1 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศึกษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนา ย หนังสือเรยี นเลม นี้จดั พิมพดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลขิ สทิ ธ์เิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 13/2554
2 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ าศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศกึ ษา ลิขสิทธเิ์ ปนของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 13/2554
3 คํานาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียน ชุดใหมน้ีข้ึน เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใ น ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมอ่ื ศกึ ษาแลวยังไมเ ขาใจ สามารถกลบั ไปศกึ ษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูห ลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในช้ันเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถ่ิน จากแหลงเรยี นรูและจากส่อื อน่ื ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเ รียนทีอ่ ยูน อกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.
สารบญั 4 คํานาํ หนา คําแนะนาํ การใชหนงั สือเรียน โครงสรางรายวิชาศิลปศึกษา ระดับประถมศึกษา 5 บทที่ 1 ทัศนศิลปพ นื้ บา น 6 7 เรื่องท่ี 1 ทัศนศิลปพ ้นื บา น 8 เรื่องที่ 2 องคประกอบทางทัศนศิลป 14 เรื่องที่ 3 รูปแบบและวิวัฒนาการของทัศนศิลปพื้นบาน 18 เรื่องท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพื้นบาน 25 เร่ืองท่ี 5 ทศั นศิลปพ ืน้ บานกับการแตงกาย 36 เรื่องท่ี 6 การตกแตง ท่ีอยอู าศยั 43 เร่ืองท่ี 7 คุณคาของทัศนศิลปพื้นบาน 48 บทที่ 2 ดนตรพี ื้นบาน 55 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะของดนตรีพ้ืนบา น 56 เร่ืองท่ี 2 ดนตรีพื้นบานของไทย 58 เร่ืองท่ี 3 ภูมิปญญาทางดนตรี 79 เร่ืองที่ 4 คุณคาของเพลงพื้นบาน 84 เรื่องท่ี 5 พัฒนาการของเพลงพื้นบาน 88 เรื่องที่ 6 คณุ คาและการอนรุ ักษเ พลงพน้ื บาน 95 บทที่ 3 นาฏศิลป 104 - นาฏศิลปพ น้ื บานและภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่น 105 - นาฏศิลปพื้นบานภาคเหนือ 105 - นาฏศิลปพื้นบานภาคกลาง 107 - นาฏศิลปพืน้ บา นภาคอีสาน 109 - นาฏศิลปพื้นบานภาคใต 111
5 คําแนะนําการใชห นงั สือเรยี น หนงั สือเรียนสาระการดําเนินชีวติ รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ทช 11003 เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึ้น สําหรบั ผูเรยี นท่ีเปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา ผูเรยี นควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามกําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามที่กําหนด ถาผูเรยี นตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจ ในเนือ้ หานน้ั ใหมใ หเขาใจ กอ นที่จะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทายเร่ืองของแตละเรือ่ ง เพอ่ื เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหา ในเรือ่ งนัน้ ๆ อีกครัง้ และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนือ้ หา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไป ตรวจสอบกบั ครูและเพื่อน ๆ ท่ีรว มเรียนในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได หนงั สือเรยี นเลมน้มี ี 3 บทคือ บทที่ 1 ทัศนศิลปพนื้ บา น บทที่ 2 ดนตรพี ื้นบาน บทที่ 3 นาฏศิลปพืน้ บา น
6 โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา สาระสําคัญ มีความรคู วามเขา ใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณคาความงาม ความ ไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ทางทศั นศิลป ดนตรี นาฏศิลปพ ้นื บา น และวิเคราะหได อยางเหมาะสม ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั 1. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความไพเราะของทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลป 2. อธบิ ายความรูพ ื้นฐานของ ทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพ น้ื บาน 3. สรางสรรคผลงานโดยใชความรพู นื้ ฐาน ดา น ทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลป พื้นบาน 4. ชืน่ ชม เห็นคุณคา ของ ทศั นศิลป ดนตรี และนาฏศิลปพ ้นื บาน 5. วเิ คราะห วพิ ากย วิจารณ งานดานทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพ ื้นบาน 6. อนุรักษส บื ทอดภูมปิ ญญาดานทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพื้นบาน ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 ทศั นศิลปพ น้ื บา น บทที่ 2 ดนตรีพน้ื บาน บทที่ 3 นาฏศิลปพนื้ บา น สอ่ื การเรียนรู 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบงาน 3. กจิ กรรม
7 บทที่ 1 ทัศนศิลปพื้นบาน สาระสําคัญ รูเขาใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม ชืน่ ชม เห็นคุณคาความงาม ทางทัศนศิลป ของศิลปะพืน้ บาน และสามารถวิเคราะหวิพากษ วิจารณไดอยางเหมาะสม ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวงั มีความรู ความเขาใจ ในพื้นฐานของทัศนศิลปพื้นบาน สามารถอธิบาย สรางสรรค อนุรักษ วิเคราะห วพิ ากย วิจารณเกี่ยวกับความงาม ดานทัศนศิลปพื้นบาน ไดอยางเหมาะสม ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองที่ 1 ทัศนศิลปพนื้ บาน เร่ืองที่ 2 องคป ระกอบทางทัศนศิลป เร่ืองที่ 3 รูปแบบและวิวัฒนาการของทัศนศิลปพื้นบาน เรื่องท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพื้นบาน เร่ืองท่ี 5 ทศั นศิลปพ้ืนบา นกับการแตงกาย เร่ืองที่ 6 การตกแตงที่อยูอาศัย เร่ืองที่ 7 คุณคาของทัศนศิลปพ นื้ บา น
8 เร่ืองท่ี 1 ทัศนศิลปพ ืน้ บา น ทัศนศลิ ปพ ้ืนบา น เราอาจแบงความหมายของทัศนศิลปพื้นบานออกเปน 2 คํา คือ คําวาทัศนศิลปและคําวา พ้ืนบาน ทัศนศลิ ป หมายถึงศิลปะท่ีรบั รไู ดดวยการมอง ไดแกร ูปภาพทิวทัศนทั่วไปเปนสําคัญ อนั ดบั ตนๆ รูปภาพคนเหมือน ภาพลอ เลยี น ภาพสิ่งของตางๆ กล็ ว นแลวแตเปนเรื่องของทศั นศลิ ป ดวยกันทั้งสิ้น ซึ่งถากลาววาทัศนศิลปเปนความงามทางศิลปะ เชน งานประติมากรรม งาน สถาปตยกรรม งานสิ่งพิมพ ฯลฯ ทไ่ี ดจ ากการมอง หรือ ทัศนา นัน่ เอง งานทัศนศิลป แยกประเภทไดดังน้ี 1.จติ รกรรม หมายถึง การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบดวยวิธีการลาก การ ระบายสลี งบนพ้ืนผิววสั ดุทีม่ คี วามราบเรยี บ เชนกระดาษ ผา ใบ แผน ไม เปน ตน เพื่อใหเกดิ เรอ่ื งราว และความงามตามความรูสึกนึกคิดและจินตนาการของผูวาด จําแนกออกได 2 ลักษณะ ดงั น้ี ภาพจติ รกรรมฝาผนังพระอุโบสถวัดภมู นิ ทร จ.นา น
9 1.1ภาพวาด เปนศัพททางทัศนศิลปที่ใชเรียกภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน แบบเปน 2 มติ ิ คอื มีความกวา งและความยาว โดยใชวัสดุตา งๆ เชน ดนิ สอดาํ สีไม สีเทยี น เปน ตน 1.2 ภาพเขยี น เปนการสรางงาน 2 มิติ บนพน้ื ระนาบดว ยสหี ลายสี เชน การเขียนภาพดว ย สนี าํ้ สดี ินสอ สีนา้ํ มนั เปนตน 2. ประตมิ ากรรม หมายถึง การสรางงานทัศนศิลปที่เกิดจากการปน การแกะสลกั การหลอ การเชื่อม เปนตน โดยมลี กั ษณะ 3 มิติ คือ มีความกวาง ความยาว และความหนา เชน รูปคน รปู สัตว รูปส่งิ ของ เปนตน ประติมากรรมจาํ แนกไดเปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ ประติมากรรมแบบนูนต่ํา 2.1 แบบนนู ตาํ่ เปน การปนหรือสลกั โดยใหเ กดิ ภาพท่ีนูนขึ้นจากพื้นเพยี งเล็กนอ ย เทานน้ั เชน รูปบนเหรียญตา งๆ (เหรยี ญบาท เหรยี ญพระ) เปน ตน ประติมากรรมแบบนูนสูง 2.2 แบบนนู สงู เปน การปนหรอื สลักใหร ูปที่ตองการนนู ข้ึนจากพ้ืนหลงั มากกวา ครง่ึ เปนรูปทส่ี ามารถแสดงความต้ืนลกึ ตามความเปนจริง เชน ประตมิ ากรรมท่ีฐานอนสุ าวรยี เปนตน
10 ประติมากรรมแบบลอยตัว 2.3 แบบลอยตวั เปนการปน หรือแกะสลักทส่ี ามารถมองเหน็ และสมั ผสั ช่ืนชม ความงามของผลงานไดทุกดานหรือรอบดาน เชนพระพุทธรูป เปนตน 3 สถาปตยกรรม หมายถึง ศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางที่นํามาทําเพื่อสนองความ ตอ งการในดา นวัตถแุ ละจิตใจ มีลักษณะเปน สิง่ กอสรา งที่สรางอยางงดงาม จําแนกออกได2 ลักษณะ ดงั นี้ สถาปตยกรรมไทยแบบเปด 3.1แบบเปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยสามารถเขาไปใชสอยได เชน อาคาร เรียน ที่พกั อาศัย เปนตน
11 พระธาตุไชยา จ.สรุ าษฎรธานีเปนสถาปตยกรรมแบบปด 3.2 แบบปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยไมสามารถเขาไปใชสอยได เชน สถูป เจดยี อนุสาวรยี ตา งๆ ผลงานภาพพิมพแกะไม 4 . ภาพพิมพ หมายถงึ ผลงานศิลปะท่ีถูกสรางข้นึ มาดวยวธิ ีการพมิ พ ดว ยการกดแมพ ิมพ ใหต ดิ เปนภาพบนกระดาษ จากแมพมิ พไ มหรอื แมพ มิ พโลหะ เปน ตน คําวาพน้ื บาน บางครงั้ เรยี กวา พืน้ ซงึ่ หมายถงึ กลมุ ชนใดกลมุ ชนหนึ่งอันมีเอกลกั ษณของตน เชน การดํารงชพี ภาษาพูด ศาสนา ท่เี ปนประเพณีรวมกนั ดงั นน้ั ทัศนศลิ ปพ นื้ บา น หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีความงาม ความเรียบงายจากฝมือ ชาวบานทั่วๆไปสรางสรรคผลงานอันมีคุณคาทางดานความงาม และประโยชนใชสอยตามสภาพ ของทองถิ่น
12 ศาสตราจารยศิลปะ พีระศรี ไดก ลา ววา ทศั นศิลปพืน้ บา นหมายถึง ศลิ ปะชาวบาน คือการ รองรําทําเพลง กิจกรรมการวาดเขยี นและอน่ื ๆ ซึ่งกําเนิดมาจากชีวิตจิตใจของประชาชน ศิลปะ ชาวบา นสว นใหญจะเกดิ ควบคูกับการดําเนินชีวิตของชาวบาน ภายใตอ ิทธิพลของความเปนอยู ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อและความจําเปนของสภาพทองถิ่น เพ่ือใชสอยในชวี ติ ประจําวนั โดยท่วั ไปแลว ศลิ ปะพืน้ บา นจะเรียกรวมกับ ศลิ ปหัตถกรรม เปนศลิ ปหตั ถกรรม ท่เี กิดจากฝมือของ คนในทองถิน่ การประดษิ ฐสรางสรรคเปนไปตามเทคนิคและรูปแบบที่ถายทอดกันในครอบครัว โดยตรงจากพอ แม ปู ยา ตา ยาย โดยมจี ดุ ประสงคห ลักคือ ทําขึ้นเพื่อใชสอยในชีวติ ประจําวนั เชนเดียวกับคติพื้นบานแลวปรับปรุงใหเขากับสภาพของทองถิ่น จนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของ ตนเอง สว นประกอบของทัศนศิลปพ้นื บา น ทัศนศลิ ปพ ื้นบาน จะประกอบดวยสิ่งตอไปนี้ 1. เปนผลงานของชางนิรนาม ทําขึ้นเพื่อใชสอยในชีวิตประจําวันของประชาชน ความงาม ที่ปรากฏมิไดเกิดจากความประสงคสวนตัวของชางเพื่อแสดงออกทางศิลปะ แตมาจาก ความพยายาม หรือความชํานาญของชา งทฝ่ี ก ฝน และผลิตตอมาหลายชวั่ อายุคน 2. เปนผลงานที่มีรูปแบบที่เรียบงาย มีความงามอนั เกดิ จากวสั ดจุ ากธรรมชาติ และผา นการ ใชส อยจากอดตี จนถึงปจจบุ ัน 3. ผลิตขนึ้ เปนจํานวนมาก ซื้อขายกันในราคาปกติ ความงดงามเกิดจากการฝกฝน และ การทําซา้ํ ๆกัน 4.. มีความเปนธรรมชาติปรากฏอยูมากกวาความสละสลวย 5. แสดงลักษณะพเิ ศษเฉพาะถน่ิ หรอื เอกลักษณข องถิน่ กาํ เนดิ 6. เปน ผลงานที่ทาํ ขน้ึ ดว ยฝมือเปน สวนมาก
13 เกร็ดความรู ผสู รา งงานศิลปะ เราเรยี กวาศิลปน เชนศลิ ปนดานจิตรกรรม ศลิ ปน ดา นภาพพมิ พ ศิลปน ดา น ประติมากรรม แตการปนหลอพระพุทธรปู เรยี กวา งานปฏมิ ากรรม(สงั เกตวาเขียนตา งกนั จากคําวาประติมากรรม นะจะ ) และผสู รางสรรคง านปฏิมากรรมเราเรยี กปฏิมากร สวนผสู รางสรรค งานดานสถาปตยกรรมเราเรียกสถาปนิกจะ ...... กิจกรรม ใหผ ูเรยี นสํารวจบริเวณชุมชนของผเู รียนหรือสถานทีพ่ บกลุม วามที ัศนศิลป พ้ืนบานอะไรบาง หากมจี ดั อยูในประเภทอะไร จากน้นั บันทกึ ไวแลวนํามาแลกเปล่ยี นความรูก นั ใน ช้นั เรียน
14 เร่ืองที่ 2 องคประกอบทางทัศนศลิ ป “องคป ระกอบทางทัศนศิลป” ประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 7 ประการคือ . 1.จดุ หมายถึง สว นประกอบท่เี ลก็ ที่สุด เปน สว นเรม่ิ ตนไปสูสว นอน่ื ๆ 2.เสน หมายถงึ จดุ หลาย ๆ จดุ ท่เี คลอ่ื นที่ตอ เนื่องไปในทวี่ างเปลา จากทิศทางการเคลื่อนที่ ตาง ๆ กัน 3.สี หมายถึง ลักษณะของแสงสวางที่ปรากฏแกสายตาใหเห็น สตี างกนั สเี ปนสงิ่ ที่มีอทิ ธพิ ลตอ ความรสู ึก เม่อื มองเห็น และทําใหเ กดิ อารมณ สะเทอื นใจตา ง ๆ สีชางเขียนประกอบไปดวยแม สี 3สีคอื เหลือง แดง นาํ้ เงิน ซึง่ เม่ือนาํ แมส ีมาผสมกนั จะไดส ตี า งๆ 4. พนื้ ผวิ หมายถงึ คุณลกั ษณะตาง ๆ ของผวิ ดา นหนา ของวัตถทุ ุกชนดิ ทมี่ ลี ักษณะตาง ๆ กัน เชน เรยี บ ขรุขระ เปน มนั วาว หรือดา น เปน ตน
15 5.รูปราง หมายถึง การบรรจบกันของเสนที่เปนขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเปน 2 มิติ คือ มี ความกวางและความยาว 2 ดานเทา น้นั 6. รูปทรง หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเปน 3 มิติ คอื มีความกวางความยาวและความหนาลึก
16 เกร็ดความรู การนําองคประกอบทางทัศนศิลป มาจัดภาพใหปรากฏเดน และจดั เรอ่ื งราวสว นประกอบ ตางๆในภาพเขาดวยกันอยางเหมาะสมเรยี กการจัดภาพ การจัดภาพเบื้องตน มีหลกั การดงั น้ี 1. มีจดุ เดนเพยี งหนึ่ง 2. เปน เอกภาพ คอื ดแู ลว เปน เร่ืองราวเดยี วกนั 3. มีความกลมกลืนโดยรวมของภาพ 4. อาจมีความขัดแยงเลก็ นอ ยเพอ่ื เนน จุดเดน 5. มีความสมดุลของนาํ้ หนกั ในภาพ
17 กจิ กรรม ใหผูเรียนอธิบายในความหมายขององคประกอบศิลปตอไปนี้ จดุ หมายถึง............................................................................................................................... เสน หมายถึง..................................................................................................................................... สี หมายถึง............................................................................................................................... พน้ื ผิว หมายถึง................................................................................................................................ รูปรา ง หมายถึง.............................................................................................................................. รปู ทรง หมายถึง............................................................................................................................. ดูเฉลยจากบทเรียนที่ 1 เร่ืองท่ี 2 องคประกอบทางทัศนศิลป
18 เร่อื งท่ี 3 รูปแบบและววิ ัฒนาการของทศั นศิลปพ้นื บาน ศิลปะพ้ืนบาน มพี ื้นฐานท่เี กิดจากการผลิตทที่ าํ ขึ้นดว ยมอื เพอ่ื ประโยชนใชส อย จึงนับไดวา กําเนิดพรอมกับวิวัฒนาการของมนุษย ไดคิดคนวิธีการสรางเครือ่ งมือ เคร่ืองใช เพือ่ ชวยใหเกิด ความสะดวกสบายตอการดําเนินชีวิตมาโดยตลอด เชน เครือ่ งมือหิน เครือ่ งปน ดินเผาสมัยโบราณที่ ขุดพบจึงนับไดวาการกําเนิดศิลปหัตถกรรมมีอยูทั่วไป และพัฒนาตั้งแตโบราณแลว ในสมัยกอนนัน้ สังคมของชาวไทยเรา เปนสังคมแบบชาวนา หรือเรียกกันวาสังคมเกษตร อันเปน สงั คมท่ีพ่ึงตนเอง มีพรอมทุกดานในเรือ่ งปจจัยสีอ่ ยูใ นกลุม ชุมมนนัน้ ๆ การสรางการผลิตเครื่องใช และอุปกรณต างๆ เพื่ออํานวยความสขุ ความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตของตนเอง ประเภทของศลิ ปะพื้นบา น งานศิลปะพื้นบานของไทยมีปรากฏตามทองถิน่ ตางๆ อยูม ากมายหลายประเภท สามารถแบงเปนประเภทตางๆ ไดดังนี้ 1. ดานจิตรกรรม จิตรกรรมพื้นบานของไทยเกิดจากชางชาวบานในทองถิน่ เปนผูสรางผลงานขึ้น โดยอาศัยวสั ดอุ ุปกรณในทองถ่นิ เปนเครอื่ งมือสรา งสรรคผ ลงาน เชน การใชใบลาน แผนไม ผาฝาย เปนวัสดุสําหรับขีดเขียนวาดภาพ และใชสีจากธรรมชาติ เชน สีจากยางไม ผลไม ดินสี ผงหินสี ระบายดวยไมทุบปลายใหเปนฝอยบาง หรือขนสัตวบางประเภท เชน ขนหมู ขนจากหูวัว ขน กระตาย มัดกับไมเปนแปรงหรือพูกันระบาย จิตรกรรมพืน้ บานไทยสามารถแบบออกไดเปน 2 ประเภทตามลักษณะของตัวจติ รกรรมดงั น้ี 1.1 จิตรกรรมแบบเคล่ือนทไ่ี ด หมายถึงมนุษยสามารถนําพาชิน้ งานจิตรกรรมนัน้ เคลือ่ นที่ ไปไหนไดโดยสะดวก ตัวอยางของงานจิตรกรรมประเภทนี้ไดแก สมุดขอย ภาพมหาชาติ ตูพ ระ ธรรมลายรดนาํ้ เปนตน 1.2 จิตรกรรมแบบเคลื่อนที่ไมได หมายถึง มนุษยไมสามารถนําพาชิน้ งานจิตรกรรมนั้น เคลือ่ นท่ีไปไหนได เน่ืองจากไดเ ขยี นภาพจิตรกรรมลงบนอาคารสถานที่ เชน ภาพจิตรกรรมตามฝา ผนงั พระอุโบสถ จิตรกรรมบนผนงั เพดาน ระเบยี งวหิ าร เปนตน ภาพจติ รกรรมพ้ืนบา นแบบเคลอื่ นท่ไี ด ภาพจิตรกรรมพื้นบา นแบบเคล่อื นท่ไี มได
19 ลักษณะของจิตรกรรมพืน้ บานไทย มักจะเปนจิตรกรรมแบบทีเ่ รียกวา “จิตรกรรมแบบ ประเพณ”ี คือเปนการสรางสรรคจิตรกรรมตามแบบแผนที่ทําสืบตอกันมา ลักษณะจะเปนการเขียน ภาพดวยสีฝุน จากธรรมชาติในทองถิน่ ลักษณะการเขียนจะไมรีบรอนไมตองแขงกับเวลา ลักษณะ งานจะมีขนาดเล็ก หากเขียนบนพืน้ ทีใ่ หญ เชน ผนังก็จะมีลักษณะเล็กแตจะมีรายละเอียดในภาพ มากหรือเปนภาพเลาเรื่องตอเนื่องไปจนเต็มพืน้ ที่ สัดสวนประกอบไมสัมพันธกับบุคคลในภาพ หนาบุคคลไมแสดงอารมณ แตจะสื่อความหมายดวยกริ ิยาทาทาง และเรื่องราวสวนใหญจะเปนเรือ่ ง เกี่ยวกับ พุทธศาสนา ความเชื่อ 2.ดานประติมากรรม ประติมากรรมพื้นบาน มักจะเปนงานทีส่ รางสรรคขึน้ มาเพือ่ การตอบสนอง ประโยชนใชสอยในชีวิตประจําวันของมนุษย วัสดุที่ใชมักจะเปนวัสดุในทองถิ่น โดยเลือกใชตาม ความเหมาะสมในการใชงาน เชน ไมไผ ไมเนือ้ แข็ง ดินเหนียวและการเผา เปนตน ประติมากรรม พื้นบานสามารถแบงออกตามลักษณะการนําไปใชได 4 ประเภทดงั นี้ 2.1 ประติมากรรมพื้นบานเพอื่ การตกแตงชั่วคราว เปนงานประติมากรรมที่สรางขึ้นมาเพื่อ ใชในพิธีกรรมหรือการตกแตงในระยะเวลาอันสั้น เชน การแทงหยวก การแกะสลักผักหรือผลไม และการตกแตงบายศรใี นพิธีการตา ง ๆ เปนตน การแทงหยวก การตกแตงบายศรี งานประติมากรรมประเภทนี้มักมีความสวยงามประณีตใชความคิดสรางสรรคสูง ผูทาํ อาจทาํ คนเดียวหรือทาํ เปนกลุมก็ได
20 2.2 ประติมากรรมพืน้ บานเพือ่ ตกแตงสิ่งของเครือ่ งใช เปนการสรางสรรคงาน ประติมากรรม เพื่อตกแตงสิ่งของเครื่องใชใหเกิดความสวยงามนาใชนาจับตอง ตัวอยางประตมิ ากรรมพ้ืนบานเพ่อื ตกแตงสิง่ ของเครื่องใช ไดแก การแกะสลักตู เตยี ง ขั้นนํา้ พานรอง คนโท หมอ น้ํา เปนตน 2.3 ประติมากรรมพืน้ บานเพื่อเครือ่ งมหรสพ ประติมากรรมประเภทนีส้ รางขึน้ มาเพือ่ ความบันเทิง โดยจะเลือกใชวัสดุทีม่ ีอยูในทองถิน่ เชน ดินเผา ไมไผ หนังวัวหรือหนังควาย ผาฝาย ฯลฯ มาประดษิ ฐเพ่ือเปนอปุ กรณแ สดงมหรสพตาง ๆ ตวั อยา งประตมิ ากรรมพ้นื บานเพอ่ื มหรสพ ไดแก หนุ กระบอก (หุนโรงเลก็ ) หนังใหญ หนังตะลงุ หัวโขน เปน ตน
21 2.4 ประติมากรรมพื้นบานประเภทเครือ่ งเลนและพิธีกรรม เปนประติมากรรมพื้นบานที่ สรา งสรรคเ พอ่ื เปนเคร่ืองเลน สําหรับเดก็ หรอื เครอื่ งเลนเคร่ืองบันเทิงสาํ หรับคนทุกวยั ประตมิ ากรรมประเภทน้ี ไดแ ก การแกะสลกั ตัวหมากรกุ ตุก ตาเล็ก ๆ ตุกตาเสยี กบาล และตกุ ตาชาววังเปนตน 3. ดา นสถาปต ยกรรม สถาปตยกรรมพื้นบานไทยเปนสิ่งทีเ่ กีย่ วของกับวิถีชีวิตของคนไทยมาตัง้ แต แรกเกิด โดยวัสดุทีใ่ ชมักเปนวัสดุที่มีอยูในทองถิ่นเปนหลัก ยกเวนสถาปตยกรรมดานศาสนาและ ความเชือ่ ซึ่งอาจใชวัสดุตางทองถิ่นที่ดูแลว มีคาสูงเพื่อแสดงการเคารพนับถือ สถาปตยกรรม พนื้ บา นไทย แบงออกไดตามลักษณะการใชสอย 2 ประเภทดังน้ี 3.1 สถาปต ยกรรมพืน้ บานเพอ่ื พระพุทธศาสนา เปนสถาปตยกรรมที่สรางขึน้ ในวัดตาง ๆ เพื่อประโยชนทางพุทธศาสนา และปูชนียสถาน สถาปตยกรรมพนื้ บานเพื่อพระพุทธศาสนา ไดแ ก พระสถูปเจดีย พระปรางค พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ ฯลฯ
22 3.2 สถาปตยกรรมพืน้ บานประเภททีอ่ ยูอาศัย เปนสถาปตยกรรมที่สรางสรรคขึ้นมาเพื่อ ประโยชน ในการอยูอาศัยของบุคคล ลักษณะการกอสรางยึดถือสืบทอดตอกันมามีรูปแบบและแบบ แผนแนนอน แตสามารถดัดแปลงตามความตองการและประโยชนใชสอยของบุคคลอีกดวย สถาปตยกรรมประเภทนี้สามารถพบเห็นไดจากบานเรือนทรงไทย หรือบานแบบพื้นบานตามภาค ตาง ๆ ซึ่งจะมีกาแลทีจ่ ัว่ บาน ภาคกลางหลังคาทรงสูงปานลมมีเหรา ภาคใตหลังคาเปนทรงปน หยา เปนตน เรือนภาคเหนือ เรือนภาคกลาง เรือนภาคใต การสรางสถาปตยกรรมพืน้ บานประเภททีอ่ ยูอ าศัยนับเปนภูมิปญญาไทยทีป่ ลูกสรางตาม ความเหมาะสมของภูมิประเทศภูมิอากาศ และไดถายทอดคตินิยมไทยดานความเชื่อ ความเปน มงคลแกผ อู าศยั อีกดว ย 4. ดานภาพพิมพ ภาพพิมพพืน้ บานของไทยมีไมมากนักที่เห็นไดชัดเจนมักจะเปนในรูป ของผาพิมพ ที่สรางสรรคขึน้ มาเพื่อประโยชนในการใชสอยเปนสวนใหญ เชน ผาพิมพลายบาติก ของภาคใต ซ่งึ เปนกรรมวธิ ีกึ่งพมิ พ กง่ึ ยอ ม และผาพิมพโขมพัสตรซ่ึงเปนผาพิมพลายแบบตะแกรง ผา ไหม(ซลิ สกรีน) ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ผา โขมพัสตร
23 เกร็ดความรู คุณรไู หมวา เรือนไทยโบราณแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญๆคอื เรอื นเครอ่ื งสบั คือประเภทหนึ่งของเรือนที่อยูอาศัยของคนไทยทีเ่ รียกวา เรือนไทย คูกนั กับ เรือนเครอ่ื งผกู ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานหมายถึง \"เปนเรือนท่ีมลี กั ษณะคมุ เขา ดว ยกัน ดวยวิธีเขาปากไม\" สวนใหญเ รอื นเครอ่ื งสบั เปนเรือน 3 หอ ง กวา ง 8 ศอก แตจะใหญโตมากขน้ึ ถาเจา ของมี ตําแหนงสําคัญ เชน เสนาบดี ชางที่สรางจะเปนชางเฉพาะทาง กอนสรางจะมีการประกอบพิธี หลายๆอยาง ในภาคกลางมักใชไมเต็งรังทําพื้น เพราะแข็งมาก ทําหัวเทียนไดแข็งแรง ภาคเหนือ นยิ มใชไ มสัก ไมท ่ีไมน ยิ มใช เชน ไมต ะเคยี นทอง เพราะมียางสเี ลอื ด ไมนาดู เรือนเครือ่ งผูก เปนการสรางในลักษณะงายๆ การประกอบสวนตางๆเขาดวยกันจะใช วิธกี ารผกู มัดตดิ กนั ดวยหวาย หรอื จกั ตอกจากไมไ ผ ไมมกี ารใชต ะปูตอกยึด ฝาบาน หนาตา ง ใชไม ไผส านขดั แตะ เรยี กวา ฝาขัดแตะ พน้ื มที ง้ั ไมเ น้ือแขง็ ทําเปนแผน กระดาน หรอื ใชไมไ ผสบั เปนฟาก กแ็ ลว แตฐ านะของเจา ของบานจะ
24 กจิ รรม ใหผูเรียนสํารวจบรเิ วณชุมชนของผูเรยี นหรือสถานทีพ่ บกลมุ วา มศี ลิ ปะ พ้ืนบา นใดบาง ทีเ่ ขาในประเภททศั นศลิ ปพื้นบานท้ัง 4 ประเภทขางตน จากนั้นจดบันทึกโดย แบง เปน แตละหัวขอ ดังน้ี 1.วันท่ีสาํ รวจ 2.ระบสุ ถานที่ หรือสง่ิ ของท่พี บ 3.จดั อยูในประเภททัศนศิลปใด 4.ประโยชนหรือคุณคา 5.มีความสวยงามประทับใจหรือไม อยางไร(บอกเหตผุ ล)
25 เรอื่ งท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพ ้ืนบาน ทัศนศิลปพื้นบานกับความงามตามธรรมชาติ มีความงดงามที่คลายคลึงกันโดยอาจอธิบาย ในรายละเอียดของแตละสิง่ ไดด งั น้ี ทศั นศิลปพนื้ บาน เปนรูปแบบศิลปะชนิดเดียวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบนอยและคงรูป แบบเดิมไดนานทีส่ ุด จากเอกลักษณอ นั มคี ุณคา นเี้ องทาํ ใหทัศนศิลปพืน้ บา นมคี ณุ คา เพม่ิ ขนึ้ ไป เร่ือยๆ ไมวา เปน คุณคา ดา นเรอ่ื งราว การพบเหน็ หรือการแสดงออก เพราะทศั นศลิ ปพ ้นื บา นเปน ตัวบงบอกความเปนมาของมนุษยชาติที่สรางทัศนศิลปพื้นบานนั้นๆขึ้นมา งานทัศนศิลปพื้นบานสวนใหญมักจะออกแบบมาในรูปของการเลียนแบบหรือทําให กลมกลืนกับธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อประโยชนของการใชสอยและความสวยงามและ/หรอื เพอ่ื อุดมคติ ซึ่งทําใหท ศั นศลิ ปพื้นบา นมีจุดเดนท่ีนา ประทบั ใจ ตวั อยา งเชน การออกแบบอุปกรณจับปลาที่จะมี การออกแบบใหกลมกลืนกับลักษณะกระแสน้ํา สะดวกในการเคลื่อนยาย ไซดักปลา การออกแบบที่กลมกลืนกับสภาพลาํ น้าํ เราอาจวิเคราะห วิจารณ ถึงความสวยงาม ของทัศนศิลปพื้นบานโดยมีแนวทางในการ วเิ คราะหวิจารณ ดังนี้ 1. ดานความงาม เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การจัดองคประกอบศิลป วาผลงานชิ้นนี้แสดงออกทางความงามของศิลปะไดอยางเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผูดูใหเกิด ความชื่นชมเพียงใด ลักษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลายแตกตางกัน ออกไปตามรูปแบบของยุคสมัย ผูวิเคราะหควรมีความรู ความเขาใจดวย
26 2. ดานสาระ เปน การวิเคราะหและประเมนิ คุณคา ของผลงานศิลปะแตละชน้ิ วามลี กั ษณะสง เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนจุดประสงคต างๆ วาใหส าระอะไรกบั ผชู มบา ง ซึ่งอาจเปนสาระ เกี่ยวกับธรรมชาติ สังคม ศาสนา การเมือง ปญญา ความคิด จินตนาการ และความฝน 3.ดา นอารมณความรสู กึ เปนการคดิ วเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ในดา นคณุ สมบัตทิ ี่สามารถกระตุน อารมณความรูสึกและส่ือความหมายไดอ ยางลึกซงึ้ ซึ่งเปนผลของการแสดงออกถึงความคิด พลัง ความรูส กึ ทีป่ รากฏอยูใ นผลงาน ตัวอยางการวิเคราะห วจิ ารณงานทศั นศิลปพนื้ บา นจากภาพตอไปนี้ ตวั อยา งการวเิ คราะห คําวิจารณท่ี 1 คําวิจารณ งานทัศนศลิ ปป ระเภท จิตกรรม ภาพเขียนระบายสี 1. ดานความงาม ภาพน้ีผูเขียนมีฝมอื และความชาํ นาญในการจดั ภาพสงู จดุ สนใจอยูท่บี า นหลัง ใหญ มีเรือนหลงั เลก็ กวาเปน ตวั เสริมใหภาพมีเรื่องราวมากขึ้น สว นใหญใ นภาพจะใชเ สน ใน แนวนอนทําใหดูสงบเงียบแบบชนบท 2. ดานสาระ เปนภาพทีแ่ สดงใหเ ห็นวถิ ชี ีวิตทอี่ ยูใ กลช ิดธรรมชาติ มตี นไมใ หญนอยเปนฉาก ประกอบทั้งหนาและหลงั มีสายนาํ้ ทใ่ี หความรสู กึ เยน็ สบาย 3. ดานอารมณและความรูสึก เปน ภาพทใ่ี หความรูสึกผอ นคลาย สีโทนเขียวของตน ไมทําใหร สู กึ สดช่นื เกิดความรูสึกสงบสบายใจแกผ ูชมเปน อยางดี
27 ตวั อยางการวเิ คราะห คําวิจารณที่ 2 คําวิจารณ งานทัศนศลิ ปป ระเภท ประตมิ ากรรม แบบลอยตัว 1. ดานความงาม เปน พระพุทธรูปปางมารวชิ ยั ทีม่ ลี ักษณะงดงามไดสัดสวนสมบูรณแบบ ซมุ เรอื น แกวและฉากสีเขมดานหลังทําใหองคพ ระดูโดดเดน และนาศรทั ธามากยิง่ ขึน้ 2. ดานสาระ เปนประติมากรรมที่สรางความเคารพศรทั ธาแกผ ูพบเหน็ 3. ดานอารมณและความรูสึก ทําใหรูสึกถึงความสงบแหงพระพุทธศาสนา และเปนเหมือนที่พึ่ง แหง จติ ใจชาวพทุ ธ
28 กจิ กรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพืน้ บา นจากรปู ที่กาํ หนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณข างตน และความรทู ไ่ี ดศ ึกษาจากเรื่องท1ี่ .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ ภาพจติ รกรรมสีน้ําของ อ.กิตติศกั ด์ิ บุตรดีวงศ คําวิจารณ
29 กิจกรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ ืน้ บานจากรปู ทีก่ ําหนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณขางตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเร่อื งที1่ .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ ประติมากรรม วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี จังหวัดแพร
30 กจิ กรรม ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ้นื บานจากรปู ท่กี ําหนด โดยใชหลักการวิจารณข า งตน และความรูท ่ไี ดศกึ ษาจากเร่อื งท1่ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ การจดั สวนในบา นเลยี นแบบธรรมชาติ
31 กิจกรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ้นื บา นจากรูปท่กี าํ หนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณขางตน และความรทู ี่ไดศึกษาจากเรอ่ื งท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ พระอโุ บสถ วดั จฬุ ามณี จ.สมุทรสาคร (ภาพจาก www.Mayaknight07.exteen.com) คําวิจารณ
32 กิจกรรม ใหผูเรียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรปู ทกี่ าํ หนด โดยใชหลักการวจิ ารณขา งตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรอ่ื งท่ี1.1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ เครื่องจักสานจากไมไผ ภาคกลาง
33 กิจกรรม ใหผูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพน้ื บา นจากรปู ทกี่ าํ หนด โดยใชห ลักการวิจารณข างตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเรอ่ื งท่1ี .1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ จติ รกรรมฝาผนงั วัดบานกอ อ.วงั เหนอื จ.ลําปาง
34 กจิ กรรม ใหผูเรียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ ืน้ บา นจากรปู ท่กี าํ หนด โดยใชห ลักการวิจารณขางตน และความรูท ไ่ี ดศกึ ษาจากเรอื่ งท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ หนงั ตะลุง ภาคใต
35 กจิ กรรม ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ ืน้ บานจากรปู ทกี่ ําหนด โดยใชหลกั การวิจารณขา งตน และความรูทไี่ ดศ กึ ษาจากเรื่องท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ ลายขางเรือกอและ จ.ปต ตานี
36 เรื่องที่ 5 ทัศนศิลปพ้ืนบานกับการแตง กาย ความหมายของเครอื่ งแตง กาย คําวา เครื่องแตงกาย หมายถึงสิ่งที่มนุษยนํามาใชเปนเครือ่ งหอหุม รางกาย การแตงกายของ มนุษยแตละเผาพันธุส ามารถคนควาไดจาก หลักฐานทางวรรณคดีและประวัติศาสตร เพื่อใหเปน เครอ่ื งชว ยชนี้ ําใหรูและเขาใจถึงแนวทางการแตงกาย ซึง่ สะทอนใหเห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิต ของมนษุ ยใ นยุคสมยั น้ันๆ ประวตั ิของเครือ่ งแตง กาย ในยุคกอนประวัติศาสตร มนุษยใชเครือ่ งหอหุม รางกายจากสิ่งทีไ่ ดมาจากธรรมชาติ เชน ใบไม ใบหญา หนังสัตว ขนนก ดิน สีตางๆ ฯลฯ มนุษยบางเผาพันธุร ูจ ักการใชสีทีท่ ํามาจากตนพืช โดยนํามาเขียนหรือสักตามรางกายเพื่อใชเปนเครือ่ งตกแตงแทนการใชเครือ่ งหอหุม รางกาย ตอมา มนษุ ยม กี ารเรยี นรู ถึงวิธีที่จะดัดแปลงการใชเครื่องหอหุมรางกายจากธรรมชาติใหมีความเหมาะสม และสะดวกตอการแตงกาย เชน มีการผูก มัด สาน ถัก ทอ อัด ฯลฯ และมีการวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงการรจู กั ใชว ิธีตัดและเย็บ จนในทสี่ ุดไดก ลายมาเปน เทคโนโลยจี นกระทง่ั ถงึ ปจ จบุ ันนี้
37 ความแตกตา งในการแตงกาย มนุษยเปนสัตวโลกทีอ่ อนแอทีส่ ุด จึงจําเปนตองมีสิง่ ปกคลุมรางกายเพือ่ สามารถที่จะ ดํารงชีวิตอยูได จากความจําเปนนีจ้ ึงเปนแรงกระตุน ทีส่ ําคัญในอันที่จะแตงกาย เพื่อสนองความ ตองการของมนุษยเอง โดยมีสังคมและสิ่งอืน่ ๆประกอบกัน และเครือ่ งแตงกายก็มีรูปแบบที่ แตกตางกนั ไปตามสาเหตุน้นั ๆ คอื 1. สภาพภูมิอากาศ ประเทศทีอ่ ยูใ นภูมิอากาศที่หนาวเย็นมาก จะสวมเสือ้ ผาซึง่ ทํามาจากหนังหรือ ขนของสัตว เพือ่ ใหค วามอบอนุ แกร า งกาย สวนในภมู ิภาคท่ีมีอากาศรอนอบอาว เสือ้ ผาที่สวมใสจะ ทําจากเสนใย ซึ่งทําจากฝาย แตในทวีปอัฟริกา เสือ้ ผาไมใชสิง่ จําเปนสําหรับใชในการปองกันจาก สภาพอากาศ แตเขากลับนิยมใชพวกเครือ่ งประดับตางๆที่ทําจากหินหรือแกวสีตางๆ ซึง่ มีอยูใน ธรรมชาตินํามาตกแตงรางกาย เพอ่ื ใชเ ปน เคร่ืองลางหรอื เครือ่ งปองกนั ภตู ผปี ศ าจอกี ดว ย ชาวเอสกิโมอาศัยในเขตขั้วโลกเหนือการแตงกายจะหอหุมรัดกุมเพือ่ ปองกันความหนาว เยน็ 2. ศตั รทู างธรรมชาติ ในภูมิภาคเขตรอน มนุษยจะไดรับความรําคาญจากพวกสัตวปกประเภทแมลง ตางๆ จึงหาวิธีขจัดปญหาโดยการใชโคลนพอกรางกายเพือ่ ปองกันจากแมลง ชาวฮาวายเอีย้ น แถบ ทะเลแปซิฟค สวมกระโปรงซึง่ ทําดวยหญา เพือ่ ใชสําหรับปองกันแมลง ชาวพื้นเมืองโบราณของ ญ่ีปนุ รจู กั ใชกางเกงขายาว เพอ่ื ปองกันสัตวแ ละแมลง 3. สภาพของการงานและอาชีพ หนังสัตวและใบไมสามารถใชเพื่อปองกันอันตรายจากภายนอก เชน การเดินปาเพื่อหาอาหาร มนุษยก็ใชหนังสัตวและใบไมเพือ่ ปองกันการถูกหนามเกีย่ ว หรือ ถูก สัตวกัดตอย ตอมา สามารถนําเอาใยจากดอกฝาย และใยไหม มาทอเปนผาทีเ่ รียกกันวา ผาฝายและ ผาไหม เมือ่ ความเจริญทางดานวิทยาการมีมากขึ้น ก็เริ่มมีสิ่งท่ีผลิตเพ่ิมข้ึนอีกมากมายหลายชนิด สมัยศตวรรษที่ 19 เสือ้ ผามีการววิ ฒั นาการเพ่ิมมากข้ึน มีผคู ิดประดษิ ฐเส้ือผาพิเศษ เพื่อใหเหมาะสม
38 กับความตองการของผูส วมใส โดยเฉพาะผูทีท่ ํางานประเภทตางๆ เชน กลาสีเรือ คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงานอุตสาหกรรม ขาราชการทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลิง เปนตน 4.ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมและศาสนา เม่ือมนษุ ยม ีสติปญญามากย่งิ ขึ้น มีการอยูร วมกัน เปนกลุม ชน และจากการอยูรวมกันเปนหมูคณะน้ีเอง จึงจําเปนตองมีระเบียบและกฎเกณฑในอันที่ จะอยูรวมกนั อยา งสงบสุข โดยไมมีการรุกรานซึง่ กันและกัน จากการปฏิบัติทีก่ ระทําสืบตอกันมาน้ี เอง ในท่ีสดุ ไดก ลายมาเปน ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรมขนึ้ ในสมัยโบราณ เมือ่ มีการเฉลิมฉลองประเพณีสําคัญตางๆ เชน การเกิด การตาย การเก็บ เกี่ยวพืชผล หรือเริม่ มีการสังคมกับกลุม อืน่ ๆ ก็จะมีการประดับหรือตกแตงรางกาย ใหเกิดความ สวยงามดวยเครือ่ งประดับตางๆ เชน ขนนก หนังสัตว หรือทาสีตามรางกาย มีการสักหรือเจาะ บางครัง้ ก็วาดลวดลายตามสวนตางๆของรางกาย เพือ่ แสดงฐานะหรือตําแหนง ซึง่ ในปจจุบันก็ยังมี หลงเหลอื อยู สวนใหญก็จะเปนชาวพืน้ เมืองของประเทศตางๆ ศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการแตง กายดว ยเหมอื นกนั 5. ความตองการดึงดูดความสนใจจากเพศตรงขาม ธรรมชาติของมนุษยเมือ่ เจริญเติบโตขึน้ ยอมมี ความตองการความสนใจจากเพศตรงกันขาม โดยจะมีการแตงกายเพือ่ ใหเกิดความสวยงาม เพ่ือ ดึงดูดเพศตรงขาม 6. เศรษฐกิจและสภาพแวดลอ ม สถานะภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย แตละบุคคลยอมไม เหมือนกัน จึงทําใหเกิดการแตงกายที่แตกตางกันออกไป สังคมทั่วไปมีหลายระดับชนชัน้ มีการ แบงแยกกันตามฐานะทางเศรษฐกิจ เชน ชนชัน้ ระดับเจานาย ชาวบาน และกรรมกร การแตงกาย สามารถบอกไดถึงสถานภาพ เคร่ืองประดับและตกแตงรางกาย มนุษยเรามีพื้นฐานในการรักความสวยงามอยูในจิตสํานึกอยูทุกคน จะมากหรือนอยบางก็ แลว แตจ ิตใจและสภาวะแวดลอ มของบคุ คลนน้ั ๆ ดงั น้ันมนุษยจึงพยายามสรรหาสิ่งของมาประดับ
39 และตกแตงรางกายตน โดยมีจุดประสงคที่จะเสริมความสวยงาม เพิ่มฐานะการยอมรับในสังคม หรือเปนการเรียกรองความสนใจของเพศตรงขาม ในสมัยโบราณการใชเครื่องประดับตกแตงรางกายของคนไทยระดับสามัญชนจะไมมีมาก นกั ถึงจะมีกไ็ มใชของที่มีราคาสูง เพราะในสมัยโบราณมีกฎหมายขอหามมิใหขาราชการชนั้ ผนู อย และราษฎรใชเครื่องประดับที่มีราคาแพง จนกระทั้งในสมัยรัตนโกสินทรตอนปลาย กฎโบราณ ดงั กลา วไดถกู ยกเวน ไป จึงทําใหเครื่องประดับชนิดตางๆแพรหลายสคู นทกุ ช้ัน ทาํ ใหเกดิ การ แขงขันสรางสรรคออกแบบเครื่องประดับใหมๆมากมาย เคร่ืองประดับเหลา น้หี ลายชนดิ จัดอยูใน งานทัศนศิลปพื้นบานชนิดหนึ่งซง่ึ อาจแบง ออกเปนชนิดตางๆตามวัสดุที่ใชได 3 ประเภทใหญๆคือ 1.เครอ่ื งประดบั ทีท่ าํ จากอโลหะ ไดแกเ ครอื่ งประดับท่ใี ชวสั ดหุ ลกั ทําจากทไ่ี มใชโ ลหะ เชน วัสดดุ ินเผา ไม ผา หินสตี างๆ ใยพชื หนังสัตว อญั มณี แกว พลาสตกิ ฯลฯ เครื่องประดับ เหลา นอี้ าจทาํ จากวัสดุชนิดเดียวหรือนาํ มาผสมกนั ก็ได นอกจากน้นั ยงั สามารถนํามาผสมกบั วัสดุ ประเภทโลหะไดอ กี ดว ย เคร่ืองประดับหนิ สที ีร่ อยดวยเชือก สรอยคอทาํ จากหนงั แท 2.เครอ่ื งประดบั ทท่ี ําจากโลหะ ไดแ กเ คร่ืองประดับทท่ี าํ จากสินแรโ ลหะ เชน ทองคาํ เงนิ ทองแดง ทองเหลือง ฯลฯ ซง่ึ บางคร้งั ไดนาํ แรโ ลหะมากกวา 1 ชนิดมาผสมกันเชน นากซึ่งเปน การผสมกันระหวางทองคํากับทองแดง สัมฤทธิ์ หรือ สําริด เปน โลหะผสมระหวา งทองแดงและ ดบี กุ สัมฤทธิบ์ างชนิดอาจมีสวนผสมของสังกะสี หรือตะกว่ั ปนอยดู ว ย เครื่องประดับทองคําโบราณ เข็มขัดนาก
40 3.เคร่อื งประดบั ทใี่ ชทําใหเกิดรอ งรอยบนรา งกาย ไดแ กก ารนาํ วัตถุจากภายนอกรางกาย เขาไปติดบนรางกายเชนรอยสัก หรอื การฝงลูกปดหรือเมลด็ พชื ใตผ ิวหนังของชาวแอฟริกาบางเผา เปน ตน นอกจากนน้ั ยังมีการเขียนสีตามบริเวณลําตัวใบหนาเพื่อประเพณี หรือความสวยงามอกี ดว ย การสักเพื่อความเชื่อ และการสักเพื่อความสวยงาม เกร็ดความรู รูไหมวา สีและลวดลายสามารถนํามาชวยในการแตงรางกายไดนะจะ คนอว น หากใสเส้อื ผาสีเขมๆ เชน นา้ํ เงิน แดงเขม เขยี วเขม เทา หรือดํา จะทาํ ใหดผู อมลงกวา เสือ้ สีออน และหากเลอื กเสื้อผา ทีม่ ีลายแนวต้ังยาวๆก็จะทาํ ใหด ูผอมยิ่งขึ้น ขณะทค่ี นผอม ควรใสเ สือ้ ผาสอี อ นๆ เชนขาว เหลือง ชมพู ฟา ครมี และควรเลือกลายเส้อื ผาใน แนวขวาง เพราะจะทาํ ใหด ูตัวใหญข น้ึ
41 กิจกรรม ใหผ เู รียนทดลองนาํ วัสดุท่ีกําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเครื่องประดบั ชนิดใดก็ไดท ใ่ี ช สาํ หรบั การตกแตง รา งกาย โดยใหเ ขยี นเปน ภาพรา งของเครือ่ งประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการ ออกแบบของผูเรียน(ไมตองบอกวิธที ํา) จากนน้ั ใหน าํ ผลงานออกแบบนาํ เสนอในชั้นเรียน วสั ดทุ กี่ ําหนด ลกู ปด เจาะรูสีตา งๆ เชอื กเอน็ ขนาดเลก็ คําอธบิ ายแนวทางการออกแบบ
42 กจิ กรรม ใหผูเ รยี นทดลองนําวสั ดทุ ก่ี าํ หนดดานลาง มาออกแบบเปนงาน เครื่องประดบั ชนดิ ใดก็ไดที่ใชส าํ หรบั การตกแตงรางกาย โดยใหเ ขยี นเปน ภาพรา งของ เครื่องประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการออกแบบของผูเรียนและวธิ ที าํ อยา งงาย ๆ จากนั้นใหนําผลงานออกแบบนาํ เสนอในช้ันเรยี น วัสดทุ ่ีกําหนด ตุกตาเซรามิกขนาดเล็กความสูงประมาณ 1 นว้ิ และวสั ดุอ่นื ๆที่หาไดใ นชมุ ชนของทา น คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ
43 เรื่องท่ี 6 การตกแตงทอี่ ยอู าศัย การออกแบบตกแตงเปนการออกแบบเพื่อการเปน อยใู นชีวติ ประจาํ วนั โดยเฉพาะอยา งย่งิ การออกแบบเพื่อเสริมแตงความงามใหกับอาคารบานเรือนและบริเวณที่อยูอาศัย เพือ่ ใหเ กิดความ สวยงามนาอยูอาศัย การออกแบบตกแตงในที่นี้หมายถึงการออกแบบตกแตงภายนอกและการ ออกแบบตกแตงภายใน ขัน้ ตอนในการออกแบบ 1. ศกึ ษาการจดั วางพนื้ ที่ ตัวบานและที่วาง ทางเขาออก ทิศทางดูวาทิศทางลมและแสงแดด จะผานเขามาทางดานไหน เชน กระแสลมจะมาจากทิศใต ดูทิศทางของสิ่งรบกวน เชน เสียง และ ฝุนจากถนน จากอาคารขางเคียงวาจะเขามาในทิศทางใด การวางเครื่องเรือน เครื่องไฟฟา เปนตน 2. กาํ หนดความตอ งการ เชน รูปแบบการออกแบบเชนรูปแบบไทย ๆ หรอื รูปแบบสากล ทนั สมยั เครอ่ื งเรือนสามารถใชข องทม่ี ีอยูแลวมาดดั แปลงไดห รือไม หรืออยากไดส วนท่มี ลี กั ษณะ แบบไหน เชน สวนทีม่ ไี มใหญ ดูรม รนื่ สวนไมดอก สวนแบบญปี่ นุ การตกแตง หอ งนอนแบบไทยทั้งผนังหอง เครื่องเรือน และสว นประกอบอน่ื ๆ 3. การวางผงั ตามความตองการพน้ื ทีใ่ ชส อย เชน หอ งนง่ั เลน หองครัว หอ งนอน ฯลฯ กาํ หนดแนวไมพมุ เพ่ือปองกันฝุนจากถนนกาํ หนดพืน้ ท่ปี ลูกตนไมบังแดดทางทศิ ตะวันตก กําหนด ทางเขาออก สวน เพื่อใชส อยตา ง ๆ กาํ หนดจดุ ทจี่ ะเปนเดน ของบริเวณซ่ึงจะเปน บรเิ วณทเ่ี ดน ที่สุด เชน จุดที่มองไดอยางชัดเจนจากทางเขา หรืออาจจะจัดวางประติมากรรมหรือพันธุไมที่มีความ สวยงามเปนพิเศษกไ็ ด 4. การจัดทํารายละเอียดตา ง ๆ ไดแก การออกแบบในสวนตา ง ๆ ตามผงั ท่กี ําหนดไว กาํ หนดเครอ่ื งเรือน เครอ่ื งไฟฟา หรอื วสั ดแุ ละพันธุไมทจี่ ะนํามาใชออกแบบสวนประกอบอื่นๆ
44 ส่งิ สําคัญที่ควรคํานึงถึงในการตกแตงภายในโดยรวมคือ สถานทีต่ ัง้ ของตัวบาน วัสดุจะนํามาใชตกแตง ประโยชนใชสอยในแตละหอง ความ สวยงาม งบประมาณของผูเปนเจาของ ความเหมาะสมกับกาลสมัย เพศและวัยของผูใ ช และสุดทาย คอื อดุ มการณของผูออกแบบ การตกแตง สวนแบบเนน อนุรกั ษธ รรมชาติ 5.การจัดวางเครื่องเรือน หลักการทั่วไปในการพิจารณาจัดวางเคร่ืองเรือนในการตกแตง ภายใน มจี ุดมงุ หมายงาย ๆ คือตองมีความเปนเอกภาพ คือ การรวมตัวกันของเครื่องเรือนแตละกลุม ทัง้ ในดานความรูส ึกและในดานความเปนจริง เชน ชุดรับแขก ชุดรับประทานอาหาร ชุดนัง่ เลน ฯลฯ ถึงแมเคร่ืองเรือนทุกกลุม จะถูกจัดใหรวมอยูใ นหองโลงทีเ่ ปดถึงกันตลอด แตเคร่ืองเรือนทุก ชุดจะตองถูกจัดวางใหไมดูปนเปสับสนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับการเลือกแบบของเครือ่ งเรือนทีส่ ัมพันธ กันในแตละชุด และการใชสีสันตลอดจนการใชเครื่องตกแตง เชน ใชพรมรองในบริเวณ หองรับแขก หรือใชไฟชอใหแสงสวางเนนในบริเวณโตะอาหารซึ่งจะชวยใหชุดรับแขก และชุด รับประทานอาหารดูเปนเอกภาพยิ่งขึ้น 6.ความสามารถในการเปลยี่ นแปลงการใชส อย เปน การดมี ากถาเครื่องเรือนบางชิ้นสามารถทีจ่ ะใชงานไดหลายหนาที่ หรือหลายตําแหนง เชน ตูเล็ก ๆ ในหองนอนใหญ สามารถนําไปใชในหองนอนเด็กได เมือ่ มีตูใ บใหญมาใชในหองนัน้ แทน หรือเกาอีห้ วายในหอ งน่งั เลน สามารถนาํ ไปใชน ัง่ เลน ที่ระเบียงบานไดดวย
45 7. ความสมดุล ตองคํานึงถึงความสมดุลในการจัดวางเครอ่ื งเรอื นแตละหอง โดยการจัดวางใหแบงกระจาย เฟอรนิเจอรใหเหมาะสมกับพื้นที่และไมจัดเครือ่ งเรือนใหรวมกันอยูท างดานใดดานหนึ่งของหอง โดยปลอ ยใหอีกดา นหน่งึ วา งเปลาอยา งไมมีเหตุผล 8. การจดั ระบบทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินจากประตูหนึง่ ไปยังอีกประตูหนึง่ จะตองสะดวกและ กวางขวางเพียงพอ ตองไมมีการจัดวางทางเดนิ ภายในแตล ะหอ งกีดขวางในเสนทางที่ใชสัญจร สภาพโดยทัว่ ๆ ไปของหองทุกหอง จะทําหนาที่เปนตัวบังคับจํานวนในการจัดวางเคร่ือง เรือนไดในตัวเองอยูแ ลว เชน หองนอนจะตองประกอบดวย เตียงนอน ตูเสือ้ ผา โตะแตงตัว โตะ ทํางาน โตะ วางโทรทศั น การจดั วางจงึ ถกู กําหนดใหต ูเสื้อผาตองวางชิดผนังดานทึบ สวนเตียงนอน นยิ มจดั วางดา นหวั นอนไปทางทศิ ตะวนั ออกหรือทิศเหนือตามความเชือ่ โตะวางโทรทัศนจัดวางไว ปลายเตียงเพื่อความสะดวกในการใชง าน โตะแตงตวั และโตะทาํ งานจัดวางอยูใ นพนื้ ทีซ่ ่ึงเหลอื อยู หองโถงของตัวบาน จึงเปนหองทีค่ อนขางจะสรางความยุง ยากในการจัดวางเคร่ืองเรือน พอสมควร กอ นการจดั วางเครอ่ื งเรือนควรท่จี ะมีการวางแผนงานสาํ หรบั หองนี้อยางรัดกมุ เสยี กอ น ทางเดินทีม่ ีความกวางประมาณ ๙0 ซม. จะเปนชองทางเดินที่มีขนาดกําลังพอดี ชองวาง ระหวางโตะกลางกับเกาอี้รับแขก ควรเปนระยะประมาณ 45 ซม. อันเปนระยะที่สามารถเดินผานเขา มายังเกาอี้รับแขกไดสะดวก อีกทัง้ แขกสามารถเอื้อมมือมาหยิบแกวน้ําหรือหยิบอาหาร ตลอดจน เขี่ยบหุ รีล่ งในทเ่ี ขี่ยบุหร่ไี ดสะดวกอีกดว ย เครอ่ื งเรอื นชิน้ ใหญ ๆ ในหอ ง เชน โซฟา ตโู ชว โตะ ฯลฯ ควรจัดวางใหลงในตําแหนงที่ เหมาะสมเสยี กอ น เพื่อที่จะใชเปนหลักในการจัดวางเครื่องเรือนช้ินเล็ก ๆ ตอไป และไมควรจัดวาง เครื่องเรือนชิ้นใหญ ๆ รวมกันอยูเปนกลุม แตควรจัดวางใหกระจายกันออกไป ตามการใชสอย ทั้งนี้ เพ่ือผลในดา นความสมดุล แตอยางไรก็ตามในสภาพปกติควรคํานึงถึงดวยวาแขกที่นั่งบนเกาอี้ทุกตัวควรที่จะ สามารถเอื้อมมือถึงสิ่งของที่อยูบนโตะขา ง หรือโตะกลางได
46 การวางเครื่องเรือนที่เหมาะสมและมีระบบทางเดินที่ดี สําหรับโตะทํางานเปนเฟอรนิเจอรทีส่ ําคัญชิ้นหนึ่งในหองนี้ ถามีเนือ้ ที่เพียงพอควรจะจัด วางโตะทํางานไวดวย โตะทํางานตัวนีใ้ นเวลาทีไ่ มไดใชงานอาจใชเปนทีว่ างโชวของหรือใชเปนที่ พกั อาหารขณะนาํ มาเสิรฟ ท่ีโตะไดด ว ย เครื่องเรือนทีด่ ีทีส่ ุด สวยที่สุดอาจกลายเปนเครื่องเรือนชิ้นทีแ่ ยทีส่ ุด ถาหากฉากหลังมี ขอบกพรอง เชน มีสีตัดกันมากเกินไปหรือตกแตงไมสัมพันธกับเครือ่ งเรือน หองบางหองอาจดู เหมือนกับวาเครื่องเรือนในหองไดถูกเปลี่ยนแปลงใหมหมดเพียงแตเจาของหองดัดแปลงฉากหลัง ของหองเทานั้น ฉากหลังจึงนับวามีความสําคัญและสามารถชวยในการตกแตงภายในไดอยางดี เกรด็ ความรู การสรางบานควรที่จะมีการออกแบบตกแตงภายในไปพรอ มกันดว ย เพอ่ื เปน ความลงตวั ในการ ออกแบบกอ สรา งและการวางสายไฟฟา ทอ น้ําภายในระหวางกอสราง หากผูรับเหมากอสรางและ ตกแตงภายในเปนผเู ดยี วกนั การประสานงานในสวนน้ีจะเปน ไปอยา งราบรน่ื ทําใหงานเสรจ็ ได รวดเร็วขึ้นอีกทั้งการกอสรางบานและตกแตงภายในไปพรอมกัน ยังสามารถชวยประหยัด งบประมาณในการสรางบานใหนอยลงอีกดวย
47 กจิ กรรม จากแบบรา งแปลนหองนอนดา นลา ง ใหผเู รยี นออกแบบจดั วางเครอ่ื งเรือนใหถ กู ตองตาม หลักการออกแบบที่ไดศึกษามา โดยใหร า งผงั เครื่องเรือนจดั วางลงในผังแปลนน้ีจากน้ันนาํ มา แลกเปล่ียนและวจิ ารณกนั ในกลุมเรยี น
48 เร่ืองท่ี 7 คุณคา ความสาํ คัญทางวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรม โดยทัว่ ไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษยและโครงสรางเชิงสัญลักษณท่ี 33 ทาํ ใหก จิ กรรมนน้ั เดน ชดั และมคี วามสาํ คัญ วิถีการดําเนินชีวิต ซึง่ เปนพฤติกรรมและสิง่ ทีค่ นในหมู 33 ผลิตสรางขึน้ ดวยการเรียนรูจากกันและกัน และรวมใชอยูในหมูพ วกของตน วัฒนธรรมทีเ่ ปน นามธรรม หมายถึงสิง่ ที่ไมใชวัตถุ ไมสามารถมองเห็น หรือจับตองได เปนการแสดงออกในดาน ความคิด ประเพณี ขนบธรรมเนียม แบบแผนของพฤติกรรมตาง ๆ ที่ปฏิบัติสืบตอกันมา เปนที่ ยอมรับกันในกลุมของ ตนวาเปนสิ่งทีด่ ีงามเหมาะสม เชน ศาสนา ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู และความสามารถ วัฒนธรรม ประเภทนีเ้ ปนสวนสําคัญทีท่ ําใหเกิด วัฒนธรรมที่เปน รูปธรรม ขน้ึ ได และในบางกรณอี าจพฒั นาจนถึงขนั้ เปน อารยธรรม กไ็ ด เชน การสรางศาสนสถาน ในสมัยกอน เมื่อเวลาผานไปจึงกลายเปนโบราณสถาน ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร โบราณสถานคือสิ่งที่ไดรับการพัฒนามาจากวัฒนธรรม ประเพณี (รูปภาพจาก www.elbooky.multiphy.com) 55 เปน กิจก รรมทีม่ ีกา รปฏ ิบตั ิส บื เน่ื องกันมา เปน เอกลกั ษณและมคี วามสาํ คญั ตอ สังคม เชน การแตงกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ การทําบุญใสบ าตรเปนประเพณีท่ปี ฏิบตั สิ ืบตอ กันมา
49 ความสาํ คัญของวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมเปนเรื่องที่สําคัญยิ่งในความเปนชาติ ชาตใิ ดทไี่ รเ สียซึ่งวฒั นธรรมและประเพณี อนั เปนของตนเองแลว ชาติน้ันจะคงความเปนชาตอิ ยูไมได ชาติทีไ่ รวัฒนธรรมและประเพณี แมจ ะ เปน ผูช นะในการสงคราม แตในท่ีสดุ ก็จะเปน ผูถูกพิชิตในดานวฒั นธรรมและประเพณี ซง่ึ นับวา เปนการถูกพิชิตอยางราบคาบและสิ้นเชิง ท้ังน้เี พราะผทู ถ่ี ูกพิชติ ในทางวฒั นธรรมและประเพณีนน้ั จะไมรูต ัวเลยวา ตนไดถกู พชิ ิต เชน พวกตาดที่พิชิตจีนได และตั้งราชวงศหงวนขึ้นปกครองจีน แต ในที่สดุ ถกู ชาวจีนซงึ่ มวี ัฒนธรรมและประเพณีสงู กวา กลนื จนเปน ชาวจนี ไปหมดสน้ิ ดังนน้ั จงึ พอ สรุปไดวา วัฒนธรรมและประเพณีมีความสําคัญดังนี้ 1. วัฒนธรรมและประเพณีเปนสิ่งทีช่ ีแ้ สดงใหเห็นความแตกตางของบุคคล กลุมคน หรือชุมชน 2. เปน ส่ิงทท่ี ําใหเ หน็ วา ตนมคี วามแตกตางจากสตั ว 3. ชวยใหเราเขาใจสิง่ ตางๆ ทีเ่ รามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งทีเ่ รามองเห็นนั้น ขึน้ อยกู ับวัฒนธรรมและประเพณีของกลุมชน ซึง่ เกดิ จากการเรียนรูและถายทอดวัฒนธรรม เชน คน ไทยมองเห็นดวงจันทรวามีกระตายอยูใ นดวงจันทร ชาวออสเตรเลียเห็นเปนตาแมวใหญกําลังมอง หาเหยอ่ื 4. วัฒนธรรมและประเพณีเปนตัวกําหนดปจจัย 4 เชน เครือ่ งนุง หม อาหาร ทีอ่ ยูอ าศัย การ รักษาโรค ทีแ่ ตกตางกันไปตามแตละวัฒนธรรม เชนพืน้ ฐานการแตงกายของประชาชนแตละชาติ อาหารการกิน ลักษณะบานเรือน ความเชือ่ ในยารักษาโรคหรือความเชื่อในสิ่งลี้ลับของแตละชน ชาติเปนตน 5. วัฒนธรรมและประเพณีเปนตัวกําหนดการแสดงความรูส ึกทางอารมณ และการควบคุม อารมณ เชน ผชู ายไทยจะไมปลอยใหน ้าํ ตาไหลตอหนาสาธารณะชนเมอื่ เสียใจ 6. เปนตัวกําหนดการกระทําบางอยาง ในชุมชนวาเหมาะสมหรือไม ซึ่งการกระทําบางอยาง ในสงั คมหนึ่งเปนที่ยอมรับวาเหมาะสมแตไมเปนที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่ง เชนคนตะวันตกจะจับ มือหรือโอบกอดกันเพื่อทักทายกันทั้งชายและหญิง คนไทยใชการยกมือบรรจบกันและกลาวสวัสดี ไมนิยมสัมผัสมือโดยเฉพาะกับคนทีม่ ีอาวุโสกวา คนญี่ปุน ใชโคงคํานับ ชาวเผาเมารีในประเทศ นวิ ซแี ลนด ทักทายดว ยการ แลบล้ินออกมายาว ๆ เปน ตน 55 จะเห็นไดวาผูสรางวัฒนธรรมและประเพณีคือมนุษย สังคมเกิดขึ้นก็เพราะ มนุษย วัฒนธรรม ประเพณี กับสังคมจึงเปนสิ่งคูก ัน โดยแตละสังคมยอมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมี ขนาดใหญหรือมีความซับซอน มากเพียงใด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและประเพณีมักจะมี
50 มากขึน้ เพียงใดนั้นวัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ของแตละสังคมอาจเหมือนหรือตางกันสืบ เนื่องมาจากความแตกตางทางดานความเชื่อ เช้ือชาติ ศาสนาและถิ่นท่อี ยู เปน ตน ลักษณะของวฒั นธรรมและประเพณี เพือ่ ทีจ่ ะใหเขาใจถึงความหมายของคําวา \"วัฒนธรรม\" ไดอยางลึกซึง้ จึงขออธิบายถึง ลกั ษณะของวัฒนธรรม ซึง่ อาจแยกอธิบายไดด ังตอ ไปน้ี 1. วัฒนธรรมเปน พฤติกรรมทเ่ี กิดจากการเรยี นรู มนษุ ยแ ตกตา งจากสตั ว ตรงทีม่ ีการรูจ ักคิด มีการเรยี นรู จดั ระเบยี บชีวติ ใหเ จรญิ อยดู กี ินดี มีความสุขสะดวกสบาย รูจักแกไขปญหา ซึง่ แตกตาง ไปจากสตั วทเี่ กิดการเรยี นรโู ดยอาศยั ความจาํ เทา นั้น 2. วัฒนธรรมเปนมรดกของสังคม เนือ่ งจากมีการถายทอดการเรียนรู จากคนรุนหนึง่ ไปสู คนรุนหนึง่ ทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออม โดยไมขาดชวงระยะเวลา และ มนุษยใชภาษาในการ ถา ยทอดวฒั นธรรม ภาษาจงึ เปนสญั ลักษณทใี่ ชถา ยทอดวัฒนธรรมนัน่ เอง 3. วัฒนธรรมเปนวถิ ีชีวติ หรือเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตของ มนุษย มนุษยเกิดใน สังคมใดก็จะเรียนรูแ ละซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมทีต่ นเองอาศัยอยู ดังนัน้ วัฒนธรรมในแตละ สังคมจึงแตกตางกัน 4. วฒั นธรรมเปนสิง่ ทไี่ มคงที่ มนุษยมีการคิดคนประดิษฐสิง่ ใหม ๆ และ ปรับปรุงของเดิม ใหเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสม และความอยู รอดของสังคม เชน สังคมไทยสมัยกอนผูห ญิงจะทํางานบาน ผูช ายทํางานนอกบาน เพือ่ หาเลีย้ ง ครอบครัว แตปจจุบัน สภาพสังคมเปลีย่ นแปลงไป ทําใหผูห ญิงตองออกไปทํางานนอกบาน เพือ่ หา รายไดมาจุนเจือ ครอบครัว บทบาทของผูหญิงในสังคมไทยจึงเปลี่ยนแปลงไป ประเพณไี ทย นั้นเปนประเพณีที่ไดอิทธิพลอยางสูงจากศาสนาพุทธ แตอิทธิพลจากศาสนา อื่นเชน ศาสนาพราหมณและการอพยพของชาวตางชาติเชนคนจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทยดวย เชน กัน 4ประเพณีไทย4 อันดีงามทีส่ ืบทอดตอกันมานัน้ ลวนแตกตางกันไปตามความเชื่อ ความ ผกู พนั ของผคู นตอ พุทธศาสนา และการดํารงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและธรรมชาติอยางชาญ ฉลาดของชาวบา นในแตล ะทอ งถ่ิน ทว่ั แผนดินไทย เชน ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแกวของคนไตหรือชาวไทยใหญที่จังหวัดแมฮองสอน ภาคอีสาน ประเพณีบุญบั้งไฟของชาวจังหวัดยโสธร ภาคกลาง ประเพณีทาํ ขวัญขาวจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ภาคใต ประเพณแี หผ าขน้ึ ธาตุของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน ตน
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118