Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Description: 024

Search

Read the Text Version

มลิ ินทปญหา นมสั การ พระผมู ีพระภาคเจา ผูเปน พระอรหนั ต สมั มาสมั พุทธะพระองคนนั้ . อารมั ภคาถา พระเจา แผน ดินในสาคลราชธานี อนั ทรงพระนามวา มิลนิ ท ไดเ สด็จไป หาพระนาคเสน, เหมือนนาํ้ ในคงคาไหลไปสมู หาสมทุ ร ฉะนั้น. ครน้ั พระองค เสด็จถงึ แลวไดตรัสถามปญ หาอนั ละเอียด ในเหตุที่ควรและไมค วรเปน อัน มาก กะพระนาคเสน ซ่ึงเปน ผกู ลา วแกไพเราะ มปี ญญาสามารถทีจ่ ะบรรเทา ความหลง ดุจสอ งคบเพลงิ บรรเทามืดเสียฉะนัน้ ท้ังคาํ ปจุ ฉาและวสิ ัชนาลว น อาศยั อรรถอันลึกซง้ึ นา เปนที่พงึ ใจและใหเ กดิ สขุ แกโ สตประสาท เปน อัศจรรยใ หชูชนั โลมชาตขิ องผูสดบั . ถอ ยคาํ ของพระนาคเสนเถรเจา ไพเราะ โดยอปุ มาและนยั หยงั่ ลงในพระอภธิ รรมและพระวนิ ัย ประกอบดว ยพระสตู ร. ขอทานทงั้ หลายจงสง ญาณไปทาํ อัธยาศยั ใหรา เรงิ ยนิ ดี ในกถามรรค น้นั แลว, จงสดบั ปญ หาซงึ่ เปน เคร่ืองทาํ ลายเหตุทตี่ ้ังแหง ความสงสัย อยา ง ละเอยี ดนเี้ ทอญ. พาหิรกถา คาํ ทไี่ ดกลาวนนั้ เปนฉนั ใด ? ดังไดส ดับสบื ๆ กนั มาวา ยงั มรี าชธานี หนงึ่ ช่อื วา สาคลนคร เปนที่ประชมุ แหง การคา ขาย, เปนทเ่ี ปด หอหบี สนิ คา ตา ง ๆ ออกจาํ หนา ยของชนชาวโยนก, เปนภูมปิ ระเทศทีน่ า สนกุ ยนิ ด,ี มแี มน ้าํ และภูเขาประดับใหง ดงาม, สมบูรณดว ยสวนไมมีผล ไมม ีดอก, ปา ละเมาะ คลองนํ้าและสระโบกขรณี, เปนทนี่ า สนุกดวยแมน า้ํ ภูเขาและปา ไม อนั พระเจา สุตวันตบ รมราชทรงสรา งไวเ ปน ทปี่ อ งกันหมูป จ จามิตรไมใหเขา ไป เบียดเบียนได; มีปอมปราการมน่ั วจิ ติ รอยา งตาง ๆ, มหี อรบและประตูอนั มั่น คง, มคี ูลึก, มกี าํ แพงโบกปนู ขาวลอมรอบพระราชวงั , มถี นนหลวงและสนาม, ทางส่ีแยก สามแยก, จําแนกปนเปน ระยะพอเหมาะด;ี มีตลาดเต็มดว ยสิ่งของ เคร่ืองใชอยางดีหลายอยา งตาง ๆ ท่ตี ง้ั ขาย, มีโรงทานตา ง ๆ อยา งหลายรอ ย หลังประดบั ใหง ดงาม; อรามดว ยยอดเรือนหลายแสนหลงั ดังยอดแหง เขา

หมิ าลยั ประดบั แลว , เกลือ่ นกลน ดว ยพลชา งมา รถและทหารเดนิ เทา , มหี มู ชายหญิงทมี่ รี ปู งามเทีย่ วเดนิ สลอน, เกลือ่ นกลน ดว ยหมคู น, มีชนทีเ่ ปน ชาตกิ ษัตรยิ  ชาติพราหมณ ชาติแพศย ชาตศิ ูทร เปนอนั มากหลายชนดิ , มีหมู สมณพราหมณตาง ๆ เพศตา ง ๆ วงศเบยี ดเสียดกัน, เปนท่ีอนั คนมวี ชิ ชา ความรูแ ละผกู ลา หาญ อยอู าศยั แลวเปน อนั มาก; สมบรู ณดว ยรา นขายผา อยา งตา ง ๆ : มผี า ทท่ี อในเมอื งกาสแี ละผา ท่ที อในเมอื งกฏุ มพรเปน ตน , หอม ตลบดว ยกลนิ่ หอม ท่ฟี งุ ไปจากรานขายดอกไมหอมและเครอ่ื งหอมหลาย อยางทงี่ ดงาม และออกเปน ระยะอันด;ี บรบิ รู ณดว ยรัตนะท่คี นปรารถนาเปน อันมาก, มีหมพู อ คา ทมี่ ัง่ คง่ั ซงึ่ ตัง้ หางขายของในประเทศใหญใ นทิศนน้ั ๆ เท่ียวอยสู ลอน, บรบิ รู ณด ว ยกหาปณะเงนิ ทองโลหะและเพชรพลอย, เปนทอ่ี ยู แหง แรซ่ึงเปน ขมุ ทรัพยอนั สกุ ใส มีธัญญาหารและเคร่อื งมอื สาํ หรับทีเ่ ปน อุปการใหเ กดิ ทรพั ยสมบตั ิ เปน อนั มาก, มคี ลังและฉางเตม็ บรบิ รู ณ, มีขา วนา้ํ และขัชชะโภชชาหารของควรด่มื ของควรจบิ ควรลิ้มมากอยา ง, สมบรู ณดว ย ธญั ญาหารดุจกุรุทวีป, (ประกอบดว ยสมบตั ิเห็นปา นน)ี้ เหมอื นเมอื งสวรรค อันมนี ามวา อาฬกมันทาเทพนคร. ควรหยดุ ไวเพยี งเทานี้ แลว กลาวบุรพกรรมของพระเจา มลิ ินทและพระ นาคเสนกอ น, กเ็ มื่อกลา วควรแบง กลาวเปน หกภาค: คือ บรุ พกรรมหนึ่ง, มลิ ิ นทปญหาหนงึ่ , ลกั ขณปญ หาหนง่ึ , เมณฑกปญหาหนง่ึ , อนมุ านปญหาหนงึ่ , โอปม มกถาปญ หาหนง่ึ . ในปญ หาเหลา นนั้ : มิลนิ ทปญ หามสี องอยา ง: คือ ลักขณปญหาหนง่ึ , วมิ ติจเฉทนปญ หาหนง่ึ แมเ มณฑกปญ หากม็ ีสองอยา ง: คอื มหาวรรคหนง่ึ , โยคิกถาปญหาหนง่ึ บรุ พกรรมของพระเจา มลิ นิ ทแ ละพระนาคเสนนน้ั ดงั น:้ี ดังไดสดบั มา ในอดตี กาล เม่ือคร้ังพระศาสนาแหง พระกสั สปผูม พี ระภาคเจา ยงั เปน ไปอยู, ภิกษสุ งฆห มูใหญไดอ าศยั อยูใ นอาวาสใกลแ มนํา้ คงคาแหงหนง่ึ . ในภิกษสุ งฆ หมูนน้ั ภกิ ษทุ ถี่ ึงพรอมดว ยวตั รและศีลลกุ ขน้ึ แตเชาแลว , ถือไมก ราดไปกวาด ลานอาวาสพลาง ระลึกถงึ พุทธคุณพลาง กวาดหยากเย่อื รวมไวเ ปน กองแลว ; ภกิ ษุรปู หนงึ่ ใชสามเณรรูปหนงึ่ วา \"ทา นจงมานําหยากเยื่อนี้ไปทงิ้ เสยี .\"

สามเณรรูปนนั้ แกลง ทาํ ไมไ ดยินเดนิ เฉยไปเสยี , แมภ ิกษุนน้ั รอ งเรียกถึงสอง คร้งั สามคร้งั กแ็ กลงทาํ ไมไ ดยนิ เดินเฉยไปเสีย เหมือนอยา งนัน้ . ภกิ ษุนนั้ ขดั ใจวา \"สามเณรผูน ้ีวา ยาก.\" จึงเอาคนั กราดตสี ามเณรนน้ั . สามเณรนน้ั มคี วามกลัว, รอ งไหพลางขนหยากเยอื่ ไปทง้ิ พลาง, ไดตัง้ ความปรารถนาเปน ประถมวา \"ดว ยบุญกรรมท่ีเราไดกระทาํ เพราะทง้ิ หยากเยอื่ นี้ ขอเรามีศกั ดา เดชานภุ าพใหญ เหมือนดวงอาทิตยในเวลาตะวนั เทย่ี ง ในสถานท่ีเราเกิด แลว ๆ กวา จะบรรลุพระนพิ พานเถดิ .\" ครั้นทงิ้ หยากเยอ่ื เสรจ็ แลว ไปอาบนา้ํ ที่ ทานาํ้ , เหน็ กระแสคลืน่ ในแมน ํา้ คงคาไหลเชยี่ วเสยี งดังดจุ สูบ, จงึ ตง้ั ความ ปรารถนาเปน ครั้งทีส่ องวา \"ขอเรามปี ญญาวอ งไวไมสนิ้ สุดดุจกระแสคลื่นแหง แมนํา้ คงคาน้ี ในสถานท่ีเราเกดิ แลว ๆ กวาจะบรรลุพระนพิ พานเถิด.\" ฝายพระภกิ ษนุ ั้น เก็บกราดไวใ นศาลาสําหรับเกบ็ กราดแลว, เมื่อไป อาบนา้ํ ทท่ี านา้ํ , ไดฟงความปรารถนาของสามเณรแลว , คิดวา \"สามเณรนนั่ เราใชแลวยังปรารถนาถงึ เพยี งนกี้ อน, ถา เราตั้งความปรารถนาบาง เหตไุ ฉน ความปรารถนานนั้ จักไมสาํ เรจ็ แกเรา;\" จงึ ตั้งความปรารถนาบา งวา \"ขอเรามี ปญ ญาไมสนิ้ สดุ ดุจกระแสคลืน่ แหง แมน าํ้ คงคาน,้ี ขอเราสามารถจะแกไข ปญ หาที่สามเณรผนู ีถ้ ามแลว ๆ ทกุ อยา ง, ในสถานทเ่ี ราเกิดแลว ๆ กวาจะ บรรลุถึงพระนพิ พานเถดิ .\" ภกิ ษแุ ละสามเณรสองรูปนนั้ ทองเทย่ี วอยูในเทวดาและมนษุ ยส น้ิ พุทธนั ดรหน่งึ แลว. แมพ ระผมู ีพระภาคเจา ของเราทง้ั หลาย ไดทอดพระเนตร เห็นดว ยพระญาณ, เหมือนไดท อดพระเนตรเหน็ พระโมคคัลลีบตุ รติสสเถระ, ไดทรงพยากรณไ วว า \"เมอ่ื เราปรินพิ พานลว งไปไดห ารอยป ภิกษสุ ามเณรสอง รูปน้นั จกั เกิดขน้ึ แลว , จักจาํ แนกธรรมวนิ ัยทเี่ ราไดแสดงใหสุขมุ ละเอียดแลว, กระทาํ ใหเ ปน ศาสนธรรมอันตนสะสางไมใ หฟ น เฝอ แลว ดว ยอํานาจถาม ปญ หาและประกอบอุปมา.\" ในภิกษสุ ามเณรสองรูปน้ัน สามเณรไดม าเกดิ เปน พระเจา มลิ นิ ทใ น สาคลราชธานี ในชมพทู วปี , เปน ปราชญเ ฉยี บแหลม มพี ระปญ ญาสามารถ, ทราบเหตุผลทงั้ ทล่ี วงไปแลว ทั้งท่ยี งั ไมม าถงึ ทง้ั ทเ่ี ปน อยใู นบัดนนั้ ; ในกาล เปน ทจี่ ะทรงทาํ ราชกิจนอ ยใหญ ไดท รงใครค รวญโดยรอบคอบ, แลว จึงไดท รง

ประกอบราชกจิ ทจี่ ะตอ งประกอบ จะตอ งจัด จะตองกระทาํ ; และไดทรง ศกึ ษาตําหรบั วิทยาเปน อนั มาก ถึงสบิ เกา อยา ง: คอื ไตรเพทคัมภรี พราหมณ วิทยาในกายตวั วทิ ยานบั วทิ ยาทาํ ใจใหเ ปนสมาธิ พระราชกาํ หนดกฎหมาย วิทยาท่รี ธู รรมดาท่ีแปลกกนั แหงสภาพนนั้ ๆ วิทยาทาํ นายรา ยและดี วทิ ยา ดนตรขี ับรอง วิทยาแพทย วทิ ยาศาสนา ตาํ หรับพงศาวดาร โหราศาสตร วิทยาทําเลห ก ล วทิ ยารูจกั กาํ หนดเหตผุ ล วทิ ยาคดิ ตาํ หรบั พชิ ัยสงคราม ตาํ รากาพย วทิ ยาทายลักษณะในกาย และภาษาตา ง ๆ, พอพระหฤทยั ในการ ตรัสไลเ ลยี งในลัทธติ าง ๆ ใคร ๆ จะโตเ ถยี งไดโ ดยยาก ใคร ๆ จะขม ใหแ พไ ด โดยยาก ปรากฏเปน ยอดของเหลา เดยี รถยี เ ปนอนั มาก. ในชมพทู วปี ไมม ีใคร เสมอดว ยพระเจามิลนิ ท ดวยเรย่ี วแรงกาย ดว ยกาํ ลังความคดิ ดว ยความกลา หาญ ดว ยปญ ญา. พระเจา มลิ ินทน น้ั ทรงมงั่ คั่งบรบิ รู ณดว ยราชสมบรู ณ, มี พระราชทรัพยแ ละเครอ่ื งราชปู โภคเปน อนั มากพนทีจ่ ะนบั คณนา, มพี ล พาหนะหาทส่ี ดุ มไิ ด. วนั หนง่ึ พระเจา มิลนิ ทเ สดจ็ พระราชดําเนนิ ออกนอกพระนครดว ยพระ ราชประสงคจ ะทอดพระเนครขบวนจตรุ งคนิ ีเสนา อนั มพี ลพาหนะหาทส่ี ดุ มไิ ด ในสนามทีฝ่ ก ซอม, โปรดเกลา ฯ ใหจ ดั การฝก ซอมหมูเสนาทภ่ี ายนอก พระนครเสร็จแลว , พระองคพ อพระหฤทยั ในการตรสั สงั สนทนาดว ยลทั ธิ นัน้ ๆ , ทรงนยิ มในถอ ยคาํ ของมหาชนที่เจรจากนั ซ่งึ อา งคมั ภรี โลกายต ศาสตรและวติ ณั ฑศาสตร, ทอดพระเนตรดวงอาทิตยแ ลว, ตรสั แกห มูอมาตย วา \"วันยงั เหลอื อยมู าก, เด๋ยี วน้ี ถา เรากลับเขาเมอื งจะไปทาํ อะไร; มีใครท่เี ปน บณั ฑติ จะเปน สมณะก็ตาม พราหมณก็ตาม ท่ีเปน เจา หมูเจาคณะเปน คณาจารย แมป ฏิญาณตนวา เปนพระอรหนั ตผ ูรูชอบเอง ที่อาจสังสนทนากับ เราบรรเทาความสงสยั เสยี ไดบ างหรอื ?\" เมื่อพระเจา มลิ นิ ทตรสั ถามอยางนี้ แลว, โยนกอมาตยห า รอ ยไดกราบทลู วา \"ขาแตพ ระองคผ เู ปน มหาราชเจา, มี ศาสดาอยูหกทา น: คือ ปูรณกัสสป, มักขลโิ คศาล, นิครนถนาฏบตุ ร, สญั ชยั เวลฏั ฐบุตร, อชิตเกสกมั พล, ปกธุ กจั จายนะ, ไดเปน เจา หมเู จา คณะ เปน คณาจารย เปน คนมชี ือ่ เสยี งปรากฏ มีเกียรตยิ ศวา เปน ดติ ถกร คือ ผสู อนลทั ธิ แกประชุมชน; คนเปน อันมากนับถือวามลี ทั ธอิ นั ด.ี ขอพระองคเสด็จพระราช ดําเนนิ ไปสูสํานักของทา นทงั้ หกนน้ั แลวตรสั ถามปญ หาบรรเทากงั ขาเ สยี เถิด.\"

คร้ันพระองคไ ดทรงสดบั อยา งน้ีแลว จงึ พรอ มดว ยโยนกอมาตยห า รอย หอมลอ มเปน ราชบรวิ าร ทรงรถพระที่นงั่ เสด็จพระราชดาํ เนนิ ไปยังสาํ นกั ปรู ณกสั สป, ทรงปฏสิ นั ถารปราศรยั กับปรู ณกัสสปพอใหเ กดิ ความยินดแี ลว , ประทับ ณ สถานทส่ี วนขางหนง่ึ แลว ตรสั ถามวา \"ทานกสั สป, อะไรรกั ษาโลก อยู ?\" ปูรณกัสสปทลู ตอบวา \"แผนดินแล, มหาราชเจา , รักษาโลกอย.ู \" พระเจา มลิ ินทจ ึงทรงยอ นถามวา \"ถา แผน ดนิ รกั ษาโลกอยู, เหตุไฉน สตั วท ไ่ี ป สูอเวจนี รกจึงลว งแผน ดนิ ไปเลา ?\" เมือ่ พระเจามิลนิ ทตรัสถามอยา งนแ้ี ลว; ปูรณกัสสปไมอ าจฝน คํานนั้ และไมอาจคืนคําน้นั , นงั่ กมหนา นง่ิ หงอยเหงา อยู. ลําดบั นน้ั จงึ เสด็จพระราชดาํ เนนิ ไปยังสาํ นกั มกั ขลิโคศาลแลว , ตรสั ถามวา \"ทา นโคศาล, กศุ ลกรรมและอกุศาลกรรมมหี รอื , ผลวบิ ากแหง กรรมท่ี สตั วท าํ ดีแลวและทําชว่ั แลวมหี รอื ?\" มกั ขลิโคศาลทลู ตอบวา \"ไมม,ี มหาราชเจา . ชนเหลา ใดเคยเปน กษัตรยิ อ ยใู นโลกน,้ี ชนเหลา นนั้ แมไปสปู รโลกแลวก็จกั เปน กษัตริยอ กี เทียว; ชนเหลา ใดเคยเปน พราหมณ, เปนแพศย, เปนศูทร, เปน จัณฑาล, เปนปุกกุ สะ, อยูในโลกน,ี้ ชนเหลา นนั้ แมไปสปู รโลกแลว กจ็ ักเปน เหมือนเชน นน้ั อีก: จะ ตองการอะไรดว ยกศุ ลกรรมและอกศุ ลกรรม.\" พระเจามลิ นิ ทท รงยอนถามวา \"ถา ใครเคยเปนอะไรในโลกนี้ แมไป สปู รโลกแลวกจ็ ักเปนเหมือนเชนนน้ั อกี , ไมมกี ิจทจ่ี ะตอ งทาํ ดว ยกศุ ลกรรม และอกุศลกรรม; ถาอยา งนน้ั ชนเหลา ใดเปน คนมมี อื ขาดกด็ ี มเี ทา ขาดกด็ ี มี หูและจมูกขาดกด็ ี ในโลกน,้ี ชนเหลานนั้ แมไ ปปรโลกแลว กจ็ กั ตองเปน เหมอื น เชน นน้ั อกี นะซิ ?\" เมอ่ื พระเจา มิลินทตรัสถามอยางนแี้ ลว มักขลโิ คศาลก็นิ่ง อ้ัน. คร้ังนน้ั พระเจา มลิ นิ ทท รงพระราชดาํ รวิ า \"ชมพทู วีปนีว้ า งเปลาทีเดยี ว หนอ, ไมมีสมณะพราหมณผ ูใดผหู นง่ึ ซง่ึ สามารถจะเจรจากับเรา บรรเทา

ความสงสัยเสยี ได\" คนื วันหน่งึ ตรัสถามอมาตยท ง้ั หลายวา \"คนื วนั น้เี ดอื น หงายนา สบายนกั , เราจะไปหาสมณะหรอื พราหมณผไู รดหี นอ เพ่ือจะไดถ าม ปญ หา ? ใครหนอสามารถจะเจรจากับเรา บรรเทาความสงสัยเสยี ได ?\" เมื่อ พระเจา มลิ นิ ทต รสั อยา งน้ีแลว อมาตยท ง้ั หลายไดย นื นิ่งแลดพู ระพักตรอ ยู. สมัยนน้ั สาคลราชธานไี ดว า งเปลา จากสมณะพราหมณ และคฤหบดี ที่เปนปราชญถ ึงสิบสองป เพราะพระเจามลิ ินทไ ดท รงสดับวา ในทีใ่ ดมสี มณะ พราหมณห รือคฤบดีท่ีเปน ปราชญ, ก็เสด็จพระราชดาํ เนนิ ไป, ตรสั ถามปญ หา กบั หมูปราชญใ นทนี่ นั้ ; หมปู ราชญท ัง้ ปวงน้ันไมสามารถจะวสิ ชั นาปญหา ถวายใหท รงยนิ ดไี ด, ตา งคนก็หลกี หนไี ปในที่ใดทห่ี นึง่ , ผทู ี่ไมหลกี ไปสทู ิศอืน่ ตา งคนกอ็ ยนู งิ่ ๆ. สวนภกิ ษทุ งั้ หลายไปสปู ระเทศหมิ พานตเสยี โดยมาก. สมยั นนั้ พระอรหนั ตเจา รอ ยโกฏิ (?) อาศัยอยูท ีพ่ นื้ ถาํ้ รกั ขติ คหุ า ณ เขาหมิ พานต. ในกาลนน้ั พระอสั สคุตตเถรเจาไดสดับพระวาจาแหง พระเจา มิลินทดว ยทพิ ยโสต (คือ หูทไี่ ดยนิ เสียงไกลไดดจุ หเู ทวดา) แลว, จึงนดั ให ภิกษสุ งฆประชมุ กัน ณ ยอดเขายคุ นั ธรแลว , ถามภกิ ษทุ ง้ั หลายวา \"อาวุโส, มี ภิกษอุ งคไดสามารถจะสังสนทนากับพระเจา มลิ นิ ท นาํ ความสงสัยของเธอ เสยี ไดบ างหรอื ไม ?\" เมอื่ พระเถรเจา กลาวถามอยา งนแ้ี ลว พระอรหนั ตเ จา รอ ยโกฏิน้นั กพ็ ากนั นงิ่ อย.ู พระเถรเจา ถามอยา งนน้ั ถงึ สองครง้ั สามครัง้ ตาง องคก ็นง่ิ เสยี เหมือนอยา งนน้ั . พระเถรเจา จงึ กลา ววา \"อาวโุ ส, ในดาวดงึ สพภิ พพมิ านชอ่ื เกตุมดมี ีอยู ขา งปราจนี ทศิ (ตะวนั ออก) แหงไพชยนั ตปราสาท, เทพบุตรช่ือมหาเสนได อาศัยอยูในทพิ ยพมิ านนน้ั , เธอสามารถจะสงั สนทนากบั พระเจามิลนิ ทนาํ ความสงสัยของเธอเสียได. \" ลาํ ดับนนั้ พระอรหันตเจารอ ยโกฏินนั้ จงึ หายพระองคจากเขายคุ ันธร ไปปรากฏขนึ้ ในดาวดงึ สพภิ พ. ทา วศักรนิ ทรเทวราช ไดท อดพระเนตรเหน็ ภกิ ษทุ ้งั หลายนน้ั มาอยูแต ไกล, จึงเสดจ็ เขา ไปใกล, ทรงถวายอภวิ าทพระอัสสคุตตเถรเจาแลว, ประทับ ยืน ณ ทีค่ วรสวนขา งหนงึ่ เปน การแสดงความเคารพแลว , ตรัสถามวา \"พระ

ภิกษสุ งฆพ ากนั มาถงึ ท่นี เ่ี ปน หมูใ หญ. ขา พเจา ไดถ วายตัวเปนอารามกิ บรุ ษุ (คนกระทาํ กจิ ธุระในพระอาราม) ของพระภกิ ษุสงฆไวแ ลว. ทา นจะประสงค ใหขา พเจา กระทาํ กิจอะไรหรอื ?\" พระเถรเจา จึงถวายพระพรวา \"ดูกอนมหาราช, ในชมพทู วีปมพี ระเจา แผน ดินในสาคลราชธานีพระองคห นง่ึ ทรงพระนามวาพระเจา มิลนิ ท, เปนคน ชางตรัสซกั ถามดวยขอ ความในลทั ธินน้ั ๆ, อนั ใคร ๆ จะโตต อบครอบงาํ ให ชํานะไดโ ดยยาก; เขากลาวยกวา เปนยอดของเดียรถียเ จา ลัทธเิ ปนอนั มาก. เธอเสดจ็ เขา ไปหาภกิ ษุสงฆแ ลว, ตรสั ถามปญหาดวยวาทะปรารภทฏิ ฐิ นน้ั ๆ, เบยี ดเบยี นภกิ ษสุ งฆใ หล ําบาก.\" ทาวศกั รนิ ทรเทวราช ตรัสบอกพระเถรเจา วา \"ขาแตพระผเู ปนเจา , พระเจา มลิ ินทน นั้ จุตไิ ปเกิดในมนษุ ยโลกจากทนี่ ี้เอง. เทพบุตรช่ือมหาเสนซงึ่ อยูในพมิ านชอื่ เกตุมดนี นั่ แน สามารถจะสงั สนทนากบั พระเจามิลนิ ทน ้ัน นาํ ความสงสัยของเธอเสยี ได. เราจงมาพากนั ไปออนวอนขอใหเ ธอไปเกิดใน มนุษยโลกเถดิ .\" ครั้นตรสั อยางนีแ้ ลว , เสด็จตามพระภกิ ษสุ งฆไ ปถงึ เกตมุ ดี พมิ านแลว , ทรงสวมกอดมหาเสนเทพบุตรแลว , ตรสั วา \"แนะเจา ผนู ริ ทกุ ข, พระภิกษสุ งฆท า นออนวอนขอใหเจาลงไปเกดิ ในมนษุ ยโลก.\" มหาเสนเทพบตุ รทูลวา \"ขา พระองคไ มพอใจมนษุ ยโลกทม่ี กี ารงาน มากนกั , มนุษยโลกนนั้ เขม งวดนัก. ขา พระองคจะเกดิ สบื ๆ ไปในเทวโลกนี้ เทานัน้ กวาจะปรนิ พิ พาน.\" ทา วศกั รินทรเทวราชตรัสออ นวอนถงึ สองครงั้ สามครงั้ ; เธอก็มไิ ดท ลู รบั เหมอื นดงั นน้ั . พระอัสสคตุ ตเถรเจาจงึ กลาวกะมหาเสนเทพบุตรวา \"ดกู อ นทา นผู นริ ทุกข, เราทง้ั หลายไดเ ลอื กตรวจดตู ลอดทัว่ มนษุ ยโลก ทง้ั เทวโลก; นอกจาก ทา นแลวไมเ หน็ ใครอ่ืน ทีส่ ามารถจะทําลายลา งทฏิ ฐขิ องพระเจามลิ ินทแ ลว ยกยอ งพระศาสนาไวไ ด. ภิกษสุ งฆจ งึ ไดอ อ นวอนทา น. ขอทานผูสัตบรุ ษุ จง ยอมไปเกดิ ในมนุษยโลกแลว , ยกยอ งพระศาสนาของพระทศพลเจา ไวเ ถิด.\"

เม่ือพระเถรเจา กลาวออ นวอนอยา งนี้แลว; มหาเสนเทพบตุ รทราบวาเธอผู เดียวเทานน้ั จกั สามารถทาํ ลายลา งทิฏฐิของพระเจา มิลนิ ทแลว , ยกยอง พระศาสนาไวไ ด; จงึ มใี จยินดชี ่นื บาน, ไดถวายปฏิญาณรบั วาจะลงไปเกิดใน มนษุ ยโลก. คร้นั ภิกษทุ งั้ หลายนน้ั จัดกจิ ทีจ่ ะตองทํานน้ั ในเทวโลกเสรจ็ แลว , จงึ อันตรธานจากดาวดึงสพิภพ มาปรากฏ ณ พื้นถา้ํ รักขิตคหู าท่ีเขาหมิ พานต แลว ; พระอสั สคตุ ตเถรเจา จึงถามพระภกิ ษสุ งฆว า \"อาวุโส, ในภกิ ษุสงฆหมนู ้ี มภี กิ ษอุ งคใดไมไดมาประชมุ บา ง.\" ภกิ ษอุ งคห นึง่ เรยี นพระเถรเจา วา \"ภกิ ษุท่ไี มไ ดมาประชมุ มีอยู คอื พระ โรหณะผูมีอายไุ ปสเู ขาหิมพานต เขา นโิ รธสมาบัติไดเจด็ วนั เขาวนั น้แี ลว . ขอ พระเถรเจา จงใชทูตไปเรียกเธอมาเถิด.\" ขณะน้นั พระโรหณะผมู อี ายอุ อกจากนโิ รธสมาบัติแลว, ทราบวา พระ สงฆใ หห าทา น, จึงอนั ตรธานจากเขาหิมพานต, มาปรากฏขางหนา แหง พระ อรหันตเ จารอยโกฏิ ณ พน้ื ถาํ้ รักขติ คูหา. พระอัสสคตุ ตเถรเจาจงึ มวี าจาถามวา \"ดกู อ นโรหณะผมู อี าย,ุ เหตุไฉน เม่ือพระพทุ ธศาสนาทรุดโทรมลงถงึ เพยี งน,้ี ทา นจึงไมช ว ยดูแลกิจทส่ี งฆจะ ตองทาํ ?\" ทานเรยี นตอบวา \"ขาแตพ ระเถรเจา , ขอนนั้ เปน เพราะขาพเจาไมไ ด มนสิการทาํ ในใจ.\" จึงพระเถรเจาปรบั โทษวา \"ถา อยา งนน้ั ทา นจงทาํ ทัณฑกรรมรับปรับ โทษเสยี เถดิ .\" ทานเรยี นถามวา \"ขา แตพระเถรเจา ขา พเจา จะตองทาํ ทณั ฑกรรม

อะไร ?\" พระเถรเจา จงึ บังคบั วา \"มบี า นพราหมณอยขู างเขาหิมพานตแหง หนงึ่ ช่อื กชงั คลคาม. มพี ราหมณผ ูหนง่ึ ชอื่ โสณุตตระอาศยั อยใู นบา นน้ัน. บุตรของ โสณตุ ตรพราหมณนนั้ จกั เกิดข้นึ คนหนง่ึ คอื ทารกชอื่ นาคเสน. ทา นจงไป บณิ ฑบาตท่ีตระกลู นนั้ ใหค รบเจ็ดปกบั สิบเดือนแลว , จงนาํ เอาทารกชือ่ นาคเสนนน้ั มาบวช. เมอื่ นาคเสนนนั้ บวชแลว ทา นจงพน จากทณั ฑกรรม.\" พระโรหณะผมู อี ายกุ ็รับคําของพระเถรเจา แลว. ฝายมหาเสนเทพบตุ ร ไดจ ตุ จิ ากเทวโลก, ถือปฏิสนธิในครรภ แหง ภรยิ าของโสณตุ ตรพราหมณ. ขณะถือปฏิสนธนิ น้ั ไดม อี ัศจรรยป รากฏ สามประการ: คือเครอ่ื งอาวธุ ทงั้ หลายสอ งแสงโพลงขน้ึ ประการหนึง่ , ขา วกลา ท่ยี ังไมอ อกรวงก็ออกรวงสกุ ประการหน่งึ , มหาเมฆบนั ดาลเมฆใหฝนหาใหญ ตกลงมาประการหนงึ่ . ฝา ยพระโรหณะผูมีอายุ จาํ เดิมแตม หาเสนเทพบุตรถอื ปฏิสนธิมาได เขาไปบณิ ฑบาตท่ีตระกูลนน้ั มิไดขาด ถงึ เจด็ ปกับสบิ เดอื น, กไ็ มไ ดข า วสวย แมส กั ทรพหี นงึ่ , ไมไดขา วตมแมสักกระบวยหนง่ึ , ไมไ ดรบั ใครไหวใครประณม มอื หรอื แสดงอาการเคารพอยางอนื่ แมสกั วนั เดียว; กลบั ไดแ ตค าํ ดา วาเสยี ดสี ไมม ใี ครท่จี ะกลา วโดยดี แมแ ตเพียงวา โปรดสตั วขางหนา เถิดเจา ขา ดงั น้ี ใน วนั หนง่ึ . วนั นน้ั โสณตุ ตรพราหมณก ลบั มาจากทท่ี ํางานภายนอกบา น, พบ พระเถรเจา เดนิ สวนทางมาจึงถามวา \"บรรพชติ , วนั นีท้ า นไดไ ปเรอื นของเรา แลว หรอื ?\" ทานตอบวา \"เออ พราหมณ, วนั นีเ้ ราไดไ ปเรอื นของทา นแลว.\" พราหมณถามวา \"ทา นไดอะไร ๆ บางหรือเปลา ?\"- ทานตอบวา \"เออ พราหมณ, วนั นีเ้ ราได.\" พราหมณไดยินทา นบอกวา ได ดงั นนั้ , สําคญั วา ทา นไดอ ะไรไปจาก เรือนของตน, มีความเสยี ใจ, กลับไปถงึ เรอื นถามวา \"วันน้ีเจาไดใหอ ะไร ๆ แก บรรพชติ นั้นหรือ ?\"

คนในเรือนตอบวา \"ขา พเจา ไมไ ดใ หอะไรเลย.\" คร้ันวนั รงุ ขนึ้ พราหมณ นงั่ คอยอยทู ป่ี ระตเู รือน ดวยหวงั จะยกโทษพระเถรเจา ดว ยมสุ าวาท, พอเห็น พระเถรเจา ไปถึง, จึงกลาวทว งวา \"เมือ่ วานนท้ี า นไมไดอ ะไรในเรือนของเรา สกั หนอย พูดไดว า ตัวได. การพูดมสุ าควรแกท านหรอื ?\" พระเถรเจา ตอบวา \"ดกู อ นพราหมณ เราไมไดแมแตเ พยี งคาํ วา 'โปรด สตั วข างหนา เถดิ เจา ขา' ดังนี้ ในเรอื นของทา นถงึ เจด็ ปก บั สิบเดือนแลว พงึ่ ได คาํ เชน นนั้ เมอื่ วานน้ีเอง; เชน น้ี เราจึงไดบอกแกทา นวา เราได ดว ยหมายเอา การกลา วปราศรยั ดว ยวาจานน้ั .\" พราหมณนึกวา \"บรรพชติ พวกนี้ไดรับแตเพียงการกลาวปราศรยั ดว ย วาจา ยงั พูดสรรเสริญในทา มกลางประชาชนวา ตนไดรบั , ถา ไดข องเคย้ี วของ กนิ อะไร ๆ อยา งอน่ื อกี แลว , เหตุไฉนจะไมพ ดู สรรเสรญิ ?\" จงึ มคี วามเลอ่ื มใส สัง่ คนใหแบง ขา วทีจ่ ัดไวเ พ่อื ตัว ถวายพระเถรเจาทรพีหนง่ึ ทง้ั กบั ขาวพอสม ควรกนั แลว, ไดพูดวา \"ทา นจกั ไดอ าหารนเ้ี สมอเปน นติ ย จําเดมิ แตว นั รงุ ขนึ้ .\" เมื่อพระเถรเจา ไปถึง; พราหมณไดเ หน็ อาการสงบเสงยี่ มเรียบรอ ยของทา น เขา, กย็ งิ่ เล่ือมใสมากขน้ึ , จึงอาราธนาพระเถรเจาใหท าํ ภตั กิจในเรอื นของตน เปน นติ ย. พระเถรเจา รบั อาราธนาดว ยดษุ ณีภาพ (น่ิงอย)ู แลว ; ต้งั แตน้นั มา ทําภัตตกิจเสรจ็ แลว , เม่ือจะไป, ไดกลาวพระพทุ ธวจนะนอยหนง่ึ ๆ แลว จงึ ไปเสมอทกุ วนั ๆ. ฝา ยนางพราหมณี ครัน้ ลว งสิบเดอื นคลอดบตุ รชายคนหนง่ึ ชือ่ นาค เสน. นาคเสนนนั้ เติบใหญข้ึนโดยลาํ ดับกาล จนมีอายไุ ดเจด็ ขวบ; บดิ าจึง กลาวกะเขาวา \"พอนาคเสน, บดั นี้เจา ควรจะเรยี นวิทยาในตระกลู พราหมณน ี้ แลว .\" นาคเสนถามวา \"วทิ ยาอะไรพอ ชอ่ื วาวทิ ยาในตระกลู พราหมณน ี้ ?\" บดิ าบอกวา \"ไตรเพทแล, พอ นาคเสน, ช่อื วาวทิ ยา; ศลิ ปศาสตรท ี่ เหลอื จากนนั้ ช่ือวา ศลิ ปศาสตร. \" นาคเสนก็รับวา จะเรยี น. โสณตุ ตรพราหมณ จึงใหท รพั ยพ นั กษาปณแกพ ราหมณผ จู ะเปนครู เปน สวนสําหรับบูชาครูแลว, ใหตง้ั เตียงสองตัวใหช ดิ กัน ในหอ งภายในปราสาทแหง หนึ่งแลว กาํ ชับสั่ง

พราหมณผ ูเปน ครูวา \"ขอทานจงใหเ ดก็ ผนู ที้ อ งมนตเ ถดิ \" พราหมณผเู ปน ครูพูดวา \"ถาอยา งนน้ั พอ หนเู รียนมนตเถดิ ;\" ดังนี้แลว, กส็ าธยายขนึ้ . นาคเสนวา ตามคร้งั เดียว, ไตรเพทก็ขนึ้ ใจข้ึนปากกาํ หนดจาํ ได แมนยาํ , ทําในใจตรึกตรองไดดโี ดยคลอ งแคลว , เกดิ ปญ ญาดุจดวงตาเหน็ ใน ไตรเพท พรอมท้งั คมั ภีรน คิ ณั ฑุศาสตรและ' คมั ภรี เกฏภ ศาสตร พรอ มท้ัง อักษรประเภท พรอ มท้ังคัมภรี อติ ิหาสศาสตรครบทั้งหาอยาง, วาขน้ึ อยา งหนง่ึ แลว กเ็ ขา ใจความแหง พากยน น้ั ๆ พรอมทง้ั ไวยากรณ. ชาํ นชิ าํ นาญในคมั ภีร โลกายตศาสตร และมหาปรุ ิสลักษณพยากรณศาสตร ครบทุกอยา งแลว , จึง ถามบิดาวา \"พอ, ในตระกูลพราหมณน้ี ยงั มีขอท่ีจะตอ งศึกษายงิ่ กวา นอี้ ีก หรือมแี ตเพียงเทาน.้ี \" เม่ือบดิ าบอกวา \"ขอทจี่ ะตองศกึ ษายิง่ กวา นอ้ี กี ไมมี แลว ขอท่ีตองศกึ ษานน้ั มเี พยี งเทาน,ี้ \" แลว จึงสอบความรูตอ อาจารยเ สร็จ แลว , กลับลงมาจากปราสาท, อันวาสนาคือกศุ ลท่ีไดเคยอบรมมาแตป างกอน เขา เตอื นใจบนั ดาลใหห ลีกเขา ไปอยู ณ ทส่ี งัดแลว, พจิ ารณาดูเบอื้ งตน ทา มกลางท่ีสดุ แหง ศิลปศาสตรข องตน, ไมแ ลเห็นแกน สารในเบ้ืองตน ในทา มกลางหรือในทส่ี ุดนนั้ แมสกั หนอยหนงึ่ แลว, จงึ มคี วามเดือดรอ นเสยี ใจ วา \"ไตรเพทเหลาน้ีเปลา จากประโยชนเ ทียวหนอ, ไตรเพทเหลา นเี้ ปนแตของ จะตอ งทองเพอ เปลา ๆ เทยี วหนอไมม แี กน สาร หาแกน สารมิไดเลย.\" ในสมยั น้นั พระโรหณะผูมอี ายนุ งั่ อยทู ว่ี ตั ตนิยเสนาสน ทราบปรวิ ิตก แหง จิตของนาคเสนดว ยวารจติ ของตนแลว, ครองผา ตามสมณวตั รแลว , ถอื บาตรจีวรอนั ตรธานจากวัตตนยิ เสนาสน, มาปรากฏทีห่ นาบา นกชงั คลคาม. นาคเสนยนื อยทู ีซ่ ุมประตแู ลเห็นพระเถรเจา มาอยูแ ตไ กล, กม็ ใี จยนิ ดี ราเริงบันเทงิ ปต โิ สมนัส, ดํารงวา \"บางทีบรรพชิตรปู นี้จะรวู ิทยาท่เี ปน แกน สาร บา งกระมัง,\" จึงเขาไปใกลแลว, ถามวา \"ทา นผนู ิรทกุ ข, ทานเปน อะไร จงึ โกน ศีรษะและนุงหม ผา ยอ มดว ยนา้ํ ฝาดเชน น้ี ?\" ร. \"เราเปนบรรพชิต.\" น. \"ทานเปน บรรพชติ . ดวยเหตอุ ยางไร ?\" น. \"เราเวน จากกจิ การบานเรอื น เพอื่ จะละมลทนิ ทีล่ ามกเสียแลว, เรา จึงชือ่ วา เปน บรรพชติ .\"

น. \"เหตไุ ฉน ผมของทา นจงึ ไมเหมอื นของเขาอ่ืนเลา ?\" ร. \"เราเหน็ เหตุเครื่องกังวลสบิ หกอยา ง เราจึงโกนเสีย. เหตเุ ครอื่ งกังวล สิบหกอยา งนน้ั คอื กังวลดว ยตอ งหาเครอ่ื งประดับหน่งึ กงั วลดว ยตองแตง หนง่ึ , กังวลดวยตองทานาํ้ มนั หน่งึ , กังวลดวยตอ งสระหนึง่ , กังวลดว ยตอง ประดับดอกไมหนงึ่ , กังวลดวยตอ งทาของหอมหนง่ึ , กังวลดวยตองอบกลิน่ หนงึ่ , กังวลดว ยตองหาสมอ (สําหรับสระ) หนงึ่ , กังวลดวยตองหามะขามปอ ม (สาํ หรับสระ) หนงึ่ , กังวลดวยจบั เขมา หนง่ึ , กงั วลดว ยตอ งเกลา หนงึ่ , กงั วล ดวยตองหวหี น่ึง, กังวลดว ยตองตัดหนงึ่ , กังวลดว ยตอ งสางหนงึ่ , กังวลดว ย ตองหาเหาหนงึ่ , และเม่อื ผมรวงโกรน เจา ของยอมเสยี ดายหนง่ึ : รวมเปน เหตุ เครือ่ งกงั วลสบิ หกอยา ง. คนทก่ี ังวลอยใู นเหตสุ บิ หกอยา งนี้ ยอมทาํ ศลิ ปที่ สขุ ุมยิ่งนักใหฉ ิบหายเสยี ท้งั หมด.\" น. \"เหตุไฉน ผา นงุ ผา หมของทาน จงึ ไมเ หมอื นของเขาอนื่ เลา ?\" ร. \"ผา ทกี่ เิ ลสกามองิ อาศัย เปนทีใ่ ครข องคน เปน เคร่อื งหมายเพศ คฤหสั ถ; ภัยอันตรายอยา งใดอยา งหนง่ึ ซง่ึ จะเกดิ ข้ึนเพราะผา , ภัยนัน้ มิไดมีแก ผทู ีน่ งุ หม ผายอ มดว ยนาํ้ ฝาด; เหตุนน้ั ผา นุง หมของเราจงึ ไมเหมอื นของเขา อ่ืน.\" น. \"ทา นรูศลิ ปศาสตรอ ยบู า งหรอื ?\"- ร. \"เออ เราร,ู แมม นตท ส่ี งู สดุ ในโลกเราก็ร.ู \" น. \"ทานจะใหม นตน น้ั แกขาพเจาไดห รือ ?\" ร. \"เออ เราจะใหไ ด. \" น. \"ถาอยา งนนั้ ทา นใหเถดิ .\" ร. \"เวลาน้ยี งั ไมเ ปนกาล เพราะเรายงั กาํ ลังเทยี่ วบิณฑบาตอย.ู \" ลําดบั นน้ั นาคเสนรบั บาตรจากหัตถพ ระเถรเจาแลว, นมิ นตใหเขา ไป ในเรือนแลว, องั คาสดว ยขัชชะโภชชาหารอนั ประณตี ดว ยมือของตนจนอม่ิ แลว, พูดเตอื นวา \"เวลานีท้ า นใหมนตน น้ั เถดิ .\" พระเถรเจา ตอบวา \"ทา นจะขอใหม ารดาบิดาอนุญาตแลว ถือเพศ บรรพชิตท่เี ราถืออยนู ี้ เปนคนไมมีกงั วลไดเ มอื่ ใด, เราจะใหแกทา นเมือ่ นั้น.\" นาคเสนจงึ ไปหามารดาบดิ าบอกวา \"บรรพชติ รูปนพี้ ูดอยวู า 'รูมนตท ่ี

สงู สดุ ในโลก' ก็แตไมย อมใหแ กผ ทู ีไ่ มไ ดบ วชในสาํ นกั ของตน ฉันจะขอบวช เรยี นมนตนน้ั ในสํานักของบรรพชิตผูน .ี้ \" มารดาบิดาสาํ คัญใจวา ลกู ของตนบวชเรยี นมนตน น้ั แลว จักกลับมา จึงอนุญาตวา \"เรยี นเถดิ ลูก.\" ครั้นมารดาบดิ าอนุญาตใหน าคเสนบวชแลว พระโรหณะผมู ีอายกุ พ็ านาคเสนไปสวู ัตตนยิ เสนาสนแ ละวิชมั ภวตั ถเุ สนาสน แลว พกั อยทู ว่ี ชิ ัมภวตั ถุเสนาสนราตรีหนงึ่ แลว ไปสพู ืน้ ถา้ํ รกั ขติ คูหา แลว บวชนาคเสนในทามกลางพระอรหนั ตเ จา รอยโกฏิ ณ ทนี่ นั้ . พอบวชแลว สามเณรนาคเสนกเ็ ตือนพระเถรเจา วา \"ขา พเจา ไดถ ือเพศ ของทานแลว, ขอทา นใหมนตน ัน้ แกขาพเจา เถิด.\" พระเถรเจา ตรองวา \"เราจะแนะนาคเสนในอะไรกอนดหี นอ จะแนะใน พระสตุ ตันปฎ กกอนดี หรอื จะแนะในพระอภธิ รรมปฏกกอ นด,ี \" ครนั้ ตรองอยู อยางนี้ ไดส ันนิษฐานลงวา \"นาคเสนผูนี้ มปี ญญาสามารถจะเรยี นพระ อภิธรรมปฎกไดโ ดยงา ย,\" จึงไดแนะใหเรยี นพระอภธิ รรมปฏกกอ น. สามเณรนาคเสนสาธยายหนเดยี ว ก็จาํ พระอภธิ รรมปฏ กไดค ลอ งท้งั หมดแลว จงึ บอกพระเถรเจา วา \"ขอทา นหยดุ อยาสวดตอ ไปเลย; ขา พเจาจัก สาธยายแตเพยี งเทา นก้ี อน.\" แลว เขา ไปหาพระอรหนั ตเ จา รอยโกฏิแลว กลา ว วา \"ขา พเจาจะสวดพระอภธิ รรมปฎ กทั้งหมดถวายโดยพสิ ดาร.\" พระอรหนั ตเ จา รอ ยโกฏนิ น้ั ตอบวา \"ดีละ นาคเสน ทา นสวดเถดิ .\" สามเณรนาคเสนก็สวดพระธรรมเจ็ดคมั ภีรน ้นั โดยพิสดาร ถงึ เจด็ เดือนจงึ จบ มหาปฐพบี นั ลือเสยี งลนั่ , เทวดาถวายสาธุการ, มหาพรหมตบ พระหัตถ, เทพเจา ทง้ั หลายบนั ดาลจุรณจันทนและดอกมณั ฑทารพอันเปน ของทพิ ยใ หตกลง ดุจหาฝนแลว. คร้นั สามเณรนาคเสนมอี ายไุ ดยสี่ บิ ป บรบิ รู ณแลว. พระอรหันตเจา รอ ยโกฏิ กป็ ระชุมกนั ทพ่ี น้ื ถํ้ารักขติ คูหา ให สามเณรนาคเสนอุปสมบทเปน พระภิกษ,ุ ครั้นรงุ เชาพระนาคเสนเขา ไป บิณฑบาตในบานกบั พระอปุ ช ฌายด ํารแิ ตใ นจติ วา \"พระอปุ ช ฌายข องเรา เปน คนไมร จู กั อะไรหนอ, พระอปุ ช ฌายข องเราเปน คนเขลาหนอ, เพราะ

ทานสอนใหเ ราศึกษาพระอภิธรรมปฎกกอนกวา พระพทุ ธวจนะอน่ื ๆ. พระโรหณะผมู ีอายผุ เู ปน พระอุปช ฌาย ไดท ราบความดําริในจติ ของ พระนาคเสนแลว กลา ววา \"นาคเสน ทานดํารไิ มสมควร, ความดํารเิ ชน นส้ี ม ควรแกทา นกห็ ามไิ ด. \" พระนาคเสนนกึ ในใจวา \"นา อศั จรรยห นอ ! พระอปุ ชฌายข องเรา ทานมาทราบความดําริในจติ ของเรา ดว ยวารจติ ของทา น, พระอุปชฌายของ เรา ทา นมปี ญญาแท ๆ, ถาอยางไร เราจะขอขมาใหท า นอดโทษเสีย.\" คร้ันคดิ อยางนแ้ี ลว จงึ ขอขมาโทษวา \"ขอทานจงอดโทษใหแกข าพเจา ตอ ไปขาพเจา จักไมคดิ เชน นอี้ กี .\" พระเถรเจา ตอบวา \"เราไมย อมอดโทษดว ยเพยี งแตสักวา ขอขมาเทา น.ี้ กแ็ ตวามีราชธานหี นง่ึ ชื่อวาสาคลนคร, พระเจาแผน ดนิ ผูครองราชสมบัตใิ น ราชธานนี น้ั ทรงพระนามวา พระเจามิลนิ ท, เธอโปรดตรสั ถามปญ หาปรารภ ทิฏฐลิ ัทธิตา ง ๆ ทาํ พระภกิ ษสุ งฆใหไดความลําบาก ในการที่จะกลาวแก ปญหา ซ่งึ เธอตรัสถาม, ถา วา ทา นจะไปทรมานเธอใหเ ลอ่ื มใสไดแลว เราจึง จะยอมอดโทษให. \" พระนาคเสนเรียนตอบวา \"อยาวา แตพ ระเจามิลนิ ทองคเ ดยี วเลย, ให พระเจาแผน ดินในชมพทู วปี ทัง้ หมด มาถามปญ หาขา พเจา ๆ จะแกป ญ หานน้ั ทําลายลา งเสยี ใหห มด, ขอทา นอดโทษใหแ กข า พเจา เถิด\" เมอื่ พระเถรเจายงั ไมย อมอดให จึงเรียนถามวา \"ถา อยา งนนั้ ในไตรมาสนี้ ขา พเจา จะไปอยูใน สาํ นกั ของใครเลา ?\" พระเถรเจา ตอบวา \"พระอสั สคตุ ตเถระผูมีอายุ ทา นอยทู ่วี ตั ตนิย เสนาสน, ทานจงไปหาทา นแลว กราบเรยี นตามคาํ ของเราวา \"พระอุปชฌาย ของขา พเจา ใหมากราบเทา ทา น และเรยี นถามวา \"ทานไมมอี าพาธเจบ็ ไข ยัง มีกาํ ลงั ลกุ คลอ งแคลว อยูผาสุกหรือ, และสงขาพเจา มาดว ยปรารถนาจะใหอยู ในสาํ นักของทา น สิ้นไตรมาสน;ี้ และเม่อื ทา นจะถามวา \"พระอุปชฌายข อง ทา นชอื่ ไร\" ดังนแ้ี ลว, ก็เรยี นทา นวา \"พระอปุ ช ฌายข องขา พเจา ชอื่ โรหณ

เถระ,\" และเมอื่ ทา นจะถามวา \"เราชื่อไรเลา \" ก็เรียนทา นวา \"พระอปุ ช ฌาย ของขา พเจา ทราบชือ่ ของทา น.\" พระนาคเสนรบั คําของพระเถรเจาแลวกราบลา ทําประทกั ษณิ แลว ถือ บาตรจีวรหลีกจาริกไปโดยลาํ ดับ ถงึ วตั ตนยิ เสนาสนแลว เขา ไปหาพระอัสส คตุ ตเถรเจา กราบทา นแลวยนื ณ ท่ีสมควรแหงหนง่ึ เรยี นตามคําซง่ึ พระ อุปชฌายข องตนส่ังมาทกุ ประการ. พระอัสสคุตตเถรเจา ถามวา \"ทา นชอื่ ไร ?\" น. \"ขา พเจา ชอื่ นาคเสน.\" อ. \"พระอปุ ช ฌายของทา นชื่อไร ?\" น. \"พระอปุ ช ฌายข องขาพเจา ช่ือโรหณเถระ.\" อ. \"เราช่อื ไรเลา ?\"- น. \"พระอุปช ฌายข องขาพเจา ทราบช่ือของทา น.\" อ. \"ดีละ นาคเสน ทานเก็บบาตรจีวรเถิด.\" พระนาคเสนเกบ็ บาตรจวี รไวแ ลว ในวนั รุงขึ้น ไดก วาดบรเิ วณตั้งนา้ํ บว นปากและไมสีฟนไวถวาย. พระเถรเจา กลบั กวาดทซ่ี ่ึงพระนาคเสนกวาดแลว เสยี ใหม, เทน้าํ นั้นเสยี แลว ตกั น้าํ อน่ื มา, หยิบไมสฟี นนนั้ ออกเสยี แลว หยบิ ไมส ฟี น อันอ่นื ใช, ไมไดเจรจา ปราศรยั แมสกั หนอยเลย. พระเถรเจาทาํ ดงั นถี้ ึงเจด็ วนั ตอ ถงึ วนั ที่เจด็ จงึ ถาม อยา งนน้ั อกี . พระนาคเสนกเ็ รียนตอบเหมอื นนนั้ . ทานจงึ อนญุ าตใหอ ยจู ํา พรรษาในทน่ี น้ั . ในสมัยนั้น มมี หาอุบาสกิ าผหู นงึ่ ซงึ่ ไดอปุ ฐากพระเถรเจา มาถึง สามสบิ พรรษาแลว เม่ือลวงไตรมาสนนั้ แลว มาหาพระเถรเจา เรียนถามวา \"มี ภกิ ษอุ นื่ มาจาํ พรรษาอยูใ นสาํ นกั ของทา นบางหรือไม ?\" ทา นตอบวา \"มพี ระนาคเสนองคห นึ่ง.\" มหาอบุ าสิกานน้ั จงึ นิมนตพ ระเถรเจากับพระนาคเสนไปฉนั ที่เรือนใน วนั รุงขน้ึ . พระเถรเจา รับนมิ นตด ว ยดุษณภี าพแลว ครน้ั ลว งราตรนี น้ั ถงึ เวลา เชาแลว ทา นครองผาตามสมณวตั รแลว ถอื บาตรจีวรไปกับพระนาคเสนเปน

ปจ ฉาสมณะตามหลงั ถงึ เรือนมหาอบุ าสกิ านนั้ แลว นง่ั บนอาสนะท่ีปูลาดไว ถวาย. มหาอบุ าสิกานน้ั จงึ อังคาสพระเถรเจา กบั พระนาคเสนดวยของเค้ยี ว ของฉนั อันประณตี ดวยมือของตน. คร้ันฉนั เสร็จแลว พระเถรเจา ส่งั พระนาค เสนวา \"ทา นทาํ อนโุ มทนาแกม หาอบุ าสิกาเถดิ .\" ครัน้ สงั่ ดังนนั้ แลว ลกุ จาก อาสนะหลกี ไป. สว นมหาอบุ าสกิ านน้ั กลา วขอกะพระนาคเสนวา \"ตนเปน คนแกแ ลว ขอใหพ ระนาคเสนทาํ อนโุ มทนาแกต นดวยธรรมีกถาท่ลี กึ สขุ มุ เถิด\" พระ นาคเสนกท็ าํ อนุโมทนาแกมหาอุบาสกิ านน้ั ดว ยอภิธรรมกถาอนั ลึกละเอียด แสดงโลกตุ ตรธรรมปฏสิ งั ยตุ ดว ยสญุ ญตานุปสสนา ขณะนน้ั มหาอบุ าสิกา น้นั ไดธรรมจักษคุ อื ปญญาทเ่ี หน็ ธรรมปราศจากธุลีปราศจากมลทนิ คอื กเิ ลส ในทนี่ ่งั นัน้ เองวา \"สิง่ ใดส่งิ หนงึ่ มีความเกดิ ข้ึนเปน ธรรมดา สิ่งทง้ั ปวงนน้ั มี ความดับเปน ธรรมดา\" ดังน.ี้ แมพ ระนาคเสนเอง ทาํ อนุโมทนาแกอบุ าสิกา นน้ั แลว พจิ ารณาธรรมท่ีตนแสดงอยู นงั่ เจรญิ วิปส สนาอยทู ี่อาสนะนัน้ กไ็ ด บรรลโุ สดาปต ตผิ ล. เวลานั้น พระอัสสคตุ ตเถรเจานง่ั ทว่ี ิหาร ทราบวา พระนาคเสนและ มหาอุบาสิกา ไดธรรมจักษบุ รรลโุ สดาปตตผิ ลท้งั สองคน จงึ ใหสาธกุ ารวา \"ดี ละ ๆ นาคเสน ทา นยงิ ศรเลม เดยี ว ทาํ ลายกองสักกายทฏิ ฐอิ ันใหญไ ดถึงสอง กอง.\" แมเทวดาท้ังหลายก็ไดถวายสาธกุ ารหลายพนั องค. พระนาคเสนลุก จากอาสนะกลบั มาหาพระอสั สคตุ ตเถรเจา อภวิ าทแลว นงั่ ณ ทคี่ วรสวนขาง หนง่ึ . พระเถรเจา จึงสงั่ วา \"ทานจงไปสูเมอื งปาฏลิบุตร, เรียนพระพทุ ธวจนะ ในสาํ นักแหง พระธรรมรกั ขิตเถระผูมีอายุ ซึง่ อยใู นอโสการามเถิด.\" น. \"เมืองปาฏลบิ ุตร แตทนี่ ้ีไปไกลก่มี ากนอ ย ?\"- อ. \"ไกลรอ ยโยชน. \" น. \"หนทางไกลนัก, ในกลางทางอาหารกห็ าไดยาก, ขา พเจา จะไป อยางไรได ?\" อ. \"ไปเถดิ นาคเสน, ในกลางทางทานจกั ไดบณิ ฑบาตขาวสาลที ี่ บรสิ ทุ ธ์แิ ละแกงกับเปน อนั มาก.\" พระนาคเสนรบั คาํ ของพระเถรเจาแลว กราบลาทาํ ประทกั ษิณแลว ถอื

บาตรจวี รจารกิ ไปเมอื งปรากฏลบิ ตุ ร. ในสมยั นนั้ เศรษฐชี าวเมอื งปาฎลบิ ตุ รพรอมดวยเกวยี นหารอ ยกาํ ลงั เดนิ ทางจะไปเมืองปาฎลิบตุ รอยู. ไดเหน็ พระนาคเสนเดนิ ทางมาแตไกล, จงึ สง่ั ใหกลบั เกวยี นหารอ ยน้ันแลว ไปหาพระนาคเสนถามวา \"พระผูเ ปนเจา จกั ไปขางไหน ?\" พระนาคเสนตอบวา \"จะไปเมืองปาฏลิบุตร.\" เศรษฐีชวนวา \"ดีละ ขา พเจา ก็จะไปเมืองปาฏลิบตุ ร เหมอื นกัน, พระผู เปนเจา จงไปกบั ขาพเจา เถดิ จะไดไ ปเปนสขุ \" ดงั น,ี้ แลว เล่อื มใสในอริ ยิ าบถ ของพระนาคเสน แลวองั คาสทานดวยของเคย้ี วของฉันอันประณีต ดว ยมอื ของตนจนอม่ิ เสร็จแลว นงั่ ณ ทีอ่ าสนะตาํ่ แหงหนึ่งแลวถามวา \"พระผเู ปนเจา ชอื่ ไร ?\" น. \"เราชอ่ื นาคเสน.\" ศ. \"พระผูเปน เจา ทราบพระพทุ ธวจนะบา งหรอื ?\" น. \"เราทราบพระอภิธรรมอยูบา ง. ศ. \"เปน ลาภของขาพเจาทไี่ ดพ บกับพระผเู ปน เจา , เพราะขาพเจา ก็ เปน ผูศกึ ษาพระอภธิ รรม พระผูเปนเจา ก็เปน ผูศ กึ ษาพระอภิธรรม, ขอพระผู เปน เจา จงแสดงพระอภิธรรมแกขาพเจา .\" พระนาคเสนกแ็ สดงพระอภธิ รรมให เศรษฐฟี ง, เมอ่ื กาํ ลงั แสดงอยูนน้ั เศรษฐีไดธรรมจักษุบรรลโุ สดาปตตผิ ล, แลว จึงสงั่ ใหเกวียนหา รอยนน้ั ลว งหนา ไปกอนแลว สวนตวั เองมากบั พระนาคเสน ขางหลงั ถงึ ทางสองแยกใกลเมอื งปาฏลบิ ตุ ร กห็ ยดุ ยนื ชบ้ี อกหนทางทจี่ ะไป อโสการาม แลว ถวายผา รัตตกัมพลของตน ยาวสิบหกศอกกวา งแปดศอกแก พระนาคเสน แลวเดินแยกทางไป. สวนพระนาคเสนอไปถงึ อโสการามแลว เขา ไปหาพระธรรมรักขิตเถร เจาแลว กราบเรยี นเหตทุ ีต่ นมาแลว ขอเรียนพระพุทธวจนะไตรปฎ กธรรมใน สํานักแหง พระเถรเจา เปนแตเ พยี งสาธยายพยัญชนะคราวละหนเทา นนั้ ถึง สามเดือนจงึ จบ ยงั ซ้ําพจิ ารณาอรรถแหง พระพทุ ธวจนะที่ไดเรียนแลว อีกสาม เดอื นจึงตลอด. พระธรรมรกั ขติ เถรเจาเหน็ พระนาคเสนแมน ยาํ ชาํ นาญในพระ พทุ ธวจนะไตรปฎกธรรมแลว จึงกลา วเตือนใหสตวิ า \"ดกู อนนาคเสน ถงึ วา

ทานทรงพระพทุ ธวจนะไตรปฎ กไดแลว กย็ งั ไมไ ดผ ลแหง สมณปฏิบตั ิ, เหมอื น นายโคบาลถงึ เลี้ยงโคกม็ ิไดบ ริโภคโครสเหมอื นคนอน่ื ฉะนน้ั \" พระนาคเสนเรยี นตอบพระเถรเจา วา \"กลาวเตอื นดว ยวาจาเพียงเทา นี้ พอแลว\" ในวนั นนั้ บําเพญ็ เพยี รก็ไดบ รรลุพระอรหตั ตผลพรอมดวยพระจตุ ปฏิสมั ภทิ าญาณ. ขณะน้นั เทวดาไดถ วายสาธุการ, มหาปฐพบี นั ลอื เสยี งลั่น, มหาพรหมตบพระหัตถ, เทพเจาทงั้ หลายบนั ดาลจรุ ณจ นั ทนและดอกมณั ฑา รพอันเปน ของทพิ ยใ หต กลง ดลุ หาฝน เปน มหศั จรรย. ครัน้ พระนาคเสนไดบ รรลพุ ระอาหัตตผลแลว พระอรหนั ตเ จารอ ยโกฏิ ก็ประชุมกนั ทพ่ี ืน้ ถาํ้ รักขิตคูหา ณ เขาหิมพานต สง ทตู ใหนาํ ศาสนไ ปยงั สํานกั พระนาคเสนวา \"ขอพระนาคเสนอจงมาหา เราทง้ั หลายปรารถนาจะพบ\" ดัง น.ี้ พระนาคเสนไดฟ งทูตบอกดังนน้ั แลวจงึ อนั ตรธานจากอโสการาม มา ปรากฏทีเ่ ฉพาะหนา แหง พระอรหันตเจาทง้ั หลายนนั้ . พระอรหันตเ จา ทงั้ หลาย จงึ มคี ําสง่ั วา \"นน่ั แนะ นาคเสน พระเจามลิ ินทตรสั ถามปญหาโตต อบถอ ยคาํ ทําภิกษสุ งฆใ หไดค วามลาํ บากยงิ่ นกั , ขอทา นไปทรมานพระเจา มลิ นิ ทเถิด.\" พระนาคเสน ตอบวา \"ขาแตพระเถรเจา ทงั้ หลาย อยา วา แตเจา มิลนิ ท พระองคเ ดียวเลย, ใหพระเจา แผนดินในชมพูทวีปทั้งหมดมาถามปญ หา ขา พเจา ๆ จะวิสัชนาแกท าํ ลายลางเสียใหห มด, ขอทา นทงั้ หลายอยา ไดก ลัว เลย จงไปสูส าคลราชธานเี ถดิ .\" พระเถรเจา ทง้ั หลายกพ็ ากนั ไปสูสาคลราช ธานี ทาํ พระนครน้ันใหเ หลอื งอรามดว ยผากาสาวพสั ตร มีสมณบรษิ ัทเดนิ ไป มาไมขาด. ในสมัยนั้น พระอายุปาลเถรเจา ผมู ีอายุ อาศัยอยูทส่ี งั เขยยบรเิ วณคร้ัง น้นั พระเจา มลิ ินทตรสั ปรกึ ษาราชอมาตยท ง้ั หลายวา \"คนื วันน้เี ดอื นหงายนา สบายนกั , เราจะไปสากจั ฉาถามปญ หากะสมณะหรือพราหมณผ ูไหนดหี นอ, ใครจะสามารถเจรจากบั เรา บรรเทาความสงสยั เสียได ?\" ราชอมาตยเหลา นนั้ กราบทลู วา \"มพี ระเถระรูปหนง่ึ ชือ่ อายปุ าละได เลา เรยี นพระคมั ภีรแตกฉาน เปน พหุสตุ ทรงพระไตรปฎก, ในเวลานที้ า นอยทู ี่

สงั เขยยบริเวณ, ขอพระองคเ สดจ็ ไปถามปญหากะพระอายุปาลเถระนนั้ เถิด\" พระเจามลิ ินทรร ับสง่ั วา \"ถา อยางนน้ั ทานทง้ั หลายจงไปแจงความแก ทานใหท ราบกอ น\" เนมิตตกิ อมาตยร ับสง่ั แลว จงึ ใชท ตู ไปแจง แกพระ อายปุ าลเถรเจา วา \" พระราชามีพระประสงคจ ะใครเ สด็จพระราชดําเนินมาพบพระเถรเจา .\" พระ เถรเจา กถ็ วายโอกาสวา \"เชิญเสดจ็ มาเถดิ .\" จงึ พระเจา มลิ นิ ทเ สดจ็ ขน้ึ ทรงรถพระท่ีนง่ั พรอ มดว ยอมาตยชาติโยนก หารอ ยหอ มลอ มเปน ราชบรวิ าร เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ มาถึงสังเขยยบริเวณ วหิ ารแลว เสดจ็ ไปยังสํานกั พระอายุปาลเถรเจา ทรงพระราชปฏสิ นั ถาร ปราศรยั กับพระเถรเจาพอสมควรแลว เสดจ็ ประทับ ณ สว นขา งหนง่ึ จงึ ตรัสถามปญหากะพระเถรเจา ดงั น:้ี ม.ิ \"บรรพชาของพระผูเปน เจา มปี ระโยชนอ ยา งไร, และอะไรเปน ประโยชนท พี่ ระผูเ ปน เจา ประสงคเปน อยา งยง่ิ ?\" อา. \"บรรพชามีประโยชนท ีจ่ ะไดประพฤตใิ หเปน ธรรม ประพฤติให เสมอ.\" มิ. \"ใคร ๆ แมเ ปน คฤหสั ถท ่ปี ระพฤติเปน ธรรม ประพฤตเิ สมอได มอี ยู บางหรอื ไม ?\" อา. \"ขอถวายพระพร มอี ย,ู คอื เมื่อพระผมู พี ระภาคเจา ทรงแสดงพระ ธรรมจกั ร ทีป่ า อสิ ิปตนมคิ ทายวนั ใกลก รุงพาราณส,ี คร้ังนน้ั พรหมไดบ รรลุ ธรรมาภสิ มยั ถงึ สบิ แปดโกฏิ, สว นเทวดาซง่ึ ไดบรรลุธรรมาภสิ มัยเปน อนั มาก พน ท่จี ะนับได; พรหมและเทวดาเหลา นน้ั ลว นเปน คฤหสั ถ มใิ ชบรรพชติ อนง่ึ เมือ่ ทรงแสดงมหาสมยสูตร มงคลสตู ร สมจิตตปริยายสูตร ราหุโลวาทสตู ร และปราภวสตู รเทวดาไดบ รรลุธรรมาภสิ มัยเปน อนั มากเหลอื ท่ีจะนบั ได; เทวดาเหลา นล้ี ว นเปน คฤหสั ถ มใิ ชบรรพชิต.\" มิ. \"ถา อยางนนั้ บรรพชาของพระผูเปน เจา กไ็ มมีประโยชนอะไร, ตกลง เปนพระสมณะเหลาศากยบตุ ร บวชและสมาทานธดุ งค เพราะผลวิบากแหง

บาปกรรมท่ีตนทาํ ไวแ ตปางกอ น คือ ภกิ ษใุ ด ถือเอกาสนิกธดุ งค, ชะรอยใน ปางกอ นภกิ ษนุ นั้ จะเปน โจรลักโภคสมบัตขิ องคนอ่ืนเปน แน; เพราะโทษที่แยง ชิงโภคสมบตั ขิ องเขา เดี๋ยวนีจ้ งึ ตอ งนง่ั ฉันอาหารในทอ่ี นั เดยี ว ไมไดฉ ันตาม สบาย ดว ยผลวิบากแหง กรรมอันนนั้ . อน่ึง ภกิ ษุใด ถอื อพั โภกาสกิ าธดุ งค, ชะรอยในปางกอ นภกิ ษุนนั้ จะ เปนโจรปลน บา นเขาเปน แน; เพราะโทษทที่ าํ เรอื นเขาใหฉ บิ หาย เด๋ียวนี้จงึ ตอ งอยูแตในทีแ่ จง ไมไ ดอ าศยั ในเสนาสนะ ดวยผลวบิ ากแหง กรรมอันน้ัน. อนึง่ ภิกษุใด ถือเนสัชชกิ ธุดงค, ชะรอยในปางกอ นภกิ ษนุ ั้น จะเปน โจร ปลนในหนทางเปลี่ยวเปนแน; เพราะโทษท่ีจับคนเดนิ ทางมาผกู มัดใหน ง่ั แกรว อยู เด๋ยี วน้จี งึ ตองนงั่ แกรว ไมไดน อน ดว ยผลวิบากแหง กรรมอันนนั้ ; ศลี ของ เธอไมม ี ความเพยี ร (ทรมานกิเลส) ของเธอไมม ี พรหมจรรยของเธอไมม ี.\" เมื่อพระเจา มลิ ินทต รสั เชน น้ี พระเถรเจา กน็ ่ิงอน้ั ไมท ลู ถวายวิสชั นา อยางไรอีกได. ราชอมาตยทง้ั หลายนั้นจงึ กราบทูลวา \"พระเถรเจา เปน คนมี ปญญา, แตไ มก ลา จงึ มไิ ดท ูลถวายวิสชั นาอยา งไรอีกได.\" คร้ันพระเจามิลนิ ท ทอดพระเนตรเห็นพระเถรเจา นง่ิ อนั้ กต็ บพระหัตถ ทรงพระสรวลแลว ตรัสกะ อมาตยท ง้ั หลายวา \"ชมพทู วปี นวี้ า งเปลาทีเดียวหนอ, ไมมสี มณะพราหมณผ ู ไหน สามารถจะเจรจากบั เรา บรรเทาความสงสัยเสยี ได\" ดังน้แี ลว , เหลียว ทอดพระเนตรเห็นหมูอมาตยมไิ ดห วาดหวน่ั ครั่นคราม มไิ ดเ กอเขนิ จงึ ทรง พระราชดําริวา \"ชะรอยจะมภี กิ ษอุ ะไรอน่ื ๆ ที่ฉลาดสามารถจะเจรจากบั เรา อีกเปนแมน มนั่ , ชาวโยนกเหลานีจ้ ึงไมเ กอ เขิน\" ดังนีแ้ ลว , ตรสั ถามอมาตย ท้งั หลายนนั้ วา \"ยงั มีภกิ ษอุ ะไรอ่ืน ทฉ่ี ลาดสามารถจะเจรจากบั เรา บรรเทา ความสงสยั เสยี ได อีกบา งหรอื ?\" ในกาลนนั้ พระนาคเสนเถรเจาอยทู ส่ี งั เขยยบรเิ วณนน้ั กบั ภิกษสุ งฆ แปดหม่นื รปู , เทวมนั ติยอมาตยจงึ กราบทลู วา \"ขอพระองคท รงรอกอน ยังมี พระเถระอีกรปู หนง่ึ ชอ่ื วา นาคเสน เปน บณั ฑิต มปี ญ ญาเฉยี บแหลมวอ งไว กลาหาญ เปน พหุสตุ พดู ไพเราะ มีความคดิ ดี บรรลุบารมธี รรม แตกฉานใน พระจตุปฏสิ ัมภทิ า สามารถทราบเหตุผล ฉลาดในโวหาร มปี ฏิภาณคลอ งแค

ลว , บัดนท้ี า นอยูสงั เขยยบรเิ วณ, พระองคเ สด็จไปถามปญ หากะทา นเถิด, ทานสามารถจะเจรจากับพระองคบรรเทาความสงสัยเสยี ได. \" พอพระเจา มิลนิ ทไดทรงสดบั เสยี งออกช่ือวา นาคเสน ดงั นนั้ ใหทรง กลวั ครน่ั ครามสยดสยอง (แข็งพระหฤทยั ) ตรัสถามเทวมันตยิ อมาตยว า \" ทา นสามารถจะเจรจากับเราไดห รือไม ?\" เทวมนั ตยิ อมาตยกราบทูลวา \"หากวา จะเจรจากับเทพเจาซงึ่ มีฤทธิ อํานาจ มที า วโกสยี เปน ตน หรือกับทาวมหาพรหม ทานยงั สามารถ, เหตไุ ฉน จักไมอาจเจรจากบั มนุษยไดเ ลา.\" พระเจามิลินทจ งึ รับสั่งใหเทวมนั ตยิ อมาตยใชท ตู ไปแจงแกทาน, คร้ัน ทานถวายโอกาสแลว, ก็เสด็จไปสูสังเขยยบรเิ วณ. เวลานน้ั พระนาคเสนเถรเจา พรอมดวยภิกษสุ งฆแ ปดหมน่ื รูปนงั่ อยทู ่ี มณฑลมาลก (วหิ ารกลม) พระเจามิลนิ ทไ ดท อดพระเนตรเห็นบรษิ ทั ของพระ เถรเจาแตไกลแลว , ตรัสถามเทวมนั ติยอมาตยวา \"นั่นบรษิ ทั ของใคร จงึ ใหญ ถึงเพียงน.้ี \" เทวมนั ติยอมาตยก ราบทลู วา \"บรษิ ทั ของพระนาคเสนเถรเจา\" ทา ว เธอกย็ ง่ิ ทรงครนั่ ครา มขามขยาด แตเกรงราชบรพิ ารจะดหู มิน่ ได จึงสะกดพระ ทยั ไวม น่ั ตรัสแกเ ทวมนั ติยอมาตยวา \"ทานอยา เพอ บอกตัวพระนาคเสนแก เราเลย, เราจะหาพระนาคเสนใหรูจกั เอง, ไมตองบอก.\" เทวมนั ติยอมาตยกราบทูลวา \"จะทรงทอดพระเนตรหาพระนาคเสนให รจู ักเองนน้ั ชอบแลว .\" ในพระภิกษสุ งฆน นั้ พระนาคเสนเถรเจา ออ นกวา ภกิ ษสุ หี่ มน่ื รูป ซึ่ง นั่งอยหู นา, แกก วา ภิกษสุ ห่ี ม่ืนรปู ซง่ึ นง่ั อยูห ลงั . พระเจา มลิ นิ ทท อดพระเนตร ภิกษสุ งฆท ัง้ ขา งหนา ขางหลงั และทา มกลาง ไดทอดพระเนตรเหน็ พระนาค เสนเถรเจา นง่ั อยใู นทา มกลางแหง ภกิ ษสุ งฆ (มีทา ทางองอาจ) ปราศจาก

ความกลวั และครัน่ ครา ม, กท็ รงทราบโดยคาดอาการวา \"องคน น้ั แหละพระ นาคเสน\" ดังนแ้ี ลว ตรัสถามเทวมนั ตยิ อมาตยว า \"องคน น้ั หรอื พระนาคเสน.\" เทวมนั ตยิ อมาตยกราบทูลรบั วา \"พระพทุ ธเจาขา องคน น้ั แหละ พระ นาคเสน, พระองคทรงรูจ กั ทา นถกู แลว .\" พระเจามลิ นิ ทท รงยินดวี า \"พระองค ทรงรจู ักทานถกู แลว .\" พระเจา มลิ ินทท รงยนิ ดวี า \"พระองคท รงรูจกั พระนาค เสนเอง ไมตองทูล.\" พอทรงรูจักพระนาคเสนแลว กท็ รงกลวั คร่ันครา มสยด สยองยงิ่ ขึ้นกวา เกาเปนอนั มาก. พาหิรกถาเรอ่ื งนอกปญหา จบ มลิ ินทปญหา วรรคทหี่ น่งึ ๑. นามปญหา ๑ ลาํ ดบั นน้ั พระเจา มลิ นิ ท เสดจ็ เขาไปใกลพระนาคเสนเถรเจา แลว ทรง ทาํ พระราชปฏสิ ันถารกับพระเถรเจา ดว ยพระวาจาปราศรัยควรเปนทต่ี ง้ั แหง ความยนิ ดี และควรเปนที่ใหร ะลกึ อยใู นใจเสร็จแลว เสด็จประทบั สวนขางหนึ่ง. แมพ ระเถรเจากท็ าํ ปฏิสนั ถาร ดวยวาจาปราศรยั อนั เปน เครือ่ งทาํ พระหฤทัยของพระเจา มลิ นิ ท ใหย นิ ดีเหมอื นกัน. ครัน้ แลว พระเจา มลิ นิ ท ตรัสถามพระเถรเจา วา \"ชนทั้งหลายเขารจู ัก พระผเู ปน เจา วา อยา งไร, พระผูเปน เจา มนี ามวา อยางไร.\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"ชนทง้ั หลายเขารูจกั อาตมภาพวา 'นาคเสน,' ถึงเพอื่ นสพรหมจารีทงั้ หลาย กเ็ รียกอาตมภาพวา 'นาคเสน,' แตโยมตั้งชื่อวา 'นาคเสน' บา ง วา 'สูรเสน' บา ง วา 'วรี เสน' บาง วา 'สีหเสน' บา ง, ก็แตคาํ วา 'นาค เสน' นี้ เปน แตเพียงชือ่ ทนี่ บั กนั ท่ีรกู นั ทต่ี ัง้ กัน ทเี่ รยี กกัน เทา นน้ั , ไมมตี วั บุคคลทจ่ี ะ คน หาไดในชอื่ น้นั .\" ขณะนัน้ พระเจามลิ นิ ทตรัสประกาศวา \"ขอพวกโยนกอมาตย

หารอย และภิกษุสงฆแ ปดหมนื่ จงฟงคําขา พเจา , พระนาคเสนองคน้ี กลา ววา \"ไมม ี ตัวบคุ คลท่ีจะคน หาไดในชอื่ นัน้ ,\" ควรจะชอบใจคํานนั้ ไดล ะหรือ.\" แลว จงึ ตรัสถามพระ นาคเสนวา \"ถาวา ไมม ีตัวบคุ คลท่จี ะคนหาได, ใครเลา ถวายจตุปจจยั คอื จวี ร บณิ ฑบาต เสนาสนะ และคลิ านเภสชั แกพ ระผูเปนเจา, ใครฉัน จตุปจ จยั นน้ั , ใครรักษาศลี , ใครเจรญิ ภาวนา, ใครทาํ มรรคผลนิพพานใหแ จง . ใครฆาสตั วม ีชวี ิต, ใครถอื เอาสิง่ ของทีเ่ จา ของไมไ ดใ หแ ลว , ใครประพฤตผิ ิดในกาม ทั้งหลาย, ใครพูดเทจ็ , ใครด่ืมน้ําเมา, ใครทําอนนั ตรยิ กรรมหา อยา ง; เหตุนน้ั ไมม กี ศุ ล, ไมม อี กศุ ล, ไมมีผูทําเองก็ดี ผใู ชใ หท าํ กด็ ี ซึ่งกรรมทเี่ ปน กศุ ลและอกศุ ล, ไมมผี ลวิบาก ของกรรมทท่ี ําดีทําชวั่ แลวนะซ,ิ ถา ผใู ดฆา พระผูเปน เจา ตาย ไมเ ปน ปาณาตบิ าตแกผ ู นั้นนะซ,ิ อนึง่ อาจารยกด็ ี อปุ ชฌายก ด็ ี อปุ สมบทก็ดี ของพระผเู ปน เจากไ็ มมนี ะซ;ิ พระผูเปน เจา กลาววา \"เพ่อื นสพรหมจารที ั้งหลายเรียกอาตม ภาพวา 'นาคเสน' ดงั น,้ี อะไรชื่อวา นาคเสนในคํานน้ั , ผมหรือ พระผูเปน เจา ชือ่ วา นาค เสน.\" เมอ่ื พระเถรเจา ทลู วา \"มใิ ช.\" จงึ ตรัสไลต อ ๆ ไปจนตลอดอาการ สามสบิ สองโดยลําดบั วา \"ขน เล็บ ฟน หนงั เนอ้ื เอน็ กระดกู เยอ่ื ในกระดกู มา ม หวั ใจ ตับ พงั ผืด ไต ปอด ไส สายรดั ไส อาหารใหม อาหารเกา ดี มวก หนอง เลอื ด เหงื่อ มนั ขน นา้ํ ตา เปลวมนั น้ําลาย นํ้ามกู ไขขอ มูตร มนั ในสมอง แตล ะอยาง ๆ วา เปนนาคเสนหรอื ?\" พระเถรเจา ก็ทลู ตอบวา \"มใิ ช.\"- จึงตรัสไลว า \"เบญจขันธ คือ รปู เวทนา สญั ญา สังขาร วิญญาณ แต ละอยา ง ๆ วาเปน นาคเสนหรอื ?\" พระเถรเจา กท็ ลู ตอบวา \"มิใช.\" จงึ ตรสั ไลวา \"รวมทง้ั รปู เวทนา สัญญา สงั ขาร วิญญาณหรอื ชอ่ื วา นาคเสน, หรือนาคเสน จะมนี อกจากรูป เวทนา สญั ญา สังขาร วญิ ญาณ.\" พระเถรเจา กท็ ลู ตอบวา \"มิใช ๆ ทกุ ขอ .\" เมอ่ื เปนทีฉะนแ้ี ลว จงึ ตรัสเยย วา \"ขา พเจาถามพระผเู ปนเจา ไป กไ็ มพ บวา อะไรเปน นาคเสน, หรือเสียงเทานน้ั แหละ เปน นาคเสน, หรืออะไรเปน นาคเสนในคํานัน้ , พระผูเปน เจาพูดมสุ าวาทเหลวไหล, ไมมี นาคเสนสักหนอ ย.\" เม่อื พระเถรเจา จะถวายวิสชั นาแกปญ หานนั้ จงึ ทลู บรรยายเปน ปราศรัย เพือ่ ออ มหาชอ งใหพ ระเจา มิลินท ตรสั ตอบใหไ ดที อยา งนก้ี อนวา \"พระองค เปนพระมหากษัตริยเจริญในความสขุ ลว งสวนแหง สามญั ชน, พระองคเสด็จมาถงึ

กาํ ลังเทีย่ ง พนื้ แผนดินกาํ ลงั รอ นจัด ทรายตามทางกก็ าํ ลังรอนจดั ถาทรงเหยยี บกอน กรวดกระเบือ้ งและทรายทก่ี าํ ลังรอ นจัด เสด็จพระราชดําเนินมา ดวยพระบาทแลว พระบาทคงจะพอง, พระกายคงจะลาํ บาก, พระหฤทยั คง จะเหน่ือยออน, พระกายวิญญาณท่ีกอปรดว ยทกุ ขคงจะเกดิ ขึน้ เปน แน, พระองคเ สด็จ พระราชดาํ เนนิ มาดว ยพระบาท หรอื ดว ยราชพาหนะ ?\" พระเจามลิ ินทต รสั ตอบวา \"ขาพเจา ไมไดเดินมา, ขาพเจา มาดว ยรถ.\" พระเถรเจา ไดทจี ึงทูลวา \"ถา พระองคเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ มาดว ยรถ, ขอจงตรัสบอกแกอ าตมภาพวา อะไรเปน รถ งอนหรอื เปนรถ.\" พระเจา มลิ ินทต รัสตอบวา \"มใิ ช.\" พระเถรเจา จงึ ทลู ถามตอไปอกี วา \"เพลา ลอ เรอื น คนั แอก สายขับ แส แตล ะอยาง ๆ วา เปน รถหรือ ?\" พระเจามิลินทก ็ตรสั ตอบวา \"มิใช.\" พระเถรเจา ทลู ถามวา \"หรอื สมั ภาระเหลา นนั้ ทงั้ หมดเปน รถ, หรอื วา รถ นนั้ สง่ิ อ่นื นอกจากสมั ภาระเหลา นนั้ ?\" พระเจา มลิ นิ ทก ต็ รัสวา \"มใิ ช. \" พระเถรเจา จงึ ทูลเปนคาํ เยย วา \"อาตมภาพทลู ถามพระองคไปก็ไมพ บ วา อะไรเปนรถ, หรอื เสียงเทาน้นั แหละเปนรถ, หรืออะไรเปนรถในคาํ นนั้ , พระองคต รสั มสุ าวาทเหลวไหล, ไมมรี ถสกั หนอย พระองคเปน ถงึ ยอดพระเจาแผน ดนิ ทว่ั พน้ื ชมพู ทวปี , พระองคท รงกลวั ใครจงึ ตองตรสั มสุ าเชน น้ี ขอโยนกามาตยหา รอ ย กบั ภกิ ษสุ งฆ แปดหมื่น จงฟง คําขา พเจา , พระเจา มิลนิ ทพ ระองคน้ีตรสั วา 'พระองคเ สด็จมาดวยรถ.' ขา พเจา ทลู ใหท รงแสดงวา อะไรเปนรถ กท็ รงแสดงใหปรากฏไมไ ด, ควรจะชอบใจคําที่ ตรสั น้นั ไดล ะหรอื ?\"- เมื่อพระเถรเจา กลา วฉะน้แี ลว โยนกามาตยห า รอย ไดถวายสาธกุ าร แกพ ระเถรเจา แลว ทลู พระเจา มลิ นิ ทว า \"บัดนถี้ า พระองคสามารถ กต็ รัสแกป ญหานัน้ เถิด.\" พระเจามิลนิ ท จงึ ตรัสกบั พระเถรเจา วา \"ขาพเจา ไมไ ดพดู มสุ า, อาศัย ทง้ั งอน ทงั้ เพลา ท้ังลอ ทงั้ เรอื น ทง้ั คัน เขา ดวยกนั จงึ ไดชอ่ื วารถ.\" พระเถรเจา จึงตอบวา \"พระองคทรงรูจกั รถถูกแลว ขอ นีฉ้ นั ใด; อาศัย ทั้งผม ทง้ั ขน จนถงึ มนั ในสมอง อาศยั ทง้ั รปู ท้ังเวทนา ทั้งสัญญา ทงั้ สังขาร ท้งั วิญญาณ จงึ มชี ื่อของอาตมภาพวา นาคเสนฉนั น้ัน. กแ็ ตวา โดยปรมัตถแลว ไมมีตวั บคุ คลทจี่ ะคนไดใ นชื่อน้นั . แมคํานี้ นางวชริ าภกิ ษณุ ี ได

ภาษิต ณ ทีเ่ ฉพาะพระพกั ตรแ หง พระผูมพี ระภาคเจา วา 'เหมอื นอยางวา เพราะอาศัยองคท่เี ปน สัมภาระ จงึ มีศัพทก ลาววา 'รถ' ดงั นี้ ฉนั ใด, เม่อื ขนั ธทงั้ หลายมี อยู กม็ คี าํ สมมตวิ า 'สตั ว' เหมอื นกนั ฉันนั้น.\" เม่อื พระเถรเจาถวายวสิ ัชนาความกลา ว แกปญ หาฉะนแ้ี ลว, พระเจา มลิ นิ ท ทรงอนโุ มทนาวา \"ขอที่พระผเู ปน เจา วิสชั นาปญ หา นน้ั เปน อัศจรรย นา ประหลาดจริง, พระผูเปน เจาวิสัชนาปญ หาวจิ ติ รยง่ิ นัก, ถา พระพทุ ธเจา ยงั ดาํ รงพระชนมอยู คงจะประทานสาธกุ ารเปนแน, พระ ผูเปน เจา กลาวแกปญหาวจิ ติ รยิง่ นัก ดีแทช อบแท.\" ๒. วัสสปญหา ๒ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา พรรษาเทา ไร ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"อาตมภาพมพี รรษาเจด็ .\" ร. \"อะไรช่ือวาเจ็ด, พระผูเปน เจา ช่ือวา เจด็ หรอื การนบั ชือ่ วาเจ็ด ?\" ในเวลานน้ั เงาของพระราชาอันทรงเครอ่ื งอยางขัติยราช ปรากฏอยู ณ พน้ื แผน ดนิ และปรากฏอยทู ่หี มอนา้ํ . ถ. \"เงาของพระองคน ้ี ปรากฏอยูทพ่ี นื้ แผน ดินและทห่ี มอ น้ํา, พระองค เปน พระราชา หรือวา เงาเปน พระราชา ?\" ร. \"ขา พเจา เปน พระราชา, เงานมี้ ใิ ชพ ระราชา, กแ็ ตวาเงาน้ีอาศยั ขา พเจา เปน ไป.\" ถ. \"ขอ นีฉ้ ันใด ความนับพรรษาช่ือวา เจ็ด, อาตมภาพมิไดช ื่อวาเจ็ด, ก็ แตค ําวา เจ็ดนน้ั อาศยั อาตมภาพเปน ไป เหมือนอยา งเงาของพระองค ฉันนนั้ .\" ร. \"พระผเู ปน เจา กลา วแกปญ หาเปน อศั จรรย นาประหลายจริง ปญ หาที่พระผเู ปน เจา กลา วแกว จิ ติ รยงิ่ นกั .\"- ๓. เถรตกิ ขปฏิภาณปญหา ๓ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา จกั เจรจากับขา พเจา ไดหรือ ?\" พระเถรเจา ทูลวา \"ถา พระองคจ กั ตรสั อยางบัณฑิต, อาตมภาพจกั เจรจาดว ยได; กถ็ า วาพระองคจกั ตรัสอยางพระเจา แผน ดนิ , อาตมภาพจักเจรจาดว ย ไมได.\" ร. \"บณั ฑิตทงั้ หลายเจรจากนั อยางไร ?\"

ถ. \"เมอ่ื บณั ฑติ เจรจากัน เขาผกู ปญ หาไลบ าง เขาแกปญ หาบา ง, เขา พดู ขมบา ง, เขายอมรับบา ง, เขาเจรจาแขงบา ง, เขากลบั เจรจาแขง บาง, เขาไมโกรธ เพราะการท่เี จรจากันนน้ั , บณั ฑติ ทั้งหลายเจรจากนั อยา งน.ี้ \" ร. \"พระเจาแผน ดนิ ทงั้ หลาย ตรัสกันอยา งไร ?\" ถ. \"เมือ่ พระเจา แผน ดนิ ตรสั นน้ั พระองคต รัสเรื่องหนงึ่ อย,ู ผใู ดขัดขึ้น กล็ งพระราชอาชญาแกผนู น้ั ; พระเจาแผน ดนิ ทง้ั หลาย ตรัสกนั อยางน.้ี \" ร. \"ขา พเจา จกั เจรจาอยา งบณั ฑติ ไมเ จรจาอยา งพระเจา แผน ดนิ , ขอ พระผูเปน เจา จงเจรจาตามสบาย, เหมือนเจรจากบั ภกิ ษุก็ดี กบั สามเณรก็ดี กบั อบุ าสก ก็ดี กับคนรกั ษาอารามกด็ ี ขอพระผเู ปน เจา อยา กลวั เลย.\" ถ. \"ดแี ลว .\" ร. \"พระผูเปน เจา ขาพเจา จะขอถามไดห รอื ?\" ถ. ตรสั ถามเถดิ .\" ร. \"ขาพเจา ถามพระผูเปน เจา แลว.\" ถ. \"อาตมภาพวิสชั นาถวายแลว .\" ร. \"พระผูเปน เจาวิสัชนาวาอะไร ?\" ถ. \"พระองคต รสั ถามวา อะไร ?\" ในเพลานน้ั พระเจา มลิ นิ ทท รงพระราชดาํ รวิ า \"พระภิกษอุ งคน ้มี ปี รชี า สามารถจะเจรจากบั เรา, และขอทเ่ี ราจะตอ งถามกย็ งั มีอยมู าก, ยังไมท ันจะถามหมด ตะวนั จะตกเสยี กอ น, อยาอยางนนั้ เลย พรุงน้เี ราจงึ คอยเจรจากนั ใหมท ่ใี นวงั .\" ครัน้ ทรง พระดาํ ริฉะนแ้ี ลว จงึ มพี ระราชดาํ รัสส่ังเทวมนั ตยิ อมาตย ใหอ าราธนาพระเถรเจา เขา ไป เจรจากบั พระองคทใี่ นพระราชวงั ในวนั พรงุ น้ี แลว เสดจ็ ลกุ จากราชอาสนท รงลาพระเถร เจาแลว ทรงมา พระที่นง่ั เสดจ็ กลับไป นกึ บน อยใู นพระราชหฤทัยวา \"พระนาคเสน ๆ\" ดังน.ี้ ฝายเทวมนั ติยอมาตย กอ็ าราธนาพระเถรเจา ตามรับสงั่ , พระเถรเจา ก็ รับจะเขาไป. ครั้นลวงราตรนี ั้นแลว อมาตยส ่ีนายคือเทวมนั ติยอมาตย หนึ่ง อนนั กาย อมาตย หนง่ึ มังกรุ อมาตย หนงึ่ สพั พทนิ นอมาตย หนง่ึ เขาไปกราบทลู ถามวา \"จะ โปรดใหพ ระนาคเสนเขามาหรือยัง.\" เมอื่ รับสง่ั อนุญาตวา \"นิมนตท า นเขา มาเถิด.\" จงึ ทูลถามอกี วา \"จะโปรดใหท า นมากบั ภิกษสุ งฆกี่รปู .\" เม่อื รบั สัง่ วา \"ทานประสงคจะมา กบั ภิกษสุ งฆก รี่ ูปกม็ าเถิด.\" สัพพทนิ น อมาตย จงึ กราบทูลวา \"ใหทา นมา กับภิกษุสงฆส กั สิบรปู หรอื ?\" กร็ บั ส่งั ยนื คาํ อยูว า \"จะมากร่ี ูปก็มาเถดิ .\" สพั พ

ทนิ นอมาตยท ลู ถามและตรสั ตอบดงั น้ันถงึ สองครง้ั , ครน้ั คร้งั ทส่ี าม สพั พทินนอมาตย ทลู ถามอกี จึงตรสั ตอบวา \"เราไดจ ัดเครื่องสักการไวเ สรจ็ แลว, จึงพดู วา \"ทา นประสงค จะมากบั ภกิ ษสุ งฆก รี่ ปู ก็มาเถิด, แตส ัพพทนิ นอมาตยผนู พ้ี ดู ไปเสียอยางอื่น, เราไม สามารถจะถวายโภชนทานแกภ กิ ษุทง้ั หลายหรอื .\" คร้นั ตรสั ดังนแ้ี ลว สพั พทินนอมาตย กเ็ กอ มิอาจทลู อีกได, จึงอมาตยอีกสามนายไปสสู าํ นักพระนาคเสนเถร เจาแลว แจง ความวา \"ขา แตพระผเู ปน เจา พระราชามพี ระราชดํารสั วา 'พระผู เปนเจา ประสงคจะมากับภิกษุสงฆก่ีรูปกม็ าเถดิ .\" ในเพลาเชา วันนน้ั พระนาคเสนเถร เจาครองผาตามสมณวัตรแลว ถอื บาตรจวี รพรอ มดวยภิกษสุ งฆแ ปดหม่นื สพ่ี นั รปู เขา ไปสพู ระนครสาคลราชธาน.ี ๔. อนนั ตกายปญ หา ๔ อนนั ตกายอมาตยเ ดนิ เคียงพระนาคเสนอยู ถามทา นวา \"ขอทพี่ ระผู เปน เจา พูดวา นาคเสน นั้น ใครเปน นาคเสนในคาํ ทพี่ ดู นน้ั .\" พระเถรเจา ถามวา \"ทานเขาใจวา อะไรเลาเปน นาคเสน ในคํานน้ั ?\" อนนั ตกายอมาตยตอบวา \"ขาพเจา เขา ใจวา ลมภายในอนั ใดที่เปน ชีวิตเดินเขาออกอยูนนั่ แหละเปนนาคเสน.\" ถ. \"กถ็ าลมน้นั ออมาแลว ไมกลบั เขา ไปอกี กด็ ี เขา ไปแลวไมก ลับออก มาอกี กด็ ี คนนัน้ จะเปน อยุไดห รือ ?\" อ. \"คนนน้ั จะเปนอยูไมไดเ ลย.\" ถ. \"ผูใ ดเปา สงั ข ลมของผนู นั้ กลบั เขาไปอีกหรือ ?\" อ. \"หามมิได. \" ถ. \"ผใู ดเปาขลุย ลมของผนู น้ั กลับเขาไปอีกหรอื ?\" อ. \"หามไิ ด. \" ถ. \"ผูใ ดเปาเขนง ลมของผนู นั้ กลบั เขาไปอกี หรอื ?\" อ. \"หามไิ ด. \" ถ. \"กเ็ มื่อเปนเชน น้ี เหตุไฉน เขาไมตายเลา ?\" อ. \"ขา พเจา ไมส ามารถเจรจากบั พระผเู ปนเจาผชู างพูดได, ขอพระผู เปนเจา ขยายความเถดิ .\"- พระเถรเจา ไดกลา วอภิธรรมกถาวา \"ลมหายใจเขาออกนนั้ ไมใชช วี ิต เปน แตก ายสงั ขาร คือ สภาพทบ่ี าํ รุงรา งกาย.\" อนนั ตกายอมาตยเ ลือ่ มใสแลว ประกาศตนเปนอบุ าสก.

๕. ปพ พัชชาปญ หา ๕ พระนาคเสนเถรเจาไปถงึ พระราชนเิ วศนแลว กน็ ง่ั ลงบนอาสนะท่ีปู ลาดไวทา . พระราชทรงองั คาสพระเถรเจาพรอมทง้ั บริษทั ดวยชชั ะโภชชาหารอัน ประณีต ดวยพระหัตถข องพระองคเอง คร้ันเสร็จภัตตกจิ แลว ทรงถวายคูผา แก พระภกิ ษสุ งฆ ทรงถวายไตรจีวรแกพระนาคเสนเถรเจา ให ครองทวั่ กนั ทกุ รูปแลว ตรัสกะพระเถรเจา วา \"ขอพระผเู ปน เจา จงน่ังอยูทน่ี ี่กบั พระภกิ ษสุ ักสบิ รปู , พระภกิ ษุท่เี หลือจะกลับไปกอนกไ ด. ดงั นี้แลว ; เสด็จประทบั ณ ราช อาสนซง่ึ ปลู าดไวใ หต่าํ กวา อาสนแ หง พระเถรเจาในทีค่ วรสว นหนงึ่ แลว , ตรสั ถามพระ เถรเจาวา \"พระผเู ปนเจา จะสังสนทนากนั ในขอ ไหนดหี นอ ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"เราจะสงั สนทนากนั น้ี ก็ประสงคแ ตใจความ เทา นน้ั , ควรจะสงั สนทนากนั แตใจความ.\" \"บรรพชาของพระผูเ ปนเจา มีประโยชนอ ยา งไร ? และอะไรเปนคณุ ท่ี ตองประสงคเ ปน อยางยง่ิ ของพระผูเปน เจา ?\" \"บรรพชาของอาตมภาพมปี ระโยชนท จี่ ะไดท ราบวา ทาํ อยา งไรทกุ ขน ี้ จะดบั ไป และทกุ ขอ ่ืนจะไมเ กิดข้ึน, อนปุ าทาปรนิ พิ พาน (การดับหมดเชอ้ื ) เปนคุณที่ ตอ งประสงคเปน อยา งยงิ่ ของอาตมภาพ.\" ร. \"บรรดาบรรพชิตบวชเพื่อประโยชนอยา งนนั้ หมดดวยกันหรอื ?\" ถ. \"หามิได, บรรพชติ บางพวกบวชเพอ่ื ประโยชนอยางนนั้ , บาง พวกบวชหนพี ระเจา แผนดนิ , บางพวกบวชหนโี จร, บางพวกบวชหลบหน,ี้ บางพวกบวช เพ่อื จะอาศยั เลี้ยงชวี ติ ; แตผใู ดบวชดบี วชชอบ ผนู นั้ บวชเพอ่ื ประโยชนอ ยา งน้ัน.\" ร. \"กพ็ ระผูเปน เจาเลา บวชเพอื่ ประโยชนอ ยา งนน้ั หรอื ?\" ถ. \"อาตมภาพบวชแตยังเปน เด็ก ไมทราบวา ตัวบวชเพ่ือประโยชนน ้ี ๆ, กแ็ ตว า อาตมภาพคดิ เหน็ วา พระสมณศากยบตุ รเหลา นเี้ ปน คนมปี ญ ญา, ทานคงจกั ใหเ ราศกึ ษาสาํ เหนียกตาม' ดงั น้ี เพราะทา นใหอ าตมภาพศกึ ษาสาํ เหนียกจงึ ไดทราบ วา บรรพชานนั้ กเ็ พอ่ื ประโยชนน ี้ ๆ.\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจริง ๆ.\"- ๖. ปฏิสนธิคหณปญ หา ๖

พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา มใี คร ๆ ท่ีตายแลว ไมก ลบั ปฏิสนธอิ กี บางหรือ ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"บางคนกลบั ปฏสิ นธิ (เขา ทอ ง) อกี , บางคนไม กลับปฏสิ นธอิ กี .\" ร. \"ใครกลับปฏิสนธิอกี , ใครไมก ลบั ปฏสิ นธิอีก ?\" ถ. \"ผมู ีกิเลสกลบั ปฏิสนธอิ ีก, ผูสิ้นกเิ ลสแลว ไมก ลับปฏิสนธิอีก.\" ร. \"ก็พระผเู ปน เจา เลา จกั กลับปฏิสนธอิ กี หรอื ไม ?\" ถ. \"ถา อาตมภาพยงั มีอปุ าทาน (กเิ ลสที่เปน เชอ้ื ) อยู จกั กลบั ปฏสิ นธิ อกี , ถา ไมม ีอปุ าทานกจ็ ักไมกลบั ปฏิสนธอิ ีก.\" ร. \"พระผูเปน เจาชางฉลาดจริง ๆ.\" ๗. มนสกิ ารปญ หา ๗ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา ผทู ไี่ มก ลับปฏิสนธิอกี นนั้ เพราะ โยนิโสมนสกิ าร (นกึ ชอบ) ไมใชหรือ ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"เพราะโยนโิ สมนสิการดว ย เพราะปญ ญาดว ย เพราะกศุ าลธรรมเหลาอนื่ ดว ย\" ร. \"ปญ ญา กค็ ือโยนโิ สมนสกิ าร ไมใชห รอื พระผเู ปน เจา ?\" ถ. \"มใิ ชอยา งนนั้ ดอก มหาราช มนสิการ (ความนกึ ) อยา งหนงึ่ ปญ ญาอยางหนงึ่ ,มนสกิ ารยอ มมีแมแกส ตั วดิรัจฉานเชน แพะ แกะ โค กระบอื อฐู ลา, แตป ญ ญาไมม แี กมัน.\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจริง ๆ.\" ๘. มนสิการลกั ขณปญ หา ๘ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา มนสกิ ารมีลกั ษณะอยา ง ไร, ปญญามีลกั ษณะอยา งไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"มนสกิ ารมลี ักษณะยกข้ึน, ปญญามีลกั ษณะ ตดั .\" ร. \"มนสิการมลี กั ษณะยกข้นึ เปน อยา งไร, ปญญามลี กั ษณะตดั เปน

อยางไร, ขอพระผูเปน เจา จงอุปมาใหข าพเจาฟง ?\" ถ. \"มหาราช พระองคท รงรูจกั คนเกยี่ วขา วหรือ ?\" ร. \"ขา พเจา รูจกั ซิ พระผเู ปนเจา .\"- ถ. \"เขาเกย่ี วขา วกนั อยา งไร ?\" ร. \"เขาจบั กาํ ขา วดวยมือขา งซายเขา จบั เคยี วดวยมอื ขางขวา แลวก็ ตัดกําขา วนัน้ ดว ยเคยี ว.\" ถ. \"ขอนั้นมอี ปุ มาฉนั ใด; พระโยคาวจร (ผบู ําเพ็ญเพยี ร) คมุ ใจไวด ว ย มนสกิ ารแลว ตดั กิเลสเสียดว ยปญ ญา ขอน้ีก็มีอุปไมยฉนั นนั้ . ร. \"พระผูเปน เจา ชา งฉลาดจรงิ ๆ.\" ๙. สีลปติฏฐานลกั ขณปญหา ๙ พระราชาตรัสถามวา \"ขอ ทพี่ ระผูเ ปนเจา พูดวา เพราะกศุ ลธรรมเหลา อื่นดว ยน้นั , กศุ ลธรรมเหลา น้นั อะไรบาง ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"กศุ ลธรรมเหลา นั้น คือ ศีล (ความระวัง) ศรัทธา (ความเชอื่ ) วริ ยิ ะ (ความเพยี ร) สติ (ความระลกึ ) สมาธิ (ความตัง้ ใจ).\" ร. \"ศลี มลี กั ษณะอยา งไร ?\" ถ. \"ศีลมีลักษณะ คอื เปน ทต่ี ัง้ อาศยั , ศีลนน้ั เปน ทีอ่ าศยั แหงกศุ ลธรรม ทั้งปวง ซง่ึ ไดชอื่ วาอินทรีย พละ โพชฌงค มรรค สติปฏฐาน สัมมัปปธาน อทิ ธบิ าท ฌาน วโิ มกข สมาธิ สมาบตั ,ิ เมื่อพระโยคาวจรตง้ั อยูใ นศีลแลว กศุ ลธรรมทัง้ ปวงยอ ม ไมเ ส่อื มรอบ.\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอุปมาใหข า พเจาฟง .\" ถ. \"บรรดาพีชคาม (พชื ) และภูตคาม (ของสเี ขยี ว) เหลาใดเหลาหนงึ่ ที่ถงึ ความเจรญิ งอกงามไพบูลย ,พีชคามและภูตคามเหลา นนั้ ทกุ อยาง ตองอาศยั แผน ดิน ตองต้ังอยทู ีแ่ ผน ดนิ จงึ ถงึ ความเจรญิ งอกงามไพบลู ยได ขอ น้ันมีอปุ มาฉนั ใด; พระโยคาวจร อาศัยศลี แลวตั้งอยูในศีลแลว จึงทาํ อนิ ทรยี ห า คอื ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญญา ใหเ กดิ ได ขอ นีก้ ็มอี ุปไมยฉนั นน้ั \" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจา จงอุปมาใหขาพเจาฟง อีก.\" ถ. \"นายชา งผสู รางเมือง ปรารถนาจะสรา งเมือง ตอ งใหถ างสถานทจี่ ะ ตง้ั เมอื งน้ัน ใหถ อนหลกั ตอหนอหนามขนึ้ ใหเ กลี่ยทีใ่ หราบกอนแลว ภายหลังจงึ กะที่ ตามกาํ หนดสณั ฐานซง่ึ จะเปนถนนสแ่ี ยก สามแยกเปน ตน แลว สรางขนึ้ ใหเปน เมือง ขอ

นั้นฉนั ใด; พระโยคาวจรอาศัยศลี แลว ตง้ั อยใู นศลี แลว จึงทาํ อินทรียห า ใหเกดิ ได ขอ น้กี ็ ฉันนนั้ .\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอุปมาใหขาพเจา ฟง อกี .\" ถ. \"พวกญวนหก ปรารถนาจะแสดงศลิ ปของตน ใหข ุดคุยแผนดนิ เอา กรวดกระเบ้อื งออกเสีย ใหท าํ พน้ื ใหราบแลว จงึ แสดงศิลปะของตนบนพนื้ ทนี่ ว มดแี ลว ขอนั้นฉนั ใด; พระโยคาวจรอาศัยศลี แลว ตัง้ อยใู นศีลแลว จงึ ทาํ อนิ ทรยี ห าใหเกิดได ขอ น้ีก็ฉนั นนั้ . แมพระผมู ีพระภาคเจา กไ็ ด ตรัสวา 'นรชนคนมปี ญ ญา เปน ภกิ ษุต้งั อยใู นศลี แลว มปี ญญาแกกลาพากเพยี รใหสมาธิและปญ ญาเกิดขน้ึ ได เธออาจสางชฏั อันนี้เสยี ได\" ดงั น.ี้ ศลี ขนั ธท น่ี ับวาพระปาฏิโมกขน ้ี เปนท่ีตง้ั อาศัยแหง กุศลธรรม เหมอื นแผน ดนิ เปนท่อี าศัยของสตั วทง้ั หลาย, และเปน รากเงาเพอ่ื ใหเจรญิ กศุ ลธรรม,และเปนประธาน ในคาํ สอนของพระพทุ ธเจา ทง้ั ปวง ฉะน.้ี \" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๑๐. สทั ธาลกั ขณาปญ หา ๑๐ พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปน เจา ศรทั ธามีลักษณะเปน อยา งไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"ศรัทธามลี กั ษณะใหใ จผองใสอยางหนงึ่ มี ลักษณะใหแลน ไปดวยดอี ยา งหนง่ึ .\" ร. \"ศรทั ธามลี กั ษณะใหใ จผอ งใสน นั้ เปน อยางไร ?\" ถ. \"ศรัทธาเมอื่ เกิดขนึ้ ยอ มขมนิวรณไ วได, จติ ก็ปราศจากนิวรณผ อ ง ใสไ มข นุ มัว, ศรัทธามลี กั ษณะทาํ ใหใ จผองใสอยา งน.้ี \" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอปุ มาใหข าพเจา ฟง .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา พระเจา จักรพรรดิราช เสด็จพระราชดําเนนิ โดย สถลมารคเปน ทางไกล ดวยกระบวนจตรุ งคนิ ีเสนา ขามลํานา้ํ อันนอ ยไป, น้าํ นัน้ จะ กระฉอกเพราะชา งมา รถและพลทหารราบแลวจะขุน มวั เปน ตม, ครั้นพระเจา จักรพรรดิ ราชเสด็จขา มลํานา้ํ แลว อยากจะเสวยนา้ํ จงึ ตรัสส่ังราชบุรษุ ใหไ ปนาํ น้าํ เสวยมาถวาย, และดวงแกวมณีที่สําหรบั แชน้ําใหใ ส ของพระเจา จกั รพรรดิราชนั้นจะมีอย,ู ราชบรุ ษุ นน้ั คร้ันรบั พระราชโองการแลว ก็จะเอาดวงแกว มณนี ั้นแชลงในน้าํ , แตพอแชล ง สาหราย จอกแหนก็จะหลกี ลอยไป ตมก็จะจมลง, นาํ้ กจ็ ะผองใสไมข ุนมวั , แตน ้ันราชบรุ ษ ก็จะนาํ นาํ้ นน้ั มาถวายพระเจาจกั รพรรดริ าชเสวย. ผมู ีปญญาควรเหน็ วา จติ

เหมอื นนา้ํ , พระโยคาวจรเหมือนราชบุรุษ, กเิ ลสเหมอื นสาหราย จอก แหน และตม ศรทั ธาเหมือนดวงแกวมณที สี่ ําหรบั แชนาํ้ ใหใ ส, เมือ่ ดวงแกว มณีนั้น พอราชบุรษุ แชล งไปในนา้ํ แลว สาหราย จอก แหน กห็ ลีกลอยไป, ตมกจ็ มลง, น้ําก็ผอ งใสไมข นุ มัว ฉันใด; ศรัทธาเมอื่ เกดิ ขึ้นยอมขม นวิ รณไวไ ด, จติ กป็ ราศจากนิวรณผอ งใสไมข ุน มวั ฉนั นนั้ . ศรทั ธามลี ักษณะใหใจผองใสอยา งน.ี้ \" ร. \"ศรทั ธามลี กั ษณะใหแลน ไปดว ยดีเปน อยางไร ?\" ถ. \"เหมือนอยา งวา พระโยคาวจรไดเ หน็ จติ ของผอู นื่ พนพิเศษจาก กิเลสอาสวะแลว ยอมแลน ไปดว ยดใี นพระโสดาปต ติผลบาง ในพระสกทาคามผิ ลบาง ใน พระอนาคามผิ ลบา ง ในพระอรหตั ตผลบางยอมทาํ ความเพียร เพือ่ บรรลุธรรมท่ตี นไม บรรลแุ ลว เพ่อื ไดธรรมที่ตนยงั ไมไดแ ลว เพอ่ื ทาํ ใหแจง ธรรมท่ีตนยงั ไมท าํ ใหแ จง แลว; ศรทั ธามีลกั ษณะใหแ ลนไปดว ยดอี ยา งน.้ี \" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจาจงอุปมาใหฟ ง .\"-------------------- ถ. \"เหมือนอยา งวา มหาเมฆจะใหฝนตกบนยอดภูเขา, น้ําน้นั จะไหล ลงมาทต่ี ํา่ ทาํ ลาํ ธาร หว ยละหานใหเ ต็มแลว ทาํ แมน าํ้ ใหเต็ม, แมน้ํานัน้ กจ็ ะไหลเซาะใหเปน ฝง ทัง้ สองขา งไป, ทนี น้ั ประชุมชนหมใู หญม าถงึ แลว ไมท ราบวาแมน า้ํ นัน้ ตน้ื หรือ ลึกก็กลวั ไมอาจขา มได ตองยืนท่ีขอบฝง , เม่ือเปน ดงั นน้ั บุรุษคนหน่งึ มาถึง แลว เหน็ เรี่ยวแรงและกาํ ลงั ของตนวา สามารถจะขา มได กน็ ุงผา ขอดชาย กระเบนใหม น่ั แลว กแ็ ลนขา มไปได, ประชมุ ชนหมใู หญเ ห็นบรุ ษุ นนั้ ขาไปได แลว ก็ขา มตามไดบ าง ขอนนั้ ฉันใด; พระโยคาวจรไดเหน็ จติ ของผูอน่ื พน พิเศษจากกเิ ลสอาสวะแลว ยอ มแลนไปดว ยดใี นพระโสดาปต ตผิ ลบา ง ใน พระสกทาคามิผลบาง ในพระอนาคามผิ ลบา ง ในพระอรหัตตผลบา ง ยอ มทาํ ความเพยี ร เพอ่ื บรรลธุ รรมที่ตนยังไมไดบรรลแุ ลว เพ่อื ไดธ รรมทตี่ นยงั ไมได แลว เพ่อื ทาํ ใหแ จงธรรมทต่ี นยงั ไมท าํ ใหแ จง แลว ขอ น้กี ฉ็ ันนนั้ . ศรทั ธามี ลกั ษณะใหแ ลน ไปดว ยดอี ยา งน.ี้ แมพ ระผูมพี ระภาคเจา ก็ไดต รัสไวใ นพระ คัมภรี ส ังยตุ ตนกิ ายวา \"บุคคลยอมขามหว งกิเลสได เพราะศรัทธา, ขาม มหาสมทุ ร คอื สังสารวัฏฏไ ด เพราะความไมประมาท, ลว งทุกขไ ปได เพราะ ความเพียร, ยอ มบริสทุ ธไดเพราะปญญา ดังน.้ี \" ร. \"พระผเู ปน เจาชา งฉลาดจรงิ ๆ.\" ๑๑. วิรยิ ลกั ขณปญหา ๑๑

พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปน เจา วิรยิ ะมีลักษณะเปน อยา งไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"วริ ิยะมีลกั ษณะค้ําจนุ ไว, กุศลธรรมท้งั หลาย ท้ังปวง ทว่ี ิรยิ ะคํ้าจนุ ไวแ ลว ยอ มไมเ สื่อมรอบ.\" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจาอุปมาใหข าพเจา ฟง .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา เมอื่ เรอื นซวนจะลม บรุ ษุ ค้ําจนุ ไวดว ยไมอน่ื ก็ไม ลม ฉนั ใด; วิรยิ ะมลี ักษณะค้าํ จนุ ไว, กุศลธรรมทงั้ หลายทัง้ ปวงทวี่ ริ ยิ ะคํา้ จนุ ไว แลวยอ มไมเ สอ่ื มรอบ ฉันนน้ั .\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา อปุ มาใหข า พเจา ฟงอกี .\" ถ. เหมอื นอยา งวา กองทพั หมูใหญตีหกั กองทพั ทนี่ อ ยกวา ใหแตกพา ย ไป, ในภายหลงั พระราชาจะทรงจดั กองทพั หมูอ นื่ ๆ สงเปนกองหนุนเพ่ิมเตมิ ไป, กองทพั หมูที่นอยกวา นน้ั คร้นั สมทบเขากับกองทพั ท่ยี กหนุนไป กอ็ าจหกั เอาชัยชาํ นะตีกองทพั หมใู หญน ัน้ ใหแ ตกพา ยได ฉันใด; วิริยะมลี กั ษณะคํ้าจนุ ไว, กศุ ลธรรมทั้งหลายทงั้ ปวงทีว่ ริ ิยะคาํ้ จนไวแ ลว ยอ มไมเส่อื มรอบ ฉนั นนั้ . แมพ ระผูมีพระภาคเจาก็ไดต รสั วา \"ภิกษทุ ้งั หลาย อริยสาวกผมู ีเพยี ร ยอ มละ อกศุ ล ทง้ั กุศลใหเกดิ ได, ยอมละกรรมทมี่ โี ทษเสีย ทํากรรมท่ไี มม ีโทษใหเ กิด ได, ยอมรักษาตนใหบ ริสุทธิ์ ดงั น.้ี \" ร. \"พระผูเปน เจา ชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๑๒. สตลิ ักขณปญหา ๑๒ พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปน เจา สตมิ ลี กั ษณะเปน อยา งไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"สตมิ ลี ักษณะใหน กึ ได และมีลักษณะถอื ไว. \" ร. \"สตมิ ลี ักษณะใหน กึ ไดเ ปน อยางไร ?\" ถ. \"สตเิ มือ่ เกดิ ข้นึ ยอ มใหนกึ ถึงธรรมที่เปนกศุ ลและอกศุ ล มีโทษและ ไมมีโทษ เลวทรามและประณตี มีสว นเปรียบดวยของดาํ และของขาวได, น้ี อินทรียห า , นพ้ี ละหา , นีโ้ พชฌงคเจด็ , นม้ี รรคมอี งคแปดอยางประเสรฐิ , นี้ สมถะ, นี้วปิ ส สนา, นว้ี ิชชา, นีว้ มิ ุตต\"ิ ดังน.้ี แตน ้นั พระโยคาวจร ยอ มเสพ ธรรมที่ควรเสพ ยอ มไมเสพธรรมทไี่ มควรเสพ, ยอมคบธรรมที่ควรคบ ยอ มไม คบธรรมทไ่ี มค วรคบ, สตินมี้ ลี กั ษณะใหน กึ ไดอ ยา งน.้ี \" ร. \"ขอพระผูเปน เจาจงอปุ มาใหข าพเจา ฟง .\"

ถ. \"เหมอื นอยา งวา คฤหบดรี ัตนผ จู ัดการพระคลงั หลวง ของพระเจา จกั รพรรดิราช กราบทลู พระเจาจกั รพรรดิราชใหท รงระลกึ พระราชอิสรยิ ยศ ของพระองคไดท กุ เยน็ เชา วา \"ชางของพระองคม ีเทา น้นั มา มเี ทา นนั้ รถมีเทา นน้ั พลราบมเี ทา น้นั เงนิ มเี ทา นนั้ ทองมีเทา นนั้ พสั ดุตาง ๆ มอี ยา งละเทา นนั้ ๆ \"เขากราบทลู พระเจา จกั รพรรดริ าชใหท รงนึกถึงราชสมบัติได ขอนั้นมอี ปุ มา ฉันใด; สติเมือ่ เกิดขนึ้ ก็ยอ มใหนกึ ถงึ ธรรมท่ีเปน กศุ ลและอกศุ ล มโี ทษและไม มีโทษ เลวทรามและประณตี มสี วนเปรียบดว ยของดําและของขาวได, และให นึกไดว า \"น้สี ตปิ ฏ ฐานส,่ี น้ีสมั มัปปธานส,ี่ นอ้ี ทิ ธิบาทส,ี่ นี้อินทรยี หา , นพ้ี ละ หา , นโ้ี พชฌงคเจ็ด, นม้ี รรคมีองคืแปดอยางประเสรฐิ , นี้สมถะ, นวี้ ิปส สนา, นี้ วิชชา, นวี้ มิ ตุ ติ\" ดังน.ี้ แตน น้ั พระโยคาวจรยอ มเสพธรรมท่คี วรเสพ ยอมไม เสพธรรมที่ไมค วรเสพ, ยอมคบธรรมที่ควรคบ ยอ มไมคบธรรมทีไ่ มควรคบ ขอ น้กี ม็ ีอุปไมยฉนั นน้ั สติมลี กั ษระใหนกึ ไดอยางน.ี้ \" ร. \"สตมิ ลี กั ษณะถอื ไวน น้ั เปนอยางไร ?\" ถ. \"สตเิ ม่ือเกิดข้นึ ยอมคนหาทีไ่ ปแหง ธรรมท้ังหลาย ท่ีเปน ประโยชน และไมเ ปน ประโยชน; ใหร วู า \"ธรรมเหลา นเ้ี ปนประโยชน ,ธรรมเหลา นไี้ มเปน ประโยชน, ธรรมเหลาน้ีเปน อุปการะ ธรรมเหลาน้ไี มเ ปน อุปการะ.\" แตน ้นั พระโยคาวจรยอมเกยี ดกนั ธรรมทีไ่ มเปน ประโยชนเ สยี ถอื ไวแ ตธรรมทเ่ี ปน ประโยชน, ยอ มเกยี ดกนั ธรรมที่ไมเ ปน อุปการะเสยี ถือไวแตธ รรมที่เปน อปุ การะ. สติมลี ักษณะถอื ไวอ ยา งน.ี้ \" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอุปมาใหข าพเจาฟง.\" ถ. \"เหมือนอยา งวา ปริณายกรตั นของพระเจา จักรพรรดิราช ยอ ม ทราบส่ิงทเี่ ปน ประโยชนและไมเ ปนประโยชน กราบทลู แดพ ระเจาจกั รพรรดิ ราชวา \"สิง่ นเี้ ปน ประโยชนแดพระราชา สง่ิ น้ไี มเ ปน ประโยชน ส่ิงนเ้ี ปน อุปการะ สง่ิ น้ีไมเปน อุปการะ.\" แตน ั้น ยอมเกยี ดกันสง่ิ ทไ่ี มเปนประโยชนเสยี ประคองไวแ ตสิง่ ทเ่ี ปน ประโยชน, ยอมเดยี ดกนั ส่ิงท่ไี มเ ปน อุปการะเสีย ถอื ไว แตสิ่งท่ีเปน อปุ การะ,\" ขอ นนั้ มอี ปุ มาฉนั ใด; สติเมอ่ื เกิดขน้ึ ยอมคน หาทีไ่ ป แหงธรรมทง้ั หลายทเี่ ปน ประโยชน และไมเปนประโยชน; ใหร วู า \"ธรรมเหลาน้ี เปน ประโยชน ธรรมเหลานไ้ี มเ ปน ประโยชน, ธรรมเหลาน้เี ปนอปุ การะ ธรรม เหลา นไี้ มเ ปน อปุ การะ.\" แตน้ัน พระโยคาวจรยอมเกยี ดกันธรรมท่ีไมเปน ประโยชนเ สีย ถือไวแ ตธรรมท่เี ปนประโยชน, ยอ มเดียดกันธรรมทีไ่ มเปน อปุ การะเสยี ถอื ไวแตธ รรมท่ีเปนอปุ การะ ขอ น้ีกม็ ีอปุ ไมยฉันนน้ั . สติมี

ลักษณะถือไวอ ยา งน.ี้ แมพ ระผูม พี ระภาคเจา ก็ตรัสวา \"ภกิ ษทุ งั้ หลาย เรา กลา วสตวิ าเปน ธรรมที่ควรปรารถนาในทที่ ว้ั งปวง ดงั น.้ี \" ร. \"พระผูเปน เจาชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๑๓. สมาธลิ กั ขณปญหา ๑๓ พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปนเจา สมาธิ มลี กั ษณะเปน อยา งไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"สมาธิ มลี กั ษณะเปน ประธาน, บรรดากุศล ธรรมทงั้ หลาย ลวนมสี มาธิเปนประธาน เปนไปในสมาธิ นอ มไปในสมาธิ เงอื้ มไปในสมาธ.ิ \" ร. \"ขอพระผูเปน เจาจงอปุ มาใหข าพเจา ฟง .\" ถ. \"บรรดากลอนของเรือนทม่ี ยี อด ยอมนอ มไปหายอด ยอ มเอนไปหา ยอด มียอดเปน ทช่ี มุ ชน, เขาจึงกลาวยอดวา เปน ประธานของกลอนเหลา นนั้ ขอ นั้นฉนั ใด, บรรดากุศลธรรมทง้ั หลาย ลว นมีสมาธเิ ปน ประธาน เปน ไปใน สมาธิ นอมไปในสมาธิ เง้อื มไปในสมาธิ ขอนี้กฉ็ ันนนั้ .\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอุปมาใหขา พเจาฟง อกี .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา พระราชาพระองคห นง่ึ จะเสด็จพระราชดาํ เนนิ สู งานพระราชสงคราม พรอื มดวยจตรุ งคนิ ีเสนา, บรรดาหมกู องทัพนัน้ หมดทงั้ ชา งมา รถและพลราบ ยอ มมพี ระราชานน้ั เปนประธานตามเสด็จหอ มลอ มพระ ราชานนั้ ขอ นน้ั ฉนั ใด; บรรดากศุ ลธรรมทงั้ หลาย ลว นมสี มาธเิ ปน ประธาน เปน ไปในสมาธิ นอ มไปในสมาธิ เง้ือมไปในสมาธิ ขอนก้ี ฉ็ นั นน้ั . สมาธมิ ี ลกั ษณะเปน ประธาน อยา งน.้ี แมพระผูม ีพระภาคเจากไ็ ดต รสั วา \"ภกิ ษทุ งั้ หลาย ทานทง้ั หลายเจริญสมาธิเถดิ , เพราะวา ผทู ี่มีจิตตง้ั มั่นแลว ยอ มรู ประจกั ษต ามเปน จรงิ อยา งไร ดังน.้ี \" ร. \"พระผูเปน เจาชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๑๔. ปญ ญาลกั ขณปญหา ๑๔ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา ปญญา มลี ักษณะเปนอยา งไร ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"แตกอนอาตมภาพไดก ลาววา 'ปญ ญา มี ลกั ษณะตดั ใหข าด,' อีกอยางหน่งึ ปญญา มีลกั ษณะสองใหสวา ง.\"

ร. \"ปญญามลี กั ษณะสอ งใหส วา งเปน อยางไร ?\" ถ. \"ปญ ญา เมอ่ื เกิดข้ึนยอมกําจดั มดื คอื อวชิ ชา, ทําความสวา ง คอื วชิ ชาใหเกิด, สอ งแสง คือ ญาณ, ทาํ อรยิ สจั ทัง้ หลายใหป รากฏ, แตนน้ั พระ โยคาวจรยอมเห็นดว ยปญ ญาอันชอบวา 'ส่ิงน้ไี มเทยี่ ง สิ่งนเี้ ปน ทกุ ข สิ่งน้ไี ม ใชตวั .\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอุปมาใหข าพเจา ฟง .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา จะมีบรุ ษุ ถือไฟเขา ไปในเรอื นทมี่ ืด, ไฟทเ่ี ขา ไปแลว นั้นยอมกาํ จดั มืดเสียทาํ ความสวางใหเ กิด, สอ งแสง ทาํ รปู ใหปรากฏ ขอ นั้น ฉนั ใด; ปญญา เมือ่ เกิดขนึ้ ยอ มกําจัดมืด คือ อวชิ ชา, ทาํ ความสวาง คอื วิชชา ใหเ กิด, สอ งแสง คือ ญาณ, ทาํ อริยสัจท้งั หลายใหปรากฏ, แตน ้นั พระ โยคาวจรยอมเห็นดว ยปญ ญาอนั ชอบวา 'ส่งิ นีไ้ มเทยี่ ง สงิ่ นเ้ี ปน ทุกข สงิ่ น้ีมิใช ตัว' ขอ นี้กฉ็ ันนัน้ . ปญ ญา มลี กั ษณะสองใหส วา งอยา งน.้ี \" ร. \"พระผูเปน เจาชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๑๕. นานาเอกกิจจกรณปญ หา ๑๕ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา ธรรมเหลานเ้ี ปน ตาง ๆ กนั แตทาํ ประโยชนใ หสาํ เรจ็ ไดเ ปน อันเดียวกนั หรอื ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"ขอถวายพระพร ธรรมเหลานี้ เปนตาง ๆ กนั แตทําประโยชนใหส าํ เร็จไดเ ปนอนั เดยี วกนั คือ กําจัดกเิ ลส.\" ร. \"ขอนี้เปน อยางไร, ขอพระผูเปน เจา จงอปุ มาใหข าพเจา ฟง .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา กองทพั เปนตา ง ๆ กัน คอื ชา ง มา รถ และพล ราบ, แตทําประโยชนใหส าํ เร็จไดเปนอันเดยี วกนั คอื เอาชัยชํานะกองทพั ขาศกึ ในสงครามได ฉันใด; ธรรมเหลานี้ ถงึ เปนตา ง ๆ กนั แตท าํ ประโยชนให สาํ เรจ็ ไดเ ปน อนั เดยี วกัน คอื กาํ จัดกิเลส ฉนั นน้ั .\" ร. \"พระผูเปน เจาชางฉลาดจริง ๆ.\"

วรรคทสี่ อง ๑. ธัมมสนั ตตปิ ญหา ๑๖ พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปนเจา ผใู ดเกิดขน้ึ เขาจะเปน ผนู นั้ หรอื จะเปน ผอู น่ื ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"จะเปนผูน นั้ กไ็ มใช จะเปน ผูอ นื่ กไ็ มใช.\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอปุ มาใหขาพเจาฟง .\" ถ. \"พระองคจ ะทรางสดบั ตอ ไปนั้นเปน ไฉน ขอ ความที่อาตมภาพจะ ทูลถาม: ก็เมอื่ เวลาใด พระองคยงั ทรงพระเยาวเปน เด็กออ น บรรทมหงายอยู ในพระอ,ู พระองคน น้ั นน่ั แหละไดทรงพระเจรญิ วัย เปน ผใู หญขน้ึ ในเวลานี้ ?\" ร. \"ไมใ ชอ ยา งนัน้ พระผูเปน เจา , ในเวลานน้ั ขาพเจา เปนเดก็ ออ น นอนหงายอยนู ัน้ คนหนึง่ ในเวลานี้ ขา พเจา เปนผูใ หญขึ้นคนหนงึ่ .\" ถ. \"กเ็ มอื่ เปนอยางนนั้ แมมารดาบิดาอาจารย และคนมศี ลี มสี ปิ ปะมี ปญ ญากจ็ ักไมมนี ะซ,ิ มารดาของสัตวซงึ่ แรกปฏิสนธิ เปน กลละ เปน อมั พทุ ะ เปน ชน้ิ เนือ้ เปน แทง และมารดาของสตั วท เ่ี ปนทารก มารดาของสัตวท เี่ ปนผู ใหญ คนละคน ไมใ ชคนเดยี วกนั ดอกหรอื ? คนหน่ึงศึกษาสิปปะ คนหนง่ึ เปน ผไู ดศึกษาแลว คนหนึง่ ทําบาปกรรม มอื และเทาทงั้ หลายของคนหนงึ่ ขาดไป หรือ ?\" ร. \"ไมเ ปน อยา งนน้ั พระผเู ปน เจา , กเ็ ม่อื เขาถามพระผูเปน เจาอยาง นน้ั พระผเู ปน เจาจะตอบอยา งไร ?\" ถ. \"อาตมภาพนแี้ หละเปน เดก็ อาตมภาพนีแ้ หละเปน ผใู หญ ในเวลา น้ี สภาวธรรมทั้งหลายอาศยั กายนนี้ ี่แหละ นับวา เปนอนั เดียวกนั ท้ังหมด.\" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจา จงอปุ มาใหข า พเจา ฟงอกี .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา บรุ ุษคนหนงึ่ จะตามประทีป อาจตามไปไดจ น ตลอดรุงหรือไม ?\" ร. \"ไดซ ิ พระผูเปน เจา.\" ถ. \"เปลวไปอนั ใดในยามแรก เปลวไฟอนั น้นั หรือในยามกลาง?\" ร. ไมใช พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"เปลวไฟอนั ใดในยามกลาง เปลวไฟอนั นน้ั หรือในยามสดุ ?\" ร. ไมใช พระผเู ปนเจา .\"

ถ. ประทบี ในยามแรก ในยามกลาง และในยามสุด ดวงหน่งึ ๆ ตา ง หากกันหรอื ?\" ร. \"ไมใ ช พระผูเ ปนเจา , ประทปี ท่ีอาศยั ประทีปนน้ั น่นั แหละสวา งไป แลวจนตลอดรุง.\" ถ. \"ขอ นน้ั ฉนั ใด, ความสืบตอ แหง สภาวธรรมก็สบื ตอกนั ฉนั นนั้ นนั่ แหละ; สภาวะอันหนง่ึ เกิดขึ้น สภาวะอนั หนงึ่ ดบั ไป, เหมอื นกะสบื ตอพรอ ม ๆ กัน, เพราะเหตุน้นั ผทู ี่เกดิ ข้นึ จึงไดช่อื วา จะเปนผนู ้ันกไ็ มใ ช จะเปน ผูอ นื่ ก็ไมใ ช แตถ งึ ความสงเคราะหว า ปจ ฉิมวญิ ญาณ.\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอุปมาใหข าพเจา ฟง ใหย่ิงขน้ึ อกี .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา นา้ํ นมทีเ่ ขารีดออก ครน้ั เวลาอ่นื แปรเปน นมสม ไป, และแปรไปจากนมสมกเ็ ปนเนยขน , แปรไปจากเนยขนก็เปน เปรียง, และ จะมผี ใู ดผูห นง่ึ มาพดู อยางนี้วา 'นํ้านมอนั ใด นมสม ก็อนั นนั้ นนั่ เอง นมสมอนั ใด เนยขน กอ็ นั นน้ั นนั่ เอง เนยขน อนั ใด เปรียงกอ็ นั นน้ั นน่ั เอง' ฉะน.ี้ เมอ่ื ผูนน้ั เขาพูดอยู จะชอ่ื วาเขาพูดถกู หรือไม ?\" ร. \"ไมถ กู พระผเู ปนเจา , มันอาศยั นาํ้ นมนน้ั นนั่ เองเกดิ ขึน้ .\" ถ. \"ขอน้ันฉันใด, ความสบื ตอ แหงสภาวธรรม ก็สืบตอ กนั ฉันนน้ั นน่ั แหละ; สภาวะอันหน่งึ เกดิ ข้ึน สภาวะอนั หนงึ่ ดบั ไป, เหมอื นกะสืบตอ พรอม ๆ กัน, เพราะเหตุน้ัน ผทู ่ีเกดิ ขึน้ จงึ ไดช่ือวา จะเปนผนู ้นั กไ็ มใ ช จะเปน ผูอน่ื ก็ไมใ ช แตถ ึงความสงเคราะหว าปจฉมิ วญิ ญาณ.\" ร. \"พระผูเปน เจา ชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๒. นบั ปปฏสิ นั ธคิ หณปญหา ๑๗ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา ผใู ดไมป ฏิสนธิ ผนู น้ั รไู ดห รือไม วา 'เราจกั ไมปฏิสนธ?ิ \" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"ขอถวายพระพร รไู ด.\" ร. \"รไู ดดว ยอยา งไร ?\" ถ. \"สงิ่ ใดเปนเหตุเปนปจจยั ของความถอื เอาปฏิสนธ,ิ เพราะความสน้ิ ไปแหง เหตแุ ละปจ จัยน้ันน่นั แหละ เขาจงึ รไู ดว า 'เราจักไมป ฏสิ นธ.ิ \" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจา จงอปุ มาใหข าพเจา ฟง.\" ถ. \"เหมือนอยา งวา ชาวนาเขาไถแลว หวานแลว กข็ นขาวเปลอื กมาไว

ในฉางใหเ ต็มแลว, สมัยอน่ื อีก ชาวนาน้นั กไ็ ดไถและมิไดห วา นอกี บรโิ ภค ขา วเปลอื กที่ตนไดส งั่ สมไวอยา งไรนน้ั เสียบาง จําหนา ยเสียบา ง นอ มไปตาม ประสงคบา ง, เขาจะรไู ดห รือไมว า 'ฉางสาํ หรับเกบ็ ขา วเปลอื กของเราจักไม เต็มข้นึ ไดอกี .\" ร. \"รูไดซ ิ พระผูเ ปน เจา .\" ถ. \"รไู ดดวยอยางไร ?\" ร. \"สง่ิ ใดเปนเหตุเปนปจจัย ซงึ่ จะทาํ ฉางสาํ หรบั ไวขา วเปลือกใหเ ต็ม ข้ึนได, เพราะความสนิ้ ไปแหง เหตแุ ละปจจัยนนั้ นน่ั แหละ เขาจงึ รูไ ดวา 'ฉาง สําหรับไวขา วเปลอื กของเราจกั ไมเ ตม็ ขึน้ ไดอ ีก.\" ถ. \"ขอน้ันฉนั ใด, สิง่ ใดเปน เหตเุ ปน ปจ จัยของความถือเอาปฏสิ นธ,ิ เพราะความสนิ้ ไปแหง เหตุและปจจยั น้นั นน่ั แหละ เขาจงึ รูไดว า 'เราจักรไม ปฏสิ นธ'ิ กฉ็ ันน้นั นน่ั แหละ.\" ร. \"พระผูเปน เจาชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๓. ปญญานริ ชุ ฌนปญหา ๑๘ พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปนเจา ญาณเกิดขึน้ แลว แกผ ใู ด ปญ ญาก็เกดิ ขนึ้ แกผูนน้ั หรือ ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"ขอถวายพระพร ญาณเกดิ ขึน้ แลวแกผ ใู ด ปญญากเ็ กดิ ขน้ึ แกผ ูน นั้ .\" ร. \"ญาณอนั ใด ปญ ญากอ็ นั นน้ั นัน่ เองหรือ ?\" ถ. \"ขอถวายพระพร ญาณอนั ใด ปญญากอ็ นั นน่ั นน่ั แหละ.\" ร. \"ก็ญาณเกิดขึน้ แลวแกผ ูใ ด ปญญากเ็ กดิ ข้นึ แกผนู น้ั , ผนู ัน้ จะหลง หรอื ไมหลง ?\" ถ. \"หลงในท่ีบางแหง , ไมหลงในท่ีบางแหง .\" ร. \"หลงในท่ีไหน, ไมห ลงในทไ่ี หน ?\" ถ. \"หลงในสปิ ปะท่ีตนยังไมไ ดเ คยเรยี น ในทศิ ทต่ี นยังไมเ คยไป และ ในการตง้ั ช่อื (คือภาษา) ทตี่ นยังไมไ ดเ คยฟง .\" ร. \"เขาไมห ลงในที่ไหนเลา ?\" ถ. \"กส็ ่งิ ใด คอื อนิจจจงั กด็ ี ทกุ ขงั กด็ ี อนัตตาก็ดี ทป่ี ญญาไดทําไว, เขาไมห ลงในสิง่ นนั้ .\"

ร. \"กโ็ มหะของผนู นั้ ไปในท่ีไหนเลา ?\" ถ. \"เม่อื ญาณเกดิ ข้ึนแลว โมหะกด็ บั ไปในทน่ี น้ั เอง.\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอปุ มาใหขา พเจา ฟง .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา บรุ ษุ คนหนงึ่ สอ งแสงไฟเขาไปในเรือนทมี่ อื , แตน น้ั มืดก็หายไป แสงสวางกป็ รากฏขึน้ , เมื่อญาณเกดิ ข้นึ แลว โมหะกด็ ับไปในท่ี น้ัน ฉะน้ัน.\" ร. \"ก็ปญ ญาไปในทีไ่ หนเลา ?\" ถ. \"ถึงปญญาเม่อื ทํากจของตนแลว กด็ ับไปในทน่ี ั้นเอง, ก็แตว า สิง่ ใด คอื อนจิ จงั กด็ ี ทกุ ขงั ก็ดี อนนั ตตากด็ ี ที่ปญ ญาไดทาํ ไว, สิ่งนัน้ มไิ ดด ับไป.\" ร. \"ขอท่พี ระผเู ปนเจากลา วา 'ปญญาทาํ กจิ ของตนแลว ดบั ไปในทนี่ ั้น เอง, กแ็ ตว า สิ่งใด คอื อนจิ จงั ก็ดี ทุกขงั ก็กด็ ี อนันตากด็ ี ทปี่ ญ ญาไดท าํ ไว สงิ่ นั้นมไิ ดดบั ไป,' ฉะนนั้ ขอพระผเู ปนเจา จงอุปมาสิง่ นนั้ ใหขา พเจาฟง.\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา บรุ ุษคนหนงึ่ อยากจะสง จดหมายไปในกลางคนื ใหเ รียกเสมยี นมาแลว จงึ ใหจดุ ไฟแลว ใหเ ขียนจดหมาย ครน้ั ใหเ ขยี นจด หมายเสรจ็ แลว กใ็ หดบั ไฟเสยี , เมื่อไฟดบั ไปแลว จดหมายกม็ ิไดหายไป ฉนั ใด; ปญญาทาํ กจิ ของตนแลว กด็ บั ไปในที่นนั้ เอง ฉะนน้ั ; ก็แตวา ส่ิงใด คอื อนิจจังกด็ ี ทกุ ขังกด็ ี อนัตตากด็ ี ทีป่ ญ ญานน้ั ไดท าํ ไว, สิ่งนน้ั มไิ ดดับไป.\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจาจงอุปมาส่งิ นนั้ ใหขา พเจาฟง ใหยงิ่ ข้ึนอกี สกั หนอ ย.\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา มนษุ ยท ง้ั หลายในปรุ ัตถมิ ชนบท ตง้ั หมอนา้ํ ไว เรอื นละหา หมอ ๆ สาํ หรับดบั ไฟ, ครน้ั เมือ่ ไฟไหมเรือนแลว เขากโ็ ยนหมอนา้ํ หา หมอ นน้ั ข้นึ ไปบนหลงั คาเรอื น, ไฟนน้ั กด็ บั ไป, มนุษยท ั้งหลายนนั้ จะตอง คดิ วา 'ตนจักทาํ กจิ ดว ยหมอ แหงนาํ้ น้าํ อกี หรอื ?\" ร. \"ไมต อ งคิดอกี เลย พระผเู ปน เจา , พอแลว ดว ยหมอเหลา นน้ั , ประโยชนอะไรดวยหมอ น้ําเหลานนั้ อกี .\" ถ. \"ผูมปี ญญาควรเห็นอนิ ทรียทั้งหา คือ ศรทั ธา วริ ิยะ สติ สมาธิ ปญ ญา เหมือนหมอ นา้ํ หา หมอ, ควรเหน็ พระโยคาวจรเหมอื นมนุษยท งั้ หลาย น้นั , ควรเหน็ กเิ ลสท้งั หลายเหมอื นไฟ, กเิ ลสท้ังหลายดบั ไปดว ยอินทรียท ั้งหา และกเิ ลสทงั้ หลายเหมือนไฟ, กเิ ลสทงั้ หลายดบั ไปดว ยอนิ ทรยี ท ัง้ หา และ กเิ ลสทีด่ บั ไปแลว ไมเกดิ อกี เหมือนไฟดบั ไปดวยหมอนา้ํ ทงั้ หา ขอ นน้ั ฉนั ใด; ปญญาทํากิจของตนแลว กด็ ับไปในทน่ี นั้ ฉันนน้ั , ก็แตวาส่ิงใด คือ อนจิ จงั กด็ ี

ทุกขงั กด็ ี อนัตตากด็ ี ทีป่ ญ ญาไดทาํ ไว, ส่งิ นน้ั มไิ ดด ับไป.\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจาจงอปุ มาใหข า พเจาฟง ใหย งิ่ ขนึ้ อีก.\" ถ. \"เหมือนอยา งวา แพทยถอื เอารากไมท เี่ ปน ยาหา อยา ง เขา ไปหาคน ไขแลว บดรากไมทเี่ ปน ยาหา อยางนน้ั ใหคนไขด ่มื กนิ , โทษทั้งหลายก็ระงบั ไป ดว ยรากไมท ่ีเปนยาหา อยางนน้ั , แพทยน น้ั จะตองคดิ วา 'ตนจกั ทาํ กจิ ดว ยราก ไมน ้ันอีกหรอื ?\" ร. \"ไมต อ งคดิ อกี เลย พระผูเปนเจา, พอแลว ดวยรากไมท เ่ี ปนยาหา อยา งเหลา นนั้ , จะประโยชนอ ะไรดว ยรากไมเ หลา นน้ั .\" ถ. \"ผูม ีปญญา ควรเหน็ อนิ ทรยี ทง้ั หามอี นิ ทรีย คือ ศรทั ธาเปน ตน เหมือนรากไมท เ่ี ปนยาหา อยา ง, ควรเห็นพระโยคาวจรเหมือนแพทย, ควรเหน็ กิเลสทง้ั หลายเหมอื นพยาธ,ิ ควรเหน็ ปถุ ุชนทง้ั หลายเหมือนบรุ ุษทเ่ี จ็บ, กิเลส ท้ังหลายระงับไปดวยอนิ ทรยี ท ง้ั หา และกเิ ลสทร่ี ะงับไปแลว ไมเ กดิ อีก เหมือน โทษท้ังหลายของคนไขร ะงบั ไปดวยรากไมท ่ีเปน ยาหา อยา ง ครัน้ เม่อื โทษ ระงับไป คนไขก เ็ ปน ผหู ายโรค ฉะนน้ั ขอ นฉ้ี ันใด; ปญญาทาํ กิจของตนแลว ก็ ดับไปในท่นี น้ั ฉันนนั้ , กแ็ ตว าสิง่ ใด คือ อนจิ จังกด็ ี ทุกขงั ก็ดี อนตั ตากด็ ี ที่ ปญ ญาไดท าํ ไว, ส่งิ นัน้ มไิ ดด บั ไป.\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอปุ มาใหข า พเจา ฟงใหยิ่งขน้ึ อกี .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา ทหารทเ่ี ขา สูสงคราม ถือเอาลกู ศรไปหา ลกู แลว เขาสสู งคราม เพอ่ื จะเอาชยั ชํานะกองทัพแหง ขา ศึก, ทหารนนั้ เขา สูสงคราม แลว ยงิ ลูกศรทงั้ หา นนั้ ไป, กองทพั แหง ขาศกึ กแ็ ตกไปดวยลูกศรทง้ั หานน้ั , ทหารที่เขาสูส งครามนนั้ จะตองคิดวา 'ตนจักทาํ กิจดว ยลกู ศรอกี หรอื \" ร. \"ไมต องคดิ อีกเลย พระผูเปน เจา, พอแลว ดว ยลกู ศรหา ลูกนน้ั , จะ ประโยชนอะไรดว ยลกู ศรเหลา นนั้ .\" ถ. \"ผูม ปี ญญา ควรเหน็ อินทรียท ัง้ หามีศรทั ธาเปน ตน เหมอื นลูกศรทง้ั หา, ควรเหน็ พระโยคาวจร เหมือนทหารผเู ขา สูสงคราม, ควรเหน็ กเิ ลสทั้ง หลาย เหมอื นกองทพั แหง ขา ศกึ , กิเลสทัง้ หลายทแี่ ตกไปดว ยอินทรยี ท ้งั หา และกิเลสทแี่ ตกไปแลวไมเกดิ อกี เหมอื นกองทพั แหง ขาศึกท่ีแตกไปดว ยลกู ศร ท้ังหา ขอนนั้ ฉนั ใด; ปญญาทาํ กจิ ของตนแลว ก็ดับไปในทนี่ น้ั ฉนั น้ัน, ก็แตว า สง่ิ ใด คือ อนจิ จังก็ดี ทกุ ขงั กด็ ี อนตั ตาก็ดี ทีป่ ญ ญาไดท าํ ไว, ส่ิงนั้นมไิ ดด บั ไป.\" ร. \"พระผูเปน เจาชา งฉลาดจริง ๆ.\"

๔. ปรินิพพานปญหา ๑๙ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา ผูใดไมป ฏสิ นธิ เขาจะเสวย เวทนาทเี่ ปน ทกุ ขหรือไม ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"เสวยบาง ไมเสวยบา ง.\" ร. \"เสวยเวทนาชนดิ ไหน, ไมเ สวยเวทนาชนดิ ไหน ?\" ถ. \"เสวยเวทนาทมี่ กี ายเปน สมุฏฐาน, ไมเสวยเวทนาทม่ี จี ิตเปน สมุฏฐาน.\" ร. \"ไฉนจึงเสวยเวทนาทม่ี กี ายเปน สมฏุ ฐาน, ไฉนจงึ ไมเ สวยเวทนาท่มี ี จิตเปนสมฏุ ฐาน ?\" ถ. \"ส่งิ ใดเปน เหตเุ ปน ปจจัยใหเกิดทกุ ขเวทนา ทมี่ กี ายเปน สมุฏฐาน, เพราะยงั ไมสน้ิ แหงเหตุและปจ จยั นนั้ จึงเสวยทกุ ขเวทนาทม่ี กี ายเปน สมฏุ ฐาน, ส่งิ ใดเปน เหตุเปน ปจจยั ใหเ กดิ ทกุ ขเวทนาท่มี จี ติ เปนสมุฏฐาน, เพราะความสนิ้ แหงเหตแุ ละปจ จัยนนั้ จึงไมเ สวยทกุ ขเวทนาทมี่ จี ติ เปน สมฏุ ฐาน. แมคํานี้ พระผูมพี ระภาคเจาไดตรัสไววา \"พระอรหนั ตท า นเสวยแต เวทนาทม่ี กี ายเปนสมฏุ ฐานอยางเดยี ว, มไิ ดเสวยเวทนาท่ีมีจิตเปน สมฏุ ฐาน.\" ร. \"พระผูเปน เจา กเ็ มือ่ พระอรหันตท า นเสวยทกุ ขเวทนาอยู, เหตุไฉน ทานไมปรนิ พิ พานเสียเลา ?\" ถ. \"เพราะวา ความรกั ความชงั ของพระอรหันตไมมเี ลย, อน่ึง พระ อรหนั ตท งั้ หลายทา นไมเ รง กาลเวลา ทานคอยกาลเวลาอย.ู ถงึ คําน้ี พระธรรม เสนาบดสี ารีบตุ รเถรเจา ก็ไดกลาวไวว า \"เรามิไดย ินดคี วามตาย หรือชีวติ (ความเปน อย)ู แตเ ราคอยกาลเวลาอย,ู เหมอื นลกู จา งคอยคา จา งอยู และเรา มไิ ดย ินดีความตายหรอื ชวี ติ เลย, แตเ รามีสติรู รอคอยกาลเวลาอย.ู \" ร. \"พระผูเปน เจา ชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๕. สุขเวทนาปญ หา ๒๐ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา เวทนาทเี่ ปน สขุ เปน กศุ ลหรือ อกศุ ล หรือเปน อพยากฤต.\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"เปน กศุ ลกม็ ี อกุศลก็มี อพยากฤตกม็ .ี \"

ร. \"ถา วา เปน กศุ ล ก็ไมใ ชทกุ ข, ถาวาเปน ทกุ ข ก็ไมใชก ุศล, คําวา 'เวทนาเปนทง้ั กศุ ลเปน ท้งั ทกุ ข' ไมช อบ.\" ถ. \"พระองคจ ะทรงสาํ คัญขอ ความนั้นเปน ไฉน: เหมือนอยา งวา ผใู ดผู หนง่ึ จะวางกอนเหลก็ ทรี่ อนลงในมอื ขางหนงึ่ ของบรุ ุษ, ในมือทส่ี องวางกอ นนา้ํ คา งทเ่ี ยน็ อยา งท่สี ุดลง, สงิ่ ทงั้ สองน้นั จะเผาหรือไม ?\" ร. \"เผาซิ พระผูเปน เจา .\" ถ. \"กส็ งิ่ นน้ั จะรอ นทัง้ สองสง่ิ หรอื ?\" ร. \"ไมร อนทง้ั สองสิ่ง พระผูเปน เจา .\" ถ. \"เยน็ ทงั้ สองสิ่งหรอื ?\" ร. \"ไมเยน็ พระผเู ปน เจา .\" ถ. \"ขอพระองคจงทรงทราบ: ขอ นีแ้ หละเปน เครอ่ื งขมพระองค, ถา วา ของทร่ี อนเผาได, มใิ ชข องนนั้ จะรอ นท้ังสองสงิ่ , เหตนุ นั้ ขอ ท่ีวา นน้ั มิไมช อบ หรือ ? ถา วา ของท่ีเย็นเผาได, มใิ ชข องนนั้ จะเยน็ ทง้ั สองสงิ่ , เหตนุ น้ั ขอ ท่วี า นน้ั มไิ มช อบหรือ ? กเ็ หตุไฉน สง่ิ ทงั้ สองน้นั เผาได, แตไมร อ นทงั้ สองสง่ิ , และไม เยน็ ทั้งสองสิ่ง, สงิ่ หนงึ่ รอ น สงิ่ หนงึ่ เย็น, แตว า เผาไดทัง้ สองส่ิง, เหตนุ น้ั ขอท่ี วา นน้ั มิไมช อบหรอื ?\" ร. \"ขาพเจา ไมส ามารถจะเจรจากบั พระผเู ปนเจา ผชู า งพูดได ขอพระผู เปนเจา จงขยายความเถดิ .\" แตน ั้น พระเถรเจาอธบิ ายความใหพ ระเจา มิลินท เขาพระราชหฤทัยดว ยอภธิ รรมกถาวา \"จกั รท้ังหลายหกเหลา น:ี้ คือ โสมนสั ที่ อาศัยความกาํ หนดั หก ทอ่ี าศยั เนกขัมมะ (คณุ คอื ความออกไป) หก, โทมนัส ที่อาศยั ความกาํ หนดั หก ทอ่ี าศยั เนกขัมมะหก, อเุ บกขา ท่ีอาศยั ความกําหนัด หก ท่ีอาศยั เนกขัมมะหก, เวทนา ทเ่ี ปน อดตี สามสิบหกอยา ง, ที่เปน อนาคต สามสิบหกอยา ง, ทเ่ี ปน ปจ จบุ นั สามสบิ หกอยา ง, รวมยน เวทนาเหลา นน้ั เขา ดว ยกนั เปน เวทนารอ ยแปด.\" ร. \"พระผเู ปน เจาชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๖. นามรปู ปฏิสนธิคหณปญหา ๒๑ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา อะไรเลาจะปฏสิ นธิ ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"นามและรูปนน่ั แหละจะปฏสิ นธ.ิ \" ร. \"นามและรูปนีห้ รอื จะปฏสิ นธิ ?\"

ถ. \"นามและรปู นจ้ี ะปฏิสนธหิ ามไิ ด, ก็แตใ ครทาํ กรรมดกี รรมชว่ั ไวด วย นามและรูปน,ี้ นามและรูปอน่ื จะปฏสิ นธขิ นึ้ ดว ยกรรมนน้ั .\" ร. \"ถา วา นามและรปู นน้ั ไมป ฏิสนธิ ผนู ั้นเขาจกั พน จากบาปกรรมมใิ ช หรอื ?\" ถ. \"ถาวา นามและรปู นั้นจะไมป ฏิสนธิ เขาก็อาจพน จากบาปกรรมได, ก็แตว า เหตุใดนามและรปู นนั้ ยงั จะปฏิสนธอิ ยู เหตุนน้ั เขาจึงไมพน จาก บาปกรรมได. \" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจาจงอปุ มาใหข าพเจา ฟง.\" ถ. \"เหมือนอยา งวา บรุ ษุ คนหนงึ่ ไปลกั มะมว งของคนใดคนหนึ่ง, เจา ของมะมว งกจ็ บั บรุ ษุ นนั้ ไปถวายแดพระเจา แผน ดนิ วา 'บุรุษน้ีลกั มะมว งของ ขา พระองค' ฉะน,ี้ บรุ ุษนน้ั กใ็ หก ารแกว า 'ขาพระองคไ มไ ดล กั มะมว งของบุรุษ น,้ี มะมว งทบ่ี รุ ุษนีป้ ลกู ไวน นั้ ตนหนงึ่ ตา งหาก, มะมว งทีข่ า พระองคลกั นนั้ ตน หนง่ึ ตา งหาก, ขาพระองคไ มต องรบั ราชทณั ฑเลย' ฉะนี,้ บรุ ุษนนั้ จะตอ งรับ ทณั ฑห รอื ไม ?\" ร. \"ตองรบั ซิ พระผเู ปน เจา .\" ถ. \"ตอ งรบั เพราะเหตุอะไร ?\" ร. \"ถงึ บรุ ุษน้นั จะใหการปฏเิ สธมะมว งทีเ่ ขาหาเสยี , กต็ อ งรบั ราชทณั ฑ ดว ยมะมว งทตี่ นรบั ทหี ลงั .\" ถ. \"ขอ นนั้ ฉันใด; ใครทาํ กรรมดหี รอื ช่ัวไวดว ยนามและรปู น,ี้ นามและ รปู อ่นื กป็ ฏิสนธขิ ้นึ ดวยกรรมนัน้ , เพราะเหตนุ ั้น เขาจงึ ไมพนจากบาปกรรม ก็ ฉนั นน้ั .\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอุปมาใหข า พเจา ฟง ใหยง่ิ ขน้ึ อีก.\" ถ. กอ็ ุปมาบรุ ษุ ลกั ขาวสาลี ลกั ออ ย เหมอื นฉะนน้ั , อกี อปุ มาหนงึ่ วา บุรษุ กอไฟผงิ ในฤดูหนาวแลว ไมด บั หลกี ไปเสีย, ไฟนน้ั กไ็ หมไ รข องบรุ ุษผูอื่น, เจาของไรจ ับบุรุษนัน้ มาถวายแดพระเจา แผน ดนิ (กราบทูลฟอ ง) วา 'บุรุษผนู ้ี เผาไรข องขาพระองค' ฉะน,ี้ บรุ ษุ นั้นกราบทูลวา 'ขาพระองคไ มไดเ ผาไรข อง บรุ ุษน,ี้ ไฟทีข่ า พระองคไ มไดดบั นัน้ แหง หนึ่ง, ไฟทีเ่ ผาไรข องบรุ ษุ นนั้ แหง หนงึ่ , ขาพระองคไ มต องรบั ราชทณั ฑเลย' ฉะน,้ี บรุ ุษน้นั จะตอ งรับราชทณั ฑ หรอื ไม ?\" ร. \"ตอ งรับซิ พระผูเปนเจา .\" ถ. \"ตอ งรับเพราะเหตุไร ?\"

ร. \"ถงึ บรุ ษุ นั้นจะใหการปฏเิ สธไฟทีเ่ ขาหาเสีย, กต็ อ งรบั ราชทัณฑดวย ไฟทตี่ นรบั ทหี ลัง.\" ถ. \"ขอ น้นั มอี ปุ มาฉันใด; ผใู ดทํากรรมดหี รอื ชวั่ ไวดวยนามและรูปน,ี้ นามและรูปอนื่ ปฏิสนธขิ น้ึ ดว ยกรรมนน้ั , เพราะเหตนุ น้ั เขาจึงไมพ น จาก บาปกรรมได กม็ อี ปุ ไมยฉนั น้ัน.\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจาจงอุปมาใหข า พเจา ฟงใหยง่ิ ขน้ึ อกี .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา บรุ ษุ คนหนง่ึ ถือไฟขนึ้ สเู รอื นแลว บรโิ ภคอาหารอยู เม่ือไฟไหมอยกู ็ไหมห ญา , เมอื่ หญา ไหมอยู กไ็ หมเ รอื น, เม่ือเรือนไหมอ ยู ก็ ไหมบ า น, ชนชาวบา นจับบรุ ุษนนั้ ไดแลว ถามวา 'เหตุไฉนเจา จงึ ทําใหไ ฟไหม บา น,' บรุ ุษนน้ั บอกวา 'ขาพเจา ไมไดท าํ ไฟใหไ หมบ า น, ขา พเจา บริโภคอาหาร ดวยแสงสวา งไฟดวงหนงึ่ , ไฟทไี่ หมบานนน้ั ดวงหนึง่ ' ฉะน;้ี เมือ่ ชนเหลา นนั้ วิวาทกนั อยู มาในราชสาํ นกั ของพระองค ๆ จะทรงวนิ จิ ฉัยอรรถคดขี อน้นั ให ใคร (ชนะ).\" ร. \"วนิ จิ ฉยั ใหช นชาวบา น (ชนะ) นะซิ พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"เพราะเหตไุ ร พระองคจึงทรงวนิ จิ ฉัยอยา งนี้ ?\" ร. \"ถึงบุรษุ น้ันจะพดู อยา งนนั้ , กแ็ ตว า ไฟนน้ั เกดิ ขน้ึ แตไฟนน้ั นน่ั เอง.\" ถ. \"ขอน้นั มอี ปุ มาฉนั ใด ถึงนามและรปู ทมี่ ใี นสมัยใกลต อ มรณะแผนก หนงึ่ นามและรปู ที่ปฏิสนธิแผนกหนง่ึ , กแ็ ตว า นามรูปในปฏสิ นธนิ ัน้ เกิดขนึ้ แตนามและรปู ทม่ี ีในสมยั ใกลตอมรณะนนั่ เอง เพราะเหตุนนั้ เขาจงึ ไมพ น บาปกรรมได ก็มอี ปุ ไมยฉนั นน้ั .\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจา จงอปุ มาใหข าพเจา ฟงอกี .\" ถ. \"เหมือนอยา งวา บรุ ุษคนหนงึ่ ขอนางทาริกาทีย่ งั เดก็ อยแู ลว หมน้ั ไว แลวหลีกไปเสยี , ภายหลงั นางทารกิ านน้ั โตเปน สาวข้ึน, แตน้ันบุรษุ อนื่ กม็ า หม้ันแลว กระทําววาหมงคลเสยี , บรุ ุษคนทีข่ อไวเ ดมิ นนั้ มา แลวพดู วา 'กเ็ หตุ ไฉนทา นจงึ นาํ เอาภริยาของเราไป,' บรุ ุษนน้ั จึงพูดวา 'เราไมไ ดน ําเอาภริยา ของทานมา, นางทารกิ าที่ยงั เด็กเลก็ อยูย งั ไมเปนสาว และซึ่งทานไดข อไวและ ไดห มน้ั ไวน ้นั คนหนึ่ง, นางทาริกาท่โี ตเปน สาวข้ึน ขา พเจาไดขอไดแ ละไดหมน้ั ไวน ้ันคนหนงึ่ ' ฉะน,ี้ เม่ือชนเหลา น้นี วิวาทกนั อยู มาในพระราชสาํ นกั ของพระ องค ๆ จะทรงวินิจฉยั อรรถคดขี อนั้นใหใคร (ชนะ).\" ร. \"วนิ จิ ฉยั ใหบ ุรุษเดิม (ชนะ) นะซิ พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"เพราะเหตไุ ร พระองคจ ึงทรงวนิ ิจฉัยอยา งนนั้ ?\"

ร. \"ถงึ บรุ ุษนนั้ จะพดู อยา งนน้ั , ก็แตวา นางทารกิ านั้นก็โตเปนสาวขึน้ แตน างทารกิ านั้นนัน่ เอง.\" ถ. \"ขอ นน้ั มอี ปุ มาฉนั ใด ถงึ นามและรูปทมี่ ีในสมัยใกลต อมรณะแผนก หนงึ่ นามและรูปในปฏิสนธแิ ผนกหน่งึ , กแ็ ตว า นามและรูปในปฏิสนธนิ ั้น เกิดแตน ามและรปู ท่มี ใี นสมยั ใกลต อ มรณะนนั่ เอง, เพราะเหตุนนั้ เขาจงึ ไม พนจากบาปกรรมได ก็มีอุปไมยฉนั นน้ั .\" ร. \"ขอพระผเู ปน เจาจงอปุ มาใหข าพเจา ฟง อีก.\" ถ. \"เหมือนอยา งวา บุรุษคนหนง่ึ ซ้อื นาํ้ นมสดแตม ือนายโคบาลแลว ฝากไวใ นมอื นายโคบาลแลว หลกี ไปเสีย ดวยคิดวา 'ในวนั รงุ ขน้ึ เราจักไปเอา' ฉะน,ี้ ในเวลาอ่นื นมสดนน้ั ก็แปรเปนนมสม ไปเสยี บุรษุ นนั้ มาแลว กลา ววา 'ทา นจงใหน มสดนัน้ แกเ รา' ฉะนี้ นายโคบาลนนั้ กใ็ หน มสม , บุรษุ นนั้ กลาววา 'เราไมไดซ อ้ื นมสม แตม ือทาน ๆ จงใหน มสดนนั้ แกเรา,' นายโคบาลบอกวา 'ทานไมรูจ ัก นมสดนั้นแหละกลายเปน นมสม ' ฉะน;ี้ เมอ่ื ชนเหลา น้ันววิ าทกนั อยู มาในราชสํานกั ของพระองค ๆ จะทรงวินิจฉยั อรรถคดีขอนน้ั ใหใ คร (ชนะ) ?\" ร. \"วินจิ ฉยั ใหน ายโคบาล (ชนะ) นะซิ พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"เพราะเหตไุ ร พระองคจ ึงทรงวนิ ิจฉัยอยา งนัน้ ?\" ร. \"ถึงบรุ ษุ นั้นจะพูดอยา งนน้ั , กแ็ ตว า นมสมน้นั เกดิ แตน มสมดน้ันนน่ั เอง.\" ถ. \"ขอ น้ันมีอปุ มาฉันใด; ถงึ นามและรปู ทม่ี ีในสมัยใกลต อ มรณะ แผนกหนึ่ง นามรปู ในปฏิสนธแิ ผนกหนงึ่ , ก็แตวา นามรูปในปฏิสนธนิ น้ั เกิดแต นามและรูปทม่ี ใี นสมัยใกลต อ มรณะน้ันเอง, เพราะเหตนุ ัน้ เขาจงึ ไมพน จาก บาปกรรมได ก็มอี ุปไมยฉนั นั้น.\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจริง ๆ.\" ๗. ปนุ ปฏิสนธคิ หณปญ หา ๒๒ พระราชาตรสั ถามวา \"กพ็ ระผูเปนเจา จักปฏสิ นธิหรอื ไม ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"อยา เลย มหาราช ประโยชนอ ะไรของพระองค ดวยขอที่ตรัสถามนนั้ , อาตมภาพไดกลาวไวก อ นแลว มใิ ชหรือวา ถา อาตม ภาพยงั มีอุปาทานอยู ก็จักปฏิสนธ,ิ ถา วาไมมีอมุ าทาน กจ็ ักไมปฏสิ นธ\"ิ

ร. \"ขอพระผเู ปน เจาจงอปุ มาใหขา พเจา ฟง.\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา บรุ ษุ คนหนงึ่ ทาํ ความชอบไวแ กพ ระเจา แผนดนิ ๆ ก็ทรงยนิ ดี พระราชทานบาํ เหน็จแกบ ุรุษนนั้ ๆ บาํ เรอตนใหเอบิ อิ่มบริบรู ณ ดวยกามคุณทงั้ หา เพราะบาํ เหนจ็ ท่ไี ดร ับพระราชทานน้นั , ถาวา บุรุษนน้ั บอก แกช นวา 'พระเจาแผนดนิ ไมท รงตอบแทนแกเ ราสกั นิดเดยี ว' ฉะน,ี้ บรุ ษุ นนั้ จะชือ่ วาทาํ ถูกหรอื ไม ?\" ร. \"ไมถ กู เลย พระผูเปนเจา.\" ถ. \"ขอน้ันมอี ปุ มาฉันใด; ประโยชนอ ะไร ของพระองคดว ยขอที่ตรสั ถามนั้น, อาตมภาพไดกลาวไวกอ นแลวมใิ ชหรือวา ถา วา อาตมภาพยงั มี อปุ าทานอยู กจ็ กั ปฏิสนธ,ิ ถาวาไมม อี ุปาทาน ก็จักไมป ฏสิ นธิ กม็ อี ปุ ไมยฉัน น้ัน.\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๘. นามรปู ปญ หา ๒๓ พระราชาตรสั ถามวา \"ขอ ทีพ่ ระผเู ปนเจา กลาววา 'นามและรูป' ดังนี้ นนั้ , อะไรเปน นาม อะไรเปนรปู ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวงา \"ส่งิ ใดหยาบ สงิ่ นน้ั เปน รูป, ธรรมท้งั หลาย คอื จิตและอารมณท ่เี กดิ กบั จิตอนั ใดซงึ่ เปน ของละเอียด สง่ิ นน้ั เปน นาม.\" ร. \"เพราะเหตุไร นามอยางเดยี วก็ไมป ฏิสนธิ หรือรูปอยา งเดยี ว กไ็ ม ปฏิสนธ.ิ \" ถ. \"เพราะธรรมเหลานนั้ อาศยั กนั และกนั เกดิ ขน้ึ ดว ยกัน.\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอุปมาใหข า พเจา ฟง .\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา ถา กลละของแมไ กไ มม ี ฟองของแมไ ก กไ็ มม,ี สิง่ ใดเปน กลละ สิง่ ใดเปนฟอง แมสิง่ ทัง้ สองนน้ั อาศัยกนั และกัน เกิดข้ึนดว ยกนั ขอน้ันฉนั ใด, ถาวา ในนามและรูปนน้ั นามไมม ี แมร ูปกไ็ มมี ฉันนนั้ , สง่ิ ใดเปน นาม ส่งิ ใดเปน รูป ส่ิงทง้ั สองนนั้ อาศัยกนั และกัน เกดิ ขึ้นดว ยกัน ขอ นไี้ ดเปน มาแลว สน้ิ กาลยดื ยาว.\" ร. \"พระผูเปน เจาชา งฉลาดจริง ๆ.\" ๙. ทีฆมทั ธาปญ หา ๒๔

พระราชาตรัสถามวา \"ขอท่ีพระผูเ ปนเจากลาววา 'กาลไกลอันยดื ยาว' ฉะน้นี น้ั , อะไรชอ่ื วากาลไกลนนั้ ?\" พระเถรเจา ทูลตอบวา \"กาลไกลท่เี ปน อดตี อยางหนึ่ง, กาลไกลทเ่ี ปน อนาคตอยา งหนง่ึ , กาลไกลทีเ่ ปน ปจ จุบนั อยางหนึ่ง.\" ร. \"กาลไกลทั้งหมดนนั้ มีหรอื พระผเุ ปนเจา .\" ถ. \"บางอยา งมี บางอยา งไมม .ี \" ถ. \"สังขารท้งั หลายใด ทีเ่ ปน อดีตลวงไปแลว ดับไปแลว แปรไปแลว กาลไกลนนั้ ไมม ี, ธรรมทัง้ หลายใด ทเี่ ปน วบิ าก และธรรมที่มวี ิบากเปน ธรรมดา และธรรมทีใ่ หปฏิสนธิในทีอ่ นื่ กาลไกลนั้นมีอยู สัตวท ัง้ หลายใด ทํา กาลกริ ยิ าแลว เกดิ ในทอี่ ่ืน กาลไกลนน้ั มีอยู, สว นสตั วท งั้ หลายใด ปรนิ พิ พาน แลว กาลไกลน้นั ไมม ี เพราะวา กาลไกลนนั้ ดับเสียแลว .\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจรงิ ๆ.\" วรรคที่สาม ๑. อทั ธานปญ หา ๒๕ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปนเจา ก็อะไรเปน มูลของกาลไกลทเ่ี ปน อดีต อนาคต ปจจบุ ันเลา ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"มหาราช อวชิ ชาเปน มลู ของกาลไกลทเ่ี ปน อดีตอนาคตปจ จุบนั , (คือ) สังขารยอ มมมี า เพราะอวชิ ชาเปนปจจยั , วิญญาณยอมมีมา เพราะสงั ขารเปนปจ จยั , นามรูปยอมมมี า เพราะวญิ ญาณ เปนปจจยั , สฬายตนะยอมมีมา เพราะนามรูปเปนปจ จยั , ผสั สะเปนปจ จัย, ตัณหายอมมมี า เพราะเวทนาเปน ปจ จยั , อปุ าทานยอ มมมี า เพราะตณั หา เปนปจ จยั , ภพยอ มเปน ปจ จัย, ชราและมรณโสกปริเทวทุกขโสมนสั อปุ ายาส ยอ มมมี า เพราะชาตเิ ปน ปจ จยั ; เงื่อนตนแหงกาลไกลนน้ั ยอมไมป รากฏดงั น.้ี \" ร. \"พระผูเ ปน เจาชา งฉลาดจรงิ ๆ.\" ๒. ปรุ ิมโกฏปิ ญหา ๒๖

พระราชาตรสั ถามวา \"พระผเู ปน เจา ก็ขอ ทพ่ี ระผูเ ปน เจากลาววา 'เงื่อนตน ไมปรากฏนน้ั ,' ขอพระผเู )นเจาจงอปุ มาใหขา พเจา ฟง \" พระเถรเจา ทูลวา \"ขอถวายพระพร เหมอื นอยางวา บรุ ุษคนหน่ึง จะ เพาะพชื ลงในแผนดินสกั นดิ หนอย, หนอ กจ็ ะแตกข้ึนจากพชื น้ันแลว ถงึ ความ เจรญิ งอกงามไพบูลยโดยลาํ ดบั แลว จะเผลด็ ผล, และบุรุษคนนน้ั จะถอื เอาพชื แมแตผลไมน ้นั ไปปลูกอีก, หนอกจ็ ะแตกขึน้ แมจากพืชนั้นแลว ถงึ ความเจริญ งอกงามไพบูลยโดยลาํ ดับแลว จะเผล็ดผล, เมื่อเปนดงั นน้ั ท่ีสดุ ของความสืบ ตออันน้มี หี รอื ไม ?\" ร. \"ไมม ซี ิ พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"ขอ น้ันฉนั ใด, เง่ือนตน ของกาลไกล ก็ไมป รากฏฉนั นน้ั .\" ร. \"ขอพระผูเปน เจา จงอปุ มาใหย ง่ิ ขน้ึ อีก.\" ถ. \"เหมอื นอยา งวา ฟองไกม าจากแมไ ก แมไ กก ็มาจากฟองไก ฟองไก กม็ าจากแมไกน ้นั อีก, เม่อื เปน ดังนี้ ท่ีสดุ ของความสืบตออนั นม้ี หี รอื ไม ?\" ร. \"ไมม ซี ิ พระผเู ปนเจา .\" ถ. \"ขอน้ันฉันใด, เงือ่ นตนของกาลไกล ก็ไมป รากฏฉนั นนั้ .\" ร. \"ขอพระผูเปน เจาจงอปุ มาใหข าพเจา ฟงอีก.\" พระเถรเจา เขยี นรูปจักรลงทพี่ ้นื แลว ทูลถามพระเจา มิลินทว า \"ขอ ถวายพระพร ที่สดุ ของจักรนีม้ หี รือไม ?\" ร. \"ไมม ีซิ พระผูเปน เจา .\" ถ. \"ขอน้ันฉนั ใด, จกั รทง้ั หลาย (คือ ตา หู จมูก ลนิ้ กาย ใจ) ทพี่ ระผมู ี พระภาคเจา ตรัสแลวเหลา น้ี ก็เหมือนฉนั นน้ั , (คอื ) อาศัยตากบั รปู เกดิ จักขุ วญิ ญาณขน้ึ , อาศยั หกู ับเสยี ง เกดิ โสตวญิ ญาณขึน้ , อาศยั จมูกกับกลนิ่ เกิด ฆานวิญญาณขนึ้ , อาศยั ล้ินกับรสเกดิ ชิวหาวญิ ญาณข้นึ , อาศัยกายกบั โผฏฐัพพะ เกดิ กายวิญญาขึ้น, อาศยั ใจกบั ธรรม เกิดมโนวิญญาณขน้ึ , ความ ประชุมแหงธรรมท้ังหลายสามประการ ๆ ชอ่ื ผสั สะ, ผัสสะเปน ปจ จยั ใหเ กดิ เวทนา, เวทนาเปนปจ จยั ใหเ กิดตณั หา, ตณั หาเปน ปจจยั ใหเกดิ อุปาทาน, อปุ าทานเปน ปจ จัยใหเกดิ กรรมล ตา หู จมกู ลน้ิ กาย ใจ ยอมเกดิ ขึ้นแตกรรม น้ันอีก, กเ็ มอื่ เปนดังนี้ ทสี่ ดุ ของความสบื ตอ อันนี้ มหี รอื ไม ?\" ร. \"ไมม ซี ิ พระผเู ปน เจา .\" ถ. \"ขอถวายพระพร ขอนน้ั ฉนั ใด, เง่ือนตน ของกาลไกลกไ็ มปรากฏฉนั นน้ั .\"

ร. \"พระผูเ ปน เจา ชางฉลาดจริง ๆ.\" ๓. โกฏยิ าปุรมิ ปญ หา ๒๗ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู ปน เจา กข็ อ ทพ่ี ระผูเปน เจากลาววา 'เง่ือนตน ไมปรากฏนนั้ ,' เง่ือนตนนัน้ อะไร ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"เงื่อนตนนนั้ คอื กาลไกลท่เี ปน อดตี .\" ร. \"กข็ อทีพ่ ระผูเปน เจา วา 'เง่อื นตน ไมป รากฏนัน้ ,' ไมป รากฏทงั้ หมด หรอื ?\" ถ. \"บางอยา งปรากฏ, บางอยางไมป รากฏ.\" ร. \"อยางไหนปรากฏ อยา งไหนไมปรากฏ ?\" ถ. \"ขอถวายพระพร ในกาลกอนแตน้ี อวิชชาไมไ ดม ีแลวดว ยประการ ทัง้ ปวง, เงื่อนตนนนั้ แหละไมป รากฏ; ส่งิ ใดทยี่ ังไมม ียอ มมขี ้นึ ทม่ี แี ลว ยอ ม กลบั ไปปราศ, เง่อื นตน นน้ั แหละปรากฏ.\" ร. \"ก็ส่งิ ใดทยี่ ังไมมยี อ มมีขึ้น, ท่ีมแี ลว กลบั ไปปราศ, ส่งิ นนั้ ขาดทงั้ สอง ขา งแลว ยอมถึงความลวงลบั ไปไมใชหรือ พระผูเปน เจา ?\" ถ. \"ขอถวายพระพร ได. \" ร. \"ขอพระผูเ ปน เจา จงอปุ มาใหขาพเจา ฟง .\" ถ. \"ไดทําตนไมใหเปน อปุ มาในขอ นน้ั วา 'กแ็ ตว าขนั ธท ง้ั หลายช่ือวา พชื แหง กองทกุ ขท ้ังสนิ้ .\" ร. \"พระผเู ปน เจา ชางฉลาดจรงิ ๆ.\" ๔. สังขารชายนปญหา ๒๘ พระราชาตรัสถามวา \"พระผเู จา สงั ขารทง้ั หลายบางอยา งท่เี กดิ อยู มี หรอื ?\" พระเถรเจา ทลู ตอบวา \"ขอถวายพระพร ม.ี \" ร. \"สังขารทง้ั หลายเหลาไหน พระผูเปนเจา .\" ถ. \"เมอ่ื ตาและรปู มี จักขวุ ิญญาณก็มีขึ้น, เมอ่ื จักขุวิญญาณมจี ักขุ สมั ผสั กม็ ขี น้ึ , เมื่อหูและเสยี งมี โสตวญิ ญาณก็มีข้ึน, เมอ่ื โสตวิญญามี โสต สมั ผสั กม็ ีข้นึ , เม่ือจมกู และกลิ่นมี ฆานวิญญาณกม็ ีข้นึ , เม่อื ฆานวญิ ญาณมี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook