หนงั สอื เรียนวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสโุ ขทยั ศึกษาเชิงประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถชี ีวติ 90 ขวญั ...เอย่ ...เอย...ขวัญ..แม่อยา่ ไปชมฝูงชะนีทร่ี ้องเกรน่ิ เรียกหาผวั ขวัญ...เอย่ ...เอย...ขวญั ..แม่อยา่ ไปชมฝูงเรไรที่รํา่ รอ้ งในทอ้ งธาร ขวญั ...เอย่ ...เอย...ขวญั ..แม่อยา่ ไปแรมวลิ าสท่ีนาร้างในกลางเถอ่ื น ขวญั แม่อย่าไปชมดาวเดือนในทิพากร ขวัญ...แม่อย่าไปชมแผ่นดินดอนเป็นเรือร่มให้มาชมปูปลา เต่าฝาจระเข้ มธี ูปเทยี นชวาลาบปุ ผาพวงธูป มที งั้ แป้งขจรขจาย คร้นั ชัน้ ฉายไดฤ้ กษด์ ี สาํ เรจ็ เสร็จการทํา ขวญั แม่โพสพเจ้าข้นึ สยู่ งุ้ ฉาง ตักอย่าใหร้ ู้บก ตกอย่าให้รู้พรอ่ ง ใหไ้ หลมูลพูนกองเกิดมาอยา่ งทอ่ ธาร (พูด) ขอใหไ้ ดเ้ ป็นมหาเศรษฐี แม่มหาเศรษฐี บททาํ ขวญั ขา้ วตอนเก็บข้าวเขา้ ลาน ตั้งนะโมสามจบ ศรี ศรี วันนี้วันดีวันศรีพญาวัน ลูกจะขอรับขวัญแม่โพสพเจ้า แม่ทูลกระหม่อมจอมเกล้า ไม่มี ใครเลี้ยงลูกเทียมเทียบเปรียบเสมอเหมือนทั่วท้องจักรวาล เม่ือแรกเริ่มประเดิมกาล ได้หว่านไว้เป็นกล้า ครน้ั งอกงามขึ้นมาก็พากันถอน ฟาดฟัดแล้วตัดใบ หามไปสุมไว้ในเทือกนาแล้วก็พากันดํา โยนชอกช้ําอยู่ ในนา ไหนเต่าปูปลาจะหนีบกัด สารพัดอยู่ในนา ครั้นฝนไม่ตกกระทบแล้งใบเหี่ยวแห้งใบหลัว วัวควาย ลุย กระจุยกระจาย น่าสงสารถึงฤดูกาลจะออกรวง ช่างเขียวชอุ่มเป็นพุ่มเป็นพวง ลมพระพายพัด ระเนนอนพอสุกเหลอื งอรชร นกกระลิงนกแกว้ กา้ ยกจ็ ิกกินนกเขาพื้นกระพือบิน ได้แต่ตบมือโห่ร้องไล่ ไม่ มีนํ้าใจกลัว แม่เจ้าประคุณทูนหัว มาตกกลาดดาษทั่วแผ่นดินดอน พอสุกเหลิองอรชร ก็พากันเกี่ยวรัด ฟ่อนเป็นกลมเกลียวกล้ิง แล้วทุ้มท้ิงมาบนเกวียน ก็ลากวนมาตั้งไว้เป็นช่อน้ัน ช้ันเหมือนชายคา ได้รับ ขวัญแมม่ า วา่ ตกั บาตร ได้รับฝงู กราดตามประเพณี ถงึ วนั ดีคืนดี เชิญโพสพเจ้ามาเข้าลานเงินลานทอง ถึง จะตกั อย่าใหร้ ู้บก ถงึ จะตกอย่าใหร้ ู้พร่อง ใหไ้ หลมูลทูนกองเหมือนท่อธาร ดังคําโบราณท่านเศรษฐีแต่เก่า กอ่ นโนน้ เถิดแม่ร่มโพธิ์ทอง บททาํ ขวญั ข้าวในยุ้งฉาง เชิญแมโ่ พสพเจ้ามาเข้ายุ้งฉาง แม่อยา่ ไปแรมรา้ งระราศ * อย่กู ลางป่า ลกู รับขวัญแมม่ า ให้มาชมฝงู เตา่ กระเหรี่ยงมาด หม่รู กุ ขชาติ แมอ่ ยา่ ไปเปน็ ชะนรี ้องอยู่หวย ๆ ใหม้ าชมบายศรี ขนมมีหลายพันธ์ุทง้ั กล้วยอ้อยแปง้ หอมนํ้ามันจันทน์ นํา้ มนั มที ่จี ะเฉลมิ โลกที่บายศรีวนั นเี้ ปน็ วนั ดี ขอเชญิ แมม่ าอยเู่ ลี้ยงลูกเถิดแม่ร่มโพธ์ิทอง (สําเนียง เรยี นรัชตะ, 2538)
หนงั สือเรียนวชิ าเลอื ก สาระการพฒั นาสังคม รายวิชาสุโขทัยศกึ ษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถีชวี ติ 91 สโุ ขทยั เป็นแหล่งอารยธรรมในอดีตท่ีเจริญรุ่งเรืองทุกด้านแม้แต่เรื่องการแสดง ศิลปการดนตรีดัง มีคาํ กล่าวในศิลาจารกึ หลกั ท่ี 1 เกย่ี วกับการแสดงว่าเมืองสุโขทัยนั้นชาวเมืองมีความสุขดมบงคมกลองด้วย เสียงพาทย์เสียงพิณเสียงเล่ือนเสียงขับ ใครจักมักเล่น เล่น ใครจักมักหัว หัว ดังนั้นภูมิปัญญาด้านการ แสดงและเคร่ืองดนตรีต่าง ๆ จึงสืบสานต่อมาถึงปัจจุบัน เช่นการแสดงฉุยฉายเข้าวัด การแสดงกลองยาว แม้ในการแสดงบางชนดิ จะมีลกั ษณะเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นอ่ืน ๆ เช่น เพลงฉ่อย ลําตัด เพลงอีแซว ก็ มีการแสดงท้องถิ่นสุโขทัยเช่นเดียวกัน ซ่ึงแม่เพลงหลายคนเสียชีวิตไปโดยไม่ได้สืบสานไว้ให้แก่ลูกหลาน เช่น ยายเฉลาแม่เพลงฉ่อยบ้านกล้วย ยายมี หนุ่มพรมแม่เพลงบ้านเมืองเก่า เป็นต้น ส่ิงเหล่าน้ีล้วนเป็น เอกลกั ษณข์ องทอ้ งถ่นิ ทอ่ี นชุ นรนุ่ หลงั ควรจะได้สบื สานไว้เปน็ มรดกทางปัญญาต่อไป
หนงั สอื เรยี นวชิ าเลือก สาระการพฒั นาสังคม รายวชิ าสโุ ขทัยศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวฒั นธรรมและวิถชี วี ติ 92 กจิ กรรมทา้ ยบท บทท่ี 6 ดนตรแี ละการแสดงทอ้ งถ่นิ สุโขทัย 1. ให้นักศกึ ษารวบรวมเพลงพ้นื บ้านทอ้ งถิน่ สุโขทัย โดยจดั ทาํ เปน็ รูปเล่มรายงาน 2. นักศกึ ษามีแนวทางในการอนรุ กั ษ์ดนตรีพ้ืนบ้านและเพลงพ้ืนบา้ นสุโขทัยอย่างไร จงอธิบาย ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................................
หนังสือเรยี นวิชาเลอื ก สาระการพฒั นาสงั คม รายวชิ าสุโขทัยศึกษาเชิงประเพณี ศิลปวฒั นธรรมและวิถชี ีวิต 93 แบบทดสอบหลงั เรียน ให้เลือกขอ้ ท่ีถูกที่สุดเพียงข้อเดียว 1. องค์การยูเนสโกได้ยกยอ่ งให้อทุ ยานประวัติศาสตรส์ ุโขทัยเป็น “มรดกโลก”เมอ่ื ปี พ.ศ.ใด ก. พ.ศ.2534 ข. พ.ศ.2535 ค. พ.ศ.2543 ง. พ.ศ.2553 2. ข้อใดไม่ใช่แหล่งเตาเผาเครื่องสงั คโลกของจังหวดั สุโขทยั ก. เครอื่ งสงั คโลกเตาสุโขทยั ข. เครอื่ งสงั คโลกเตาทุเรียงป่ายาง ค. เครอ่ื งสังคโลกเตาทเุ รียงเกาะนอ้ ย ง. เคร่ืองสังคโลกเตาเชยี งแสน 3. การทําขวญั ผงึ้ เป็นประเพณีท่กี ระทําในอําเภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรีสชั นาลัย ค. คีรีมาศ ง. บา้ นดา่ นลานหอย 4. ประเพณแี หน่ ้ําข้ึนโฮง สรงนา้ํ เจ้าหมนื่ ด้ง จัดข้ึนในเดือนอะไร ของทุกปี ก. มกราคม ข. กมุ ภาพนั ธ์ ค. มีนาคม ง. เมษายน 5. ถ่ัวทอดสองร้อยปี เป็นอาหารขบเค้ียวรสกรอบอร่อย และของฝากจากอาํ เภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรีสาํ โรง ค. ครี มี าศ ง. บ้านดา่ นลานหอย 6. ขนมทองม้วน ทองพบั เป็นขนมที่มชี ่ือเสียงของชาวอาํ เภอใด ก. กงไกรลาศ ข. ศรสี าํ โรง ค. คีรมี าศ ง. บ้านด่านลานหอย 7. กลองมังคละชาวเมืองสุโขทัยเรยี กว่าอะไร ก. กลองยาว ข. กลองแขก ค. กลองจก๊ โกรด๊ ง. กลองชดุ 8. ข้อใดไมใ่ ช่เครื่องดนตรีที่ใช้เล่นในวงมังคละ ก. ป่ี ข. กลอง ค. ฆ้อง ง. ระนาด 9. การแสดงกลองยาวไมน่ ยิ มเล่นกันในงานอะไร ก. งานบบวชนาค ข. งานแห่เทียนเข้าพรรษา ค. งานศพ ง. งานตรุษสงกรานต์ 10. “แกงหยวก” อาจารย์ทองเจอื สืบชมพู ได้เรยี กช่ือใหมด่ ้วยภาษาท่งี ดงามละเมยี ดละไม ว่าอะไร ก. พระร่วงเลยี บเมือง ข. นางเสืองออกศึก ค. ระกาเก้อละเมอจนั ทร์ ง. มัจฉาชมตระพัง
หนังสอื เรียนวชิ าเลือก สาระการพัฒนาสงั คม รายวชิ าสโุ ขทยั ศึกษาเชงิ ประเพณี ศลิ ปวัฒนธรรมและวถิ ชี วี ติ 94 เฉลยแบบทดสอบกอ่ น-หลงั เรียน 1) ก 2) ง 3) ค 4) ข 5) ก 6) ก 7) ค 8) ง 9) ค 10) ก
บรรณานุกรม กรมวิชาการ. สโุ ขทยั รุ่งอรุณแห่งความสุข. กรุงเทพฯ : โรงพิมพค์ รุ สุ ภาลาดพร้าว, 2539 กรมศิลปากร.จารึกสมัยสุโขทัย.พิมพ์เนื่องในโอกาสฉลอง 700 ปีลายสือไทย.กรุงเทพฯ : เมือง สยาม, 2527. .ประชมุ จารกึ หลักท่ี 1 . กรมศิลปากรจดั พมิ พ์เป็นอนสุ รณ์พระราชทานเพลิงศพพระราช ประสทิ ธคิ ณุ กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพรา้ ว, 2515. . วดั ชมชืน่ .กรงุ เทพฯ: ส. ไพบลู ยก์ ารพิมพ์,2540. กฤษฎา พิณศรี, ปริวรรต ธรรมปรีชากรและอุษา ง้วนเพียรภาค. เครื่องถ้วยสุโขทัย พฒั นาการเครอื่ งถ้วยไทย. กรุงเทพ ฯ : อมรินทร์พริน้ ติ้งกรฟุ๊ , 2535. กองโบราณคดี กรมศลิ ปกร กระทรวงศึกษาธกิ าร.กรุงเทพฯ : สมาพนั ธ์ , ม.ป.ป. กุหลาบ มลั ลิกมาศ. คตชิ นวิทยา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง, 2527 ขจร สุขพานชิ . ประวัติศาสตร์ไทย พ.ศ. 1600-2310. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พก์ รงุ ธน, 2525. โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน “ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น”สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนโดย พระราชประสงค์ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัว เล่มท่ี 9. กรงุ เทพฯ : รุ่งเรืองศลิ ป์การพิมพ์,2538 โครงการศูนย์สโุ ขทัยศึกษา สาขาวิชาศิปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธิราช. ขอ้ มูลทัศน ใหม่ด้านสุโขทยั ศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พม์ หาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช, 2539. จงั หวัดสุโขทยั . โครงการศกึ ษาเพ่อื จัดทําแผนปฏบิ ัตกิ าร และจัดลาํ ดบั ความสําคัญการลงทนุ เพื่อแก้ ปญั หาสิ่งแวดลอ้ มจังหวดั สุโขทยั . รายงานฉบบั สมบูรณ์จัดทําโดยบริษทั เสนาอินเตอร์ เนชั่นแนลดีวิลอบเมนท์ จาํ กัด, มกราคม 2539. เฉลมิ พรกระแส. ทอ้ งถ่ินของเราจงั หวดั สุโขทยั . สุโขทัย โรงพิมพ์รตั นสุวรรณ, 2540 ทองเจอื สบื ชมพู. “ประเพณใี นทอ้ งถิ่นกับการดาํ เนินชีวติ ของคนในทอ้ งถ่ินจงั หวดั สุโขทยั ” รักษว์ ฒั นธรรมท้องถ่ินจังหวดั สโุ ขทยั . เอกสารประกอบการอบรมตามโครงการรกั ษ์ วัฒนธรรมท้องถน่ิ จังหวัดสุโขทยั ชมรมอนุรักษศ์ ลิ ปะโบราณ คดีและวัฒนธรรมพืน้ บ้าน ณ โรงเรียนสโุ ขทัยพทิ ยาคม 5 สงิ หาคม- 9 ตลุ าคม 2539. .อภหิ ารพระแมย่ า่ . โรงเรียนสโุ ขทัยวทิ ยาคม อาํ เภอเมืองสโุ ขทัย,2513.(อดั สําเนา)พระเครื่อง สุโขทัย.เอกสารประกอบการประกวดพระเครอื่ งเมืองสุโขทัย ปี 2539.โรงเรยี นสโุ ขทยั นิคม อนิ ทรประพนั ธ์. ศกึ ษาประเพณบี วชพระข่ีช้างแห่นาคทีห่ าดเสีย้ ว. วิทยานิพน์ กศ. ม. มหาวิทยาลยั นเรศวร พิษณุโลก, 2540 นิพนธ์ สขุ สวสั ด์ิ. วรรณคดีกบั ขนบประเพณีไทย.กรุงเทพฯมหานคร: โรงพมิ พ์พฆิ เณศ, 2521. บรรลือ ขอรวมเดช. รปู แบบศิลปะบนแผ่นภาพจารึกลายเส้นเรื่องชาดกของวัดศรีชุม จังหวัด สุโขทยั . วทิ ยานิพนธ์ภาควชิ าประวัติและศิลปะ มหาลยั ศิลปากร,2533. ประทีป สุขโสภา. เอกสารอ่านประกอบการสอนวิชาศิลปะกับชีวิตระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตน้ การแสดงศลิ ปะของท้องถ่ิน. โรงเรียนหนองปลาหมอวทิ ยาคม อาํ เภอสวรรคโลก จงั หวัด สโุ ขทัย, 2539. (อัดสําเนา)
ประเทอื ง คล้ายสบุ รรณ์. วฒั นธรรมพนื้ บ้าน. ภาควิชาภาษาไทย คณะวิชามนษุ ยศาสตรแ์ ละ สังคมศาสตร์, วทิ ยาลัยพระนครศรอี ยธุ ยา, 2531. พนิตนาฏ ลัคนาโฆษิต. “ภูมิปัญญาชาวบ้านภาคใต้ในด้านโภชนาการและการใช้สมุนไพร” รายงานการกมุ ภาพันธ์-พฤษาคม2533. พระบาทสมเดจ็ พระมงกฎุ เกลา้ เจ้าอยหู่ วั (รชั กาลที่ 6).กรุงเทพฯ : สามัคคีสาส์น,2536 พระพุทธพุกามและพระพุทธญาณ. ตํานานมูลศาสนา.กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, 2519. พฤกษชาติ เมอื งนครศรีธรรมราช.กรุงเทพฯ : อมรินทร์การพิมพ์,2529. เพญ็ ศรี วงศช์ ูเครือ. เอกสารประกอบการประชุมเพอ่ื จดั ทําหนงั สือภมู ิปญั ญาทอ้ งถิน่ เทิดเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภมู พิ ลอดลุ ยเดช. 28 พฤศจิกายน 2541.(อัดสาํ เนา) วันดี ณ สงขลา. อาหารไทยในวรรณคดีเลม่ 2 จากกาพย์แหช่ มเครอื่ งวา่ ง บทพระราชนพิ นธ์ มงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ.เที่ยวเมืองพระร่วง. กรุงเทพฯ : มหามงกุฎราช วทิ ยาลัย, 2519. มณีรัตน์ ท้วมเจริญ. “ข้อสังเกตเบ้ืองต้นของดนตรีมังคละในจังหวัดสุโขทัย” ศิลปากร. 24 (4) กันยายน 2523. _____.สนั นิษฐานเมืองโบราณในจังหวัดสโุ ขทัย.เอกสารการประชุมรมเรารักเมืองพระร่วง 28 มนี าคม 2540. (อัดสาํ เนา) มนต์ชัย เทวัญวโรปกรณ์. พลิกประวัติศาสตร์สุโขไท ฉบับ 700 ปีลายสือไท. กรุงเทพมหานคร : เจ้าพระยาการพมิ พ์, 2526. มนัส โกศล นิจโภค. อนุสรณ์ในงานฉลองอายุครบ 80 ปีและการสมรสครบ 50 ปี มนัส โกศลนิจโภค. กรงุ เทพฯ ชวนการพิมพ์, 2533. ไมเคิล ไร้ท์ “ปริศนาศิลาจารึกวัดศรีชุมกับอุโมงค์ในผนังมณฑป” ศิลปวัฒนธรรม.2 (1) พฤศจิกายน 2523.ราชบัณฑิตยสถาน. ศิลปกรรมไทย : พระพุทธปฏิมา พระบรมมหาราชวัง วัด เรือน ไทยภาคกลาง. กรงุ เทพฯ : สหธรรมกิ จาํ กัด, 2536. ยุพนิ คาํ แท่ง. เทคโนโลยกี ารผลิตข้าวของประเทศไทย พ.ศ. 2398-2475. วิทยา นิพนธ์ อ.ม. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลยั ศิลปากร, 2528. (อดั สําเนา) รัตนปญั ญาเถระ,ชินกาลมาลีปกรณ์. แสง มนวทิ รู ผ้แู ปล พระนคร : กรมศิลปากร, 2501. ราชบัณฑติ ยสถาน. ศิลปกรรมไทย : พระพทุ ธปฏมิ า พระบรมมหาราชวัง วดั เรอื นไทยภาค กลาง. กรงุ เทพฯ : สหธรรมมกิ จํากัด, 2536. วทิ ยาคม อาํ เภอเมอื ง จังหวดั สโุ ขทัย,2539นริศรานุวัติวงศ์, สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยา. จดหมาย ระยะทางไปพษิ ณโุ ลก. พิมพเ์ ป็นอนุสรณใ์ นการฉลองวนั ประสตู ิครบ 100 ปี 28 เมษายน 2506. ราชบณั ฑิตยสถาน. ศิลปกรรมไทย : พระพุทธปฏิมา พระบรมมหาราชวัง วดั เรือนไทยภาคกลาง. กรงุ เทพฯ : สหธรรมมกิ จาํ กดั , 2536.ศูนยว์ ัฒนธรรมจังหวดั สุโขทยั . หัตถกรรมพื้นบา้ น ปราชญ์- วัฒนธรรมจังหวดั สุโขทยั . หัตถกรรมพน้ื บ้าน ปราชญ์-ศลิ ปนิ สุโขทยั .สโุ ขทัย: สุโขทยั การพมิ พ์, 2534. ศรสี มร คงพนั ธ์ุ. ขนมไทย1. กรุงเทพฯ : สาํ นกั พิมพ์แสงแดด,ม.ป.ป.
ศิริ ฮามสุโพธ์ิ. เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการดํารงชิวติ ในท้องถิน่ .กรุงเทพฯมหานคร:โอเดียนส โตร์,2536. ศิลปะของทอ้ งถ่นิ . โรงเรียนหนองปลาหมอวทิ ยาคม อาํ เภอสวรรคโลก จงั หวดั สุโขทยั , 2539. (อดั สาํ เนา) ศลิ ปินสุโขทัย. สโุ ขทัย : สโุ ขทยั การพมิ พ์, 2534. .ประวัตแิ ละผลงานของ นายประทปี สขุ โสภา. การเสนอผลงาน เพ่อื เสนอชอื่ เป็น บคุ คลดเี ดน่ ทางวัฒนธรรมจังหวัดสุโขทยั ประจําปี 2535, 2535. (อัดสําเนา) .มรดกสุโขทัย. สุโขทยั : สุโขทัยการพมิ พ์, 2537. สามารถ จันทร์สูรย์. “ภูมิปัญญาชาวบ้านรากฐานในการพัฒนาการศึกษา” วัฒนธรรมไทย. 29(11) สํานักงานจังหวัดสุโขทัย. บรรยายสรุปปี 2541 สุโขทัยรุ่งอรุณแห่งความสุข. ฝ่ายข้อมูลและ ติดตาม ประเมนิ ผลสํานกั งานจังหวัดสโุ ขทยั , 2541. (อัดสาํ เนา) .ประวัติมหาดไทยส่วนภมู ิภาคจังหวัดสโุ ขทยั . พษิ ณโุ ลก : โรงพมิ พ์ตระกลู ไทย, 2541. สงวน รอดบญุ . พุทธศิลป์สโุ ขทยั . กรงุ เทพฯ : อกั ษรสมยั , 2521. _____. พทุ ธศิลปส์ โุ ขทยั . กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร์, 2533. สถาบันทักษิณคดีศึกษา.สารานุกรมวัฒนธรรมภาคใต้ พ.ศ.2529 เล่ม 3 ฉก : พืชตํานานอนงค์ นาคสวสั ดิ์. “ดนตรพี ้ืนบ้าน” วฒั นธรรมไทย. 22 (4) เมษายน 2526. สมั มนาทางวิชาการ เร่ือง พฒั นาการทางวัฒนธรรม : กรณีทกั ษณิ . กรุงเทพฯสาํ นักงาน คณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ, 2535. สําเนา จันทร์จรูญ. การเล่นพ้ืนเมืองของจังหวัดสุโขทัย. สุโขทัย : สภาวัฒนธรรมจังหวัด สโุ ขทัย, ม.ป.ป. สําเนียง เรียนรัชตะ. เพลงพื้นบ้านสุโขทัย. สุโขทัย : โรงพิมพ์วิทยาคอมพิวเตอร์ กราฟิค, 2538. หนว่ ยอนุรักษศ์ ลิ ปกรรมท้องถ่นิ จงั หวัดสโุ ขทัย. การศกึ ษาเร่ืองภาพชาดกสลกั ลายเส้น ผนงั ถ้ําวัด ศรีชุม จังหวดั สโุ ขทัย. โรงเรยี นสโุ ขทัยวทิ ยาคม อําเภอเมอื ง จังหวดั สโุ ขทัย, 2541. ศนู ย์วฒั นธรรมจังหวัดสุโขทยั . มรดกโลกสโุ ขทัย. สโุ ขทยั : สโุ ขทยั การพิมพ์, 2537. ______.พุทธศิลปสุโขทัย. กรงุ เทพฯ : โอเดยี นสโตร,์ 2533. ______.ประชมุ จารึกหลักที่ 1. กรมศิลปากรจดั พมิ พ์เป็นอนุสรณ์พระราชทานเพลงิ ศพ พระราช ประสิทธิคณุ กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์คุรุสภาลาดพรา้ ว, 2515. ศนู ยว์ ฒั นธรรมจังหวัดสโุ ขทัย. มรดกสุโขทัย. สุโขทยั : สุโขทัยการพมิ พ์, 2537. ______. ลายสือไทย 700 ปี . ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดสุโขทัย โรงเรียนสุโขทัยวิทยาคม จังหวัดสุโขทัย, 2526.
อเนก สีหามาตย์. มรดกโลก อทุ ยานประวตั ิศาสตร์ ศรีสัชนาลยั กาํ แพงเพชร. จัดพมิ พโ์ ดย อเนก นาวกิ มูล. เพลงนอกศตวรรษ. กรงุ เทพฯ : เมืองโบราณ, 2527. เอนก พมุ่ หมนั . เอกสารประกอบการประชุมเพ่ือจัดทาํ หนงั สือภูมิปญั ญาทอ้ งถิน่ เทิดเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวภูมิพลอดลุ ยเดช. 28 พฤศจิกายน 2541.(อัดสําเนา) ______. “อาหารไทย” สารานุกรมไทยสาํ หรับเยาวชนไทยโดยพระราชประสงคใ์ น พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว เล่มท่ี 13. กรงุ เทพฯ : ร่งุ เรอื งศลิ ป์การพิมพ์ 2538. ประเทือง คล้ายสุบรรณ์. วัฒนธรรมพ้ืนบา้ น. ภาควิชาภาษาไทย คณะวิชามนุษย์ศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตร์,วทิ ยาลยั พระนครศรอี ยุธยา,2531.
คณะผู้จัดทํา ทีป่ รกึ ษา 1. นายสังวาลย์ ชาญพิชิต ผอ.สาํ นักงาน กศน.จังหวดั สุโขทยั 2. นางสาวศรีโสภา มีเจรญิ รอง ผอ.สาํ นกั งาน กศน.จงั หวัดสโุ ขทัย 3. นายกติ ตศิ กั ดิ์ พนั ธุโ์ อภาส ผอ. กศน.อําเภอสวรรคโลก 4. นายแฉลม้ ธนาทพิ ยกุล ผอ. กศน.อําเภอกงไกรลาศ 5. นายชนัญ คงเมือง ผอ. กศน.อาํ เภอทุ-งเสลย่ี ม 6. นายสําอางค์ บุญเกดิ ผอ. กศน.อาํ เภอคีรีมาศ 7. นายสมมาตร คงเรือง ผอ. กศน.อําเภอเมอื งสุโขทยั 8. นายรามณรงค์ โตนชัยภมู ิ ผอ. กศน.อําเภอศรีสัชนาลยั 9. นายธรรมรัตน์ เตชะบุญบันดาล ผอ. กศน.อาํ เภอศรีนคร 10. นายสําราญ ใจดา ผอ. กศน.อําเภอบ_านด-านลานหอย 11. นายจิรพงศ์ ผลนาค ผอ. กศน.อําเภอศรสี ําโรง ผ้เุ ชีย่ วชาญเน้อื หา ผทู้ รงคณุ วุฒดิ ้านประวัติศาสตร์สโุ ขทัย 1. นางทองเจือ สืบชมพู ผทู้ รงคณุ วฒุ ิด้านประวตั ิศาสตรส์ ุโขทัย 2. นายสมชาย เดือนเพญ็ นกั วชิ าการกรมศิลปากร 3. นายชัยวัฒน์ ทองศกั ดิ์ ผอู้ าํ นวยการสํานักงานการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย 4. นางสาวจิตตมิ า สุขผลนิ สาํ นกั งานสโุ ขทัย ผู้จัดทําเน้ือหา ผู้ทรงคณุ วฒุ ดิ ้านประวัติศาสตร์สุโขทัย 1. นางทองเจือ สบื ชมพู ผูท้ รงคณุ วฒุ ิดา้ นประวัตศิ าสตรส์ โุ ขทยั 2. นายสมชาย เดอื นเพ็ญ นักวชิ าการกรมศิลปากร 3. นายชยั วัฒน์ ทองศกั ด์ิ ผู้อาํ นวยการสาํ นกั งานการท่องเท่ยี วแหง่ ประเทศไทย 4. นางสาวจิตติมา สุขผลนิ สํานกั งานสโุ ขทัย ผอ.กศน.อําเภอเมืองสุโขทัย 5. นายสมมาตร คงเรือง ผอ.กศน.อาํ เภอศรีสาํ โรง 6. นายจิรพงศ์ ผลนาค
คณะกรรมการบรรณาธิการ 1. นายจิรพงศ์ ผลนาค ผอ. กศน.อาํ เภอศรีสาํ โรง ครชู าํ นาญการ 2. นางยุณีรัตน์ เปล่ียนทอง ครูอาสาสมัคร ครูอาสาสมัคร 3. นางบําเพญ็ อิสระไพจิตร ครู กศน.ตาํ บล ครู กศน.ตําบล 4. นางสาวกัลญารัตน์ ถาแกว้ ครู กศน.ตําบล ครู กศน.ตาํ บล 5. นางวนิดา ออมสิน ครู กศน.ตําบล ครู กศน.ตาํ บล 6. นางสาวสุรนิ ท์ อ่อนใจ ครู กศน.ตาํ บล ครู กศน.ตาํ บล 7. นางสาวนงคน์ ชุ บัวเพ็ง ครู กศน.ตาํ บล ครู กศน.ตําบล 8. นางสาวขวัญนภา ภูทวี ครู กศน.ตาํ บล ครู กศน.ตําบล 9. นางสาวยพุ นิ อยเู่ ปีย ครู กศน.ตาํ บล 10. นางสาวจุฑามาศ ล้วนงาม ครู กศน.ตําบล 11. นางสาวปยิ วรรณ สวุ รรณวงศ์ 12. นางสาวสาํ เนยี ง หยอมแหยม 13. นายครเิ มศย์ แสงบญุ 14. นายสุรชยั ประยรู 15. นางมชั ฌิมา ชา่ งผาสกุ 16. นางสาวอมุ าพร ชมกลน่ิ 17. นายประเสริฐศกั ด์ิ เดชศรวี ศิ ัลย์ ผู้ออกแบบปก บัวเพง็ นางสาวนงค์นชุ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113