารณาแหลงสินเช่ือสําหรับผูประกอบกิจกรรมและการตลาด อยา งไรกด็ กี ารทจี่ ะขยายการผลติ ในกจิ กรรมนอกการเกษตร จาํ เปน ตอ งคาํ นงึ ถงึ การเตรยี ม คนและฝกคนใหม ฝี ม ือสอดคลอ งกับความตอ งการของงานนอกการเกษตร อยา งไรกด็ ี แมจ ะมแี นวนโยบายทชี่ ดั เจนดงั กลา วขา งตน แลว กต็ าม แตป ญ หาเรอื่ ง การวางงานในชนบทจะยังคงเปนปญหาอยูตอไปอีกนาน ดังน้ัน การปรับปรุงนโยบายการ พัฒนาการเกษตร เพื่อใหสามารถรองรับแรงงานชนบทไดเพิ่มข้ึน รวมท้ังการเรงรัดขยาย อุตสาหกรรมตางจังหวัดเพ่ือจางแรงงานจากภาคชนบทเปนสิ่งที่จะตองดําเนินการอยางเอา จริงเอาจังมากขึ้น 5. การเตรยี มตัวเขาสตู ลาดแรงงาน ถา นักศึกษาติดตามขาวทางหนงั สือพิมพ จะพบขาวอยูเสมอเกีย่ วกับการทีม่ เี ดก็ ๆ ไปทาํ งานในโรงงานอุตสาหกรรม ท้งั ที่อายยุ ังนอย ยงั ไมพ รอ มทจี่ ะเขา สตู ลาดงาน เดก็ เหลา นจี้ ะไดค า จา งตาํ่ และบางครง้ั ตอ งประสบภยั อนั ตราย จากการทาํ งาน ทง้ั น้เี น่อื งจากเดก็ เหลา น้ันยงั ไมพรอมทจ่ี ะเขา สตู ลาดแรงงาน การเตรียมตวั เขา สตู ลาดแรงงานน้นั จะตองพยายามใหก ารศกึ ษาดา นวชิ าชีพแกเ ด็กๆ โดยการปลกู ฝง ให เด็กมีความรูสึกที่ดีตอการประกอบอาชีพการฝกทักษะอาชีพที่เหมาะสมกับวัย มีผลงาน อาชีพของผูเรียนท่ีกอใหเกิดรายได ซึ่งทําไดโดยการใหการศึกษา ขยายการศึกษาใหกวาง ขวางทั่วถึง ใหเดก็ ไดเรยี นอยางนอย 12 ป การใหการศึกษาแกเด็กนั้น ตองจัดหลักสูตรวิชาชีพเขาไวในหลักสูตรในโรงเรียน ดว ย ซึง่ ปจจบุ ันก็ไดมีการจดั หลกั สูตรวิชาชีพใหเด็กไดเ รียนแลว ถาเปน ผทู ่ไี มไ ดเ รียนอยใู น โรงเรียนก็ควรตองขยายการฝกอบรมวิชาชีพระยะส้ัน โดยใชวิชาการทางการศึกษานอก โรงเรยี น จดั บรกิ ารฝก อบรมใหท ว่ั ถึงท้ังในเมอื งและชนบทหา งไกล เพ่อื ประชาชนเหลา นน้ั จะไดมีความรแู ละทักษะพรอ มทีจ่ ะประกอบอาชพี ได การพฒั นาผลผลติ และการใชเ ทคโนโลยที ี่เหมาะสม ในการพฒั นาผลผลิตการเกษตรนน้ั เทคโนโลยีมีความสําคญั เทคโนโลยี (Technology) คอื วทิ ยาการซงึ่ ไดม าโดยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร รวม ทัง้ สิ่งทเ่ี ปน หลกั การ วิธีการ และเคร่ืองมอื ตางๆ เทคโนโลยที ไี่ ดน าํ มาใชเ กย่ี วกบั การเพมิ่ ผลผลติ ทางการเกษตร ในประเทศไทยเรา มีมากมาย เชน การรูจกั ใชเ ครือ่ งทุนแรง รูจกั การใชป ยุ ชนิดตางๆ รนู ักการปรบั ปรงุ ดนิ รูจกั การผสมพนั ธแุ ละพนั ธสุ ตั ว ทงั้ นเ้ี พอื่ ชว ยเพมิ่ ปรมิ าณและคณุ ภาพของผลผลติ ทางการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตร หมายถึง สิ่งที่ไดจากการทําเกษตรกรรม และรวมถึง ผลติ ภัณฑท่ีทําจากผลติ ผลนน้ั ๆ ดวย ชาวนามอี าชพี ในการทาํ นา โดยการเพาะปลกู ขา วในนา จะเปน โดยการปก ดาํ หรอื การหวานก็ได จนขาวออกรวงและไดเก็บเก่ียวเพื่อนํามานวด เมล็ดขาวที่ไดนี้เรียกวาขาว เปลือก ถาเรานําขาวเปลือกไปสีในโรงสีหรือเอาไปดํา ก็จะไดเปนเมล็ดขาวสีขาว เรียกวา

« ระดบั มัธยมศึกษาตอนตน » 85 ขา วสาร คนเราจงึ ไดน าํ เอาขา วสารนี้ไปหงุ ตมหรอื นึ่งเสรจ็ แลวนจี้ ึงเรียกวาขาว ดงั น้ันขาวจึง เปนผลผลติ ทางการเกษตร ชาวไรกม็ อี าชพี ในการทาํ ไร เชน การทาํ ไรขา วโพด ไรมันสาํ ปะหลัง ไรพ ริก ในการทํา ไรน นั้ ก็ตองเริม่ ตัง้ แตการคัดเลอื กพันธุ การเตรยี มดินเพ่อื การเพาะปลกู การบาํ รงุ รกั ษาพชื ไรจนกวาพืชชนิดนั้น ๆ จะไดดอกไดผล เชน ขาวโพดจะตองใหฝกแลวชาวไรก็เก็บฝก ขาวโพดมาสีนําไปเปนอาหารของสัตว ดังน้ันขาวโพดท่ีไดออกมาจึงเปนผลผลิตทางการ เกษตร ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม ประชากรประมาณรอยละ 75 มีอาชีพทางการ เกษตร ดังน้ัน รายไดสวนใหญของประเทศจึงไดมาจากการนําผลิตผลทางการเกษตรออก ไปจาํ หนา ยในตางประเทศ เชน ขาว ขา วโพด ยางพารา มันสาํ ปะหลงั เปน ตน จากหลกั ฐาน ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ บอกวา ประเทศไทยมีเนอ้ื ท่ีในการเพาะปลกู เพยี งรอยละ 20 ของเนอ้ื ท่ที ง้ั หมด ที่เหลือนอกนั้นก็เปน ท่ีอยอู าศยั แมน าํ้ ลําคลอง ถนนหนทาง ปา เขา ปา กจ็ าํ เปน อยา งยงิ่ ทตี่ อ งสงวนไวเ พอ่ื เปน การรกั ษาตน นาํ้ ลาํ ธาร ปอ งกนั นาํ้ ทว ม และเปน การ สงวนพันธุสตั วปา อกี ดว ย ผลผลิตทางการเกษตร มีประโยชนมากมาย หรือแทบจะกลาวไดวาผลผลิตทาง การเกษตรเปนปจ จยั สําคญั ในการดํารงชวี ติ ของมนษุ ยเลยทเี ดยี ว ซง่ึ อาจจะจําแนกไดดังน้ี 1. อาหาร จะเห็นวามนุษยบริโภคอาหารที่ไดมาจากผลิตผลทางการเกษตรแทบ ทง้ั สนิ้ ดงั จะเหน็ ไดจ ากมนษุ ยบ รโิ ภคขา ว ขา วสาลี ขา วโพด เปน อาหาร ถงึ แมว า มบี างประเทศ ทีป่ ระชากรของเขาบรโิ ภคอาหารจาํ พวกขนมหรือขนมปง แตขนมเหลา นนั้ กท็ าํ มาจากขาว หรอื ขาวสาลี ดงั ที่เราเคยเหน็ แปง ชนิดตา งๆ ท่ที าํ มาจากขาว เชน แปงสาลีก็ทาํ มาจากขาว สาลี แปง ขา วจา วกท็ าํ มาจากขา วเจา เปน ตน แปง เหลา นก้ี น็ าํ ไปผลติ เปน พวกขนมตา งๆ ได หรอื อาจจะเปน พวกเครอื่ งดมื่ ตา งๆ เชน กาแฟ นา้ํ สม ลว นไดม าจากผลติ ผลทางการเกษตร ทัง้ ส้นิ

86 หนังสอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสงั คมศกึ ษา (สค21001) 2. เครอ่ื งนงุ หม กเ็ ปน ปจ จยั สาํ คญั ของมนษุ ย โดยทม่ี นษุ ยส ามารถนาํ ผลติ ผล ทางการเกษตรทใ่ี หเ สน ใยมาทอเปน ผา แลว ทาํ เปน เครอ่ื งนงุ หม ได พชื ทใ่ี หเ สน ใย ไดแ ก ฝา ย ปอ และอน่ื ๆ ผลติ ผลทางเกษตรทน่ี าํ มาใชเ ปน เครอ่ื งนงุ หม น้ี ถอื วา เปน เครอ่ื งอปุ โภค 3. ยารกั ษาโรค ผลติ ผลทางการเกษตรบางชนดิ สามารถนาํ มาสกดั ทาํ เปน ยารกั ษา โรคตางๆ ได เชน กระเทียม ขิง ขา และอ่นื ๆ เม่อื จํานวนประชากรเพ่มิ มากข้นึ เร่อื ยๆ ความจาํ เปน ในการผลติ ยารกั ษาโรคยง่ิ มมี ากขน้ึ ในสภาพของการดาํ เนนิ ชวี ติ และมนษุ ยแ ลว จะหนไี มพ น การเกดิ แก เจบ็ ตาย ไปได 4. ทอ่ี ยอู าศยั การสรา งสถานทอ่ี ยอู าศยั มคี วามจาํ เปน ตอ ชวี ติ มนษุ ยม าก ในสมยั โบราณคนเราไดอ าศยั อยตู ามถาํ้ พอนานเขา กม็ วี วิ ฒั นาการไปเรอ่ื ยๆ รจู กั การกอ สรา งทอ่ี ยู อาศยั เอง ซง่ึ อาจจะเรม่ิ จากการนาํ เอาใบไมใ บหญา มามงุ หลงั คา หรอื อาจจะเปน การนาํ เอาหนงั สตั วม าทาํ เปน ทอ่ี ยอู าศยั ตอ มากร็ จู กั การนาํ เอาตน ไมม าแปรรปู เพอ่ื ใชก อ สรา งอาคารบา น เรอื น เพอ่ื ใหค งทนและถาวรตอ ไป เมอ่ื คนใชต น ไมม ากเขา ตน ไมก น็ อ ยลงทกุ ที จนถงึ ปจ จบุ นั น้ีก็ไดมีการปลูกปาข้ึน ซ่ึงการปลูกปาหรือปลูกตนไมน้ีลวนแตเปนผลผลิตทางการเกษตร ทง้ั สน้ิ 5. ผลติ ภณั ฑ เปน ผลติ ภณั ฑท ไ่ี ดจ ากผลติ ผลทางการเกษตรแทบทง้ั สน้ิ อนั ไดแ ก อาหารกระปอ ง ไมอ ดั ผมผง และเครอ่ื งหนงั ตา งๆ เปน ตน การอตุ สาหกรรม อตุ สาหกรรม หมายถงึ การผลติ สง่ิ ของปรมิ าณมากเพอ่ื จาํ หนา ยเปน สนิ คา อตุ สาหกรรม ไดแ บง ออกตามลกั ษณะและขนาดของกจิ การไดเ ปน 3 ประเภท คอื 1. อตุ สาหกรรมขนาดใหญ หมายถงึ อตุ สาหกรรมทต่ี อ งใชเ ครอ่ื งจกั รกล อปุ กรณ และเงนิ ทนุ จาํ นวนมาก เชน โรงงานผลติ ปนู ซเิ มนต โรงงานผลติ เครอ่ื งดม่ื เปน ตน 2. อตุ สาหกรรมขนาดยอ ม เปน อตุ สาหกรรมทม่ี ขี นาดเลก็ ใชค นงานตง้ั แต 7 คนขน้ึ ไป แตไ มเ กนิ 50 คน และใชเ งนิ ทนุ ไมเ กนิ 2 ลา นบาท อตุ สาหกรรมขนาดยอ มนใ้ี ชว ตั ถทุ ไ่ี ด จากอุตสาหกรรมขนาดใหญมาผลิตของสําเร็จรูปอีกตอหนึ่ง เพ่ือจะไดเปนเครื่องอุปโภค บรโิ ภค เชน การทํานาํ้ ตาล การฟองหนงั การทาํ น้ําแขง็ การทาํ รองเทา เปน ตน 3. อุตสาหกรรมในครอบครัว หมายถึง อุตสาหกรรมขนาดเล็กท่ีทํากันใน ครอบครวั ใชแรงงานของคนในครอบครวั เปนสว นใหญ ทําผลิตภณั ฑท่ีใชค วามชํานาญทาง ฝมือแลวนําออกจําหนาย เชน การประดิษฐดอกไม การทําอาหารหมักดอง การทําขนม เปน ตน ประเทศทเ่ี จรญิ กา วหนา ทางดา นอตุ สาหกรรมได จะตอ งเปน ประเทศทม่ี คี วามเจรญิ ทางดา นวชิ าการสงู สามารถผลติ สนิ คา ทมี่ คี ณุ ภาพดอี อกไปจาํ หนา ยแขง ขนั กบั ประเทศอนื่ ๆ ได ในกรณขี องประเทศไทยยงั มอี ตุ สาหกรรมอยไู มม ากนกั และอตุ สาหกรรมทมี่ อี ยแู ลว สว น ใหญก เ็ ปนอตุ สาหกรรมขนาดเล็กลงทุนไมมาก

« ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน » 87 แนวโนม ในการพฒั นาเศรษฐกจิ ของไทย ประเทศไทยไดเ รม่ิ มกี ารวางแผนพฒั นาเศรษฐกจิ เปน ครง้ั แรกเมอ่ื พ.ศ. 2504 แผนแรก เปน แผนระยะ 6 ป สว นแผนท่ี 2 - 5 เปน แผนระยะ 5 ป ปจ จบุ นั กาํ ลงั อยใู นชว งของแผน พฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ ในแผนพฒั นาฉบบั ท่ี 8 เนน “คน” เปน ศนู ยก ลางของการพฒั นา ไดก าํ หนดยทุ ธศาสตรก ารพฒั นาไวด งั ตอ ไปน้ี 1. ยทุ ธศาสตรก ารเพม่ิ ศกั ยภาพของคนทกุ กลมุ เปา หมาย อายแุ ละเพศ ใหค น มที างเลอื กในชวี ติ และเขา มามสี ว นรว มในการพฒั นาประเทศอยา งยง่ั ยนื โดย 1.1 ปรับปรุงกระบวนการเรียนรแู ละฝกอบรมใหคิดเปนทําเปน มีการเรียนรจู าก ประสบการณแ ละของจริง ไดร บั การศกึ ษาอยา งตอ เน่ืองหลากหลาย สนับสนนุ ใหเ กดิ ความ เชอ่ื มโยง องคค วามรสู ากลเขา กบั ภมู ปิ ญ ญาไทยทม่ี วี วิ ฒั นาการจากพน้ื ฐานสงั คมการเกษตร ภายใตบ รบิ ทของวฒั นธรรม คา นยิ มดง้ั เดมิ ทไ่ี มแ ปลกแยกจากธรรมชาติ สรา งแนวการดาํ รง ชีวิตที่ประชาชนรูเทาทันการพัฒนาและสามารถรักษาระดับการพัฒนาท่ีเหมาะสมไดดวย ตนเองอยางตอ เนอื่ งและยนื นาน 1.2 สนับสนุนใหเกิดการกระจายอํานาจการศึกษาเพ่ือเปดโอกาสใหครอบครัว ชุมชน และทองถ่ินเขามามีบทบาท สามารถจัดการศึกษาไดพรอมๆ ไปกับผอนคลายกฎ ระเบยี บขอ บงั คบั ตา งๆ และใหส งิ่ จงู ใจเพม่ิ เตมิ แกภ าคเอกชนใหเ ขา มามบี ทบาทในการจดั การ ศึกษามากข้ึน 1.3 ใหค วามสาํ คญั เปน ลาํ ดบั สงู ในการปฏริ ปู การฝก หดั ครเู พอื่ ใหค รเู ปน วชิ าชพี ท่ี มเี กยี รตมิ ศี กั ดศ์ิ รี สามารถดงึ ดดู คนเกง คนดเี ขา เรยี นวชิ าครู รวมทงั้ เรง รดั การพฒั นาครปู ระจาํ การและบุคลากรทางดา นการศกึ ษาและปฏริ ูปการเรยี นการสอนในการผลติ ครูอยา งจรงิ จงั 1.4 เสริมสรางศักยภาพของส่ือสารมวลชน เพ่ือใหสนับสนุนการพัฒนาโดยเปน ยทุ ธศาสตรท สี่ ามารถดาํ เนนิ การไดท นั ทอี ยา งตอ เนอ่ื งไปพรอ มๆ กบั การเพม่ิ ทกั ษะของการ เปนผูรับสารหรือผูบริโภคสื่อที่มีคุณภาพ โดยเนนบทบาทของส่ือมวลชนในการสงเสริม กระบวนการเรยี นรูและการสรา งปญญาท้งั ในระดับทอ งถนิ่ และในกระแสโลกาภิวัฒน 1.5 สรา งบรรยากาศแวดลอมที่เอ้อื ตอ การพัฒนาเด็กและเยาวชน 1.6 สนบั สนนุ ใหมกี ารพฒั นาจติ ใจคนใหเปน คนดีมีวินยั คณุ ธรรม และจริยธรรม ตลอดจนสง เสริมวัฒนธรรมไทย โดยเนนศกั ดิ์ศรีและศกั ยภาพของคนไทยในการสรา งสรรค ผลงานศลิ ปะ 1.7 ปรับปรุงระบบบริการสาธารณสุข ใหสามารถบริการประชาชนไดอยางมี ประสทิ ธภิ าพและบรรลเุ ปา หมายของการมสี ขุ ภาพดถี ว นหนา โดยเนน การปอ งกนั โรคและสง เสริมสุขภาพ รวมทงั้ ใหมกี ารพฒั นาภูมิปญญาทางดา นการรกั ษาพยาบาลแบบพืน้ บาน เชน แพทยแผนโบราณ สมุนไพร เปน ตน

88 หนังสอื เรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสังคมศึกษา (สค21001) 2. ยทุ ธศาสตรก ารเสรมิ สรา งการมสี ว นรว มของคนในกระบวนการพฒั นา โดย 2.1 สง เสรมิ ความเขม แขง็ ของสถาบนั ครอบครวั และชมุ ชนใหม บี ทบาทและสว น รว มในการพฒั นาเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม สง่ิ แวดลอ ม และการเมอื งการปกครอง โดยให ความสาํ คญั ในการสรา งความเขม แขง็ และมคี วามตอ เนอ่ื ง 2.2 สนบั สนนุ การเพม่ิ ศกั ยภาพและขดี ความสามารถของผดู อ ยโอกาสในสงั คมให สามารถมีรายไดและพง่ึ ตนเองได เพ่อื ชว ยลดชอ งวา งระหวา งรายได 2.3 สง เสรมิ บทบาทของสตรใี หเ ปน พลงั ในการพฒั นา และเปน ผมู สี ว นรว มในการ ตดั สนิ ใจในทกุ ระดบั ทง้ั น้ี เพอ่ื บรู ณาการและสรา งความสมดลุ ของการพฒั นา 2.4 เรงรัดการพัฒนาชนบทและกระจายความเจริญไปสูภูมิภาค โดยเนนใหมี โครงสรา งขน้ั พน้ื ฐาน ทง้ั ทางเศรษฐกจิ และสงั คมเพอ่ื กระตนุ ใหเ กดิ การพฒั นาชนบททย่ี ง่ั ยนื 2.5 เพ่มิ บทบาทของประชาชนในการเรียนรกู ารพิทักษทรัพยากรธรรมชาติ และ จดั การสง่ิ แวดลอ มควบคไู ปกบั การเตรยี มคนและชมุ ชนเพอ่ื รองรบั ผลกระทบของการพฒั นา จากภาคนอกชนบท 2.6 พัฒนาและปรับปรุงระบบประกันสังคมใหสามารถเขาถึงกลุมเปาหมายตางๆ ใหก วา งขวางยง่ิ ขน้ึ 2.7 พฒั นาระบบการเมอื งใหม อี ดุ มการณป ระชาธปิ ไตยอยา งเปน วถิ ชี วี ติ ใหม คี า นยิ ม วฒั นธรรม กตกิ า และวธิ กี ารบรหิ ารจดั การทด่ี ี มปี ระสทิ ธภิ าพและเหมาะสมกบั สงั คม ไทยเพอ่ื สนบั สนนุ การพฒั นาดา นเศรษฐกจิ และสงั คมใหย ง่ั ยนื สรปุ ในปจ จบุ นั น้ี ระบบเศรษฐกจิ ของประเทศ จะมที ง้ั ภาครฐั และเอกชนตา งมสี ว น เปนเจาของทรัพยากรและปจจัยการผลิตตางๆ โดยเอกชนใชกําไรเปนส่งิ จูงใจเขามาทําการ ผลติ และอาศยั กลไกราคาในการจดั ทรพั ยากร และมบี างกจิ กรรมทค่ี วบคมุ โดยรฐั ทง้ั นเ้ี พอ่ื แกไ ขปญ หาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ และคมุ ครองผลประโยชนข องสงั คมโดยรวม นอกจากนร้ี ฐั จะเขา มามบี ทบาทในกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ เทา ทจ่ี าํ เปน ไดแ ก 1) ดําเนินการเก่ยี วกับการปองกันประเทศ เชน ดานการทหาร ตํารวจและศาล เปน ตน 2) ดาํ เนนิ การดา นเศรษฐกจิ พน้ื ฐาน เชน สรา งสะพาน ถนน เขอ่ื น เปน ตน 3) ควบคมุ และดาํ เนนิ การดา นการศกึ ษาและสาธารณสขุ 4) ดาํ เนนิ กจิ การดา นสาธารณปู โภค เชน การรถไฟ การประปา สอ่ื สารไปรษณยี  เปน ตน 5) ดาํ เนนิ การเพอ่ื พฒั นาเศรษฐกจิ เพอ่ื กระจายรายไดแ ละทรพั ยากรจากชมุ ชนเมอื ง ไปยงั ชนบท โดยกาํ หนดเปน นโยบายสาํ คญั ๆ เชน การกระตนุ เศรษฐกจิ ไดแ ก กองทนุ หมบู า น SME วสิ าหกจิ ชมุ ชน โครงการพฒั นาการศกึ ษา โครงการพฒั นาแหลง นาํ้ และการสรา งงาน ในรปู แบบตา งๆ โดยรฐั บาลไดก าํ หนดเปน โยบายไวใ นแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหง ชาติ ฉบบั ท่ี 8 - 9 เปน ตน

« ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน » 89 หลกั การ และวธิ กี ารเลอื กใชท รพั ยากรเพอ่ื การผลติ ในการผลติ เพอ่ื สนองตอ ความตอ งการของมนษุ ย ผผู ลติ ตอ งคาํ นงึ ถงึ สง่ิ ตอ ไปน้ี ปจ จยั การผลติ ปจ จยั การผลติ หมายถงึ ทรพั ยากรทใ่ี ชเ พอ่ื การผลติ เปน สนิ คา และ บรกิ าร ในความหมายทางเศรษฐศาสตรแ บง ปจ จยั การผลติ เปน 4 ประเภท ดงั น้ี 1. ทด่ี นิ หมายรวมถงึ ทด่ี นิ และทรพั ยากรธรรมชาตทิ ง้ั หมด เชน ปา ไม สตั ว นาํ้ แรธ าตุ ปรมิ าณนาํ้ ฝน เปน ตน สง่ิ เหลา นจ้ี ะมอี ยตู ามธรรมชาติ มนษุ ยส รา งขน้ึ เองไมไ ด แต สามารถพฒั นาปรบั ปรงุ คณุ ภาพของทรพั ยากรธรรมชาตไิ ดบ า ง เชน การปรบั ปรงุ ทด่ี นิ ใหอ ดุ ม สมบรู ณข น้ึ เปน ตน ผลตอบแทนจากการใชท ด่ี นิ เราเรยี กวา คา เชา 2. แรงงาน หมายถงึ แรงกาย แรงใจ ความรู สตปิ ญ ญา และความคดิ ทม่ี นษุ ยท มุ เท ใหแกการผลิตสินคาและบริการ แตในท่ีน้ีแรงงานสัตวจะไมถือเปนปจจัยการผลิตประเภท แรงงาน แตถ อื เปน ทนุ ประเภทมชี วี ติ ผลตอบแทนของแรงงานเรยี กวา คา จา งและเงนิ เดอื น โดยทว่ั ไปแลว แรงงานแบง เปน 3 ประเภทคอื - แรงงานฝม อื เชน นกั วชิ าการ แพทย นกั วชิ าชพี ตา งๆ เปน ตน - แรงงานกง่ึ ฝม อื เชน ชา งไม ชา งเทคนคิ พนกั งานเสมยี น เปน ตน - แรงงานไรฝ ม อื เชน กรรมกรใชแ รง นกั การภารโรง ยาม เปน ตน 3. ทนุ ในความหมายทางเศรษฐศาสตร หมายถึง สงิ่ กอสราง และเครอื่ งจักร เคร่อื ง มือท่ีใชในการผลติ นอกจากนท้ี นุ ยงั แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 3.1 เงนิ ทนุ หมายถงึ ปรมิ าณเงนิ ตราทเ่ี จา ของเงนิ นาํ ไปซอ้ื วตั ถดุ บิ จา ยคา จา ง คา เชา และดอกเบย้ี 3.2 สนิ คา ประเภททนุ หมายถงึ สง่ิ กอ สรา ง รวมถงึ เครอ่ื งมอื เครอ่ื งจกั ร ทใ่ี ชใ นการ ผลติ เปน ตน ผลตอบแทนจากเงนิ ทนุ คอื ดอกเบย้ี 4. ผปู ระกอบการ หมายถงึ บคุ คลทส่ี ามารถนาํ ปจ จยั การผลติ ตา ง ๆ มาดาํ เนนิ การ ผลิตใหมีประสิทธิภาพท่สี ุด โดยอาศัยหลักการบริหารท่ดี ี การตัดสินใจจากขอมูลหรือจาก เกณฑม าตรฐานอยา งรอบคอบ รวมถงึ ความรบั ผดิ ชอบ ผลตอบแทน คอื กาํ ไร เร่ืองที่ 3 คณุ ธรรมในการผลติ และการบริโภค การบรโิ ภค หมายถงึ การแลกเปลย่ี นสนิ คา และการบรกิ ารโดยใชเ งนิ เปน สอ่ื กลาง เพอ่ื ตอบสนองความตอ งการบรโิ ภคของบคุ คล เชน การใชเ งนิ ซอ้ื อาหาร การใชเ งนิ ซอ้ื ทอ่ี ยอู าศยั การใชเ งนิ ซอ้ื เครอ่ื งนงุ หม การใชเ งนิ ซอ้ื ยารกั ษาโรค การใชเ งนิ ซอ้ื ความสะดวกสบายเพอ่ื การ พกั ผอ นหยอ นใจ เปน ตน การผลติ หมายถงึ การสรา งสนิ คา และบรกิ ารเพอ่ื ตอบสนองการบรโิ ภคของบคุ คล คณุ ธรรม เปน คณุ งามความดที จ่ี ะตอ งเสรมิ สรา งใหเ กดิ ทง้ั ในผผู ลติ และผบู รโิ ภค

90 หนงั สอื เรยี นสาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสงั คมศกึ ษา (สค21001) ในแงผูผลิต ตองมีความซ่ือสัตยในการไมปลอมปนสารมีพิษหรือสารท่ีมีประโยชน เขามาในกระบวนการผลิต หรือหากจําเปนตองใชก็ตองใชในปริมาณท่ปี ลอดภัยและไมเอา เปรยี บผบู รโิ ภค รวมทง้ั ควรแจง ใหผ บู รโิ ภคทราบ เพอ่ื ใหอ ยใู นวจิ ารณญาณของผบู รโิ ภคทจ่ี ะ เลอื กใช ขณะเดยี วกนั กต็ อ งไมป ลอ ยสารพษิ หรอื สง่ิ ทก่ี อ ใหเ กดิ มลภาวะตอ สง่ิ แวดลอ มซง่ึ จะมี ผลกระทบตอ คนอน่ื คณุ ธรรมของผผู ลติ ทส่ี าํ คญั มดี งั น้ี 1. ความขยนั เปน ความพยายาม มมุ านะทจ่ี ะประกอบการในการผลติ และบรกิ ารให ประสบผลสาํ เรจ็ อยา งไมย อ ทอ ตอ ปญ หาและอปุ สรรค 2. ความซอ่ื สตั ย โดยเฉพาะซอ่ื สตั ยต อ ผบู รโิ ภค เชน ไมค า กาํ ไรเกนิ ควร ไมโ ฆษณา สินคาเกินความเปนจริง ไมปลอมปนสินคา ไมผลิตสินคาท่ไี มไดคุณภาพ หรือสินคาท่ผี ิด กฎหมาย ฯลฯ 3. ความรับผิดชอบ ในการผลิตสินคาและบริการเพ่อื สนองตอความตองการของผู บรโิ ภค และไมส ง ผลกระทบตอ สงั คมและสง่ิ แวดลอ ม รบั ผดิ ชอบตอ ความเสยี หายอนั เกดิ จาก การผลติ และบรกิ าร 4. พฒั นาคณุ ภาพสนิ คา เนน ใหส นิ คา และบรกิ ารเปน ทพ่ี งึ พอใจของผบู รโิ ภค 5. ดแู ลสงั คม คอื แบง สว นกาํ ไรทไ่ี ดร บั คนื สสู งั คม เชน ทาํ กจิ กรรมเพอ่ื สว นรวม เชน สง่ิ ทเ่ี ปน สาธารณะประโยชน การใหค วามรทู ถ่ี กู ตอ ง ชว ยเหลอื ผดู อ ยโอกาสในรปู แบบตา งๆ ฯลฯ ในแงผ บู รโิ ภค กต็ อ งใชส ตปิ ญ ญาในการพจิ ารณาวา ควรเชอ่ื คาํ โฆษณาของสนิ คา หรอื ไม และจะใชอ ยา งไรใหค มุ คา และไมท ง้ิ ของเหลอื ใชใ หเ ปน มลภาวะตอ สง่ิ แวดลอ ม ใหค วามรว ม มอื ในการกาํ จดั ขยะอยา งถกู วธิ เี พอ่ื สขุ ภาวะของทกุ คนในครอบครวั และในชมุ ชน คณุ ธรรมของผบู รโิ ภค ในการเลอื กสนิ คา และบรกิ ารผบู รโิ ภคควรคาํ นงึ ถงึ ความจาํ เปน หรอื ประโยชนต อ การดาํ รงชวี ติ คณุ ธรรมทส่ี าํ คญั มดี งั น้ี 1. ใชต ามความจาํ เปน ในการบรโิ ภคสนิ คา หรอื บรกิ ารใหส อคคลอ งกบั วถิ กี ารดาํ เนนิ ชวี ติ ไมก กั ตนุ สนิ คา 2. พจิ ารณาประโยชนท จ่ี ะไดร บั จากการซอ้ื สนิ คา และบรกิ าร 3. ประหยดั ซง่ึ ควรพจิ ารณาถงึ คณุ ภาพ ราคาสนิ คา การบรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพ ยตุ ธิ รรม เหมาะสมกบั คา บรกิ าร 4. มคี า นยิ มในการบรโิ ภคสนิ คา ผลติ ภณั ฑไ ทย ในปจ จบุ นั หนว ยธรุ กจิ ตา งๆ มกี ารโฆษณา ประชาสมั พนั ธ ขายสนิ คา และบรกิ าร มากขน้ึ ซง่ึ เมอ่ื บางครง้ั มกี ารโฆษณาชวนเชอ่ื เกนิ จรงิ ทาํ ใหผ บู รโิ ภคไมท ราบความจรงิ เกย่ี ว กับคุณภาพของสินคา ดังน้ันในการซ้ือสินคาและบริการใดๆ ผูบริโภคจึงควรพิจารณาถึง คณุ ภาพ ความจาํ เปน ของสนิ คา และบรกิ ารเพอ่ื ประโยชนข องผบู รโิ ภค

« ระดับมัธยมศกึ ษาตอนตน » 91 ปจ จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ การบรโิ ภค 1. ราคาของสนิ คา ผบู รโิ ภคโดยทว่ั ไปจะซอ้ื สนิ คา บรกิ ารทเ่ี ปน ไปตามความตอ งการ ความจาํ เปน ตอ การดาํ รงชวี ติ และมรี าคาทไ่ี มแ พงเกนิ ไปแตม คี ณุ ภาพดี 2. รสนยิ มของผบู รโิ ภค ผบู รโิ ภคมรี สนยิ มทแ่ี ตกตา งกนั บางคนมรี สนยิ มทช่ี อบสนิ คา และบรกิ ารทม่ี าจากตา งประเทศ ผบู รโิ ภคบางคนมรี สนยิ มของความเปน ไทย กม็ กั จะซอ้ื สนิ คา และบรกิ ารทผ่ี ลติ ขน้ึ ภายในประเทศเทา นน้ั 3. รายไดข องผบู รโิ ภค รายไดข องผบู รโิ ภค เปน ปจ จยั ทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ การบรโิ ภค ถา ผู บรโิ ภคมรี ายไดน อ ยมกั ตอ งการสนิ คา และบรกิ ารทร่ี าคาถกู เพอ่ื ใหส ามารถดาํ รงชวี ติ อยไู ดไ ม ขดั สน ถา ผบู รโิ ภคมรี ายไดส งู มกั ตอ งการสนิ คา และบรกิ ารทม่ี คี ณุ ภาพดี แมจ ะราคาสงู กต็ าม 4. ระบบซอ้ื ขายเงนิ ผอ น เปน ระบบซอ้ื ขายทช่ี ว ยใหผ มู รี ายไดน อ ยมโี อกาสไดบ รโิ ภค สนิ คา ทม่ี รี าคาแพงได 5. การโฆษณา การโฆษณาเปน การทาํ ตลาด ทาํ ใหผ บู รโิ ภครจู กั สนิ คา และบรกิ าร สนิ คา และบริการที่มีการทุมทุนโฆษณามากๆ มีสวนทําใหผูบริโภคหันไปซ้ือสินคาและบริการน้ัน มากข้ึน 6. การคาดคะเนราคาภายหนา ถา ผบู รโิ ภคมกี ารคาดวา สนิ คา ใดมผี ลผลติ นอ ยและราคา จะแพงขน้ึ ผบู รโิ ภคกจ็ ะมกี ารซอ้ื สนิ คา นน้ั กนั มาก 7. ฤดกู าล เชน ฤดรู อ น ผบู รโิ ภคจะหาซอ้ื เสอ้ื ผา ทส่ี วมใสส บายไมร อ น ฤดฝู น ผบู รโิ ภค จะหาซอ้ื เสอ้ื ผา และเครอ่ื งปอ งกนั ฝนกนั มาก เปน ตน เร่อื งท่ี 4 กฎหมายและขอมูลการคมุ ครองผบู รโิ ภค หนว ยงานทค่ี มุ ครองผบู รโิ ภค กองคมุ ครองผบู รโิ ภคดา นโฆษณา 0-2629-7037-9 , 0-2629-7041-3 กองคมุ ครองผบู รโิ ภคดา นฉลาก 0-2629-7048-50 , 0-2629-7052-5 กองคมุ ครองผบู รโิ ภคดา นสญั ญา 0-2629-7061-3 , 0-2629-7065-8 กองเผยแพรแ ละประชาสมั พนั ธ 0-2629-8250-2 , 0-2629-8254-6 กองนติ กิ าร 0-2629-8259-60 , 0-2629-8262-4 สาํ นกั งานเลขานกุ ารกรม 0-2629-8243 , 0-2629-8245-8 การพทิ กั ษส ทิ ธผ์ิ บู รโิ ภค รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2540 เปน รฐั ธรรมนญู ฉบบั แรกทใ่ี ห ความสาํ คญั ของการคมุ ครองผบู รโิ ภค โดยบญั ญตั ถิ งึ สทิ ธขิ องผบู รโิ ภคไวใ นมาตรา 57 วา “สทิ ธขิ องบคุ คลซง่ึ เปน ผบู รโิ ภคยอ มไดร บั ความคมุ ครอง ทง้ั นต้ี ามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ”ิ

92 หนงั สือเรยี นสาระการพัฒนาสังคม รายวิชาสงั คมศึกษา (สค21001) พระราชบัญญัติคุมครองผูบริโภค พ.ศ. 2522 ซึ่งแกไขเพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติ คุมครองผูบริโภค (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2541 ไดบัญญัติสิทธิของผูบริโภคท่ีจะไดรับความ คมุ ครองตามกฎหมาย 5 ประการ ดงั น้ี 1. สิทธิท่จี ะไดรับขาวสารรวมท้งั คําพรรณนาคุณภาพท่ถี ูกตองและเพียงพอเก่ยี วกับ สนิ คา หรอื บรกิ าร ไดแ ก สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั การโฆษณาหรอื การแสดงฉลากตามความเปน จรงิ และ ปราศจากพษิ ภยั แกผ บู รโิ ภค รวมตลอดถงึ สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ทราบขอ มลู เกย่ี วกบั สนิ คา หรอื บรกิ าร อยา งถกู ตอ งและเพยี งพอทจ่ี ะไมห ลงผดิ ในการซอ้ื สนิ คา หรอื รบั บรกิ ารโดยไมเ ปน ธรรม 2. สทิ ธทิ จ่ี ะมอี สิ ระในการเลอื กหาสนิ คา หรอื บรกิ าร ไดแ ก สทิ ธทิ จ่ี ะเลอื กซอ้ื สนิ คา หรอื รบั บรกิ ารโดยความสมคั รใจของผบู รโิ ภค และปราศจากการชกั จงู ใจอนั ไมเ ปน ธรรม 3. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความปลอดภยั จากการใชส นิ คา หรอื บรกิ าร ไดแ ก สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั สนิ คา หรือบริการท่ีปลอดภัย มีสภาพและคุณภาพไดมาตรฐานเหมาะสมแกการใช ไมกอใหเกิด อนั ตรายตอ ชวี ติ รา งกายหรอื ทรพั ยส นิ ในกรณใี ชต ามคาํ แนะนาํ หรอื ระมดั ระวงั ตามสภาพของ สนิ คา หรอื บรกิ ารนน้ั แลว 4. สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ความเปน ธรรมในการทาํ สญั ญา ไดแ ก สทิ ธทิ จ่ี ะไดร บั ขอ สญั ญาโดย ไมถ กู เอารดั เอาเปรยี บจากผปู ระกอบธรุ กจิ 5. สิทธิท่ีจะไดรับการพิจารณาและชดเชยความเสียหาย ไดแก สิทธิท่ีจะไดรับการ คมุ ครองและชดใชคาเสียหาย เม่อื มีการละเมิดสิทธิของผบู ริโภคตามขอ 1, 2, 3 และ 4 ดงั กลา ว ขอ ควรปฏบิ ตั สิ าํ หรบั ผบู รโิ ภคในการซอ้ื สนิ คา หรอื บรกิ าร ขอควรปฏิบัติหลังจากซ้ือสินคาหรือบริการ ผูบริโภคมีหนาท่ีในการใชความ ระมดั ระวงั ตามสมควร ในการซอ้ื สนิ คา หรอื บรกิ าร ไดแ ก การใหค วามสาํ คญั กบั ฉลากของ สนิ คา และการโฆษณาสนิ คา หรอื บรกิ าร 1. ผบู รโิ ภคตอ งตรวจดฉู ลากของสนิ คา เพอ่ื เปน ขอ มลู ในการเปรยี บเทยี บสนิ คา แตล ะ ยห่ี อ กอ นตดั สนิ ใจเลอื กสนิ คา ฉลากของสนิ คา ทค่ี วบคมุ จะตอ งระบขุ อ ความดงั ตอ ไปน้ี ชอ่ื ประเภท หรอื ชนดิ ของสนิ คา ทแ่ี สดงใหเ ขา ใจ ไดว า สนิ คา นน้ั คอื อะไร ในกรณที ่ี เปน สนิ คา สง่ั หรอื นาํ เขา มาในราชอาณาจกั รเพอ่ื ขายใหร ะบชุ อ่ื ประเทศทผ่ี ลติ ดว ย ช่อื หรือเคร่อื งหมายการคา ท่จี ดทะเบียนในประเทศไทย ของผผู ลิตเพอ่ื ขายใน ประเทศไทย ชอ่ื หรอื เครอ่ื งหมายการคา ทจ่ี ดทะเบยี นในประเทศไทย ของผสู ง่ั หรอื นาํ เขา มาใน ราชาอาณาจกั รเพอ่ื ขาย สถานทต่ี ง้ั ของผผู ลติ เพอ่ื ขาย หรอื ของผสู ง่ั หรอื ผนู าํ เขา มาในราชอาณาจกั รเพอ่ื ขายแลว แตก รณี ตอ งแสดงขนาดหรอื มติ ิ หรอื ปรมิ าณ หรอื ปรมิ าตร หรอื นาํ้ หนกั ของสนิ คา แลว แต กรณี สาํ หรบั หนว ยทใ่ี ชจ ะใชช อ่ื เตม็ หรอื ชอ่ื ยอ หรอื สญั ลกั ษณแ ทนกไ็ ด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook