Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ศิลปต้น

ศิลปต้น

Description: ศิลปต้น

Search

Read the Text Version

1 หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนินชีวติ รายวิชา ศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศึกษา หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สาํ นกั งานสง เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สาํ นกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร หามจาํ หนา ย หนังสือเรยี นเลม นี้จดั พิมพดวยเงนิ งบประมาณแผนดินเพ่ือการศกึ ษาตลอดชีวิตสําหรับประชาชน ลขิ สทิ ธ์เิ ปน ของ สํานกั งาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวชิ าการลาํ ดบั ท่ี 13/2554

2 หนังสอื เรยี นสาระทักษะการดําเนนิ ชีวิต รายวชิ าศิลปศึกษา (ทช11003) ระดบั ประถมศกึ ษา ลิขสิทธเิ์ ปนของ สาํ นักงาน กศน. สํานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ เอกสารทางวิชาการลาํ ดับท่ี 13/2554

3 คํานาํ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ไดดําเนินการจัดทํา หนังสือเรียน ชุดใหมน้ีข้ึน เพื่อสําหรับใชในการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ที่มีวัตถุประสงคในการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณธรรม จริยธรรม มีสติปญญาและศักยภาพในการประกอบอาชีพ การศึกษาตอ และสามารถดํารงชีวิตอยูใ น ครอบครัว ชุมชน สังคมไดอยางมีความสุข โดยผูเรียนสามารถนําหนังสือเรียนไปใช ดวยวิธีการศึกษา คนควาดวยตนเอง ปฏิบัติกิจกรรมรวมทั้งแบบฝกหัดเพื่อทดสอบความรูความเขาใจในสาระเนื้อหา โดยเมอ่ื ศกึ ษาแลวยังไมเ ขาใจ สามารถกลบั ไปศกึ ษาใหมได ผูเรียนอาจจะสามารถเพิ่มพูนความรูห ลังจาก ศึกษาหนังสือเรียนน้ี โดยนําความรูไปแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในช้ันเรียน ศึกษาจากภูมิปญญาทองถ่ิน จากแหลงเรยี นรูและจากส่อื อน่ื ๆ ในการดําเนินการจัดทําหนังสือเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับความรวมมือที่ดีจากผูทรงคุณวุฒิและผูเกี่ยวของหลายทานที่คนควา และเรียบเรียงเนื้อหาสาระจากส่ือตางๆ เพ่ือใหไดสื่อท่ีสอดคลองกับหลักสูตร และเปนประโยชน ตอผูเ รียนทีอ่ ยูน อกระบบอยางแทจริง สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอขอบคุณคณะท่ีปรึกษา คณะผูเรียบเรียง ตลอดจนคณะผูจัดทําทุกทานท่ีไดใหความรวมมือดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สํานักงานสงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย หวังวาหนังสือเรียน ชุดนีจ้ ะเปนประโยชนในการจัดการเรียนการสอนตามสมควร หากมีขอเสนอแนะประการใด สํานักงาน สงเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ขอนอมรับไวดวยความขอบคุณยิ่ง สํานักงาน กศน.

สารบญั 4 คํานาํ หนา คําแนะนาํ การใชหนงั สือเรียน โครงสรางรายวิชาศิลปศึกษา ระดับประถมศึกษา 5 บทที่ 1 ทัศนศิลปพ นื้ บา น 6 7 เรื่องท่ี 1 ทัศนศิลปพ ้นื บา น 8 เรื่องที่ 2 องคประกอบทางทัศนศิลป 14 เรื่องที่ 3 รูปแบบและวิวัฒนาการของทัศนศิลปพื้นบาน 18 เรื่องท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพื้นบาน 25 เร่ืองท่ี 5 ทศั นศิลปพ ืน้ บานกับการแตงกาย 36 เรื่องท่ี 6 การตกแตง ท่ีอยอู าศยั 43 เร่ืองท่ี 7 คุณคาของทัศนศิลปพื้นบาน 48 บทที่ 2 ดนตรพี ื้นบาน 55 เรื่องท่ี 1 ลกั ษณะของดนตรีพ้ืนบา น 56 เร่ืองท่ี 2 ดนตรีพื้นบานของไทย 58 เร่ืองท่ี 3 ภูมิปญญาทางดนตรี 79 เร่ืองที่ 4 คุณคาของเพลงพื้นบาน 84 เรื่องท่ี 5 พัฒนาการของเพลงพื้นบาน 88 เรื่องที่ 6 คณุ คาและการอนรุ ักษเ พลงพน้ื บาน 95 บทที่ 3 นาฏศิลป 104 - นาฏศิลปพ น้ื บานและภมู ปิ ญ ญาทอ งถิ่น 105 - นาฏศิลปพื้นบานภาคเหนือ 105 - นาฏศิลปพื้นบานภาคกลาง 107 - นาฏศิลปพืน้ บา นภาคอีสาน 109 - นาฏศิลปพื้นบานภาคใต 111

5 คําแนะนําการใชห นงั สือเรยี น หนงั สือเรียนสาระการดําเนินชีวติ รายวชิ า ศลิ ปศึกษา ทช 11003 เปนหนังสือเรียนทีจ่ ัดทําขึ้น สําหรบั ผูเรยี นท่ีเปนนกั ศึกษานอกระบบ ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระการดาํ เนินชวี ิต รายวชิ า ศลิ ปศกึ ษา ผูเรยี นควรปฏบิ ตั ดิ ังนี้ 1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ ผลการเรียนรูท ีค่ าดหวัง และขอบขายเนื้อหาของรายวิชานั้น ๆ โดยละเอียด 2. ศึกษารายละเอียดเนื้อหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามกําหนด แลว ตรวจสอบกับแนวตอบกิจกรรมตามที่กําหนด ถาผูเรยี นตอบผิดควรกลับไปศึกษาและทําความเขาใจ ในเนือ้ หานน้ั ใหมใ หเขาใจ กอ นที่จะศกึ ษาเรอ่ื งตอ ๆ ไป 3. ปฏิบตั กิ ิจกรรมทายเร่ืองของแตละเรือ่ ง เพอ่ื เปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหา ในเรือ่ งนัน้ ๆ อีกครัง้ และการปฏิบัติกิจกรรมของแตละเนือ้ หา แตละเรื่อง ผูเ รียนสามารถนําไป ตรวจสอบกบั ครูและเพื่อน ๆ ท่ีรว มเรียนในรายวิชาและระดบั เดยี วกนั ได หนงั สือเรยี นเลมน้มี ี 3 บทคือ บทที่ 1 ทัศนศิลปพนื้ บา น บทที่ 2 ดนตรพี ื้นบาน บทที่ 3 นาฏศิลปพืน้ บา น

6 โครงสรา งรายวชิ าศลิ ปศกึ ษา ระดบั ประถมศกึ ษา สาระสําคัญ มีความรคู วามเขา ใจ มีคุณธรรม จริยธรรม ชื่นชม เห็นคุณคาความงาม ความ ไพเราะ ธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม ทางทศั นศิลป ดนตรี นาฏศิลปพ ้นื บา น และวิเคราะหได อยางเหมาะสม ผลการเรียนรทู ีค่ าดหวงั 1. อธิบายความหมายของธรรมชาติ ความงามความไพเราะของทัศนศิลป ดนตรี และนาฏศิลป 2. อธบิ ายความรูพ ื้นฐานของ ทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพ น้ื บาน 3. สรางสรรคผลงานโดยใชความรพู นื้ ฐาน ดา น ทัศนศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลป พื้นบาน 4. ชืน่ ชม เห็นคุณคา ของ ทศั นศิลป ดนตรี และนาฏศิลปพ ้นื บาน 5. วเิ คราะห วพิ ากย วิจารณ งานดานทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพ ื้นบาน 6. อนุรักษส บื ทอดภูมปิ ญญาดานทศั นศลิ ป ดนตรี และนาฏศิลปพื้นบาน ขอบขา ยเน้ือหา บทที่ 1 ทศั นศิลปพ น้ื บา น บทที่ 2 ดนตรีพน้ื บาน บทที่ 3 นาฏศิลปพนื้ บา น สอ่ื การเรียนรู 1. หนงั สือเรยี น 2. ใบงาน 3. กจิ กรรม

7 บทที่ 1 ทัศนศิลปพื้นบาน สาระสําคัญ รูเขาใจ มคี ุณธรรม จริยธรรม ชืน่ ชม เห็นคุณคาความงาม ทางทัศนศิลป ของศิลปะพืน้ บาน และสามารถวิเคราะหวิพากษ วิจารณไดอยางเหมาะสม ผลการเรยี นรูท ่คี าดหวงั มีความรู ความเขาใจ ในพื้นฐานของทัศนศิลปพื้นบาน สามารถอธิบาย สรางสรรค อนุรักษ วิเคราะห วพิ ากย วิจารณเกี่ยวกับความงาม ดานทัศนศิลปพื้นบาน ไดอยางเหมาะสม ขอบขา ยเน้ือหา เร่ืองที่ 1 ทัศนศิลปพนื้ บาน เร่ืองที่ 2 องคป ระกอบทางทัศนศิลป เร่ืองที่ 3 รูปแบบและวิวัฒนาการของทัศนศิลปพื้นบาน เรื่องท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพื้นบาน เร่ืองท่ี 5 ทศั นศิลปพ้ืนบา นกับการแตงกาย เร่ืองที่ 6 การตกแตงที่อยูอาศัย เร่ืองที่ 7 คุณคาของทัศนศิลปพ นื้ บา น

8 เร่ืองท่ี 1 ทัศนศิลปพ ืน้ บา น ทัศนศลิ ปพ ้ืนบา น เราอาจแบงความหมายของทัศนศิลปพื้นบานออกเปน 2 คํา คือ คําวาทัศนศิลปและคําวา พ้ืนบาน ทัศนศลิ ป หมายถึงศิลปะท่ีรบั รไู ดดวยการมอง ไดแกร ูปภาพทิวทัศนทั่วไปเปนสําคัญ อนั ดบั ตนๆ รูปภาพคนเหมือน ภาพลอ เลยี น ภาพสิ่งของตางๆ กล็ ว นแลวแตเปนเรื่องของทศั นศลิ ป ดวยกันทั้งสิ้น ซึ่งถากลาววาทัศนศิลปเปนความงามทางศิลปะ เชน งานประติมากรรม งาน สถาปตยกรรม งานสิ่งพิมพ ฯลฯ ทไ่ี ดจ ากการมอง หรือ ทัศนา นัน่ เอง งานทัศนศิลป แยกประเภทไดดังน้ี 1.จติ รกรรม หมายถึง การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปบนพื้นระนาบดวยวิธีการลาก การ ระบายสลี งบนพ้ืนผิววสั ดุทีม่ คี วามราบเรยี บ เชนกระดาษ ผา ใบ แผน ไม เปน ตน เพื่อใหเกดิ เรอ่ื งราว และความงามตามความรูสึกนึกคิดและจินตนาการของผูวาด จําแนกออกได 2 ลักษณะ ดงั น้ี ภาพจติ รกรรมฝาผนังพระอุโบสถวัดภมู นิ ทร จ.นา น

9 1.1ภาพวาด เปนศัพททางทัศนศิลปที่ใชเรียกภาพวาดเขียน ภาพวาดเสน แบบเปน 2 มติ ิ คอื มีความกวา งและความยาว โดยใชวัสดุตา งๆ เชน ดนิ สอดาํ สีไม สีเทยี น เปน ตน 1.2 ภาพเขยี น เปนการสรางงาน 2 มิติ บนพน้ื ระนาบดว ยสหี ลายสี เชน การเขียนภาพดว ย สนี าํ้ สดี ินสอ สีนา้ํ มนั เปนตน 2. ประตมิ ากรรม หมายถึง การสรางงานทัศนศิลปที่เกิดจากการปน การแกะสลกั การหลอ การเชื่อม เปนตน โดยมลี กั ษณะ 3 มิติ คือ มีความกวาง ความยาว และความหนา เชน รูปคน รปู สัตว รูปส่งิ ของ เปนตน ประติมากรรมจาํ แนกไดเปน 3 ลักษณะ ดงั นี้ ประติมากรรมแบบนูนต่ํา 2.1 แบบนนู ตาํ่ เปน การปนหรือสลกั โดยใหเ กดิ ภาพท่ีนูนขึ้นจากพื้นเพยี งเล็กนอ ย เทานน้ั เชน รูปบนเหรียญตา งๆ (เหรยี ญบาท เหรยี ญพระ) เปน ตน ประติมากรรมแบบนูนสูง 2.2 แบบนนู สงู เปน การปนหรอื สลักใหร ูปที่ตองการนนู ข้ึนจากพ้ืนหลงั มากกวา ครง่ึ เปนรูปทส่ี ามารถแสดงความต้ืนลกึ ตามความเปนจริง เชน ประตมิ ากรรมท่ีฐานอนสุ าวรยี  เปนตน

10 ประติมากรรมแบบลอยตัว 2.3 แบบลอยตวั เปนการปน หรือแกะสลักทส่ี ามารถมองเหน็ และสมั ผสั ช่ืนชม ความงามของผลงานไดทุกดานหรือรอบดาน เชนพระพุทธรูป เปนตน 3 สถาปตยกรรม หมายถึง ศิลปะและวิทยาการแหงการกอสรางที่นํามาทําเพื่อสนองความ ตอ งการในดา นวัตถแุ ละจิตใจ มีลักษณะเปน สิง่ กอสรา งที่สรางอยางงดงาม จําแนกออกได2 ลักษณะ ดงั นี้ สถาปตยกรรมไทยแบบเปด 3.1แบบเปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยสามารถเขาไปใชสอยได เชน อาคาร เรียน ที่พกั อาศัย เปนตน

11 พระธาตุไชยา จ.สรุ าษฎรธานีเปนสถาปตยกรรมแบบปด 3.2 แบบปด หมายถึง สถาปตยกรรมที่มนุษยไมสามารถเขาไปใชสอยได เชน สถูป เจดยี  อนุสาวรยี ตา งๆ ผลงานภาพพิมพแกะไม 4 . ภาพพิมพ หมายถงึ ผลงานศิลปะท่ีถูกสรางข้นึ มาดวยวธิ ีการพมิ พ ดว ยการกดแมพ ิมพ ใหต ดิ เปนภาพบนกระดาษ จากแมพมิ พไ มหรอื แมพ มิ พโลหะ เปน ตน คําวาพน้ื บาน บางครงั้ เรยี กวา พืน้ ซงึ่ หมายถงึ กลมุ ชนใดกลมุ ชนหนึ่งอันมีเอกลกั ษณของตน เชน การดํารงชพี ภาษาพูด ศาสนา ท่เี ปนประเพณีรวมกนั ดงั นน้ั ทัศนศลิ ปพ นื้ บา น หมายถึง ผลงานทางศิลปะที่มีความงาม ความเรียบงายจากฝมือ ชาวบานทั่วๆไปสรางสรรคผลงานอันมีคุณคาทางดานความงาม และประโยชนใชสอยตามสภาพ ของทองถิ่น

12 ศาสตราจารยศิลปะ พีระศรี ไดก ลา ววา ทศั นศิลปพืน้ บา นหมายถึง ศลิ ปะชาวบาน คือการ รองรําทําเพลง กิจกรรมการวาดเขยี นและอน่ื ๆ ซึ่งกําเนิดมาจากชีวิตจิตใจของประชาชน ศิลปะ ชาวบา นสว นใหญจะเกดิ ควบคูกับการดําเนินชีวิตของชาวบาน ภายใตอ ิทธิพลของความเปนอยู ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อและความจําเปนของสภาพทองถิ่น เพ่ือใชสอยในชวี ติ ประจําวนั โดยท่วั ไปแลว ศลิ ปะพืน้ บา นจะเรียกรวมกับ ศลิ ปหัตถกรรม เปนศลิ ปหตั ถกรรม ท่เี กิดจากฝมือของ คนในทองถิน่ การประดษิ ฐสรางสรรคเปนไปตามเทคนิคและรูปแบบที่ถายทอดกันในครอบครัว โดยตรงจากพอ แม ปู ยา ตา ยาย โดยมจี ดุ ประสงคห ลักคือ ทําขึ้นเพื่อใชสอยในชีวติ ประจําวนั เชนเดียวกับคติพื้นบานแลวปรับปรุงใหเขากับสภาพของทองถิ่น จนกลายเปนเอกลักษณเฉพาะของ ตนเอง สว นประกอบของทัศนศิลปพ้นื บา น ทัศนศลิ ปพ ื้นบาน จะประกอบดวยสิ่งตอไปนี้ 1. เปนผลงานของชางนิรนาม ทําขึ้นเพื่อใชสอยในชีวิตประจําวันของประชาชน ความงาม ที่ปรากฏมิไดเกิดจากความประสงคสวนตัวของชางเพื่อแสดงออกทางศิลปะ แตมาจาก ความพยายาม หรือความชํานาญของชา งทฝ่ี ก ฝน และผลิตตอมาหลายชวั่ อายุคน 2. เปนผลงานที่มีรูปแบบที่เรียบงาย มีความงามอนั เกดิ จากวสั ดจุ ากธรรมชาติ และผา นการ ใชส อยจากอดตี จนถึงปจจบุ ัน 3. ผลิตขนึ้ เปนจํานวนมาก ซื้อขายกันในราคาปกติ ความงดงามเกิดจากการฝกฝน และ การทําซา้ํ ๆกัน 4.. มีความเปนธรรมชาติปรากฏอยูมากกวาความสละสลวย 5. แสดงลักษณะพเิ ศษเฉพาะถน่ิ หรอื เอกลักษณข องถิน่ กาํ เนดิ 6. เปน ผลงานที่ทาํ ขน้ึ ดว ยฝมือเปน สวนมาก

13 เกร็ดความรู ผสู รา งงานศิลปะ เราเรยี กวาศิลปน เชนศลิ ปนดานจิตรกรรม ศลิ ปน ดา นภาพพมิ พ ศิลปน ดา น ประติมากรรม แตการปนหลอพระพุทธรปู เรยี กวา งานปฏมิ ากรรม(สงั เกตวาเขียนตา งกนั จากคําวาประติมากรรม นะจะ ) และผสู รางสรรคง านปฏิมากรรมเราเรยี กปฏิมากร สวนผสู รางสรรค งานดานสถาปตยกรรมเราเรียกสถาปนิกจะ ...... กิจกรรม ใหผ ูเรยี นสํารวจบริเวณชุมชนของผเู รียนหรือสถานทีพ่ บกลุม วามที ัศนศิลป พ้ืนบานอะไรบาง หากมจี ดั อยูในประเภทอะไร จากน้นั บันทกึ ไวแลวนํามาแลกเปล่ยี นความรูก นั ใน ช้นั เรียน

14 เร่ืองที่ 2 องคประกอบทางทัศนศลิ ป “องคป ระกอบทางทัศนศิลป” ประกอบดวยองคประกอบสําคัญ 7 ประการคือ . 1.จดุ หมายถึง สว นประกอบท่เี ลก็ ที่สุด เปน สว นเรม่ิ ตนไปสูสว นอน่ื ๆ 2.เสน หมายถงึ จดุ หลาย ๆ จดุ ท่เี คลอ่ื นที่ตอ เนื่องไปในทวี่ างเปลา จากทิศทางการเคลื่อนที่ ตาง ๆ กัน 3.สี หมายถึง ลักษณะของแสงสวางที่ปรากฏแกสายตาใหเห็น สตี างกนั สเี ปนสงิ่ ที่มีอทิ ธพิ ลตอ ความรสู ึก เม่อื มองเห็น และทําใหเ กดิ อารมณ สะเทอื นใจตา ง ๆ สีชางเขียนประกอบไปดวยแม สี 3สีคอื เหลือง แดง นาํ้ เงิน ซึง่ เม่ือนาํ แมส ีมาผสมกนั จะไดส ตี า งๆ 4. พนื้ ผวิ หมายถงึ คุณลกั ษณะตาง ๆ ของผวิ ดา นหนา ของวัตถทุ ุกชนดิ ทมี่ ลี ักษณะตาง ๆ กัน เชน เรยี บ ขรุขระ เปน มนั วาว หรือดา น เปน ตน

15 5.รูปราง หมายถึง การบรรจบกันของเสนที่เปนขอบเขตของวัตถุที่มองเห็นเปน 2 มิติ คือ มี ความกวางและความยาว 2 ดานเทา น้นั 6. รูปทรง หมายถึงรูปลักษณะที่มองเห็นเปน 3 มิติ คอื มีความกวางความยาวและความหนาลึก

16 เกร็ดความรู การนําองคประกอบทางทัศนศิลป มาจัดภาพใหปรากฏเดน และจดั เรอ่ื งราวสว นประกอบ ตางๆในภาพเขาดวยกันอยางเหมาะสมเรยี กการจัดภาพ การจัดภาพเบื้องตน มีหลกั การดงั น้ี 1. มีจดุ เดนเพยี งหนึ่ง 2. เปน เอกภาพ คอื ดแู ลว เปน เร่ืองราวเดยี วกนั 3. มีความกลมกลืนโดยรวมของภาพ 4. อาจมีความขัดแยงเลก็ นอ ยเพอ่ื เนน จุดเดน 5. มีความสมดุลของนาํ้ หนกั ในภาพ

17 กจิ กรรม ใหผูเรียนอธิบายในความหมายขององคประกอบศิลปตอไปนี้ จดุ หมายถึง............................................................................................................................... เสน หมายถึง..................................................................................................................................... สี หมายถึง............................................................................................................................... พน้ื ผิว หมายถึง................................................................................................................................ รูปรา ง หมายถึง.............................................................................................................................. รปู ทรง หมายถึง............................................................................................................................. ดูเฉลยจากบทเรียนที่ 1 เร่ืองท่ี 2 องคประกอบทางทัศนศิลป

18 เร่อื งท่ี 3 รูปแบบและววิ ัฒนาการของทศั นศิลปพ้นื บาน ศิลปะพ้ืนบาน มพี ื้นฐานท่เี กิดจากการผลิตทที่ าํ ขึ้นดว ยมอื เพอ่ื ประโยชนใชส อย จึงนับไดวา กําเนิดพรอมกับวิวัฒนาการของมนุษย ไดคิดคนวิธีการสรางเครือ่ งมือ เคร่ืองใช เพือ่ ชวยใหเกิด ความสะดวกสบายตอการดําเนินชีวิตมาโดยตลอด เชน เครือ่ งมือหิน เครือ่ งปน ดินเผาสมัยโบราณที่ ขุดพบจึงนับไดวาการกําเนิดศิลปหัตถกรรมมีอยูทั่วไป และพัฒนาตั้งแตโบราณแลว ในสมัยกอนนัน้ สังคมของชาวไทยเรา เปนสังคมแบบชาวนา หรือเรียกกันวาสังคมเกษตร อันเปน สงั คมท่ีพ่ึงตนเอง มีพรอมทุกดานในเรือ่ งปจจัยสีอ่ ยูใ นกลุม ชุมมนนัน้ ๆ การสรางการผลิตเครื่องใช และอุปกรณต างๆ เพื่ออํานวยความสขุ ความสะดวกสบายในการดํารงชีวิตของตนเอง ประเภทของศลิ ปะพื้นบา น งานศิลปะพื้นบานของไทยมีปรากฏตามทองถิน่ ตางๆ อยูม ากมายหลายประเภท สามารถแบงเปนประเภทตางๆ ไดดังนี้ 1. ดานจิตรกรรม จิตรกรรมพื้นบานของไทยเกิดจากชางชาวบานในทองถิน่ เปนผูสรางผลงานขึ้น โดยอาศัยวสั ดอุ ุปกรณในทองถ่นิ เปนเครอื่ งมือสรา งสรรคผ ลงาน เชน การใชใบลาน แผนไม ผาฝาย เปนวัสดุสําหรับขีดเขียนวาดภาพ และใชสีจากธรรมชาติ เชน สีจากยางไม ผลไม ดินสี ผงหินสี ระบายดวยไมทุบปลายใหเปนฝอยบาง หรือขนสัตวบางประเภท เชน ขนหมู ขนจากหูวัว ขน กระตาย มัดกับไมเปนแปรงหรือพูกันระบาย จิตรกรรมพืน้ บานไทยสามารถแบบออกไดเปน 2 ประเภทตามลักษณะของตัวจติ รกรรมดงั น้ี 1.1 จิตรกรรมแบบเคล่ือนทไ่ี ด หมายถึงมนุษยสามารถนําพาชิน้ งานจิตรกรรมนัน้ เคลือ่ นที่ ไปไหนไดโดยสะดวก ตัวอยางของงานจิตรกรรมประเภทนี้ไดแก สมุดขอย ภาพมหาชาติ ตูพ ระ ธรรมลายรดนาํ้ เปนตน 1.2 จิตรกรรมแบบเคลื่อนที่ไมได หมายถึง มนุษยไมสามารถนําพาชิน้ งานจิตรกรรมนั้น เคลือ่ นท่ีไปไหนได เน่ืองจากไดเ ขยี นภาพจิตรกรรมลงบนอาคารสถานที่ เชน ภาพจิตรกรรมตามฝา ผนงั พระอุโบสถ จิตรกรรมบนผนงั เพดาน ระเบยี งวหิ าร เปนตน ภาพจติ รกรรมพ้ืนบา นแบบเคลอื่ นท่ไี ด ภาพจิตรกรรมพื้นบา นแบบเคล่อื นท่ไี มได

19 ลักษณะของจิตรกรรมพืน้ บานไทย มักจะเปนจิตรกรรมแบบทีเ่ รียกวา “จิตรกรรมแบบ ประเพณ”ี คือเปนการสรางสรรคจิตรกรรมตามแบบแผนที่ทําสืบตอกันมา ลักษณะจะเปนการเขียน ภาพดวยสีฝุน จากธรรมชาติในทองถิน่ ลักษณะการเขียนจะไมรีบรอนไมตองแขงกับเวลา ลักษณะ งานจะมีขนาดเล็ก หากเขียนบนพืน้ ทีใ่ หญ เชน ผนังก็จะมีลักษณะเล็กแตจะมีรายละเอียดในภาพ มากหรือเปนภาพเลาเรื่องตอเนื่องไปจนเต็มพืน้ ที่ สัดสวนประกอบไมสัมพันธกับบุคคลในภาพ หนาบุคคลไมแสดงอารมณ แตจะสื่อความหมายดวยกริ ิยาทาทาง และเรื่องราวสวนใหญจะเปนเรือ่ ง เกี่ยวกับ พุทธศาสนา ความเชื่อ 2.ดานประติมากรรม ประติมากรรมพื้นบาน มักจะเปนงานทีส่ รางสรรคขึน้ มาเพือ่ การตอบสนอง ประโยชนใชสอยในชีวิตประจําวันของมนุษย วัสดุที่ใชมักจะเปนวัสดุในทองถิ่น โดยเลือกใชตาม ความเหมาะสมในการใชงาน เชน ไมไผ ไมเนือ้ แข็ง ดินเหนียวและการเผา เปนตน ประติมากรรม พื้นบานสามารถแบงออกตามลักษณะการนําไปใชได 4 ประเภทดงั นี้ 2.1 ประติมากรรมพื้นบานเพอื่ การตกแตงชั่วคราว เปนงานประติมากรรมที่สรางขึ้นมาเพื่อ ใชในพิธีกรรมหรือการตกแตงในระยะเวลาอันสั้น เชน การแทงหยวก การแกะสลักผักหรือผลไม และการตกแตงบายศรใี นพิธีการตา ง ๆ เปนตน การแทงหยวก การตกแตงบายศรี งานประติมากรรมประเภทนี้มักมีความสวยงามประณีตใชความคิดสรางสรรคสูง ผูทาํ อาจทาํ คนเดียวหรือทาํ เปนกลุมก็ได

20 2.2 ประติมากรรมพืน้ บานเพือ่ ตกแตงสิ่งของเครือ่ งใช เปนการสรางสรรคงาน ประติมากรรม เพื่อตกแตงสิ่งของเครื่องใชใหเกิดความสวยงามนาใชนาจับตอง ตัวอยางประตมิ ากรรมพ้ืนบานเพ่อื ตกแตงสิง่ ของเครื่องใช ไดแก การแกะสลักตู เตยี ง ขั้นนํา้ พานรอง คนโท หมอ น้ํา เปนตน 2.3 ประติมากรรมพืน้ บานเพื่อเครือ่ งมหรสพ ประติมากรรมประเภทนีส้ รางขึน้ มาเพือ่ ความบันเทิง โดยจะเลือกใชวัสดุทีม่ ีอยูในทองถิน่ เชน ดินเผา ไมไผ หนังวัวหรือหนังควาย ผาฝาย ฯลฯ มาประดษิ ฐเพ่ือเปนอปุ กรณแ สดงมหรสพตาง ๆ ตวั อยา งประตมิ ากรรมพ้นื บานเพอ่ื มหรสพ ไดแก หนุ กระบอก (หุนโรงเลก็ ) หนังใหญ หนังตะลงุ หัวโขน เปน ตน

21 2.4 ประติมากรรมพื้นบานประเภทเครือ่ งเลนและพิธีกรรม เปนประติมากรรมพื้นบานที่ สรา งสรรคเ พอ่ื เปนเคร่ืองเลน สําหรับเดก็ หรอื เครอื่ งเลนเคร่ืองบันเทิงสาํ หรับคนทุกวยั ประตมิ ากรรมประเภทน้ี ไดแ ก การแกะสลกั ตัวหมากรกุ ตุก ตาเล็ก ๆ ตุกตาเสยี กบาล และตกุ ตาชาววังเปนตน 3. ดา นสถาปต ยกรรม สถาปตยกรรมพื้นบานไทยเปนสิ่งทีเ่ กีย่ วของกับวิถีชีวิตของคนไทยมาตัง้ แต แรกเกิด โดยวัสดุทีใ่ ชมักเปนวัสดุที่มีอยูในทองถิ่นเปนหลัก ยกเวนสถาปตยกรรมดานศาสนาและ ความเชือ่ ซึ่งอาจใชวัสดุตางทองถิ่นที่ดูแลว มีคาสูงเพื่อแสดงการเคารพนับถือ สถาปตยกรรม พนื้ บา นไทย แบงออกไดตามลักษณะการใชสอย 2 ประเภทดังน้ี 3.1 สถาปต ยกรรมพืน้ บานเพอ่ื พระพุทธศาสนา เปนสถาปตยกรรมที่สรางขึน้ ในวัดตาง ๆ เพื่อประโยชนทางพุทธศาสนา และปูชนียสถาน สถาปตยกรรมพนื้ บานเพื่อพระพุทธศาสนา ไดแ ก พระสถูปเจดีย พระปรางค พระอุโบสถ พระวิหาร ศาลาการเปรียญ ฯลฯ

22 3.2 สถาปตยกรรมพืน้ บานประเภททีอ่ ยูอาศัย เปนสถาปตยกรรมที่สรางสรรคขึ้นมาเพื่อ ประโยชน ในการอยูอาศัยของบุคคล ลักษณะการกอสรางยึดถือสืบทอดตอกันมามีรูปแบบและแบบ แผนแนนอน แตสามารถดัดแปลงตามความตองการและประโยชนใชสอยของบุคคลอีกดวย สถาปตยกรรมประเภทนี้สามารถพบเห็นไดจากบานเรือนทรงไทย หรือบานแบบพื้นบานตามภาค ตาง ๆ ซึ่งจะมีกาแลทีจ่ ัว่ บาน ภาคกลางหลังคาทรงสูงปานลมมีเหรา ภาคใตหลังคาเปนทรงปน หยา เปนตน เรือนภาคเหนือ เรือนภาคกลาง เรือนภาคใต การสรางสถาปตยกรรมพืน้ บานประเภททีอ่ ยูอ าศัยนับเปนภูมิปญญาไทยทีป่ ลูกสรางตาม ความเหมาะสมของภูมิประเทศภูมิอากาศ และไดถายทอดคตินิยมไทยดานความเชื่อ ความเปน มงคลแกผ อู าศยั อีกดว ย 4. ดานภาพพิมพ ภาพพิมพพืน้ บานของไทยมีไมมากนักที่เห็นไดชัดเจนมักจะเปนในรูป ของผาพิมพ ที่สรางสรรคขึน้ มาเพื่อประโยชนในการใชสอยเปนสวนใหญ เชน ผาพิมพลายบาติก ของภาคใต ซ่งึ เปนกรรมวธิ ีกึ่งพมิ พ กง่ึ ยอ ม และผาพิมพโขมพัสตรซ่ึงเปนผาพิมพลายแบบตะแกรง ผา ไหม(ซลิ สกรีน) ของจังหวัดประจวบคีรีขันธ ผา โขมพัสตร

23 เกร็ดความรู คุณรไู หมวา เรือนไทยโบราณแบง ออกเปน 2 ประเภทใหญๆคอื เรอื นเครอ่ื งสบั คือประเภทหนึ่งของเรือนที่อยูอาศัยของคนไทยทีเ่ รียกวา เรือนไทย คูกนั กับ เรือนเครอ่ื งผกู ตามความหมายของราชบัณฑิตยสถานหมายถึง \"เปนเรือนท่ีมลี กั ษณะคมุ เขา ดว ยกัน ดวยวิธีเขาปากไม\" สวนใหญเ รอื นเครอ่ื งสบั เปนเรือน 3 หอ ง กวา ง 8 ศอก แตจะใหญโตมากขน้ึ ถาเจา ของมี ตําแหนงสําคัญ เชน เสนาบดี ชางที่สรางจะเปนชางเฉพาะทาง กอนสรางจะมีการประกอบพิธี หลายๆอยาง ในภาคกลางมักใชไมเต็งรังทําพื้น เพราะแข็งมาก ทําหัวเทียนไดแข็งแรง ภาคเหนือ นยิ มใชไ มสัก ไมท ่ีไมน ยิ มใช เชน ไมต ะเคยี นทอง เพราะมียางสเี ลอื ด ไมนาดู เรือนเครือ่ งผูก เปนการสรางในลักษณะงายๆ การประกอบสวนตางๆเขาดวยกันจะใช วิธกี ารผกู มัดตดิ กนั ดวยหวาย หรอื จกั ตอกจากไมไ ผ ไมมกี ารใชต ะปูตอกยึด ฝาบาน หนาตา ง ใชไม ไผส านขดั แตะ เรยี กวา ฝาขัดแตะ พน้ื มที ง้ั ไมเ น้ือแขง็ ทําเปนแผน กระดาน หรอื ใชไมไ ผสบั เปนฟาก กแ็ ลว แตฐ านะของเจา ของบานจะ

24 กจิ รรม ใหผูเรียนสํารวจบรเิ วณชุมชนของผูเรยี นหรือสถานทีพ่ บกลมุ วา มศี ลิ ปะ พ้ืนบา นใดบาง ทีเ่ ขาในประเภททศั นศลิ ปพื้นบานท้ัง 4 ประเภทขางตน จากนั้นจดบันทึกโดย แบง เปน แตละหัวขอ ดังน้ี 1.วันท่ีสาํ รวจ 2.ระบสุ ถานที่ หรือสง่ิ ของท่พี บ 3.จดั อยูในประเภททัศนศิลปใด 4.ประโยชนหรือคุณคา 5.มีความสวยงามประทับใจหรือไม อยางไร(บอกเหตผุ ล)

25 เรอื่ งท่ี 4 รูปแบบและความงามของทัศนศิลปพ ้ืนบาน ทัศนศิลปพื้นบานกับความงามตามธรรมชาติ มีความงดงามที่คลายคลึงกันโดยอาจอธิบาย ในรายละเอียดของแตละสิง่ ไดด งั น้ี ทศั นศิลปพนื้ บาน เปนรูปแบบศิลปะชนิดเดียวที่มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบนอยและคงรูป แบบเดิมไดนานทีส่ ุด จากเอกลักษณอ นั มคี ุณคา นเี้ องทาํ ใหทัศนศิลปพืน้ บา นมคี ณุ คา เพม่ิ ขนึ้ ไป เร่ือยๆ ไมวา เปน คุณคา ดา นเรอ่ื งราว การพบเหน็ หรือการแสดงออก เพราะทศั นศลิ ปพ ้นื บา นเปน ตัวบงบอกความเปนมาของมนุษยชาติที่สรางทัศนศิลปพื้นบานนั้นๆขึ้นมา งานทัศนศิลปพื้นบานสวนใหญมักจะออกแบบมาในรูปของการเลียนแบบหรือทําให กลมกลืนกับธรรมชาติ ทั้งนี้เพื่อประโยชนของการใชสอยและความสวยงามและ/หรอื เพอ่ื อุดมคติ ซึ่งทําใหท ศั นศลิ ปพื้นบา นมีจุดเดนท่ีนา ประทบั ใจ ตวั อยา งเชน การออกแบบอุปกรณจับปลาที่จะมี การออกแบบใหกลมกลืนกับลักษณะกระแสน้ํา สะดวกในการเคลื่อนยาย ไซดักปลา การออกแบบที่กลมกลืนกับสภาพลาํ น้าํ เราอาจวิเคราะห วิจารณ ถึงความสวยงาม ของทัศนศิลปพื้นบานโดยมีแนวทางในการ วเิ คราะหวิจารณ ดังนี้ 1. ดานความงาม เปนการวิเคราะหและประเมินคุณคาในดานทักษะฝมือ การจัดองคประกอบศิลป วาผลงานชิ้นนี้แสดงออกทางความงามของศิลปะไดอยางเหมาะสมสวยงามและสงผลตอผูดูใหเกิด ความชื่นชมเพียงใด ลักษณะการแสดงออกทางความงามของศิลปะจะมีหลากหลายแตกตางกัน ออกไปตามรูปแบบของยุคสมัย ผูวิเคราะหควรมีความรู ความเขาใจดวย

26 2. ดานสาระ เปน การวิเคราะหและประเมนิ คุณคา ของผลงานศิลปะแตละชน้ิ วามลี กั ษณะสง เสรมิ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตลอดจนจุดประสงคต างๆ วาใหส าระอะไรกบั ผชู มบา ง ซึ่งอาจเปนสาระ เกี่ยวกับธรรมชาติ สังคม ศาสนา การเมือง ปญญา ความคิด จินตนาการ และความฝน 3.ดา นอารมณความรสู กึ เปนการคดิ วเิ คราะหแ ละประเมินคณุ คา ในดา นคณุ สมบัตทิ ี่สามารถกระตุน อารมณความรูสึกและส่ือความหมายไดอ ยางลึกซงึ้ ซึ่งเปนผลของการแสดงออกถึงความคิด พลัง ความรูส กึ ทีป่ รากฏอยูใ นผลงาน ตัวอยางการวิเคราะห วจิ ารณงานทศั นศิลปพนื้ บา นจากภาพตอไปนี้ ตวั อยา งการวเิ คราะห คําวิจารณท่ี 1 คําวิจารณ งานทัศนศลิ ปป ระเภท จิตกรรม ภาพเขียนระบายสี 1. ดานความงาม ภาพน้ีผูเขียนมีฝมอื และความชาํ นาญในการจดั ภาพสงู จดุ สนใจอยูท่บี า นหลัง ใหญ มีเรือนหลงั เลก็ กวาเปน ตวั เสริมใหภาพมีเรื่องราวมากขึ้น สว นใหญใ นภาพจะใชเ สน ใน แนวนอนทําใหดูสงบเงียบแบบชนบท 2. ดานสาระ เปนภาพทีแ่ สดงใหเ ห็นวถิ ชี ีวิตทอี่ ยูใ กลช ิดธรรมชาติ มตี นไมใ หญนอยเปนฉาก ประกอบทั้งหนาและหลงั มีสายนาํ้ ทใ่ี หความรสู กึ เยน็ สบาย 3. ดานอารมณและความรูสึก เปน ภาพทใ่ี หความรูสึกผอ นคลาย สีโทนเขียวของตน ไมทําใหร สู กึ สดช่นื เกิดความรูสึกสงบสบายใจแกผ ูชมเปน อยางดี

27 ตวั อยางการวเิ คราะห คําวิจารณที่ 2 คําวิจารณ งานทัศนศลิ ปป ระเภท ประตมิ ากรรม แบบลอยตัว 1. ดานความงาม เปน พระพุทธรูปปางมารวชิ ยั ทีม่ ลี ักษณะงดงามไดสัดสวนสมบูรณแบบ ซมุ เรอื น แกวและฉากสีเขมดานหลังทําใหองคพ ระดูโดดเดน และนาศรทั ธามากยิง่ ขึน้ 2. ดานสาระ เปนประติมากรรมที่สรางความเคารพศรทั ธาแกผ ูพบเหน็ 3. ดานอารมณและความรูสึก ทําใหรูสึกถึงความสงบแหงพระพุทธศาสนา และเปนเหมือนที่พึ่ง แหง จติ ใจชาวพทุ ธ

28 กจิ กรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพืน้ บา นจากรปู ที่กาํ หนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณข างตน และความรทู ไ่ี ดศ ึกษาจากเรื่องท1ี่ .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ ภาพจติ รกรรมสีน้ําของ อ.กิตติศกั ด์ิ บุตรดีวงศ คําวิจารณ

29 กิจกรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ ืน้ บานจากรปู ทีก่ ําหนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณขางตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเร่อื งที1่ .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ ประติมากรรม วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี จังหวัดแพร

30 กจิ กรรม ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ้นื บานจากรปู ท่กี ําหนด โดยใชหลักการวิจารณข า งตน และความรูท ่ไี ดศกึ ษาจากเร่อื งท1่ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ การจดั สวนในบา นเลยี นแบบธรรมชาติ

31 กิจกรรม ใหผ ูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ้นื บา นจากรูปท่กี าํ หนด โดยใชห ลกั การวจิ ารณขางตน และความรทู ี่ไดศึกษาจากเรอ่ื งท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ พระอโุ บสถ วดั จฬุ ามณี จ.สมุทรสาคร (ภาพจาก www.Mayaknight07.exteen.com) คําวิจารณ

32 กิจกรรม ใหผูเรียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพ้ืนบานจากรปู ทกี่ าํ หนด โดยใชหลักการวจิ ารณขา งตน และความรูท่ไี ดศกึ ษาจากเรอ่ื งท่ี1.1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ เครื่องจักสานจากไมไผ ภาคกลาง

33 กิจกรรม ใหผูเรียนทดลอง วิเคราะห วิจารณ งานทัศนศิลปพน้ื บา นจากรปู ทกี่ าํ หนด โดยใชห ลักการวิจารณข างตน และความรทู ไ่ี ดศกึ ษาจากเรอ่ื งท่1ี .1 ถงึ 1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ จติ รกรรมฝาผนงั วัดบานกอ อ.วงั เหนอื จ.ลําปาง

34 กจิ กรรม ใหผูเรียนทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ ืน้ บา นจากรปู ท่กี าํ หนด โดยใชห ลักการวิจารณขางตน และความรูท ไ่ี ดศกึ ษาจากเรอื่ งท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ หนงั ตะลุง ภาคใต

35 กจิ กรรม ใหผ ูเรยี นทดลอง วเิ คราะห วิจารณ งานทศั นศิลปพ ืน้ บานจากรปู ทกี่ ําหนด โดยใชหลกั การวิจารณขา งตน และความรูทไี่ ดศ กึ ษาจากเรื่องท่1ี .1 ถึง1.4 มาประกอบคําวิจารณ คําวิจารณ ลายขางเรือกอและ จ.ปต ตานี

36 เรื่องที่ 5 ทัศนศิลปพ้ืนบานกับการแตง กาย ความหมายของเครอื่ งแตง กาย คําวา เครื่องแตงกาย หมายถึงสิ่งที่มนุษยนํามาใชเปนเครือ่ งหอหุม รางกาย การแตงกายของ มนุษยแตละเผาพันธุส ามารถคนควาไดจาก หลักฐานทางวรรณคดีและประวัติศาสตร เพื่อใหเปน เครอ่ื งชว ยชนี้ ําใหรูและเขาใจถึงแนวทางการแตงกาย ซึง่ สะทอนใหเห็นถึงสภาพของการดํารงชีวิต ของมนษุ ยใ นยุคสมยั น้ันๆ ประวตั ิของเครือ่ งแตง กาย ในยุคกอนประวัติศาสตร มนุษยใชเครือ่ งหอหุม รางกายจากสิ่งทีไ่ ดมาจากธรรมชาติ เชน ใบไม ใบหญา หนังสัตว ขนนก ดิน สีตางๆ ฯลฯ มนุษยบางเผาพันธุร ูจ ักการใชสีทีท่ ํามาจากตนพืช โดยนํามาเขียนหรือสักตามรางกายเพื่อใชเปนเครือ่ งตกแตงแทนการใชเครือ่ งหอหุม รางกาย ตอมา มนษุ ยม กี ารเรยี นรู ถึงวิธีที่จะดัดแปลงการใชเครื่องหอหุมรางกายจากธรรมชาติใหมีความเหมาะสม และสะดวกตอการแตงกาย เชน มีการผูก มัด สาน ถัก ทอ อัด ฯลฯ และมีการวิวัฒนาการเรื่อยมา จนถึงการรจู กั ใชว ิธีตัดและเย็บ จนในทสี่ ุดไดก ลายมาเปน เทคโนโลยจี นกระทง่ั ถงึ ปจ จบุ ันนี้

37 ความแตกตา งในการแตงกาย มนุษยเปนสัตวโลกทีอ่ อนแอทีส่ ุด จึงจําเปนตองมีสิง่ ปกคลุมรางกายเพือ่ สามารถที่จะ ดํารงชีวิตอยูได จากความจําเปนนีจ้ ึงเปนแรงกระตุน ทีส่ ําคัญในอันที่จะแตงกาย เพื่อสนองความ ตองการของมนุษยเอง โดยมีสังคมและสิ่งอืน่ ๆประกอบกัน และเครือ่ งแตงกายก็มีรูปแบบที่ แตกตางกนั ไปตามสาเหตุน้นั ๆ คอื 1. สภาพภูมิอากาศ ประเทศทีอ่ ยูใ นภูมิอากาศที่หนาวเย็นมาก จะสวมเสือ้ ผาซึง่ ทํามาจากหนังหรือ ขนของสัตว เพือ่ ใหค วามอบอนุ แกร า งกาย สวนในภมู ิภาคท่ีมีอากาศรอนอบอาว เสือ้ ผาที่สวมใสจะ ทําจากเสนใย ซึ่งทําจากฝาย แตในทวีปอัฟริกา เสือ้ ผาไมใชสิง่ จําเปนสําหรับใชในการปองกันจาก สภาพอากาศ แตเขากลับนิยมใชพวกเครือ่ งประดับตางๆที่ทําจากหินหรือแกวสีตางๆ ซึง่ มีอยูใน ธรรมชาตินํามาตกแตงรางกาย เพอ่ื ใชเ ปน เคร่ืองลางหรอื เครือ่ งปองกนั ภตู ผปี ศ าจอกี ดว ย ชาวเอสกิโมอาศัยในเขตขั้วโลกเหนือการแตงกายจะหอหุมรัดกุมเพือ่ ปองกันความหนาว เยน็ 2. ศตั รทู างธรรมชาติ ในภูมิภาคเขตรอน มนุษยจะไดรับความรําคาญจากพวกสัตวปกประเภทแมลง ตางๆ จึงหาวิธีขจัดปญหาโดยการใชโคลนพอกรางกายเพือ่ ปองกันจากแมลง ชาวฮาวายเอีย้ น แถบ ทะเลแปซิฟค สวมกระโปรงซึง่ ทําดวยหญา เพือ่ ใชสําหรับปองกันแมลง ชาวพื้นเมืองโบราณของ ญ่ีปนุ รจู กั ใชกางเกงขายาว เพอ่ื ปองกันสัตวแ ละแมลง 3. สภาพของการงานและอาชีพ หนังสัตวและใบไมสามารถใชเพื่อปองกันอันตรายจากภายนอก เชน การเดินปาเพื่อหาอาหาร มนุษยก็ใชหนังสัตวและใบไมเพือ่ ปองกันการถูกหนามเกีย่ ว หรือ ถูก สัตวกัดตอย ตอมา สามารถนําเอาใยจากดอกฝาย และใยไหม มาทอเปนผาทีเ่ รียกกันวา ผาฝายและ ผาไหม เมือ่ ความเจริญทางดานวิทยาการมีมากขึ้น ก็เริ่มมีสิ่งท่ีผลิตเพ่ิมข้ึนอีกมากมายหลายชนิด สมัยศตวรรษที่ 19 เสือ้ ผามีการววิ ฒั นาการเพ่ิมมากข้ึน มีผคู ิดประดษิ ฐเส้ือผาพิเศษ เพื่อใหเหมาะสม

38 กับความตองการของผูส วมใส โดยเฉพาะผูทีท่ ํางานประเภทตางๆ เชน กลาสีเรือ คนงานเหมืองแร เกษตรกร คนงานอุตสาหกรรม ขาราชการทหาร ตํารวจ พนักงานดับเพลิง เปนตน 4.ขนบธรรมเนยี มประเพณี วฒั นธรรมและศาสนา เม่ือมนษุ ยม ีสติปญญามากย่งิ ขึ้น มีการอยูร วมกัน เปนกลุม ชน และจากการอยูรวมกันเปนหมูคณะน้ีเอง จึงจําเปนตองมีระเบียบและกฎเกณฑในอันที่ จะอยูรวมกนั อยา งสงบสุข โดยไมมีการรุกรานซึง่ กันและกัน จากการปฏิบัติทีก่ ระทําสืบตอกันมาน้ี เอง ในท่ีสดุ ไดก ลายมาเปน ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีและวฒั นธรรมขนึ้ ในสมัยโบราณ เมือ่ มีการเฉลิมฉลองประเพณีสําคัญตางๆ เชน การเกิด การตาย การเก็บ เกี่ยวพืชผล หรือเริม่ มีการสังคมกับกลุม อืน่ ๆ ก็จะมีการประดับหรือตกแตงรางกาย ใหเกิดความ สวยงามดวยเครือ่ งประดับตางๆ เชน ขนนก หนังสัตว หรือทาสีตามรางกาย มีการสักหรือเจาะ บางครัง้ ก็วาดลวดลายตามสวนตางๆของรางกาย เพือ่ แสดงฐานะหรือตําแหนง ซึง่ ในปจจุบันก็ยังมี หลงเหลอื อยู สวนใหญก็จะเปนชาวพืน้ เมืองของประเทศตางๆ ศาสนาก็มีบทบาทสําคัญในการแตง กายดว ยเหมอื นกนั 5. ความตองการดึงดูดความสนใจจากเพศตรงขาม ธรรมชาติของมนุษยเมือ่ เจริญเติบโตขึน้ ยอมมี ความตองการความสนใจจากเพศตรงกันขาม โดยจะมีการแตงกายเพือ่ ใหเกิดความสวยงาม เพ่ือ ดึงดูดเพศตรงขาม 6. เศรษฐกิจและสภาพแวดลอ ม สถานะภาพทางเศรษฐกิจและสังคมของมนุษย แตละบุคคลยอมไม เหมือนกัน จึงทําใหเกิดการแตงกายที่แตกตางกันออกไป สังคมทั่วไปมีหลายระดับชนชัน้ มีการ แบงแยกกันตามฐานะทางเศรษฐกิจ เชน ชนชัน้ ระดับเจานาย ชาวบาน และกรรมกร การแตงกาย สามารถบอกไดถึงสถานภาพ เคร่ืองประดับและตกแตงรางกาย มนุษยเรามีพื้นฐานในการรักความสวยงามอยูในจิตสํานึกอยูทุกคน จะมากหรือนอยบางก็ แลว แตจ ิตใจและสภาวะแวดลอ มของบคุ คลนน้ั ๆ ดงั น้ันมนุษยจึงพยายามสรรหาสิ่งของมาประดับ

39 และตกแตงรางกายตน โดยมีจุดประสงคที่จะเสริมความสวยงาม เพิ่มฐานะการยอมรับในสังคม หรือเปนการเรียกรองความสนใจของเพศตรงขาม ในสมัยโบราณการใชเครื่องประดับตกแตงรางกายของคนไทยระดับสามัญชนจะไมมีมาก นกั ถึงจะมีกไ็ มใชของที่มีราคาสูง เพราะในสมัยโบราณมีกฎหมายขอหามมิใหขาราชการชนั้ ผนู อย และราษฎรใชเครื่องประดับที่มีราคาแพง จนกระทั้งในสมัยรัตนโกสินทรตอนปลาย กฎโบราณ ดงั กลา วไดถกู ยกเวน ไป จึงทําใหเครื่องประดับชนิดตางๆแพรหลายสคู นทกุ ช้ัน ทาํ ใหเกดิ การ แขงขันสรางสรรคออกแบบเครื่องประดับใหมๆมากมาย เคร่ืองประดับเหลา น้หี ลายชนดิ จัดอยูใน งานทัศนศิลปพื้นบานชนิดหนึ่งซง่ึ อาจแบง ออกเปนชนิดตางๆตามวัสดุที่ใชได 3 ประเภทใหญๆคือ 1.เครอ่ื งประดบั ทีท่ าํ จากอโลหะ ไดแกเ ครอื่ งประดับท่ใี ชวสั ดหุ ลกั ทําจากทไ่ี มใชโ ลหะ เชน วัสดดุ ินเผา ไม ผา หินสตี างๆ ใยพชื หนังสัตว อญั มณี แกว พลาสตกิ ฯลฯ เครื่องประดับ เหลา นอี้ าจทาํ จากวัสดุชนิดเดียวหรือนาํ มาผสมกนั ก็ได นอกจากน้นั ยงั สามารถนํามาผสมกบั วัสดุ ประเภทโลหะไดอ กี ดว ย เคร่ืองประดับหนิ สที ีร่ อยดวยเชือก สรอยคอทาํ จากหนงั แท 2.เครอ่ื งประดบั ทท่ี ําจากโลหะ ไดแ กเ คร่ืองประดับทท่ี าํ จากสินแรโ ลหะ เชน ทองคาํ เงนิ ทองแดง ทองเหลือง ฯลฯ ซง่ึ บางคร้งั ไดนาํ แรโ ลหะมากกวา 1 ชนิดมาผสมกันเชน นากซึ่งเปน การผสมกันระหวางทองคํากับทองแดง สัมฤทธิ์ หรือ สําริด เปน โลหะผสมระหวา งทองแดงและ ดบี กุ สัมฤทธิบ์ างชนิดอาจมีสวนผสมของสังกะสี หรือตะกว่ั ปนอยดู ว ย เครื่องประดับทองคําโบราณ เข็มขัดนาก

40 3.เคร่อื งประดบั ทใี่ ชทําใหเกิดรอ งรอยบนรา งกาย ไดแ กก ารนาํ วัตถุจากภายนอกรางกาย เขาไปติดบนรางกายเชนรอยสัก หรอื การฝงลูกปดหรือเมลด็ พชื ใตผ ิวหนังของชาวแอฟริกาบางเผา เปน ตน นอกจากนน้ั ยังมีการเขียนสีตามบริเวณลําตัวใบหนาเพื่อประเพณี หรือความสวยงามอกี ดว ย การสักเพื่อความเชื่อ และการสักเพื่อความสวยงาม เกร็ดความรู รูไหมวา สีและลวดลายสามารถนํามาชวยในการแตงรางกายไดนะจะ คนอว น หากใสเส้อื ผาสีเขมๆ เชน นา้ํ เงิน แดงเขม เขยี วเขม เทา หรือดํา จะทาํ ใหดผู อมลงกวา เสือ้ สีออน และหากเลอื กเสื้อผา ทีม่ ีลายแนวต้ังยาวๆก็จะทาํ ใหด ูผอมยิ่งขึ้น ขณะทค่ี นผอม ควรใสเ สือ้ ผาสอี อ นๆ เชนขาว เหลือง ชมพู ฟา ครมี และควรเลือกลายเส้อื ผาใน แนวขวาง เพราะจะทาํ ใหด ูตัวใหญข น้ึ

41 กิจกรรม ใหผ เู รียนทดลองนาํ วัสดุท่ีกําหนดดานลาง มาออกแบบเปนงานเครื่องประดบั ชนิดใดก็ไดท ใ่ี ช สาํ หรบั การตกแตง รา งกาย โดยใหเ ขยี นเปน ภาพรา งของเครือ่ งประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการ ออกแบบของผูเรียน(ไมตองบอกวิธที ํา) จากนน้ั ใหน าํ ผลงานออกแบบนาํ เสนอในชั้นเรียน วสั ดทุ กี่ ําหนด ลกู ปด เจาะรูสีตา งๆ เชอื กเอน็ ขนาดเลก็ คําอธบิ ายแนวทางการออกแบบ

42 กจิ กรรม ใหผูเ รยี นทดลองนําวสั ดทุ ก่ี าํ หนดดานลาง มาออกแบบเปนงาน เครื่องประดบั ชนดิ ใดก็ไดที่ใชส าํ หรบั การตกแตงรางกาย โดยใหเ ขยี นเปน ภาพรา งของ เครื่องประดับพรอมคําอธิบายแนวทางการออกแบบของผูเรียนและวธิ ที าํ อยา งงาย ๆ จากนั้นใหนําผลงานออกแบบนาํ เสนอในช้ันเรยี น วัสดทุ ่ีกําหนด ตุกตาเซรามิกขนาดเล็กความสูงประมาณ 1 นว้ิ และวสั ดุอ่นื ๆที่หาไดใ นชมุ ชนของทา น คาํ อธบิ ายแนวทางการออกแบบ

43 เรื่องท่ี 6 การตกแตงทอี่ ยอู าศัย การออกแบบตกแตงเปนการออกแบบเพื่อการเปน อยใู นชีวติ ประจาํ วนั โดยเฉพาะอยา งย่งิ การออกแบบเพื่อเสริมแตงความงามใหกับอาคารบานเรือนและบริเวณที่อยูอาศัย เพือ่ ใหเ กิดความ สวยงามนาอยูอาศัย การออกแบบตกแตงในที่นี้หมายถึงการออกแบบตกแตงภายนอกและการ ออกแบบตกแตงภายใน ขัน้ ตอนในการออกแบบ 1. ศกึ ษาการจดั วางพนื้ ที่ ตัวบานและที่วาง ทางเขาออก ทิศทางดูวาทิศทางลมและแสงแดด จะผานเขามาทางดานไหน เชน กระแสลมจะมาจากทิศใต ดูทิศทางของสิ่งรบกวน เชน เสียง และ ฝุนจากถนน จากอาคารขางเคียงวาจะเขามาในทิศทางใด การวางเครื่องเรือน เครื่องไฟฟา เปนตน 2. กาํ หนดความตอ งการ เชน รูปแบบการออกแบบเชนรูปแบบไทย ๆ หรอื รูปแบบสากล ทนั สมยั เครอ่ื งเรือนสามารถใชข องทม่ี ีอยูแลวมาดดั แปลงไดห รือไม หรืออยากไดส วนท่มี ลี กั ษณะ แบบไหน เชน สวนทีม่ ไี มใหญ ดูรม รนื่ สวนไมดอก สวนแบบญปี่ นุ การตกแตง หอ งนอนแบบไทยทั้งผนังหอง เครื่องเรือน และสว นประกอบอน่ื ๆ 3. การวางผงั ตามความตองการพน้ื ทีใ่ ชส อย เชน หอ งนง่ั เลน หองครัว หอ งนอน ฯลฯ กาํ หนดแนวไมพมุ เพ่ือปองกันฝุนจากถนนกาํ หนดพืน้ ท่ปี ลูกตนไมบังแดดทางทศิ ตะวันตก กําหนด ทางเขาออก สวน เพื่อใชส อยตา ง ๆ กาํ หนดจดุ ทจี่ ะเปนเดน ของบริเวณซ่ึงจะเปน บรเิ วณทเ่ี ดน ที่สุด เชน จุดที่มองไดอยางชัดเจนจากทางเขา หรืออาจจะจัดวางประติมากรรมหรือพันธุไมที่มีความ สวยงามเปนพิเศษกไ็ ด 4. การจัดทํารายละเอียดตา ง ๆ ไดแก การออกแบบในสวนตา ง ๆ ตามผงั ท่กี ําหนดไว กาํ หนดเครอ่ื งเรือน เครอ่ื งไฟฟา หรอื วสั ดแุ ละพันธุไมทจี่ ะนํามาใชออกแบบสวนประกอบอื่นๆ

44 ส่งิ สําคัญที่ควรคํานึงถึงในการตกแตงภายในโดยรวมคือ สถานทีต่ ัง้ ของตัวบาน วัสดุจะนํามาใชตกแตง ประโยชนใชสอยในแตละหอง ความ สวยงาม งบประมาณของผูเปนเจาของ ความเหมาะสมกับกาลสมัย เพศและวัยของผูใ ช และสุดทาย คอื อดุ มการณของผูออกแบบ การตกแตง สวนแบบเนน อนุรกั ษธ รรมชาติ 5.การจัดวางเครื่องเรือน หลักการทั่วไปในการพิจารณาจัดวางเคร่ืองเรือนในการตกแตง ภายใน มจี ุดมงุ หมายงาย ๆ คือตองมีความเปนเอกภาพ คือ การรวมตัวกันของเครื่องเรือนแตละกลุม ทัง้ ในดานความรูส ึกและในดานความเปนจริง เชน ชุดรับแขก ชุดรับประทานอาหาร ชุดนัง่ เลน ฯลฯ ถึงแมเคร่ืองเรือนทุกกลุม จะถูกจัดใหรวมอยูใ นหองโลงทีเ่ ปดถึงกันตลอด แตเคร่ืองเรือนทุก ชุดจะตองถูกจัดวางใหไมดูปนเปสับสนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยูก ับการเลือกแบบของเครือ่ งเรือนทีส่ ัมพันธ กันในแตละชุด และการใชสีสันตลอดจนการใชเครื่องตกแตง เชน ใชพรมรองในบริเวณ หองรับแขก หรือใชไฟชอใหแสงสวางเนนในบริเวณโตะอาหารซึ่งจะชวยใหชุดรับแขก และชุด รับประทานอาหารดูเปนเอกภาพยิ่งขึ้น 6.ความสามารถในการเปลยี่ นแปลงการใชส อย เปน การดมี ากถาเครื่องเรือนบางชิ้นสามารถทีจ่ ะใชงานไดหลายหนาที่ หรือหลายตําแหนง เชน ตูเล็ก ๆ ในหองนอนใหญ สามารถนําไปใชในหองนอนเด็กได เมือ่ มีตูใ บใหญมาใชในหองนัน้ แทน หรือเกาอีห้ วายในหอ งน่งั เลน สามารถนาํ ไปใชน ัง่ เลน ที่ระเบียงบานไดดวย

45 7. ความสมดุล ตองคํานึงถึงความสมดุลในการจัดวางเครอ่ื งเรอื นแตละหอง โดยการจัดวางใหแบงกระจาย เฟอรนิเจอรใหเหมาะสมกับพื้นที่และไมจัดเครือ่ งเรือนใหรวมกันอยูท างดานใดดานหนึ่งของหอง โดยปลอ ยใหอีกดา นหน่งึ วา งเปลาอยา งไมมีเหตุผล 8. การจดั ระบบทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินภายในแตละหอง ทางเดินจากประตูหนึง่ ไปยังอีกประตูหนึง่ จะตองสะดวกและ กวางขวางเพียงพอ ตองไมมีการจัดวางทางเดนิ ภายในแตล ะหอ งกีดขวางในเสนทางที่ใชสัญจร สภาพโดยทัว่ ๆ ไปของหองทุกหอง จะทําหนาที่เปนตัวบังคับจํานวนในการจัดวางเคร่ือง เรือนไดในตัวเองอยูแ ลว เชน หองนอนจะตองประกอบดวย เตียงนอน ตูเสือ้ ผา โตะแตงตัว โตะ ทํางาน โตะ วางโทรทศั น การจดั วางจงึ ถกู กําหนดใหต ูเสื้อผาตองวางชิดผนังดานทึบ สวนเตียงนอน นยิ มจดั วางดา นหวั นอนไปทางทศิ ตะวนั ออกหรือทิศเหนือตามความเชือ่ โตะวางโทรทัศนจัดวางไว ปลายเตียงเพื่อความสะดวกในการใชง าน โตะแตงตวั และโตะทาํ งานจัดวางอยูใ นพนื้ ทีซ่ ่ึงเหลอื อยู หองโถงของตัวบาน จึงเปนหองทีค่ อนขางจะสรางความยุง ยากในการจัดวางเคร่ืองเรือน พอสมควร กอ นการจดั วางเครอ่ื งเรือนควรท่จี ะมีการวางแผนงานสาํ หรบั หองนี้อยางรัดกมุ เสยี กอ น ทางเดินทีม่ ีความกวางประมาณ ๙0 ซม. จะเปนชองทางเดินที่มีขนาดกําลังพอดี ชองวาง ระหวางโตะกลางกับเกาอี้รับแขก ควรเปนระยะประมาณ 45 ซม. อันเปนระยะที่สามารถเดินผานเขา มายังเกาอี้รับแขกไดสะดวก อีกทัง้ แขกสามารถเอื้อมมือมาหยิบแกวน้ําหรือหยิบอาหาร ตลอดจน เขี่ยบหุ รีล่ งในทเ่ี ขี่ยบุหร่ไี ดสะดวกอีกดว ย เครอ่ื งเรอื นชิน้ ใหญ ๆ ในหอ ง เชน โซฟา ตโู ชว โตะ ฯลฯ ควรจัดวางใหลงในตําแหนงที่ เหมาะสมเสยี กอ น เพื่อที่จะใชเปนหลักในการจัดวางเครื่องเรือนช้ินเล็ก ๆ ตอไป และไมควรจัดวาง เครื่องเรือนชิ้นใหญ ๆ รวมกันอยูเปนกลุม แตควรจัดวางใหกระจายกันออกไป ตามการใชสอย ทั้งนี้ เพ่ือผลในดา นความสมดุล แตอยางไรก็ตามในสภาพปกติควรคํานึงถึงดวยวาแขกที่นั่งบนเกาอี้ทุกตัวควรที่จะ สามารถเอื้อมมือถึงสิ่งของที่อยูบนโตะขา ง หรือโตะกลางได

46 การวางเครื่องเรือนที่เหมาะสมและมีระบบทางเดินที่ดี สําหรับโตะทํางานเปนเฟอรนิเจอรทีส่ ําคัญชิ้นหนึ่งในหองนี้ ถามีเนือ้ ที่เพียงพอควรจะจัด วางโตะทํางานไวดวย โตะทํางานตัวนีใ้ นเวลาทีไ่ มไดใชงานอาจใชเปนทีว่ างโชวของหรือใชเปนที่ พกั อาหารขณะนาํ มาเสิรฟ ท่ีโตะไดด ว ย เครื่องเรือนทีด่ ีทีส่ ุด สวยที่สุดอาจกลายเปนเครื่องเรือนชิ้นทีแ่ ยทีส่ ุด ถาหากฉากหลังมี ขอบกพรอง เชน มีสีตัดกันมากเกินไปหรือตกแตงไมสัมพันธกับเครือ่ งเรือน หองบางหองอาจดู เหมือนกับวาเครื่องเรือนในหองไดถูกเปลี่ยนแปลงใหมหมดเพียงแตเจาของหองดัดแปลงฉากหลัง ของหองเทานั้น ฉากหลังจึงนับวามีความสําคัญและสามารถชวยในการตกแตงภายในไดอยางดี เกรด็ ความรู การสรางบานควรที่จะมีการออกแบบตกแตงภายในไปพรอ มกันดว ย เพอ่ื เปน ความลงตวั ในการ ออกแบบกอ สรา งและการวางสายไฟฟา ทอ น้ําภายในระหวางกอสราง หากผูรับเหมากอสรางและ ตกแตงภายในเปนผเู ดยี วกนั การประสานงานในสวนน้ีจะเปน ไปอยา งราบรน่ื ทําใหงานเสรจ็ ได รวดเร็วขึ้นอีกทั้งการกอสรางบานและตกแตงภายในไปพรอมกัน ยังสามารถชวยประหยัด งบประมาณในการสรางบานใหนอยลงอีกดวย

47 กจิ กรรม จากแบบรา งแปลนหองนอนดา นลา ง ใหผเู รยี นออกแบบจดั วางเครอ่ื งเรือนใหถ กู ตองตาม หลักการออกแบบที่ไดศึกษามา โดยใหร า งผงั เครื่องเรือนจดั วางลงในผังแปลนน้ีจากน้ันนาํ มา แลกเปล่ียนและวจิ ารณกนั ในกลุมเรยี น

48 เร่ืองท่ี 7 คุณคา ความสาํ คัญทางวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรม โดยทัว่ ไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษยและโครงสรางเชิงสัญลักษณท่ี 33 ทาํ ใหก จิ กรรมนน้ั เดน ชดั และมคี วามสาํ คัญ วิถีการดําเนินชีวิต ซึง่ เปนพฤติกรรมและสิง่ ทีค่ นในหมู 33 ผลิตสรางขึน้ ดวยการเรียนรูจากกันและกัน และรวมใชอยูในหมูพ วกของตน วัฒนธรรมทีเ่ ปน นามธรรม หมายถึงสิง่ ที่ไมใชวัตถุ ไมสามารถมองเห็น หรือจับตองได เปนการแสดงออกในดาน ความคิด ประเพณี ขนบธรรมเนียม แบบแผนของพฤติกรรมตาง ๆ ที่ปฏิบัติสืบตอกันมา เปนที่ ยอมรับกันในกลุมของ ตนวาเปนสิ่งทีด่ ีงามเหมาะสม เชน ศาสนา ความเชื่อ ความสนใจ ทัศนคติ ความรู และความสามารถ วัฒนธรรม ประเภทนีเ้ ปนสวนสําคัญทีท่ ําใหเกิด วัฒนธรรมที่เปน รูปธรรม ขน้ึ ได และในบางกรณอี าจพฒั นาจนถึงขนั้ เปน อารยธรรม กไ็ ด เชน การสรางศาสนสถาน ในสมัยกอน เมื่อเวลาผานไปจึงกลายเปนโบราณสถาน ที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร โบราณสถานคือสิ่งที่ไดรับการพัฒนามาจากวัฒนธรรม ประเพณี (รูปภาพจาก www.elbooky.multiphy.com) 55 เปน กิจก รรมทีม่ ีกา รปฏ ิบตั ิส บื เน่ื องกันมา เปน เอกลกั ษณและมคี วามสาํ คญั ตอ สังคม เชน การแตงกาย ภาษา วัฒนธรรม ศาสนา ศิลปกรรม กฎหมาย คุณธรรม ความเชื่อ การทําบุญใสบ าตรเปนประเพณีท่ปี ฏิบตั สิ ืบตอ กันมา

49 ความสาํ คัญของวัฒนธรรมและประเพณี วัฒนธรรมเปนเรื่องที่สําคัญยิ่งในความเปนชาติ ชาตใิ ดทไี่ รเ สียซึ่งวฒั นธรรมและประเพณี อนั เปนของตนเองแลว ชาติน้ันจะคงความเปนชาตอิ ยูไมได ชาติทีไ่ รวัฒนธรรมและประเพณี แมจ ะ เปน ผูช นะในการสงคราม แตในท่ีสดุ ก็จะเปน ผูถูกพิชิตในดานวฒั นธรรมและประเพณี ซง่ึ นับวา เปนการถูกพิชิตอยางราบคาบและสิ้นเชิง ท้ังน้เี พราะผทู ถ่ี ูกพิชติ ในทางวฒั นธรรมและประเพณีนน้ั จะไมรูต ัวเลยวา ตนไดถกู พชิ ิต เชน พวกตาดที่พิชิตจีนได และตั้งราชวงศหงวนขึ้นปกครองจีน แต ในที่สดุ ถกู ชาวจีนซงึ่ มวี ัฒนธรรมและประเพณีสงู กวา กลนื จนเปน ชาวจนี ไปหมดสน้ิ ดังนน้ั จงึ พอ สรุปไดวา วัฒนธรรมและประเพณีมีความสําคัญดังนี้ 1. วัฒนธรรมและประเพณีเปนสิ่งทีช่ ีแ้ สดงใหเห็นความแตกตางของบุคคล กลุมคน หรือชุมชน 2. เปน ส่ิงทท่ี ําใหเ หน็ วา ตนมคี วามแตกตางจากสตั ว 3. ชวยใหเราเขาใจสิง่ ตางๆ ทีเ่ รามองเห็น การแปลความหมายของสิ่งทีเ่ รามองเห็นนั้น ขึน้ อยกู ับวัฒนธรรมและประเพณีของกลุมชน ซึง่ เกดิ จากการเรียนรูและถายทอดวัฒนธรรม เชน คน ไทยมองเห็นดวงจันทรวามีกระตายอยูใ นดวงจันทร ชาวออสเตรเลียเห็นเปนตาแมวใหญกําลังมอง หาเหยอ่ื 4. วัฒนธรรมและประเพณีเปนตัวกําหนดปจจัย 4 เชน เครือ่ งนุง หม อาหาร ทีอ่ ยูอ าศัย การ รักษาโรค ทีแ่ ตกตางกันไปตามแตละวัฒนธรรม เชนพืน้ ฐานการแตงกายของประชาชนแตละชาติ อาหารการกิน ลักษณะบานเรือน ความเชือ่ ในยารักษาโรคหรือความเชื่อในสิ่งลี้ลับของแตละชน ชาติเปนตน 5. วัฒนธรรมและประเพณีเปนตัวกําหนดการแสดงความรูส ึกทางอารมณ และการควบคุม อารมณ เชน ผชู ายไทยจะไมปลอยใหน ้าํ ตาไหลตอหนาสาธารณะชนเมอื่ เสียใจ 6. เปนตัวกําหนดการกระทําบางอยาง ในชุมชนวาเหมาะสมหรือไม ซึ่งการกระทําบางอยาง ในสงั คมหนึ่งเปนที่ยอมรับวาเหมาะสมแตไมเปนที่ยอมรับในอีกสังคมหนึ่ง เชนคนตะวันตกจะจับ มือหรือโอบกอดกันเพื่อทักทายกันทั้งชายและหญิง คนไทยใชการยกมือบรรจบกันและกลาวสวัสดี ไมนิยมสัมผัสมือโดยเฉพาะกับคนทีม่ ีอาวุโสกวา คนญี่ปุน ใชโคงคํานับ ชาวเผาเมารีในประเทศ นวิ ซแี ลนด ทักทายดว ยการ แลบล้ินออกมายาว ๆ เปน ตน 55 จะเห็นไดวาผูสรางวัฒนธรรมและประเพณีคือมนุษย สังคมเกิดขึ้นก็เพราะ มนุษย วัฒนธรรม ประเพณี กับสังคมจึงเปนสิ่งคูก ัน โดยแตละสังคมยอมมีวัฒนธรรมและหากสังคมมี ขนาดใหญหรือมีความซับซอน มากเพียงใด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมและประเพณีมักจะมี

50 มากขึน้ เพียงใดนั้นวัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ ของแตละสังคมอาจเหมือนหรือตางกันสืบ เนื่องมาจากความแตกตางทางดานความเชื่อ เช้ือชาติ ศาสนาและถิ่นท่อี ยู เปน ตน ลักษณะของวฒั นธรรมและประเพณี เพือ่ ทีจ่ ะใหเขาใจถึงความหมายของคําวา \"วัฒนธรรม\" ไดอยางลึกซึง้ จึงขออธิบายถึง ลกั ษณะของวัฒนธรรม ซึง่ อาจแยกอธิบายไดด ังตอ ไปน้ี 1. วัฒนธรรมเปน พฤติกรรมทเ่ี กิดจากการเรยี นรู มนษุ ยแ ตกตา งจากสตั ว ตรงทีม่ ีการรูจ ักคิด มีการเรยี นรู จดั ระเบยี บชีวติ ใหเ จรญิ อยดู กี ินดี มีความสุขสะดวกสบาย รูจักแกไขปญหา ซึง่ แตกตาง ไปจากสตั วทเี่ กิดการเรยี นรโู ดยอาศยั ความจาํ เทา นั้น 2. วัฒนธรรมเปนมรดกของสังคม เนือ่ งจากมีการถายทอดการเรียนรู จากคนรุนหนึง่ ไปสู คนรุนหนึง่ ทัง้ โดยทางตรงและโดยทางออม โดยไมขาดชวงระยะเวลา และ มนุษยใชภาษาในการ ถา ยทอดวฒั นธรรม ภาษาจงึ เปนสญั ลักษณทใี่ ชถา ยทอดวัฒนธรรมนัน่ เอง 3. วัฒนธรรมเปนวถิ ีชีวติ หรือเปนแบบแผนของการดําเนินชีวิตของ มนุษย มนุษยเกิดใน สังคมใดก็จะเรียนรูแ ละซึมซับในวัฒนธรรมของสังคมทีต่ นเองอาศัยอยู ดังนัน้ วัฒนธรรมในแตละ สังคมจึงแตกตางกัน 4. วฒั นธรรมเปนสิง่ ทไี่ มคงที่ มนุษยมีการคิดคนประดิษฐสิง่ ใหม ๆ และ ปรับปรุงของเดิม ใหเหมาะสมกับสถานการณที่เปลี่ยนแปลงไป เพื่อความเหมาะสม และความอยู รอดของสังคม เชน สังคมไทยสมัยกอนผูห ญิงจะทํางานบาน ผูช ายทํางานนอกบาน เพือ่ หาเลีย้ ง ครอบครัว แตปจจุบัน สภาพสังคมเปลีย่ นแปลงไป ทําใหผูห ญิงตองออกไปทํางานนอกบาน เพือ่ หา รายไดมาจุนเจือ ครอบครัว บทบาทของผูหญิงในสังคมไทยจึงเปลี่ยนแปลงไป ประเพณไี ทย นั้นเปนประเพณีที่ไดอิทธิพลอยางสูงจากศาสนาพุทธ แตอิทธิพลจากศาสนา อื่นเชน ศาสนาพราหมณและการอพยพของชาวตางชาติเชนคนจีนก็มีอิทธิพลของประเพณีไทยดวย เชน กัน 4ประเพณีไทย4 อันดีงามทีส่ ืบทอดตอกันมานัน้ ลวนแตกตางกันไปตามความเชื่อ ความ ผกู พนั ของผคู นตอ พุทธศาสนา และการดํารงชีวิตที่สอดประสานกับฤดูกาลและธรรมชาติอยางชาญ ฉลาดของชาวบา นในแตล ะทอ งถ่ิน ทว่ั แผนดินไทย เชน ภาคเหนือ ประเพณีบวชลูกแกวของคนไตหรือชาวไทยใหญที่จังหวัดแมฮองสอน ภาคอีสาน ประเพณีบุญบั้งไฟของชาวจังหวัดยโสธร ภาคกลาง ประเพณีทาํ ขวัญขาวจงั หวดั พระนครศรีอยธุ ยา ภาคใต ประเพณแี หผ าขน้ึ ธาตุของชาวจงั หวดั นครศรธี รรมราช เปน ตน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook