Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ebook015

ebook015

Published by fataneeyah.la, 2018-03-30 12:01:29

Description: ebook015

Search

Read the Text Version

สารบัญ หน้า เร่ือง 1ประวตั ิความเป็นมา 4สัญลกั ษณ์มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา 5ปรัชญา 6คุณลกั ษณะบณั ฑิตท่ีพงึ ประสงค์ 7ประมวลรูปภาพกิจกรรม “จูงมือนอ้ งสู่ออ้ มกอด ชมพู เทา” 8รับชมวดิ ีโอกิจกรรม”จูงมือนอ้ งสู้ออ้ มกอด ชมพู เทา”ปีการศกึ ษา 2558

1 ประวัตคิ วามเป็ นมา มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เดิมเป็นโรงเรียนอาชีพประจาจงั หวดั ต้งั ข้ึนเป็นโรงเรียนฝึกหดั ครู เมื่อวนั ท่ี 1กรกฎาคม 2477 ที่หมูบ่ า้ นมลายบู างกอก ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ยะลาเป็นผจู้ ดั ต้งั โดยใชเ้ งินศึกษาพลี (เงินศึกษาพลีเป็นเงินที่รัฐเกบ็ จากชายไทยอายุ 18-60 ปี เพอ่ื นามาใชใ้ นการดาเนินการจดั การศึกษา) เป็นคา่ ก่อสร้างสถานท่ี จานวนเงิน 2,000บาท ดารงโรงเรียนตามพระราชบญั ญตั ิประถมศึกษา พทุ ธศกั ราช 2464 สอนช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 4 และประโยคประถมบริบูรณ์ คือ ช้นั ประถมปี ที่ 6 ในสมยั น้นั วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2478 ยา้ ยโรงเรียนมาต้งั ที่ขา้ งวดั พุทธภูมิ คือ ส่วนของบริเวณโรงเรียนคณะราษฎรบารุง จงั หวดั ยะลาในปัจจุบนั ซ่ึงการยา้ ยโรงเรียนในคร้ังน้ี ดว้ ยสาเหตุท่ีวา่ ที่ต้งั โรงเรียนเดิมคือ ที่มลายบู างกอกเป็นเนินสูงไมเ่ หมาะแก่การฝึกหดั ภาคปฏิบตั ิ คือ การทาสวนปลูกผกั ในสมยั น้นั พระภูมิพชิ ยั เป็นผวู้ า่ราชการจงั หวดั มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา มีพฒั นาการมากวา่ 80 ปี (นบั ถึงปัจจุบนั พ.ศ. 2557) เร่ิมจากการตอ่ ต้งั เป็นโรงเรียนฝึกหดั ครู ต้งั ปี พ.ศ. 2477 จนถึงในปัจจุบนั ยกฐานะเป็น \"มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา\" สามารถแบง่ ยคุ ของการพฒั นาองคก์ รตามลาดบั ได้ 4 ระยะ ดงั น้ี ปีการศกึ ษา 2558

2 โรงเรียนฝึกหดั ครู (พ.ศ. 2447 -2505) 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2477 เริ่มก่อต้งั เป็นโรงเรียนอาชีพประจาจงั หวดั ต้งั ข้ึนเป็นโรงเรียนฝึกหดั ครู ที่ หมูบ่ า้ นมลายบู างกอก ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั ยะลาเป็นผตู้ ้งั ใชเ้ งินศึกษาพลี (เงินศึกษาพลี เป็นเงินที่รัฐเก็บจาก ชายไทยอายุ 18-60 ปี เพ่อื นามาใชใ้ นการดาเนินการจดั การศึกษา) เป็นค่าก่อสร้างสถานท่ีเป็นเงิน 2,000 บาท ดารงโรงเรียนตามพระราชบญั ญตั ิประถมศึกษาพทุ ธศกั ราช 2464 เปิ ดสอนในระดบั สอนช้นั ประถมปี ที่ 4 และ ประโยคประถมบริบูรณ์ คือช้นั ประถมปี ที่ 6 ในสมยั น้นั 17 พฤษภาคม 2478 ไดย้ า้ ยโรงเรียนมาต้งั ท่ีขา้ งวดั พุทธภูมิ คือ ส่วนของบริเวณท่ีเป็นโรงเรียนคณะราษฎร บารุงจงั หวดั ยะลาในปัจจุบนั น้ี การยา้ ยโรงเรียนคร้ังน้ี ดว้ ยสาเหตุ คือ ท่ีต้งั โรงเรียนเดิม คือที่มลายบู างกอก เป็นเนินสูง ไมเ่ หมาะแก่การฝึกหดั ภาคปฏิบตั ิ คือการทาสวนปลูกผกั ในสมยั น้นั ซ่ึงมีพระภูมิพชิ ยั เป็นผวู้ า่ ราชการจงั หวดั พ.ศ. 2477 จดั ต้งั เป็นโรงเรียนฝึกหดั ครูช้นั ตน้ ปี ที่ 1-2 พ.ศ. 2478 จดั เป็นโรงเรียนฝึกหดั ครูประกาศนียบตั ร 2 ช้นั คือ ช้นั ปี ท่ี 1 และช้นั ปี ที่ 2 นกั เรียนสอบไล่ได้ ป.5 เป็นนกั เรียนปี ท่ี 1 นกั เรียนท่ีสอบไล่ได้ ป. 6 เป็นนกั เรียนปี ที่ 2 และมี ประถม เกษตรกรรมปี ท่ี 1,2 รวมอยู่ ดว้ ย 22 สิงหาคม 2480 ยา้ ยโรงเรียนไปต้งั ที่โรงเรียนอนุบาลซ่ึงไดป้ ลูกสร้างสถานที่ข้ึนใหม่ (โรงเรียนอนุบาล สมยั น้นั อยบู่ ริเวณที่ต้งั ของวทิ ยาลยั เทคนิคยะลาในปัจจุบนั ) วนั ท่ี 5 กมุ ภาพนั ธ์ 2481 โอนช้นั ประถม เกษตรกรรมไปข้ึนกบั เทศบาลเมืองยะลายงั คงเหลือแตช่ ้นั ฝึกหดั ครู ปี การศึกษา 2482 ไมม่ ีนกั ศึกษามาสมคั ร เรียนเลย โรงเรียนตอ้ งปิ ดตลอดปี การศึกษา 2482 วนั ท่ี 17 พฤษภาคม 2483 เร่ิมเปิ ดทาการสอนใหมเ่ ป็นมธั ยม พิเศษ เริ่มสอนปี ที่ 1 แลว้ ปี ต่อมาคือปี พ.ศ. 2484 ขยายถึงช้นั ปี ท่ี 3 พ.ศ. 2486 เปล่ียนเรียกช่ือ ม.1-2-3 พเิ ศษ เป็นช้นั ฝึกหดั ครูประชาบาล (ป.ป.)ปี ที่ 1-2-3 วนั ที่ 15ธนั วาคม 2486 ยา้ ยโรงเรียนไปต้งั ที่สะเตง ท่ีต้งั ศาลากลางจงั หวดั เดิม โดยกระทรวงศึกษาธิการกบักระทรวงคมนาคม โอนเงินชดใช้ 10,000 บาท ใหแ้ ก่แผนกมหาดไทย ทางแผนกมหาดไทยโอนกรรมสิทธ์ิอาคารตา่ ง ๆ ใหแ้ ก่โรงเรียนฝึกหดั ครู คือ ปีการศกึ ษา 2558

3 1. ท่ีทาการอาเภอเมืองยะลา 1 หลงั 2. ศาลากลางจงั หวดั 1 หลงั (หอธรรมศกั ด์ิมนตรี) 3. ที่ทาการแผนกศึกษาธิการ 1 หลงั 4. สโมสรเสือป่ า 1 หลงั 5. จวนขา้ หลวงประจาจงั หวดั 1 หลงั 6. ท่ีทาการไปรษณียโ์ ทรเลข 1 หลงั พ.ศ. 2493 เปิ ดช้นั ฝึกหดั ครูมูล รับนกั เรียนที่สอบไล่ได้ ม.6 เขา้ เรียนตามหลกั สูตร 1 ปี และยบุ เลิกช้นัป.ป. ปี ที่ 1 พ.ศ. 2494 เปิ ดช้นั ฝึกหดั ครูประกาศนียบตั รจงั หวดั ปี ท่ี 1 ยบุ เลิกช้นั ป.ป. ปี ท่ี 2 พ.ศ. 2498 ยบุ เลิกช้นั ประถมประโยคครูมูล เปิ ดช้นั ฝึกหดั ครูประกาศนียบตั รวชิ าการศึกษาปี ท่ี 1 ยบุ เลิกช้นั ว. ปี ที่ 1 พ.ศ. 2499 เปิ ดช้นั ประกาศนียบตั รวชิ าการศึกษาปี ท่ี 2 ยบุ เลิกช้นั ประโยคครูมูลและเปิ ดสอนช้นัประกาศนียบตั ร วชิ าการเรื่อยมา พ.ศ. 2504 โรงเรียนฝึกหดั ครูยะลา ไดย้ า้ ยมาจากศาลากลางเก่าที่สะเตง มาอยทู่ ี่ปัจจุบนั ไดก้ ่อสร้าง อาคารเรียน 1 หลงั หอนอน 1 หลงั และโรงอาหารชวั่ คราว 1 หลงั และยงั ใชส้ ถานที่เดิมอยดู่ ว้ ยเพราะสถานท่ี สร้างใหม่ไม่เพยี งพอ ท่ีสถานที่ปัจจุบนั น้ี ฯ พณฯ ศาสตราจารย์ ม.ล.ปิ่ น มาลากุล อดีตรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการ ไดก้ าหนดแผนผงั ของสถาบนั ราชภฏั ไวไ้ ห้ ต้งั แตเ่ มื่อแรกที่ไดท้ ่ีดินมาดาเนินการก่อสร้าง ปีการศกึ ษา 2558

4 สัญลักษณ์มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ยะลาตรามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา เป็นรูปวงรีสองวงลอ้ มตราพระราชลญั จกรของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วัภูมิพลอดุลยเดชท่ีพระราชทานใหแ้ ก่สถาบนั ราชภฏั เม่ือวนั ที่ 14 กุมภาพนั ธ์ 2535 ภายในวงรีเป็นช่ือของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลาดา้ นบนเป็นอกั ษรภาษาไทย ดา้ นล่างเป็นอกั ษรภาษาองั กฤษ ซ่ึงเป็นตวั เขียนที่มีลกั ษณะเฉพาะ สีในตราสถาบนั มีความหมายและคุณคา่ ดงั น้ี สีน้าเงิน แทนคา่ สถาบนั พระมหากษตั ริย์ผใู้ หก้ าเนิดพระราชทานนาม \"สถาบนั ราชภฏั \" สีเขียว แทนคา่ แหล่งที่ต้งั ของสถาบนั ราชภฏั 41 แห่ง ในแหล่งธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม สีทอง แทนค่า ความเจริญรุ่งเรืองทางปัญญา สีส้ม แทนค่า ความรุ่งเรืองของศิลปวฒั นธรรมทอ้ งถิ่น ท่ีกา้ วไกลใน 41 สถาบนั สีขาว แทนคา่ ความคิดอนั บริสุทธ์ิของนกั ปราชญ์แห่งพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั สีประจามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา คือ สีชมพู เทา หมายถึง มี ความคิด รู้จกั ไตร่ตรอง อยรู่ ่วมกนั ดว้ ยความรักสามคั คี สีชมพู เป็นสีของความรัก หมายถึง การรู้รัก สามคั คี สีเทา เป็ นสีของ สมอง หมายถึง ความคิด การไตร่ตรอง ใชเ้ หตุผล ตน้ ไมแ้ ละดอกไมป้ ระจามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ยะลา คือ ดอก จนั ทน์กะพอ้ ลูกจนั ทนก์ ะพอ้ ปีการศกึ ษา 2558

5 ปรัชญา ความรู้เยยี่ ม เปี่ ยมคุณธรรม นาสงั คม ธารงวฒั นธรรม พนั ธกจิ 1. ผลิตบณั ฑิตสาขาศิลปศาสตร์ ใหม้ ีมาตรฐานตามวชิ าชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม สามารถนาความรู้ไป ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการดารงชีวติ 2. ส่งเสริมและสนบั สนุนการวจิ ยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั ทอ้ งถิ่น การวจิ ยั เพื่อสร้างองคค์ วามรู้ใหมแ่ ละนา ผลการวจิ ยั ไปประยกุ ตใ์ ชท้ างการศึกษาและการแกป้ ัญหาของชุมชนและสงั คม 3. บริการทางวชิ าการแก่สงั คม ดว้ ยการถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี โดยการใชท้ รัพยากรที่มีอยใู่ หเ้ กิด ประโยชนต์ ่อชุมชน สนบั สนุนใหเ้ กิดการพ่งึ พาตนเองได้ 4. อนุรักษ์ ทานุบารุง และเผยแพร่ศิลปวฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน และของชาติวสิ ัยทศั น์ ภายในปี 2560 คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์เป็นผนู้ า ในดา้ นการผลิตบณั ฑิตใน 5 จงั หวดั ชายแดนภาคใต้วตั ถุประสงค์ 1. เพอื่ ผลิตบณั ฑิตสาขาศิลปศาสตร์ ใหม้ ีความรู้ คุณธรรม สามารถพฒั นาสังคมไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. สามารถใหก้ ารบริการทางวชิ าการ และเป็นแหล่งขอ้ มูลขา่ วสารใหก้ บั สังคม 3. เพ่อื พฒั นาการเรียนการสอนและองคค์ วามรู้ทางดา้ นมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 4. สามารถสร้างและพฒั นาการเรียนรู้เขา้ สู่ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เป็ นสากล 5. เพอ่ื พฒั นาบุคลากรของคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ ใหม้ ีความรู้ท่ีทนั สมยั อยเู่ สมอ ปีการศกึ ษา 2558

6 คุณลกั ษณะบัณฑติ ทพี่ งึ ประสงค์ 1. มคี วามรู้สามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในการประกอบอาชีพและชว่ ยพฒั นาสงั คมสว่ นรวม 2. มีคณุ ธรรม จริยธรรม สามารถเป็นผ้ชู ีน้ าสงั คมในทางท่ถี กู ต้อง 3. มคี วามสานกึ ในความเป็นไทย รักษาภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น และอนรุ ักษ์วฒั นธรรมอนั ดีงามของชาติ 4. มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเอง ท้องถ่ิน และสงั คมโดยสว่ นรวมและตระหนกั ในการปฏบิ ตั ิตนตามวิถีชีวติ แบบประชาธิปไตย 5. เป็นผ้มู ีโลกทศั น์ที่กว้างไกล มีความรอบรู้ทนั ตอ่ เหตกุ ารณ์ของสงั คมโลก สามารถปรับตวั ให้เข้ากบั การเปลย่ี นแปลงของสงั คมยคุ โลกาภิวตั น์ได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 6. มคี วามใฝ่รู้ และมที กั ษะการศกึ ษาค้นคว้า และเรียนรู้ด้วยตนเอง 7. มรี ะเบยี บ วนิ ยั อดทน ส้งู าน 8. มีการวิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการตดั สนิ ใจบนพนื ้ ฐานของข้อเท็จจริงที่เป็นวทิ ยาศาสตร์และตามหลกั ธรรม 9. มที กั ษะด้านภาษาและการใช้สารสนเทศทตี่ ดิ ตอ่ สอื่ ความหมายกบั ผ้อู น่ื ซง่ึ เป็นพนื ้ ฐานการดาเนินชีวิตในสงั คมยคุปัจจบุ นั ปีการศกึ ษา 2558

7ประมวลรูปภาพกจิ กรรม “จูงมือน้องสู่อ้อมกอด ชมพู เทา”ปีการศกึ ษา 2558

8รับชมวดิ โี อกจิ กรรม”จูงมือน้องสู้อ้อมกอด ชมพู เทา”ปีการศกึ ษา 2558

อาจารยผ์ สู้ อน อาจารยช์ ินวจั น์ งามวรรณากร สาขาวิชา สารสนเทศศสตร์คณะมนุษยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏยะลา จดั ทาโดย นางสาวฟาตานียะ๊ และนาหวงั รหสั นกั ศึกษา 405836015 สาขาสารสนเทศศาสตร์ คณะมนุษยศ์ าสตร์และสงั คมศาสตร์ ปีการศกึ ษา 2558

ปีการศกึ ษา 2558


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook