Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยนอกโรคมะเร็งระหว่างรับรังสีรักษา ในชุมชนบ้านเช่าชั่วคราว

การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยนอกโรคมะเร็งระหว่างรับรังสีรักษา ในชุมชนบ้านเช่าชั่วคราว

Published by jnlbcnsp, 2019-03-07 21:59:45

Description: ชลิยา วามะลุน, โสภิต, ทับทิมหิน, เพชรไทย นิรมานสกุลพงศ์, ชนาธิป หาหลัก, สง่า ทับทิมหิน, ภัทรวิมล ลิ้มจิตรกร, อำไพวรรณ ทองสุพล

Keywords: ผู้ป่วยมะเร็ง,รังสีรักษา,รูปแบบการดูแล,ชุมชน

Search

Read the Text Version

[วารสารวทิ ยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปที่1ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) การพฒั นารูปแบบการดูแลผูปวยนอกโรคมะเร็งระหวางรบั รงั สรี ักษา ในชมุ ชนบานเชา ชัว่ คราว ชลยิ า วามะลุน01 ,โสภติ ทบั ทมิ หนิ 1 เพชรไทย นิรมานสกลุ พงศ1, ชนาธปิ หาหลัก1 น2 ลิม้ จิตรกร1 , อําไพวรรณ ทองสุพล1 สงา ทั บทมิ หิ 1 , ภทั รวิมล บทคัดยอ ผูปวยนอกโรคมะเร็งรับรักษาดวยรังสีรักษาที่อาศัยในชุมชนบานเชาช่ัวคราวใกลโรงพยาบาล เพ่ือสะดวกในการรักษา ยังขาดรูปแบบการดูแลผูปวยในกลุมน้ี การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนารูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางการรักษาดวย รังสรี กั ษาในชมุ ชนบา นเชา ชวั่ คราว บานดงคาํ ออ ตาํ บลขามใหญ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี โดย ใชแ นวคดิ การดูแลผูปวยโรคไมติดตอเร้ือรัง (Chronic care model) และใช Research and Development ในการดําเนินการวิจยั ระหวา งเดอื นมีนาคม พ.ศ. 2557 ถงึ มีนาคม พ.ศ. 2559 การศึกษาประกอบดวย 4 ข้ันตอน คือ 1) วิเคราะหสถานการณการดูแลผูปวยโรคมะเร็ง 2) วางแผนและตัดสินใจเลือกแนว ทางแกไข 3) ปฏิบัติตามแผนสะทอนและปรับปรุงการปฏิบัติ และ 4) ประเมินผลลัพธการดําเนินงาน กลุมตัวอยาง ประกอบดวย ผูปวยมะเร็ง ผูดูแลผูปวยมะเร็ง ผูใหบริการของโรงพยาบาลมะเร็ง อบุ ลราชธานี อยางละ 92 คน เจาของบานพัก (บานเชา) 6 คน และผูนําชุมชน 10 คน เครื่องมือที่ใชใน การวิจัยไดแก แบบสอบถาม แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางและไมมีโครงสรางผูปวยโรคมะเร็งที่รับ การรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน วิเคราะหขอมูลเชิงปริมาณโดยใชสถิติเชิงพรรณนา รอยละ คาเฉล่ีย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถติ ิทดสอบคาที และวิเคราะหขอ มลู เชงิ คุณภาพดว ยการวิเคราะหเ นื้อหา ผลการวจิ ัยพบวา องคป ระกอบในการพัฒนารูปแบบในการดูแลประกอบดวย 1) ขั้นตอนการปฏิบัติใน การดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน 2) โปรแกรมการใหขอมูลผูปวย โรคมะเร็งที่รับการรักษาดวยรังสี 3) บัตรสําหรับการบันทึกขอมูลอาการของผูปวย และบัตรบันทึก รายละเอียดการฉายรงั สี เพอื่ การใหผูปว ย ผดู ูแล ชมุ ชนและผใู หบรกิ ารไดม ีสวนรวมในการดูแลใหผูปวยไดรับ การรักษาอยางตอเน่ือง และครอบคลุมการดูแลทุกดานอยางมีประสิทธิภาพ ผลการประเมินคุณภาพชีวิต ผูปวยภายหลังการพัฒนาการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน เม่ือ เปรียบเทียบคุณภาพชีวิตผูปวยกอนและหลังการพัฒนาการดูแลผูปวยเพิ่มข้ึนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ี ระดบั .05 คาํ สาํ คัญ: ผปู วยมะเร็ง รังสรี ักษา รูปแบบการดแู ล ชุมชน 1 โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี 2 วทิ ยาลยั แพทยศาสตรแ ละการสาธารณสุข มหาวิทยาลยั อุบลราชธานี * Corresponding E-mail [email protected] 35

[วารสารวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท่ี1 ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) The Development Care Model of Cancer Outpatients Who undergoing Radiation Therapy in the Temporary Rental House Community Chaliya Wamaloon1, PhD, RN Sopit Tubtimhin1, MSN, RN., Petthai Niramansakulpong1, BSN, RN Chanathip Halak1, BSN, RN.,Sanga Tubtimhin2, Dr.P.H, Pattaravimol Limjittrakorn1, BSN, RN., Ampaiwan Thongsupon1, BSN, RN. Abstract Cancer outpatient who undergoing radiation therapy that living in temporary rental housing community near the hospital was convenience for their treatment. However, there was no model of care in this patient. The aim of this mixed methods research was to develop the model of caring for cancer outpatients who were treated with radiation therapy in Ban Dong- Kham- Aor Community, Khamyai Sub-district, Muang District, Ubonratchathani province by using chronic care model. The research was conducted between March 2014 to March 2016. Research and development was applied that there were 4 phases including: 1) situation analysis of cancer caring; 2) planning to selection the option of care; 3) developing the chronic care model for cancer outpatients undergoing radiation therapy; and 4) evaluation of the development care model. The subjects were: 92 persons of each group of cancer outpatients, caregivers, health care providers in Ubonratchthani cancer hospital; 10 house owners; and 10 community leaders. The instruments for collecting data were semi-structured and unstructured interviews, and questionnaires. Quantitative data were analyzed by descriptive statistics in terms of percentage, mean, standard deviation and pair t-test, while qualitative data were analyzed by content analysis. The results found that the model of care consisted of 3 domains including 1) the process’ performance of care for cancer outpatients undergoing radiation therapy in the community, 2) the program for providing information for cancer outpatients undergoing radiation therapy, and 3) the card recording document information of cancer outpatients undergoing radiation therapy. This patient’s document was benefit for community leaders and stakeholders to participate effective continuing of patient care. The patients’ quality of life was significantly enhancing when comparing between before and after development of the care model at level p<0.05. Keywords : Care Model, Cancer Patients, Radiation therapy, Community 1 Ubonratchathani cancer hospital 2 College of Medicine and Public health, Ubon Ratchathani University Corresponding E-mail [email protected] 36

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท ่ี1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) ความเปนมาและความสําคญั ของปญหา โรคมะเร็งเปนสาเหตุของการเสียชีวิตในอันดับตน ๆ ของประชากรท่ัวโลก โดยองคการอนามัย โลกไดคาดการณวาป ค.ศ. 2020 จะพบจํานวนผูปวยโรคมะเร็งรายใหมประมาณ 16 ลานคน ซ่ึงคิด เปนอัตราการเพ่ิมมากถึงรอยละ 50 นับตั้งแตป ค.ศ. 20021 ในขณะเดียวกันความกาวหนาทาง วิทยาการทางการแพทยท ําใหประสิทธิภาพในการรักษาโรคดีขึ้น สามารถรักษาและยืดชีวิตของผูท่ีเปน มะเร็งไดยาวนานข้ึน2 โดยตองมีการติดตามการรักษาเปนระยะอยางตอเนื่อง ดังนั้นมะเร็งจึงกลายเปน โรคเรื้อรงั ของสังคมกอ ใหเกิดรายจา ยในการรักษาเพม่ิ ขน้ึ เมือ่ เทยี บกบั โรคอน่ื ๆ โรคมะเร็งเปนโรคที่สงผลกระทบตอรางกาย จิตใจ อารมณ สังคม และฐานะทางเศรษฐกิจ ตลอดจนบทบาทในครอบครัวของผูปวยเปนอยางมาก เนื่องจากเปนโรคท่ีคุกคามชีวิตและ ตองเสีย คาใชจายเปนจํานวนมาก รวมทั้งเปนโรคที่ตองการดูแลตอเน่ืองและใชระยะเวลานานพอสมควร3 โดย การรกั ษาของแพทยแผนปจจบุ ันมีหลายวิธีข้ึนอยูกับชนิดของมะเรง็ ตาํ แหนงและระยะของโรค มีทั้งการ ผาตัด เคมีบําบัด รังสีรักษา การรักษาแบบเฉพาะเจาะจงตอเซลลมะเร็ง (Targeted Therapy) และการ รักษาดวยอิมมูนเทอราป (Immunotherapy)4 ซึ่งการรักษาดังท่ีกลาวมาขางตน อาจสงผลใหเกิดอาการ ขางเคยี งตา ง ๆ ท่ไี มพงึ ประสงคไ ด4 ในขณะเดียวกันการรักษาโรคมะเร็งดวยรังสีรักษาเปนวิธีการหนึ่งที่ ใชในการรักษาท่ีมีประสิทธิภาพ และเปนท่ีนิยมใชกันมาก เน่ืองจากสามารถใชรักษาโรคมะเร็งไดทุก ระยะ ต้ังแตระยะตนเพื่อหวังผลการหายขาด และระยะสุดทายเพื่อบรรเทาอาการ แตอยางไรก็ตาม การรักษาดวยรังสรี ักษา มีแพทยเฉพาะทางรังสีรักษาเปนผูวางแผนและกําหนด ปริมาณของรังสีที่ตอง ใชตามชนิดระยะและขนาดของโรค แบงใหฉายรังสีทุกวัน สัปดาหละ 5 วัน5 ซึ่งในชวงระยะเวลาน้ัน ผูปว ยตองเผชิญอาการและปญหามากมายท่ีเกิดข้ึนระหวางเสนทางของการรักษา พยาบาลเปนบุคคล สําคัญท่ีชวยประคับประคองใหผูปวยสามารถผานชวงวิกฤตและจัดการกับความทุกขทรมานจาก อาการ จนสามารถรับการรกั ษาไดอยางตอเน่ือง6 ดังนั้น การท่ีจะขับเคลื่อนระบบการดูแลจะตองมีการปรับกระบวนทัศนใหมเกี่ยวกับโรค เร้ือรัง โดยการปรับระบบบริการสุขภาพใหสอดคลองกับปญหาและสรางความเช่ือมโยงระหวางผูปวย ชุมชนและระบบบริการสุขภาพ ดังการศึกษาของ Pawel และ Maria ในป 2008 ที่พบวา กระบวนการ บําบัดฟนฟูสมรรถภาพโดยใหชุมชนเขามามีสวนรวม จะชวยใหการฟนฟูสมรรถภาพผูปวยโรคเรื้อรัง7 เชนเดียวกับการศึกษาในผูปวยเรื้อรังทางจิตเวช พบวาการเขามามีสวนรวมของครอบครัวและชุมชนใน การดูแลผปู ว ย สามารถเพม่ิ คณุ ภาพชีวติ ผปู วยและสง ผลใหผูป วยไดรับการรักษาอยางตอเน่ือง 8 ดังน้ัน เพื่อใหผูปวยมะเร็งมีคุณภาพชีวิตที่ดี รวมทั้งเพื่อใหผูปวยและญาติมีความพึงพอใจในคุณภาพการ 37

[วารสารวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปที่1 ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) พยาบาลน้ัน จึงควรมีการใหชุมชนเขามามีสวนรวมเปนแกนหลักสําคัญในการดูแลผูปวยเรื้อรัง ซ่ึงจะ เปน จดุ แข็งในการแกปญ หาไดอ ยางย่ังยืน รวมทั้งควรสนับสนุนใหครอบครัวและชุมชนเขามามีสวนรวม และสง เสริมใหส ามารถดแู ลผปู ว ยโรคมะเรง็ ขณะทอี่ ยรู ะหวา งการรักษาดว ยรังสรี กั ษาได โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี เปนโรงพยาบาลระดับตติยภูมิเฉพาะทางดานโรคมะเร็ง มีขอบเขตรับผิดชอบในการใหบริการครอบคลุมพ้ืนที่ 9 จังหวัดในเขตภาคอีสานตอนลาง โดยมี ประชากรในความรับผิดชอบทั้งส้ิน 11,407,569 คน จึงมีปริมาณผูปวยมะเร็งมารับการรักษาเปน จํานวนมาก แตจ าํ นวนเตียงนอนมีจํานวนจํากัด ดังน้ัน จึงมีผูปวยบางรายท่ีตองรับการรักษาแบบผูปวย นอกตามดุลพินิจของแพทย โดยเฉพาะผูปวยท่ีรับการรักษาดวยการฉายรังสี ซึ่งใชระยะเวลาในการ รกั ษายาวนานกวาการรกั ษาดว ยวธิ กี ารอืน่ ๆ เน่ืองจากผูปวยมรี ะยะทางการมารบั การรกั ษาไกลจากโรงพยาบาล เพื่อลดภาวะการออนลาจาก การเดินทางของผูปวย และประหยัดคาใชจาย ผูปวยจึงเชาท่ีพักที่ใกลโรงพยาบาล โดยปจจุบันพบวา ชุมชนบานดงคําออ ท่ีมีพ้ืนท่ีชุมชนอยูติดกับโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานีนั้น มีการเปดบริการ หองพักใหบริการสําหรับผูปวยโรคมะเร็งและญาติถึง 6 แหง มีจํานวนผูปวยท่ีพักในชุมชนบานเชากวา 120 คน ซงึ่ จากการสาํ รวจสถานการณพบวา ผูปวยยังไมตระหนักถึงอันตรายจากภาวะแทรกซอนจาก โรคและการรักษา จึงมีการดูแลตนเองไมถูกตอง โดยเฉพาะเร่ืองการรับประทานอาหาร อีกท้ังไมการ สังเกตอาการผิดปกติตาง ๆ เปนผลใหผูปวยเกิดปญหาสุขภาพทําใหการรักษาไมตอเนื่อง สวนดาน ครอบครวั และผูดแู ล พบวา มบี างคนใหก ารดแู ลท่ียังไมสอดคลองกับปญหาของผูปวย ขณะท่ีชุมชนและ เจาของบานพัก (บานเชา) ยังขาดทักษะและความรูในการใหการชวยเหลือผูปวย ทางดานเจาหนาที่ผู ใหบริการ พบวาในการวางแผนการจําหนาย ยังไมครอบคลุมทุกประเด็น และการวางแผนเพ่ือดูแล ผูปวยเม่ือมีภาวะรุนแรงและวกิ ฤตจิ ากโรคมะเรง็ ท่ีพักในชมุ ชนยงั ไมชดั เจน จากความเปนมาขางตนการดูแลผูปวยโรคมะเร็งระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาที่พักอาศัย ในชุมชนบานเชา จึงมีความสําคัญเพ่ือปองกันและลดปญหาตาง ๆ ดังนั้นการวิจัยเพื่อพัฒนารูปแบบ การดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชนจึงมีความจําเปน โดยมีการ ประยุกตรูปแบบการดูแลผูปวยโรคเร้ือรัง ในการวิเคราะหสถานการณที่เก่ียวของกับการดูแลผูปวย โรคมะเร็ง และใชการมีสวนรวมจากผูที่เก่ียวของท้ังกลุมผูปวย ผูดูแล ชุมชน และผูใหบริการ เพื่อ พัฒนาแนวทางการดูแลผูปวยโรคมะเร็งและภาวะสุขภาพของผูปวย ตลอดจนเพ่ิมระดับความพึงพอใจ ในการมารบั การบริการสุขภาพตอ ไป 38

[วารสารวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท ี่1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพ่ือพฒั นารปู แบบทีเ่ หมาะสมในการดแู ลผปู ว ยโรคมะเร็งที่อยูระหวางการรักษาดวยรังสีรักษาใน ชมุ ชนบานเชาช่ัวคราว บานดงคาํ ออ ตําบลขามใหญ อําเภอเมอื ง จังหวดั อบุ ลราชธานี 2. เพือ่ ศกึ ษาผลลัพธข องการนํารูปแบบท่ีพัฒนาแลวมาใชในการดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวาง การรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชนบานเชาชั่วคราว บานดงคําออ ตําบลขามใหญ อําเภอเมือง จังหวัด อบุ ลราชธานี ขอบเขตการวจิ ยั การศึกษาครั้งน้ีเปนการพัฒนาการรูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางการรักษาดวย รังสีในกลุมผูใหบริการของโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ผูนําชุมชน กลุมผูดูแลผูปวย กลุมผูปวย โรคมะเร็ง ท่ีพักอาศัยในชุมชนบานดงคําออ ตําบลขามใหญ อําเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี ซ่ึงเปน ชุมชนทผี่ ปู วยและญาติเชาชัว่ คราว ในชว งระหวางการรกั ษาดวยรังษี ระหวาง เดือนมีนาคม พ.ศ. 2557 ถึง มีนาคม พ.ศ. 2559 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั กรอบแนวคิดในการวิจยั ครง้ั น้ี เปน กรอบแนวคิดการดูแลผูปวยโรคไมติดตอเรื้อรัง (Chronic care model) 11,12 ซ่ึงมีทั้งหมด 6 องคประกอบ ไดแก 1) การสนับสนุนการดูแลตนเอง 2) การออกแบบระบบ บริการ 3) การสนับสนุนการตัดสินใจ 4) การจัดการระบบขอมูลทางคลินิก 5) ทรัพยากรและนโยบาย ของชุมชน และ 6) หนวยบริการสุขภาพ โดยมีหุนสวนที่สําคัญ 3 สวน คือผูปวยและครอบครัว ชุมชน และระบบบริการสุขภาพ เพื่อการพัฒนาใหผูปวยไดมีโอกาสรวมกับครอบครัว ในการประเมินความ เจ็บปวยปญหาสุขภาพรวมกัน และเรียนรูการจัดการปญหาจากการเจ็บปวยดวยโรคมะเร็งและการ รักษา เพ่ือสรางศักยภาพใหผูปวยและครอบครัวหรือผูดูแล มีศักยภาพและสามารถจัดการปญหา สขุ ภาพตนเองไดอยางเหมาะสม ยงั่ ยนื ซึง่ แสดงกรอบแนวคิดไดดังภาพท่ี 1 39

[วารสารวทิ ยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธิประสงค] ปท่ี1 ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) การสะทอ นคดิ (Reflecting) และนําผลไปปรับปรุง ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดในการวิจัย วธิ ีการดาํ เนินการวจิ ยั การวจิ ยั คร้ังนเ้ี ปนการวิจัยแบบผสานวธิ ี (Mixed Methods Research) ประชากรกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางวิจัยประกอบดวย 5 กลุม คัดเลือกกลุมตัวอยางที่เก่ียวของโดยการคัดเลือกแบบ เจาะจง คือ 1) ผูปวยนอกโรคมะเร็งทุกประเภทท่ีรับการรักษาดวยรังสี ของโรงพยาบาลมะเร็งอุบล ราชธานี ทพี่ ักอาศยั ในชมุ ชนเชาชวั่ คราว 92 คน 2) ผูดูแลผูปวยมะเร็ง 92 คน 3) เจาของบานพัก (บาน เชา) ในชุมชนดงคําออ จํานวน 6 คน 4) ผูนําชุมชนดงคําออ 10 คน และ5) บุคลากรผูใหบริการของ โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี จํานวน 92 คน เครือ่ งมอื ในงานวิจัย เครือ่ งมอื ดําเนินการวิจยั ประกอบดว ย 1. แบบสัมภาษณแบบมีโครงสรางและไมมีโครงสรางสําหรับผูปวยโรคมะเร็งและผูดูแลผูปวย โรคมะเร็ง และแนวทางสนทนากลุมสําหรับผูนําชุมชน ท่ีสรางเสร็จแลวนําไปใหผูเช่ียวชาญที่มีความ ชํานาญเฉพาะทางดานการดูแลรักษาโรคมะเร็งจํานวน 5 ทาน ท่ีเปนผูเช่ียวชาญตรวจสอบทานความ ตรงทางเนื้อหา สํานวนภาษา และนําขอเสนอแนะมาปรับปรุงคําถามการสนทนากลุมกอนนําไปใชจริง กับกลุมเปาหมาย โดยการตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา (content validity) ที่มีคา IOC (Index of Item-Objective Congruence) มคี า ระหวา ง 0.5-1.0 40

[วารสารวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท่ี1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) 2. แบบสอบถามชี้วัดคุณภาพชีวิตขององคการอนามัยโลกชุดยอ ฉบับภาษาไทย (WHOQOL- BREF-THAI) ใชในการสาํ รวจประสบการณและประเมินเหตุการณตามความรูสึกของผูปวย จํานวน 26 ขอ โดยคําตอบมี 5 ตัวเลือก ตามแบบประเมินคาของลิเคิรท (Likert scale) โดยใชมาตราสวนประเมิน คา (Rating Scale) 5 ระดบั ดังนี้ 5 คะแนน คอื มากทสี่ ุด 4 คะแนน คือ มาก 3 คะแนน คือ ปานกลาง 2 คะแนน คือ เล็กนอย และ 1 คะแนน คือ ไมเลย9 ไดนําแบบสอบถามช้ีวัดคุณภาพชีวิตขององคการ อนามัยโลกชดุ ยอ ฉบับภาษาไทย ไปทดลองกับกลมุ เปาหมายที่มีสถานการณใกลเคียงกับกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน แลวนํามาหาคาความเชื่อม่ัน (Reliability) ดวยวิธีการหาสัมประสิทธ์ิแอลฟาครอนบาค (Alpha Coefficient) ไดคาเช่ือมั่นของแบบสอบถามคุณภาพชีวิตของผูปวยมะเร็งที่รับการรักษาดวยรังสี รักษาเทากับ 0.86 การเกบ็ รวบรวมขอมูล การศกึ ษาครั้งน้ีเกบ็ รวบรวมขอมูลโดย 1. การศึกษาและสังเคราะหเอกสารแนวคิด ทฤษฎีและรายงานวิจัยท่ีเกี่ยวของท้ังในและ ตางประเทศ 2. การสัมภาษณเก่ียวกับวิถีชุมชน การมีสวนรวมในภาพของชุมชน การดูแลสุขภาพ การดูแล ผูปว ยโรคไมต ดิ ตอ เรอ้ื รงั ในชมุ ชน 3. การพัฒนารูปแบบการดแู ลผปู ว ยมะเร็งในชุมชน 4. การใชแบบสอบถามหรือเก็บรวบรวมขอมูลคุณภาพชีวิตของผูปวยโรคมะเร็ง ท่ีอยูระหวางรับ การรกั ษาดวยรงั สรี ักษาในชมุ ชน การวเิ คราะหขอ มลู การศึกษาในคร้ังนี้ คณะผูวิจัยไดวเิ คราะหขอมูลเชิงปริมาณ โดยวิเคราะหหาคา รอยละ คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบคาสถิติที โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูปทางคอมพิวเตอรวิเคราะหและ วิเคราะหข อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะหเ นอื้ หา ผลการวิจยั ขั้นตอนท่ี 1 วิเคราะหสถานการณการดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวางการรักษาดานรักษารังสีในชุมชน บา นดงคําออ ในระหวา งเดือนมนี าคม 2557 ถงึ เดือนมีนาคม 2559 พบวาผูปวยสวนใหญเปนเพศหญิง 41

[วารสารวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท ี่1 ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) รอยละ 67.39 มีอายุ 60 ปข ้นึ ไปคิดเปนรอ ยละ 36.96 นบั ถือศาสนาพทุ ธทั้งหมด สถานะภาพสวนใหญ สมรสและอยดู วยกัน รอยละ 76.09 การศกึ ษาระดบั ประถมศกึ ษา รอยละ 84.78 ความสามารถในการ ดาํ เนนิ ชีวิตประจําวันของผูปวยโดยใชแบบประเมิน PPS V2 สวนมากอยูในชวงคะแนน 70-100 คะแนน ซึ่งสามารถชวยเหลือตนเองได ผูปวยสวนใหญไมมีโรคประจําตัวอ่ืน ๆ คิดเปนรอยละ 65.22 สวนโรค ประจําตัวท่ีเปนสวนมากไดแก เบาหวาน และความดันโลหิตสูงรอยละ 37.50 และ 28.12 ตามลําดับ สวนการสํารวจภาวะสุขภาพของผูปวยพบวา สวนมากรูสึกยอมรับและมีความสุขกับความเจ็บปวยท่ี เกิดขึ้น รอยละ 80.43 ความรูสึกมีคุณคาในตนเองของผูปวยตอครอบครัวและชุมชนคิดเปนรอยละ 82.61 และไมเ คยรูสกึ ถูกทอดท้ิงคิดเปนรอ ยละ 95.65 ผูปวยท่ีมารับการรักษาเปนผูท่ีมีรายได รอยละ 80.43 แตพบวา สวนใหญรายไดไมพอเพียง และเปนหนี้สิน รอยละ 32.61 การอยูรวมกันกับคนในสังคมของผูปวยมีลักษณะของ การอยูรวมกันใน ชุมชนบา นพกั สวนใหญ ชวยเหลอื เก้ือกลู กันทุกเร่ือง รอยละ 67.39 ดงั คาํ กลา วของผปู วย คอื “ชาวบานท่ีอยูรอบๆ บานพักไมมีทาทีรังเกียจ พูดคุยกันตามปกติ หรือเวลาท่ีเรามีอาการ ผดิ ปกติ เพ่ือนบานเรากจ็ ะแจง เจา ของบา นพักใหว าใหพ าไปสงโรงพยาบาล” “เพื่อนบานท่ีอยูรอบๆ บานพักแสดงทาทีเปนมิตรดี เวลามีอาหารหารกินเขาก็จะแบงปน หรือ บางทกี ็กินดว ยกัน เวลามปี ญ หาหรอื ไมส บายใจเขาก็แนะนําดี เปนทป่ี รึกษาได” “เม่ือวานผมฝากเขาซ้ือขาว ขา งหองผมน้เี ขายังเอาขาวโพดตม จากบา นมาฝากดวย” มีความสุขและอบอุนมากในการพักอาศยั ในชมุ ชน รอ ยละ 63.04 ดงั คํากลา วของผูปว ย คอื “เคยเดนิ ไปซอ้ื ของใชท่รี า นขายของใกลๆ บา นเชาก็ไมมีทาทรี ังเกยี จ” “ชาวบา นในชุมชนเขากไ็ มแสดงทา ทรี ังเกยี จอะไร ชวนกินขาวดวยกันตลอด บางทีก็มาน่ังคุยกัน ใหก ําลังใจกนั ” “ผมออกไปซอื้ ของทรี่ านคาใกลๆ น้บี อ ย เปนพวกนมของจาํ เปน บางที่เจาของรานยังบอกใหผม เก็บตําลงึ กระถินรมิ รั้วมากินเลย แกใจดมี าก” สัมพันธภาพระหวางเพ่ือนรวมบานพักมีความรักใคร สามัคคี ชวยเหลือพึงพากัน รอยละ 90.22 และไมเคยมคี วามขดั แยงกนั เลยของสมาชกิ บา นพกั รอ ยละ 97.82 ดังคาํ กลาวของผปู วย คอื “กร็ สู ึกอบอนุ ดี เพราะมีแตคนปวยเปนมะเร็งเหมือนกัน พดู คยุ กนั ก็สบายใจ เขาใจกันดีและรูสึก เขา ใจหัวอกคนไขดว ยกัน” “ตองปรับตัวนิดหน่ึงคะ เพราะไมใชบานตัวเองแลวอยูดวยกันหลายคน แตมีมีปญหาอะไร ทักทายกันด”ี 42

[วารสารวิทยาศาสตรสุขภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท ่ี1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) มีสภาพแวดลอมของชุมชนที่ผูปวยพักอาศัย พบวามีความมั่นคงแข็งแรงของท่ีพักอาศัยมาก รอยละ 80.43 มีความสะดวกสบายในการเดินทาง (มียานพาหนะ) รอยละ 88.04 ทัศนคติของผูคนใน ชุมชนที่มีตอผูปวยมะเร็ง มีความเอื้ออาทร มีน้ําใจ สามารถพึ่งพาไดคิดเปน รอยละ 95.65 สภาพแวดลอมของชุมชนอ่ืน ๆ ไดแก มีพาหนะจัดใหบริการ รอยละ 70.65 มีสถานที่พักผอนหยอนใจ รอ ยละ 60.87 และมหี นวยงานเขา มาเยี่ยมผูปวย รอ ยละ 34.78 ดังคํากลา วของผูอ ยูในชมุ ชน คอื “กอนหนาน้ีรูสึกวาโรคมะเร็งเปนโรคที่นากลัว รักษาไมหาย แตพอมารักษารูสึกวา โรคมะเร็ง เปน โรคทรี่ กั ษาได เพราะมีคนไขเยอะแยะทีม่ ารกั ษา บางคนบอกวารกั ษามาเกนิ หา ปเศษแลว” “คิดวาคนที่มาอยูที่นี่ สวนใหญตองปรับตัวใหเขากับชุมชนที่น่ี การเปล่ียนแปลงก็ไมไดมากจน ทําใหเกิดปญ หา คนบานเรากเ็ ปน แบบนี้แหละ ชว ยเหลอื เกือ้ กลู มนี ้าํ ใจมากกวาคนอ่นื คะ” วิเคราะหสถานการณจากผูดูแล พบวา สภาพชีวิตความเปนอยูของผูปวยมะเร็งในบานพัก ลักษณะบานพกั เปนบา นชน้ั เดยี่ ว มีอปุ กรณเครอ่ื งนอน เชน ที่นอน หมอน เสื้อ สวนอุปกรณไฟฟาข้ึนกับ ราคาของหองพัก ดังคาํ กลาวของผดู แู ล คอื “ทีพ่ กั กม็ ขี าวของเคร่อื งใชใหค รบดี มีเพือ่ นบานเยอะ ไมเหงาคะ ” “มาท่ีนี่ก็ดีครับ เงียบสงบดี ที่พักก็เปนสัดสวน มีตนไมเยอะโดยรวมแลวก็ดีครับไมอึดอัดคับ แคบ” “สภาพทั่วไปก็เหมือนชุมชนที่บานของผูปวย หองพักก็เหมือนเปนบานอีกหลัง แตไมมี ครอบครวั บางทีก็ไมรจู ะทาํ อะไรในชว งเวลาท่เี หลอื อยใู นแตละวัน” “ไมม ญี าติในอุบลฯ จึงไดมาพักที่นี่ ก็เปนเหมือนบานท่ัวไป แตดีหนอยตรงท่ีมีการบริการผูปวย ในการไปฉายแสง และญาตกิ ็ไมมเี วลาไดด ูแลผูป วยดว ย เชน เรอื่ งอาหารการกิน” บานพักมีร้ัวรอบขอบชิด ปลอดภัย เปนสัดสวน มีตนไมรมรื่น บรรยากาศเงียบสงบ หนา หองพักมีแครไ วส าํ หรับน่ังพักคยุ กัน ดงั คํากลา วของผดู ูแล คอื “การเปนอยูของผูปวยมะเร็งในชุมชนอบอุนดี ตอนกลางวันทุกคนตางนอนพักผอน สวนตอน เย็นก็มีรถรบั สงพาไปตลอด บางครั้งเรากจ็ ะทาํ อาหารมากนิ ดวยกนั มเี พอื่ นพูดคยุ ไมเ หงา” “อยูทีน่ ่มี เี พื่อนเยอะ ไมเหงา มีอะไรกค็ ุยกนั กินขา วเย็นดว ยกนั ฝากซอื้ ของได” นอกจากน้ี ยังมีอุปกรณเครื่องครัวในการหุงหาอาหาร โดยเฉพาะการนึ่งขาวเหนียวใหผูปวย และญาตทิ าํ อาหารรบั ประทาน บางบานพักไดจัดเตรียมเคร่ืองปนอาหารใหญาติไดเตรียมอาหารปนให ผูปว ย ดงั คํากลา วของผูดูแล คอื 43

[วารสารวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปที่1 ฉบบั ท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) “อาหารของแม หนูจะซ้ือเปนอาหารสดมาไว เพราะแมกินอาหารปน ตองปนอาหารไวและถือ ไปโรงพยาบาลดว ยทุกวัน เพราะบางทีก็ไดก ลับมาบานพักชา กลัวแมจะหิว แมกินอาหารปนไดดีคะ ตัก กินเองได นา้ํ หนักแมขน้ึ นะหนวู า ” การเดนิ ทางไปรบั การรักษาฉายรงั สี ไป-กลบั เจา ของบานพกั มีบริการ รับ – สง โดยจัดตาราง คิว เวลา มีจุดนัดพบอยางชัดเจน นอกจากน้ียังบริการ รับ – สงผูปวยและญาติไปตลาด ดังคํากลาว ของผดู แู ล คือ “กิจวัตรตอนอยูบานพักคือตอนเชา เจาของบานพักจะพาไปตลาดกินขาวเชาเสร็จก็พาแมไป ฉายแสง พอเสร็จกก็ ลับบานพกั มาพกั ผอ นและรอกนิ ขาวเย็น” “ลําบากหนอยคะ เพราะไมมีรถและไกลบาน ไปไหนมาไหนถามคนแถวนี้เอา แตดีท่ีมีรถรับสง ของเจา ของบานพักท่พี าไปโรงพยาบาลกบั ตลาด” เพื่อซ้ืออาหาร ผัก ผลไม กรณีฉุกเฉิน ตองการความชวยเหลือ มีเบอรโทรศัพทติดตอเจาของ บา นพักและสามารถติดตอ ไดตลอด 24 ชั่วโมงพรอมนําสง โรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี ดังคํากลาว ของผดู แู ล คอื “กลางคืน ถาหากมีอะไรใหช ว ยเหลอื ลุงอวนก็เอาเบอรโ ทรศพั ทไ วใหโ ทรหาไดต ลอด” วิเคราะหสถานการณจากผูใหบริการของโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี พบวาสถิติการ ใหบ รกิ ารรงั สีรักษาในป พ.ศ.2558 จาํ นวน 35,929 ครัง้ ทง้ั นี้เฉล่ียตอวันจะมีผูปวยประเภท ไป – กลับ ทมี ารบั การรักษาดวยรังสีรกั ษา 147.64 คน/วัน ผปู ว ยที่นอนโรงพยาบาล จํานวน 1,071 คนและผูปวยที่ มีแผนการรักษาแบบ เคมีบําบัดรวมกับรังสีรักษา จํานวน 259 คน เม่ือวิเคราะหทรัพยากรบุคคล พบวา มแี พทยเฉพาะทางดานรงั สีรักษา 4 คน พยาบาลเฉพาะทางดานโรคมะเร็ง 42 คน นักฟกส 2 คน นักรงั สกี ารแพทย 15 คน และมีบคุ ลากรทางการแพทยท่ีมีความเชี่ยวชาญทางดานการรักษาโรคมะเร็ง หลากหลายสาขา มีความครอบคลุมตามความตองการ ดานเทคโนโลยี - เคร่ืองมือแพทย พบมี เครื่องมือท่ีใชในการสงเสริม ปองกันคัดกรอง ดูแลรักษาผูปวยโรคมะเร็งอยางครบวงจร โดยเฉพาะ ดานรังสีรักษามีเครื่องฉายแสง เครื่องใสแร เครื่องจําลองการรักษา เปนตน ดานกระบวนการดูแล รักษาเร่ิมตั้งแตผปู วยไดรบั การตรวจวินิจฉัยจากแพทยวาเปนโรคมะเร็ง จะไดรับการวางแผนการรักษา ดวยรังสีรักษาแบบ ไป – กลับ ตั้งแตแรกรับจนกระท่ังจําหนายหลังฉายรังสีครบ พบวายังขาดการ เช่ือมโยงกับผูดูแลผูปวย ครอบครัว และชุมชน โดยเฉพาะเจาของบานพักที่มีสวนเก่ียวของในการดูแล ผปู วย ดังภาพท่ี 3 44

[วารสารวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปที่1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) ภาพที่ 3 สรปุ บทบาทของผูม ีสวนเก่ียวของในการดูแลผูปวยมะเรง็ ทีอ่ ยูระหวางรบั การรกั ษาดว ยรงั สี รักษาในชมุ ชนบา นเชา ชัว่ คราว ข้ันตอนที่ 2 วางแผนและตัดสินใจเลือกแนวทางการแกไข จะเห็นไดวาตองมีความเช่ือมโยงของผูมีสวนเกี่ยวของในการดูแล และตองมีการติดตามเยี่ยม ผูปวยเพื่อใหเกิดความครอบคลุมในการดูแลผูปวยทุกคนท่ีรับบริการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน โดย ใชแ นวทางการเยยี่ มผูปวยโรคมะเรง็ ในชุมชน ดงั ภาพท่ี 3 45

[วารสารวิทยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธิประสงค] ปท ่ี1 ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) ภาพท่ี 3 แสดงขั้นตอนเยีย่ มผูปว ยมะเร็งที่รับการรักษาดว ยรังสรี ักษาในชมุ ชน ขัน้ ตอนท่ี 3 ปฏบิ ตั ิตามแผนสะทอนและปรับปรุงการปฏิบตั ิ ในข้ันตอนนี้ไดนําแนวทางการเยี่ยมผูปวยมะเร็งท่ีรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชนลงสูการ ปฏิบตั ิ โดยทีมสหสาขาวิชาชพี ของโรงพยาบาลมะเร็งอุบลราชธานี และมีบุคลากรศูนยสงเสริมมิตรภาพ บําบัด เปนผูประสานการเย่ียมผูปวยและผูดูแลในชุมชน เก็บรวบรวมขอมูลและวิเคราะหขอมูลโดยใช แนวคิดการดูแลผูปวยโรคไมติดตอเร้ือรัง (Chronic Care Model: CCM) ท่ีพัฒนาข้ึน โดยWagner และ คณะ (Wagner et.al , 1999 ; Wagner et.al. , 2001) พบวามีองคประกอบท่ีสําคัญในการดูแลผูปวย โรคมะเร็ง 6 องคประกอบ คือ 1) การสนับสนุนการดูแลตนเองของผูปวย 2) ระบบสุขภาพ 3) การ สนับสนุนการตัดสินใจ 4) การจัดการระบบขอมูลทางคลินิก 5) ทรัพยากรและนโยบายของชุมชน และ 6) หนว ยบรกิ ารสขุ ภาพ ซงึ่ คณะผวู จิ ัยสามารถสรุปการพัฒนาการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับ การรักษาดว ยรังสรี กั ษาในชุมชน ดังนี้ 46

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท่ี1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) องคประกอบ สรปุ ผลการศึกษา องคประกอบท่ี 1 1. มกี ารกระตุนใหผ ปู ว ยตัง้ เปา หมายของการรักษาเพือใหไ ดร บั การฉายรงั สี การสนบั สนุนการดแู ล รกั ษาใหค รบตามแผนการรกั ษา ตนเอง 2. มีกําหนดแนวทางการปฏบิ ตั ติ นเองของผปู วยมะเรง็ ทไี่ ดร บั การรักษาดว ยรงั สี (Self-management 3. สงเสรมิ สนบั สนุนดานความรูใ นการดแู ลตนเองของผปู ว ยและพัฒนาทักษะ support : SMS) ของผูด ูแลเพ่ือ ใหก ารดแู ลผูปว ยเปนไปอยางมคี ุณภาพ องคป ระกอบที่ 2 1. มีการวางแผนการดูแลผปู ว ยตอเนอื่ ง การออกแบบระบบบริการ 2. เนน กระบวนการมสี วนรวมของผูป วยและ ญาตหิ รือ ผดู แู ลในการดแู ลผูปว ย (Delivery system design : รวมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ DSD) 3. บูรณาการการดูแลผูปวยตามวถิ ที างการดาํ เนนิ ของโรค (Trajectory of cancer) และการดแู ลผปู ว ยแบบองคร วม (Holistic care) องคประกอบที่ 3 4. มีการเชื่อมโยงสงตอขอมูลการดูแลผูปว ยในเครือขา ย การสนับสนุนการตดั สนิ ใจ 1. มรี ะบบการใหค าํ ปรึกษาและทมี พยาบาลเฉพาะทางดานสขุ ภาพจิต และจติ เวช (Decision support : DS) 2. มแี นวทางปฏบิ ัตใิ นการใหบ รกิ ารและการชวยเหลอื ตลอดจนการสง ตอ ไปยงั เครอื ขา ยการดแู ลแบบใกลบาน-ใกลใ จ องคป ระกอบท่ี 4 3. กระบวนการใหคาํ ปรกึ ษาทัง้ รายบคุ คลและรายกลมุ การจดั ระบบขอ มลู ทาง 4. สนบั สนุนการชว ยเหลอื กันระหวางผปู วย โดยกลมุ เพอื่ นชวยเพื่อน (Self-help group) คลินกิ 5. การใหขอ มลู สาํ หรับผปู ว ยโดยอยบู นพนื้ ฐานของหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ (Clinical Information (Evidence-based practice) system) 1. โรงพยาบาลมรี ะบบฐานขอ มลู และสามารถนําขอ มลู มาใชในการบรหิ าร จดั การแกไขปญหาและพฒั นางานการดูแลผปู ว ยไดอยา งมคี ณุ ภาพ 2. มกี ารเช่ือมโยงขอมลู อยา งเปนระบบและเรยี กใชขอ มูลไดท ันทว งที โดยเฉพาะขอ มลู ของผูปวยท่ีแพทยผ ูทําการรกั ษาตองดูประกอบเพื่อ การ พิจารณาการรักษาอยางตอ เนอ่ื ง 3. มีการเชอ่ื มโยงกับเครือขา ยของบริการสาธารณสุข ในการสงตอ ขอ มลู ผปู ว ยใหผูปว ยไดร บั การเขาถงึ บริการอยางรวดเร็ว 4. การจดั ระบบสือ่ สารสารสนเทศ ขอมลู ขา วสารขององคก ร ใหป ระชาชน ไดร ับทราบขอ มลู ขา วสารท่ีจาํ เปน ไดส ะดวกและทนั เหตุการณ 47

[วารสารวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท ่ี1 ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) องคป ระกอบ สรปุ ผลการศึกษา องคประกอบท่ี 5 1. จดั ใหช มุ ชนเขามามีสวนรว มในการดแู ลจัดการแกไขปญ หาสุขภาพของชมุ ชน ทรพั ยากรและนโยบายของ 2. การดูแลสภาพสงิ่ แวดลอ มของชมุ ชนใหก ารจัดสุขาภิบาลและสงผลตอ ชมุ ชน สุขภาพทดี่ ขี องคนในชุมชน (Community resource 3. การจัดกิจกรรมการดแู ลสขุ ภาพของคนในชมุ ชน เพอื่ เปน การลดการเกดิ linkage) ปญ หาสขุ ภาพ 4. ชมุ ชนรว มกันคนหา Health Need ของชมุ ชนเพ่อื วางแผนในการดาํ เนนิ องคประกอบท่ี 6 กจิ กรรมใหบรรลุตามเปาหมาย หนว ยบริการสขุ ภาพ 5. การสรา งเครือขา ยความรว มมอื ตา งๆเพ่ือชวยเหลอื สนบั สนุนการ (Health care organization) ดาํ เนนิ งานดานสุขภาพของชมุ ชน 1. พฒั นารูปแบบการดแู ลผูป วยโรคมะเรง็ ท่รี ับการรักษาดว ยรงั สรี กั ษาในชมุ ชน 2. การจดั การระบบทเ่ี ชือ่ มตอระหวา งโรงพยาบาลกับหนว ยบริการตางๆจนถึงชุมชน 3. มที มี ดแู ลผปู วยโรคมะเร็งทร่ี บั การรักษาดวยรังสีรักษาในชมุ ชน 4. มมี าตรฐานการดแู ลผูปว ยโรคมะเรง็ 5. ใชแนวคิดการดูแลผปู ว ยแบบองคร วมท้ังดานรา งกาย จิตใจ สงั คมและจติ วิญญาณ ขั้นตอนที่ 4 ผลลัพธการดําเนินงาน การดําเนินการพัฒนารูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวาง การรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน เมื่อนํามาปฏิบัติในการดูแลผูปวยมะเร็งที่รับการรักษาดวยรังสีรักษา ในชุมชน จํานวน 92 คน และสะทอนผลการปฏิบัติ 4 วงจรการปฏิบัติการ โดยไดประเมินคุณภาพชีวิต กอนและหลังการใชรูปแบบการพัฒนาที่สรางข้ึนพบวา คะแนนคุณภาพชีวิตหลังการพัฒนาการดูแล ผูปวยโรคมะเร็งระหวางการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน มีคาเฉล่ีย 86.05 ซ่ึงสูงกวากอนการ พฒั นาการดูแลท่ีมคี า เฉลย่ี 65.35 อยางมีนัยสาํ คัญทางสถิติที่ ระดบั .05 48

[วารสารวทิ ยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปที่1ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) สรปุ ผลการพัฒนา สรปุ ผลการพัฒนารูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวางรบั การรักษาดว ยรงั สีรกั ษาใน ชุมชน ภาพท่ี 4 สรุปผลการพัฒนารูปแบบการดแู ลผูปว ยโรคมะเรง็ ท่ีอยูร ะหวางรบั การรักษาดว ยรังสรี ักษา ในชุมชน การอภปิ รายผล การวิจัยเร่ืองเร่ืองการพัฒนารูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับการรักษาดวย รังสรี ักษาในชุมชน คณะผวู จิ ัยอภิปรายผลจากขอ คนพบตามลาํ ดบั วัตถปุ ระสงคข องการวิจัยดังน้ี 1. ผลการพฒั นารูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาใน ชุมชนโดยจากการศึกษาสถานการณ เพ่ือนํามาวิเคราะหพบขอมูลที่สะทอนถึงความตองการในการ พัฒนารูปแบบการดแู ลดงั น้ี รูปแบบการดูแลผูปวยกอนการพัฒนามีการดูแลผูปวยแบบแบงเปนสวน ๆ ทั้งผู ใหบริการในโรงพยาบาลเอง ผูปวย ผูดูแล เจาของกิจการบานพัก รวมถึงผูมีสวนเกี่ยวของในชุมชน คือ ดา นผปู ว ยยังไมตระหนักถึงอันตรายจากภาวะแทรกซอนจากโรคและการรักษา สงผลตอการปฏิบัติตัว ในการดูแลตนเองไมถูกตอง โดยเฉพาะเร่ืองการรับประทานอาหาร การสังเกตอาการผิดปกติตาง ๆ 49

[วารสารวิทยาศาสตรสขุ ภาพ วทิ ยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท ี่1 ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) เปนผลใหผูปวยเกิดปญหาสุขภาพทําใหการรักษาไมตอเนื่อง ดานครอบครัวและผูดูแลผูปวย พบวา มี บางคนใหการดูแลไมสอดคลองกับปญหาของผูปวย สวนชุมชนและเจาของบานพักยังขาดทักษะและ ความรใู นการใหความชว ยเหลอื ผปู วย ทางดา นบุคลากรผูใหบริการ พบวา ในการวางแผนการจําหนาย ยงั ไมค รอบคลมุ ประเดน็ และการวางแผนเพ่ือดูแลผูปวยเม่ือมีภาวะวิกฤติจากโรคมะเร็งจากบานพักใน ชมุ ชนยังไมช ดั เจน จากขอมูลที่ทําใหเห็นไดชัดถึงความตองการความเชื่อมโยงนําสูการพัฒนาผลการวิจัยใน คร้ังนี้ รูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งท่ีอยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน ประกอบดวย กลุมสําคัญในการดูแล 3 ดาน ไดแก 1) ผูปวยและครอบครัวหรือผูดูแลผูปวย มีเปาหมายและ แผนพัฒนาสุขภาพรวมกับทีมสหสาขาวิชาชีพ โดยบุคลากรทางการแพทยจะตองชวยกระตุน ใหขอมูล และเสริมทักษะการดูแลผปู วยโรคมะเร็งในดานตางๆ พรอมทั้งเสริมสรางความมั่นใจในการดูแลตนเอง ของท้ังตัวผูปวยเองและการดูแล ชวยเหลือจากครอบครัว/ผูดูแลผูปวย 2) ระบบบริการสุขภาพหรือ ทีมสหสาขาวิชาชีพ ควรเพิ่มการสนับสนุนการดูแลตนเองของผูปวยและครอบครัว จัดระบบและทีม บริการที่ดี โดยจัดระบบใหครอบคลุมผูมีสวนเกี่ยวของในการดูแลผูปวยทุกภาคสวน และมีการกํากับ ติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติการดูแลผูปวยโรคมะเร็งระหวางการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชนเปน ระยะ ๆ พรอมแกไขปรับปรุงตามความเหมาะสม รวมท้ังเพ่ิมเติมการสรางความตระหนักในชุมชนและ สรางความเชื่อมั่นในการดูแลตนเองใหกับผูปวยและผูดูแลผูปวย 3) ผูนําชุมชน หรือชุมชน และผูมีสวน เกี่ยวของในการดูแลผูปวยท้ังภาครัฐและภาคเอกชนใหการสนับสนุนดานทรัพยากร และสรางความ ตระหนักในชุมชน รวมทงั้ การสรางความเชื่อมั่นใหแกผ ูป ว ยโรคมะเรง็ ที่มาใชบ ริการบา นพกั ในชุมชน รูปแบบการดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน มี วัตถุประสงคเพื่อใหผูปวยและผูดูแล / ผูนําชุมชน / ชุมชนและผูมีสวนเกี่ยวของ และระบบบริการ สุขภาพหรือทีมสหสาขาวิชาชีพ ไดมีสวนรวมในการวางแผนดูแลรักษาผูปวยรวมกัน อยางครอบคลุม และตอ เนอื่ ง ระหวา งรบั การรักษาดวยรังสีประเภทผูปวยนอก และพักอาศัยในชุมชน มีองคประกอบใน การพัฒนารูปแบบการดูแล ไดแก ขั้นตอนการปฏิบัติในการดูแล โปรแกรมการใหขอมูลผูปวยมะเร็งที่ รับการรักษาดวยรังสี บัตรสําหรับการบันทึกขอมูลอาการของผูปวย และบัตรบันทึกรายละเอียดการ ฉายรงั สี 2. ผลลัพธของการนํารูปแบบที่พัฒนาแลวมาใชในการดูแลผูปวยโรคมะเร็งที่อยูระหวางรับ การรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชน จากการวิจัยพบวาผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับการดูแลโดยรูปแบบที่ พัฒนาข้ึน มีคะแนนคุณภาพชีวิตโดยภาพรวมคาเฉล่ีย 86.05 สูงกวากอนการพัฒนาการดูแลท่ีมี 50

[วารสารวิทยาศาสตรส ขุ ภาพ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท่ี1ฉบับท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) คา เฉล่ีย 63.35 สอดคลองกบั การศกึ ษาของ อรสา วัฒนศิริ และเสาวภา ศรีภูสัตตโต (2556) เก่ียวกับ การพัฒนากระบวนการดูแลตอเน่ืองผูปวยจิตเภทโดยทีมสหสาขาและเครือขายผูดูแล พบมีคะแนน คุณภาพชีวิตเพิ่มข้ึนคิดเปนรอยละ 95.70 และระดับคะแนนคุณภาพชีวิตกอนและหลังการพัฒนา แตกตา งกนั อยา งมนี ยั สาํ คัญทางสถิตทิ ีร่ ะดับ .05 จะเห็นไดวา การศกึ ษาการพฒั นารปู แบบที่ชวยสนบั สนนุ การดูแลผูปวยมะเร็งที่รับการรักษาดวย รังสีรักษาในชุมชน คือ การพัฒนากระบวนการดูแล และการวางแผนการจําหนายท่ีมีประสิทธิภาพ ผานการประเมินความรู ความเขาใจ และทัศนคติตอการรักษาโรคมะเร็งดวยรังสีรักษา มีการจัดทํา โปรแกรมใหความรูแกผูปวยทั้งในระยะกอน ระหวาง และหลังการรักษาดวยการฉายรังสีรักษา ตลอดจนการเตรียมความพรอมในระยะของการเปล่ียนผานทางภาวะสุขภาพเมื่อผูปวยจําหนายออก จากโรงพยาบาล นอกจากนี้การพัฒนาการดูแลตนเองของผูปวย/ครอบครัวผูดูแลผูปวย ในการ ชวยเหลือเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน สงเสริมใหผูปวยไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง รวมถึงการติดตาม กํากับ และประเมินผลโดยการเยี่ยมผูปวยท่ีบานพักเปนระยะ ๆ ซ่ึงสอดคลองกับการศึกษาของสมพงษ จันทร โอวาท สุภาพร สุโพธิ์และนวรัตน บุญนาน (2557) การพัฒนารูปแบบการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแล ผปู ว ยโรคเรือ้ รงั เพอื่ การสงตอขอมูล และผปู ว ยกับสถานบรกิ ารสุขภาพและเครอื ขาย รวมท้ังการติดตาม ดแู ลผูปวยตอเนื่องในชุมชน13 นอกจากน้ีการพัฒนาสรางระบบเครือขายในการใหการดูแลผูปวยโรคมะเร็ง (ใกลบาน-ใกลใจ) รว มกบั การจัดระบบใหคําปรึกษาทางโทรศัพทตลอด 24 ชั่วโมง ชวยใหผูปวยมีภาวะสุขภาพท่ีดีข้ึนและ การใหทุกภาคสวนท่ีมีความเก่ียวของเขามามีสวนรวมในการดูแลผูปวยมะเร็ง พบวา สามารถสงเสริม ใหผ ปู ว ยมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีขึ้น ซ่ึงสัมพันธกับการศึกษาของ อภญิ ญา ไชยวงศา ในป พ.ศ. 2555 ท่ีพบวา การใหญ าตหิ รือผูมสี วนเก่ยี วขอ งในการดแู ลผูปว ย เขามามสี ว นรว มในการดูแลรักษา จะสงผลใหทุกคน มคี ุณภาพชีวติ ทดี่ ี ทัง้ ทางดา นรางกาย จติ ใจ ครอบครัวและสงั คม14 ขอเสนอแนะ ในปจจุบันกระบวนการดูแลจากทีมสหสาขาวิชาชีพและภาคีเครือขายมีการสงเสริมและ สนับสนุนใหผูปวยมะเร็งที่อยูระหวางรับการรักษาดวยรังสีรักษาในชุมชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน แตใน มุมมองของทีมสุขภาพ ยังมีอีกหลายประเด็นท่ีควรจะพัฒนา ใหสอดคลองกับวิถีชุมชนและแผน นโยบายการบริหารของท้ังโรงพยาบาล ชุมชน รวมทั้งเจาของกิจการบานพัก จึงตองมีการประสาน ความรวมมือกับหลายภาคสวน สงผลตอความเขาใจกันและกัน ทราบปญหาและความตองการที่ แทจริงของผูปวยโรคมะเร็ง ลดชองวางในการไดรับการบริการ และความขัดแยงตาง ๆ ที่มีได ดังน้ัน 51

[วารสารวทิ ยาศาสตรสขุ ภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสิทธปิ ระสงค] ปท ่ี1 ฉบบั ท1่ี (มกราคม-เมษายน2560) การนาํ ผลการวิจัยไปสูก ารกาํ หนดนโยบายนบั วา เปนการวจิ ัยท่มี ีคณุ คา และกอใหเกิดผลของการพัฒนา ทย่ี ่ังยนื รวมถงึ การขยายผลไปยงั กลมุ เปา หมายที่ประสบปญหาคลายคลึงกัน และจุดประกายความคิด สําหรับพ้ืนที่ที่มีปญหาคลายคลึงกันในการนําไปปฏิบัติในการดูแลผูปวยมะเร็งที่รับการรักษาดวยรังสี รกั ษาในชมุ ชน และเม่อื กลับไปอยบู าน เอกสารอา งองิ 1. World Health Organization and International Union Against Cancer. Global Action Against Cancer. Geneva: World Health Organization; 2005. 2. Woods,N.F., Lewis, F.M., & Ellison, E.S. Living with cancer family experiences. Cancer Nursing; 1989: 12(1): 28-33. 3. สมเกียรติ โพธิสตั ย. การทบทวนวรรณกรรม: สถานการณป จ จุบันและรูปแบบการบรกิ ารดาน โรค ไมต ดิ ตอ เรือ้ รัง. สถาบนั วิจัยและประเมินเทคโนโลยที างการแพทย; 2557. 4. American Cancer Society. Type of Cancer Treatment. 2017. Retrieved 15/02/2017. From http://www.org> treatment 5. วงจนั ทร เพชรพิเชฐเชยี ร. การพยาบาลที่เปนเลิศในการดแู ลผูปวยโรคมะเรง็ . บทที่ 3 คณุ ภาพ ชีวติ ผปู ว ย โรคมะเร็ง, บทที่ 4 อาการและการจัดการกบั อาการในผูป ว ยโรคมะเร็ง. สงขลา : ชานเมือง การพิมพ ; 2554 : 79-220. 6. ณัฎฐชา เจยี รนลิ กุลชัย และสายหยุด เถาลัดดา. การพยาบาลผูปวยมะเร็งสมองทุติยภูมิท่ีไดรับการ รกั ษาดว ยรงั สี.วารสารพยาบาลสงขลานครนิ ทร. 2559; 36(4):209-222. 7. Pawel B. & Maria Z. Social support of chronically mentally ill patients. 2008. 2: 13–19. Retrieved 06/06/2013. From http://www.archivespp.pl/uploads/ images/2008_10_2/13_p_Archives%202_08.pdf 8. อรสา วฒั นศริ ิ และเสาวภา ศรีภูสิตโต. การพัฒนากระบวนการดูแลตอเน่ืองผูปวยจิตเภทโดยทีมสห สาขาและเครือขายผูดูแล โรงพยาบาลกําแพงเพชร. วารสารกองการพยาบาล. 2556, 40(1), 67- 83. 9. Kemis, S & Mc Taggart,R. The Action Research Planer. 3rd ed. Victoria: Deakin Univversity. 1990. 10. บุญชม ศรสี ะอาด. การวจิ ยั เบ้อื งตน . พมิ พคร้งั ท่ี 8. กรงุ เทพฯ; สวุ รี ยิ าสาสน; 2543: 36-42 52

[วารสารวิทยาศาสตรส ุขภาพ วิทยาลยั พยาบาลบรมราชชนนี สรรพสทิ ธปิ ระสงค] ปท ่ี1ฉบับท1ี่ (มกราคม-เมษายน2560) 11. Wagner EH, Davis C, Schaefer J, Von Korff M, Austin B. “A Survey of Leading Chronic Disease Management Programs: Are They Consistent with the Literature?”. Managed Care Quarterly. 1999; 7(3):56–66.[PubMed] 12. Wagner EH, Austin BT, Davis C, Hindmarsh M, Schaefer J, Bonomi A. Improving chronic illness care: translating evidence into action. Nov-Dec 2001; 20(6):64-78. 13.สมพงษ จนั ทรโ อวาท สภุ าพร สุโพธแ์ิ ละนวรัตน บญุ นาน. การพฒั นารูปแบบการมสี ว นรวมของชุมชนใน การดแู ลผปู ว ยโรคเรอื้ รงั : กรณีศกึ ษาเครือขายบรกิ ารสขุ ภาพแกดาํ จังหวดั มหาสารคาม. วารสารวิชาการสาธารณสขุ ; 2557, 23(3): 394-402. 14. อภิญญา ไชยวงศา. ผลของการใชโครงการสนบั สนนุ การมคี ณุ ภาพชีวติ ท่ดี ีของสมาชิกในครอบครัวผูป วย ระยะสุดทาย โรงพยาบาลนครพิงค จังหวัดเชียงใหม. วทิ ยานพิ นธศกึ ษาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาการ สงเสริมสขุ ภาพ บณั ฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชยี งใหม; 2555. 53