Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Kledlub Duptuk

Kledlub Duptuk

Description: Kledlub Duptuk

Search

Read the Text Version

เคล็ดลบั ดบั ทกุ ข์ โดย พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ขุ) Dhamma Guide : มนิจ ชชู ยั มงคล บรรณาธิการสาระ : ศกั ด์สิ ิทธ์ิ พันธสุ์ ัตย ์ ออกแบบปก : จริ ะพฒั น์ ยงั โป้ย บรรณาธกิ ารศิลปะ : อนุชิต คำซองเมอื ง ภาพประกอบ : สมควร กองศลิ า รปู เลม่ /จดั อารต์ : จริ ะพฒั น์ ยังโปย้

ธรรมะ นวิ เคลยี ร์ ( Dham ma NuClear ) “ปัญญา มีความหนักแน่นมนั่ คงเหมือนแผ่นดิน ยอ่ ม เกิดขึ้นแก่ผู้ใคร่ครวญเสมอ ฉะนั้น จงพยายามทำปัญญาให้ มั่นคงเหมือนแผ่นดิน และสามารถจะแทงทะลุอะไรๆ ได ้ ให้เกิดขึ้นด้วยการพิจารณาอยู่เสมอ ไม่มีอะไรจะแหลมคม ยิ่งกว่าปัญญา ปัญญานี้แลเป็นเครื่องตัดกิเลสทั้งมวล ไม่มี อะไรจะเหนือปัญญาไปได้” ปัญหาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนในชีวิตประจำวันล้วนแต่ทำให้เกิด ความทุกข์ขึ้นในจิตใจของคนเรา ทางเดียวที่เราจะแก้ปัญหาต่างๆ เหลา่ น้นั ไดก้ ค็ อื ปญั ญา ดงั พทุ ธโอวาททีไ่ ด้ยกไว้ ณ เบอ้ื งต้น สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง เพียรเพ่ือพุทธศาสน์ จึงได้สรรค์สร้าง หนังสือ D.N.C ซึ่งย่อมาจากคำว่า Dhamma NuClear (ธรรมะ นิวเคลียร์) มีวัตถุประสงค์ในการที่จะเผยแผ่ธรรมะให้แพร่หลาย เข้าถึงชนทุกชั้นวัย เพื่อเสริมสร้างปัญญาให้เกิดแก่ประชาชน เพ่ือลด ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในสังคม และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าคงจักได้รับความ ร่วมมือร่วมใจจากผู้อ่านทุกท่านช่วยกันสร้างส่ือธรรมดีๆ ให้กระจาย ไปทั่วทุกพ้ืนท่ีของไทยและของโลก เพ่ือให้เกิดสันติสุขข้ึนในสังคม ให้สมกับคำว่าเป็น หนังสือธรรมะนิวเคลียร์ ที่แพร่กระจายธรรมะไป ไม่มีท่ีสิ้นสดุ สพฺพทานํ ธมมฺ ทานํ ชนิ าต ิ การใหธ้ รรมะเป็นทาน ชนะการให้ทั้งปวง

คำน ำ “ไม่มีใครสามารถทำร้ายทำลายตัวเราได้ นอกจากตัวของเรา เอง ไมม่ ีใครหยิบทุกขจ์ ากหัวใจใครทงิ้ ได้ ท้ังหมดตอ้ งวางจากจิตตน” “ตราบใดท่ียังไม่สลัดความพอใจในสังขารออก ความทุกข ์ ย่อมติดตามไปเสมอ เม่ือรากยังมั่นคง แม้ต้นไม้จะถูกตัดแล้วมันก็ สามารถขึ้นได้อีก ฉันใด เม่ือบุคคลยังไม่ถอนตัณหานุสัยออกจากดวง จิตได้ ความทุกข์กเ็ กิดขนึ้ ไดบ้ ่อยๆ ฉนั นนั้ ” “ความสิ้นอาสวะ เป็นอานิสงส์สูงสุดแห่งการบำเพ็ญคุณงาม ความดีท้ังหลาย เพราะความทุกข์ความเดือดร้อนของหมู่สัตว์เกิดข้ึน ไดก้ ็ดว้ ยอาสวะกเิ ลส” นี้เป็นพุทธโอวาทที่ตรัสเก่ียวกับทุกข์ เราทุกคนมีทุกข์ มาก น้อยต่างกนั ไป และทกุ คนก็หวังที่จะหลดุ พน้ จากทกุ ข์เหมือนกัน หนังสือธรรมะเร่ือง เคล็ดลับดับทุกข์ นี้เป็นอีกหนทางหน่ึง ทจ่ี ะทำใหท้ า่ นผอู้ า่ นไดร้ วู้ ธิ ที จ่ี ะออกจากทกุ ขต์ ามแนวพระพทุ ธศาสนา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มน้ีจะอำนวยประโยชน์แก่ท่าน ผู้สนใจในธรรมะ จักได้นำสาระธรรมไปประพฤติปฏิบัติ กำจัดกิเลส ในตนจนสามารถหลดุ พน้ จากทุกขไ์ ด้ ดรว้ วยบจริตวคมิด/ปเ รรียาบร ถเรนยี างด ี โปรดใชเ้ ล่มน้ใี ห้คุม้ สุดคุม้ & อ่านแล้ว -> แบง่ กนั อ่านหลายทา่ นนะจะ๊ อ่านสบิ รอบ ระดมสมองคดิ สบิ หน ฝึกฝนปญั ญา พัฒนาการประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำวัน จิตมสี ตสิ มั ปชัญญะ รเู้ ทา่ ทันสรรพสิ่ง ฉลาดใช้ เฉลยี วคิด ชีวติ จักสนุก สขุ สงบ เย็น เฉกเชน่ พระนิพพาน สำนักพิมพ์เลยี่ งเชยี ง เพยี รเพอื่ พุทธศาสน์ ปรารถนาใหท้ กุ ครอบครวั มคี วามสุข

เคลด็ ลบั ดบั ทุกข*์ โดย พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ขุ) ญาตโิ ยมพุทธบริษทั ท้งั หลาย ณ บดั นี้ ถงึ เวลาของการฟังปาฐกถาธรรม อนั เปน็ หลกั คำสอน ในทางพระพุทธศาสนา ขอให้ทุกท่านอยู่ในอาการสงบ ตั้งอกตั้งใจฟัง ดว้ ยดี เพอื่ ให้ได้ประโยชน์อนั เกิดขึ้นจากการฟงั ตามสมควรแกเ่ วลา * ถอดความจากปาฐกถาธรรม เรื่องเคลด็ ลบั ของความดับทุกข์ ณ วัดชลประทานรงั สฤษฏ์ ๑๔ กนั ยายน ๒๕๒๙ 4 เคล็ดลับดับทุกข ์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ขุ)

จิตกบั กาย ต้องเตรยี มพร้อมรบั ทกุ ข ์ วันอาทิตย์เป็นวันว่างจากงานฝ่ายกาย เราก็ชวนกันมาวัด เพื่อทำงานฝา่ ยจติ วิญญาณ กายกบั จติ นี้มีความสัมพนั ธ์กันอย่ตู ลอดเวลา ความเหนื่อยกายก็เกีย่ วกับความเหนือ่ ยจติ ดว้ ย จิตเหนือ่ ย กายก็พลอยเหนื่อยไปดว้ ย รา่ งกายอ่อนแอ จติ กพ็ ลอยอ่อนแอไปดว้ ย เราจึงตอ้ งมกี ารทำใหม้ ันสมดลุ คอื ให้เกดิ ความพอดที ง้ั ฝา่ ยกายฝ่ายจติ แต่ว่าส่วนมากเรามักจะสนใจแต่เร่ืองของฝ่ายกาย ไม่ค่อยจะ ได้สนใจเร่ืองทางจิตมากนัก เวลาไม่มีปัญหาอะไรก็ไม่เป็นไร แต่ว่า เวลามีเรื่องมีปัญหาเกิดข้ึน เม่ือไม่ได้เตรียมตัวทางใจไว้ ปัญหาที่เกิด นน้ั มันก็รุนแรง ความจริงเรื่องมันไม่รุนแรง แต่ว่าความรู้สึกของเรามัน รนุ แรง เพราะเราไม่ได้เตรียมรับสถานการณ์ไวก้ อ่ น เม่ือไรเกิดขึ้น มัน ก็เป็นความทุกข์หนักในชีวิต ดังท่ีเป็นอยู่แก่คนทั่วๆ ไป ท่ีได้เกิด เป็นเช่นน้ันขึ้นมาก็เพราะว่าเราไม่ได้เตรียมตัวไว้ก่อนในเรื่องทางจิต ทางวิญญาณ เม่ือมีอะไรเกิดข้ึนก็ไม่รู้ว่าจะแก้อย่างไร หรือมาแก้กัน ในปัญหาเฉพาะหน้า บางทีมันก็แก้ไม่ได้ เพราะไม่ได้เตรียมตัวไว้ ล่วงหนา้ บรษิ ทั สำนกั พมิ พ์เลยี่ งเชียง เพียรเพื่อพุทธศาสน์ จำกัด 5

บา้ นเมืองต้องเตรียมพรอ้ มทกุ ด้านอยเู่ สมอ ในทางฝ่ายบ้านเมืองก็ต้องมีการเตรียมตัว เช่น ทหารก็ต้อง เตรียมตัวอยู่ตลอดเวลา ต้องฝึกการรบให้มีความเก่งกล้าสามารถ ให้ รูจ้ ักใช้อาวธุ ท่จี ะตอ้ งใช้ เข้าใจยทุ ธวิธใี นการท่จี ะต่อสู้ข้าศึก ฝ่ายเสนา- ธิการก็ต้องเตรียมพร้อมเพื่อต้อนรับสถานการณ์ ไม่ใช่ไปเตรียมกัน ตอนที่มีข้าศึกประชิดเมือง แต่ต้องเตรียมแผนล่วงหน้าไว้ว่าเราจะทำ อย่างไร ถ้าข้าศึกมาทางด้านนั้น มาด้านโน้นจะทำอย่างไร หรือว่า ข้าศึกสมัยปัจจุบันน้ีไม่ใช่มันเดินเข้ามาเหมือนสมัยก่อน แต่ว่าเขา ลอยมาในท้องฟ้า มากระโดดร่มลงไปในบ้านในเมือง หรือทางเรือบิน ทิ้งระเบิด ก็ต้องเตรียมไว้ตลอดเวลาว่าจะทำอย่างไรเม่ือเหตุการณ์ เชน่ นั้นเกดิ ขนึ้ จะต่อสอู้ ย่างไร จะป้องกันอยา่ งไร ทุกอย่างตอ้ งพรอ้ ม เมื่อมคี วามพร้อม พอข้าศึกมารกุ รานกพ็ อจะตอ่ สเู้ อาตัวรอดได ้ แต่ถ้าไมไ่ ด้เตรยี มพรอ้ ม เอาตวั ไม่รอด เราก็พา่ ยแพแ้ ก่ข้าศกึ บ้านเมืองกต็ ้องตกเปน็ เมอื งขน้ึ ของชนชาติอ่ืน อันน้ีที่เราเห็นได้ง่ายว่าเพราะขาดการเตรียมตัว ในด้านฝ่าย โลกยี ะ ก็มนั เกิดปญั หา เกดิ ความทกุ ขท์ างใจเหมอื นกนั 6 เคลด็ ลบั ดับทกุ ข์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานันทภิกข)ุ

เตรียมตัวไมพ่ ร้อม ย่อมเสียเปรียบ ทีน้ีในเรื่องชีวิตของแต่ละบุคคล ถ้าเราไม่ได้เตรียมตัวไว้ให้ พร้อม เม่ือมีเร่ืองอะไรเกิดข้ึน เราก็มีความทุกข์หนัก ไม่รู้ว่าจะแก้ ความทุกข์น้ันอย่างไร เพราะไม่เตรียมตัวไว้ล่วงหน้า ปัญหาเกิดข้ึน ก็เป็นเรื่องรุนแรงท้ังน้ัน ไม่รู้จะแก้อย่างไร แม้จะมาฟังคำพระเทศน์ สอนให้ฟังให้คิดนึกในทางท่ีจะแบ่งเบาความทุกข์ทางใจ ก็ทำไม่ได้ เพราะไมไ่ ด้หดั ทำไว้ก่อน เหมอื นทหารทไ่ี ม่ได้ซอ้ มรบไว้กอ่ น พอออกรบน่จี ะไปทำทา่ รบ ได้อย่างไร นักมวยที่ไม่ได้ฝึกการชกไว้ก่อน ขึ้นไปบนเวทีก็ทำท่า ไม่ถูกต้อง ฝ่ายท่ีเขาฝึกได้ดีแล้วก็ชกล้มคว่ำคะมำหงาย นับสิบก็ยังลุก ไม่ขึน้ อนั นีเ้ ป็นการเสียเปรยี บ ในชวี ิตเราแต่ละคน พรุ่งนีจ้ ะชกแล้ว ทำไมไม่ไปซอ้ ม นกี่ ็เหมอื นกนั ถ้าเราเตรยี ม ไมพ่ ร้อม เราก็ต้องเสียเปรียบ ตลอดเวลา เสียเปรียบแก่ ข้าศกึ ทีม่ าโจมตีตัวเรา คอื ความทกุ ขน์ น่ั เอง ผมชนะแน่นอน นอนมาจริงจิ๊ง...โธ.่ .. ไอ้นอนแน่ ลกู เจ้าแมน่ อนนาน บรษิ ทั สำนักพิมพ์เลีย่ งเชยี ง เพียรเพ่อื พทุ ธศาสน์ จำกัด 7

อยู่ด้วยความประมาท จะไมป่ ราศจากทกุ ข์ ความทุกข์มาโจมตีเมื่อไหร่ เราก็เสียเปรียบแก่ความทุกข์ เพราะเรานึกไม่ได้ท่ีจะต่อสู้กับความทุกข์เหล่านั้น ไม่มีปัญญาท่ีจะคิด ไม่มีสติที่จะนึกจะเตรียมตัวเพ่ือการต่อสู้ เราก็ต้องเสียเปรียบเร่ือยไป เสียเปรียบข้าศึกท่ีมาโจมตีเราเรื่อยไป อันน้ีเป็นเร่ืองท่ีเกิดขึ้นแก่ชีวิต ของคนทั่วๆ ไป บางทีเราก็อยู่สบายๆ ในครอบครัว แต่ว่าไม่ได้คิดไว้ ล่วงหน้าว่าอะไรมันจะเกิดขึ้นบ้างในครอบครัวของเรา ถ้าเหตุการณ์ อะไรเกิดขึ้น เราจะแก้ปัญหาอย่างไร จะทำอย่างไร นี้ไม่ค่อยได้คิดไว้ กอ่ น ในทางพระทา่ นถือวา่ อยูด่ ว้ ยความประมาท อยดู่ ว้ ยความประมาท ก็คือ ขาดการวางแผนในการดำเนินชีวิตประจำวนั ไม่ไดค้ ดิ ไวว้ ่าอะไรมนั จะเกิด และเม่ือเกดิ ขนึ้ เราจะแกไ้ ขปัญหานัน้ อย่างไร ไมไ่ ด้เตรียมตัวไว้ก่อน เม่ือไม่ได้เตรียมตัว เขาเรยี กวา่ ถูกโจมตโี ดยไม่รู้ตวั เราอาจจะถูกข้าศึกโจมตีโดยไม่รู้ตัวบ่อยๆ พอถูกโจมตีโดย ไมร่ ตู้ วั เรากก็ ลบั ตวั ไมท่ นั เกดิ การตกอกตกใจขวญั หนดี ฝี อ่ เพราะไมไ่ ด้ เตรียมตัวไว้ล่วงหน้าในการที่จะจัดการกับสิ่งเหล่าน้ัน นี้เป็นปัญหา เป็นความทกุ ข์ทเ่ี กดิ ขึน้ ในชวี ิตของเราทว่ั ๆ ไป ไม่วา่ เป็นหญงิ เป็นชาย เป็นเด็ก เป็นผู้ใหญ่ ก็ย่อมมีสภาพเช่นเดียวกัน เพราะฉะน้ันจึงต้อง เตรียมพรอ้ มในเรื่องอย่างน้ ี 8 เคลด็ ลบั ดบั ทกุ ข์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานนั ทภกิ ขุ)

เตรียมธรรมะใหพ้ ร้อม ป้องกนั ใจตกตำ่ เตรยี มพรอ้ ม กค็ อื วา่ เตรยี มหาธรรมะไวใ้ ชเ้ ปน็ เครอื่ งปอ้ งกนั ตัว ไม่ให้ตกไปสู่สภาวะแห่งความตกต่ำทางจิตใจ จึงต้องเข้าวัด ฟังธรรม อา่ นหนังสอื ทางศาสนา เพอ่ื ให้เกดิ ความรู้ก่อน เมอื่ มคี วามรู้แล้วกต็ อ้ ง เอาความรนู้ ้นั ไปใชใ้ นชวี ติ ของเราตอ่ ไป เอาไปใช้แกป้ ญั หา การเรียนรู้กับการปฏิบัติ ต้องให้สัมพันธ์กันอยู่ตลอดเวลา เรียนรู้แล้วไม่ปฏิบัติ ก็เรียกว่ายังไม่เกิดประโยชน์ ท่ีจะใช้ป้องกันความทุกข์ความเดือดร้อนไม่ให้เกิดขึ้น น่เี ธอ...ไม่เปน็ ทกุ ข์เสยี ใจบ้างหรือ จะเสียใจไปทำไม ทแี่ ฟนเธอมหี ญงิ อื่น เขาตา่ งหากตอ้ งเสยี ใจ ท่ีเสียคนทร่ี กั เขาที่สุด อยา่ งฉนั ไป เพราะฉะนั้น เม่ือเรียนแล้วก็ต้องเอาไปปฏิบัติ เช่น เรามาฟัง ธรรมก็ดี มาสวดมนต์ตอนเช้าตอนเย็นอะไรก็ตาม บทสวดมนต์ เหล่านั้นล้วนแต่เป็นบทเตือนใจให้เราได้คิดได้นึกถึงเร่ืองธรรมชาติ ธรรมดาของชีวิต ว่าสรรพส่ิงท้ังหลายนั้นมันมีการเกิดขึ้น เป็นอย่ ู เป็นไปอย่างไร อะไรเป็นของเที่ยง อะไรเป็นของไม่เที่ยง อะไรเป็น สภาพอยา่ งไร ตอ้ งเตรยี มตัว เอามาคดิ มานึกไว้บ่อยๆ บริษทั สำนักพมิ พ์เล่ียงเชยี ง เพียรเพื่อพทุ ธศาสน์ จำกัด 9

ยดึ ม่นั ขันธ์ ๕ เป็นความทุกข ์ เวลาสวดน้นั สวดรวมกนั แต่ว่าเรากต็ ้องไปพิจารณาดว้ ยตัวเอง เป็นเร่ืองเฉพาะคนท่ีจะต้องนั่งคิดนั่งนึกตรึกตรองในคำเหล่าน้ัน เช่น คำท่ีเราสวดว่า รปู ูปาทานกั ขนั โธ รปู ท่เี ขา้ ไปยดึ ถอื นนั้ เปน็ ความทุกข์ เวทนปู าทานกั ขันโธ เวทนาท่เี ขา้ ไปยดึ ถือนั้นเปน็ ความทุกข ์ สญั ญาที่เข้าไปยดึ ถอื ไวเ้ ปน็ ความทกุ ข.์ ..สงั ขารทเี่ ขา้ ไปยึดถอื ไว้ เปน็ ความทุกข์...วญิ ญาณทีเ่ ขา้ ไปยึดถือนั้นเปน็ ความทกุ ข์... เรากต็ ้องเอามาน่ังคิดพจิ ารณาว่าเป็นทกุ ขเ์ พราะอะไร เปน็ ทกุ ข์เพราะอุปาทาน อุปาทาน นนั้ หมายความวา่ เขา้ ไปยดึ ถือวา่ เปน็ ตัวเป็นตน เปน็ สัตว์ เป็นบุคคล เป็นเรา เป็นเขา อันท่ีสำคัญก็คือว่านึกว่าเป็นตัวเราเป็นของเรา ท่ีท่านพุทธ- ทาสท่านพูดภาษาง่ายๆ ว่า “ตัวกู-ของกู” ใครฟังแล้วก็นึกว่าเป็นคำ ที่ค่อนข้างจะเป็นชาวบ้านมากไปหน่อย แต่ว่าเป็นคำท่ีง่ายที่สุดว่า “ตัวกู-ของกู” คนเรามีตัวกูก่อน แล้วก็มีของกูขึ้นมา ในภาษาบาลี เรียกว่า อะหังการ มะมงั การ 10 เคล็ดลับดับทุกข ์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานนั ทภิกข)ุ

เ พราะ สำคัญว่า “ตวั ก-ู ของกู” จึงเป็นทกุ ข ์ อะหังการ คือ สำคัญว่าตัวมีตัวเป็น สำคัญว่าตัวเป็นก่อน แล้วก็สำคัญว่าตัวมีส่ิงนั้นสิ่งนี้ คือมีตัวสำหรับรองรับ แล้วมีอะไร เกดิ ข้นึ ตวั ก็เขา้ ไปรบั เอาสิง่ น้นั รับเอาว่าเป็นของฉนั ขึ้นมา อะไรๆ มนั ก็เป็นของฉันไปหมด นี้เราคิดไปอย่างนั้น ความคิดอย่างนั้นมันเป็น เหตใุ ห้เกดิ ความทกุ ข์ เป็นอุปาทาน คอื สร้างตัวยดึ ถือ ความยึดถอื น้ัน เป็นตัวอปุ าทาน ไม่ว่าเราจะไปยึดถืออะไร สิ่งน้ันมันก็จะทำให้เราเกิดความ ทุกข์ขึ้นมา เช่น ยึดถือในเร่ืองปัจจัยเงินทองว่าเป็น “ของฉัน” มันก็ เปน็ ทุกข์เพราะเงินนนั้ รถของฉัน บา้ นของฉนั อะไรของฉนั มมี ากมาย หลายเรื่องหลายอย่างท่ีอยู่รอบๆ ตัวนั้น ถ้าเราเข้าไปยึดม่ันถือมั่นว่า เป็น “ตัวฉนั ” เป็น “ของฉนั ” ขึ้นมา ไอต้ ัวยดึ ถอื นนั่ แหละ มนั เปน็ ตวั ทุกข์ขน้ึ มา เพราะเกดิ ความยึดถอื วา่ เป็นตวั ฉัน เป็นของฉนั แล้วก็เกดิ ความหวงแหนในสิ่งนน้ั ไมอ่ ยากใหส้ ิ่งน้ันเปน็ อย่างอื่น อยากใหเ้ ปน็ ของเราเสยี ตลอดเวลา ถ้ามันเปน็ อน่ื ไปเราก็เป็นทุกข ์ เพราะเรายึดว่าเป็นของฉัน มนั กเ็ กดิ ความทุกข์ บริษัท สำนกั พมิ พ์เลย่ี งเชียง เพียรเพอ่ื พุทธศาสน์ จำกัด 11

เขม็ เล่มเดยี ว ถ้าของฉันมันกท็ กุ ข ์ เคล็ดของความทุกข์มันอยู่ตรงน้ี อยู่ตรงท่ีเราเข้าไปยึดม่ัน ถอื มั่นในเร่ืองนนั้ ๆ ให้สังเกตดใู ห้ดี สังเกตที่ใจของเรา ถา้ อะไรไม่ใชข่ องเรา เราก็ไม่มคี วามทกุ ข์ความเดอื ดร้อนอะไร หรอื เราไม่ไดย้ ึดถอื ว่าเป็นของเรา มนั จะแตก มันจะหกั มนั จะเปน็ อะไรไปเรากเ็ ฉยๆ เพราะมนั ไม่ใช่ของเรา แตถ่ ้าหากวา่ เปน็ “ของเรา” ข้ึนมา เข็มเล่มหนง่ึ เราก็ยังเป็นทกุ ขเ์ พราะเข็มเลม่ นั้น เพราะว่าเขม็ เล่มน้นั เปน็ “ของฉนั ” เปน็ “ของเรา” ขึน้ มา น่แี หละคือความยึดถือ ทพี่ ระทา่ นสอนว่า... รูปูปาทานักขันโธ - รูปที่เข้าไปยึดมั่นถือมั่นเป็นตัวทุกข์ ถ้า รูปเฉยๆ มันก็ไม่เป็นทุกข์แก่เรา แต่มันเป็นทุกข์ตามสภาพของมัน หมายความว่ามันทนอยู่ไม่ได้ในสภาพอย่างเดียว มันต้องเปลี่ยนไป เพราะส่งิ ทัง้ หลายไมเ่ ท่ยี ง มีความเปลย่ี นแปลง มีความทกุ ขโ์ ดยสภาพ ไม่มีอะไรที่เป็นเน้ือแท้ในตัวของมันเอง น่ันมันคือรูป เรื่องธรรมชาติ มันเป็นอยา่ งนน้ั 12 เคลด็ ลบั ดับทุกข ์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปญั ญานนั ทภกิ ขุ)

หลงยึดติด จติ เปน็ ทกุ ข์ แต่ว่าคนเรามักจะหลงผิด เข้าใจผิดในเร่ืองต่างๆ ไม่ได้คิดใน แง่ว่ามันไม่เที่ยง ไม่ได้คิดในแง่ว่ามันเป็นทุกข ์ ไม่ได้คิดในแง่ว่ามัน เป็นอนัตตา แต่เราคิดว่ามันเท่ียง มันเป็นสุข มันเป็นตัวตน เป็น สตั ว์ เป็นบุคคลขึ้นมา แล้วเข้าไปยดึ ถอื ในสิง่ ท่เี ป็นนนั้ แล้วก็มีของอ่นื เข้ามาประกอบ ทำใหค้ วามยึดถือเพมิ่ ขึ้นเร่ือยๆ ถา้ เรามีเพียงอย่างเดยี วมนั ก็ยึดถอื นอ้ ย ถา้ มีมากความยึดถอื มันกม็ ากขนึ้ ตลอดเวลา เด็กเกิดใหม่ๆ น่ีคงจะไม่ นบี่ า้ นของฉัน ม ีความยึดถืออะไร ให้สังเกตดู รถ เฮลคิ อปเตอร์ของฉัน ของเอ็งมอี ะไร เ ด็กตัวน้อยๆ เราจะเห็นว่าเขา ไม่ได้ยึดถืออะไร ยังไม่มีความ ย ึดม่ันในจิตใจ ยังไม่มีความรู้สึก อ ะไรมากนกั มคี วามตอ้ งการกน็ อ้ ย ของฉนั มแี คน่ ี้ คือต้องการนม พอด่ืมนมเสร็จ แต่กม็ ีความสุข แล้วก็หลับไปเท่านั้นเอง หลับ แล้วก็ต่ืนขึ้น ถ้าไม่หิวมันก็นอน เฉยๆ มันไม่ทำอะไร เฉยๆ ใคร จะเข้ามาทำอะไรก็ไม่มีอะไร นั่น คือสภาพเด็กออ่ น บรษิ ทั สำนักพมิ พ์เล่ยี งเชยี ง เพยี รเพื่อพุทธศาสน์ จำกัด 13

ฝึกจิตใหเ้ หมือนเด็กอ่อน เราหัดทำตนเป็นเด็กอ่อนทางจิตใจเสียบ้างก็จะสบาย เด็ก ได้เปรียบผู้ใหญ่เพราะเด็กไม่มีความยึดมั่นในเรื่องอะไรต่างๆ เด็กมัน ยังไม่ฉลาดในการท่ีจะยึด แต่ว่าเรานี่ฉลาดในการท่ีจะยึด แต่เป็น ความฉลาดที่ไม่ได้เร่ือง เพราะฉลาดในการที่จะยึดจะแบกเอามาไว้ เป็นของตัวโดยไม่รู้ว่าสิ่งน้ันจะทำให้เราหนักใจ ทำให้เราเกิดความ ทุกข์ทางใจ เราไม่เข้าใจ เราก็เข้าไปยึดส่ิงนั้นไว้ สำคัญว่าส่ิงน้ันเป็น ของเราตลอดเวลา ไม่รู้จักปล่อย ไม่รู้จักวางในส่ิงเหล่าน้ัน เราก็แบก หนักอยูเ่ รื่อยไป เหมือนกับคำทพ่ี ระท่านว่า “ ภาราห ะเว ปัญจกั ขันธา ขนั ธ์หา้ เป็นภาระอนั หนกั เน้อ” หถา้ มเารยาไคมวไ่าปมวแ่าบกหนมกั ันเพก็ไรมา่หะเนข้าักไอปะแไรบก มันเปน็ เรอ่ื งธรรมชาติ จติ เบาจนลอยได ้ ของมันอยา่ งนน้ั เลยเหรอนี่ คอ่ ย ๆ อ่าน คอ่ ย ๆ คดิ คราคดิ ตดิ ขดั หยุดพักสกั นดิ ทำจิตใหส้ งบ จกั พบทางออก อา่ นแล้วคิด คดิ ให้เข้าใจ เข้าใจแล้วลงมอื ทำ ทำดว้ ยสตสิ ัมปชัญญะ ทำวนั นี้ เด๋ียวนี้ ขณะนี้ อย่ารอช้า อย่าผัดวัน อย่าประมาท คิดเร็ว สขุ เร็ว ทำชา้ ทุกขม์ าก ทุกขย์ าวนาน 14 เคล็ดลับดับทกุ ข์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ขุ)

ยึดม่นั ขนั ธ์หา้ นำมาซงึ่ ทุกข์ ขันธห์ ้ามันเกิดขึน้ -ตง้ั อย-ู่ ดบั ไป ตามวิถที างของธรรมชาติ ถา้ เราไมเ่ ขา้ ไปยดึ มนั ก็เปน็ ของมนั อยา่ งนั้น เราไมต่ อ้ งเป็นทุกข์กับสง่ิ เหลา่ นนั้ แต่เมอ่ื ใดเราไปยึดถือวา่ ส่ิงน้ีเป็น “ของฉัน” ขึน้ มา เราก็เป็นทกุ ข์เพราะความยึดถือนนั้ ด้วยตัวอปุ าทาน ศัพท์ธรรมะเรียก “อุปาทาน” ถ้าแปลเป็นภาษาไทยว่า “ยึดม่ันถือม่ัน” หรือท่านใช้ศัพท์อีกคำหนึ่งว่า “อภินิเวส” เช่นใน พระพุทธภาษติ ทว่ี า่ “สพั เพ ธัมมา นาลัง อภนิ เิ วสายะ” อภินิเวสายะ ก็หมายถึงว่าการยึดม่ันถือม่ัน เหมือนกัน กับตัวอุปาทานน่ันแหละ แต่ว่าใช้อีกศัพท์หนึ่งว่า อภินิเวสายะ แปลว่า เข้าไปยึดมัน่ ถอื มัน่ วา่ เป็นตัวฉัน เป็นของฉัน ขนึ้ มา เมอ่ื เราเข้าไปยดึ สิง่ ใดว่าเป็นตวั เรา เปน็ ของเรา เปน็ ตวั ฉนั เป็นของฉนั ก้อนหนิ กอ้ นใหญแ่ คไ่ หนกไ็ มห่ นกั จติ ก็เปน็ ทกุ ข์ทนั ที ถ้าเราไมไ่ ปแบก เปน็ ทุกขเ์ พราะสิ่งนน้ั บรษิ ัท สำนกั พิมพ์เลยี่ งเชียง เพยี รเพอ่ื พทุ ธศาสน์ จำกัด 15

ไม่ยึด ไมท่ กุ ข ์ อันนี้เป็นเคล็ดที่เราควรจะรู้ไว้ในใจ แล้วก็จะได้ไปแก้ปัญหา ชวี ติ ของเราได้ เวลาใดทเี่ ราเปน็ ทกุ ขเ์ พราะอะไร เรากต็ อ้ งพิจารณาว่า ท่ีได้เกิดความทุกข์นี่เพราะอะไร เพราะเราไปยึดถือว่าเป็นของเรา น่ันเอง เป็นของฉัน ทรัพย์ของฉัน สามีของฉัน ภรรยาของฉัน บ้าน ของฉัน รถของฉัน รวมไปถึงประเทศของฉัน มันก็ย่ิงไปกันใหญ่ ถ้าใครไปยดึ ถอื อย่างนัน้ ความทุกข์มนั กเ็ พมิ่ ข้นึ ยึดถือของน้อย ทุกข์ มันก็มีปริมาณน้อยหน่อย ใหญ่มันก็มีปริมาณมาก ยึดมากก็ทุกข์มาก ยดึ นอ้ ยกท็ ุกข์น้อย แตถ่ ้าเราไม่ยดึ เสยี เลย... การไม่ยดึ กค็ ือปัญญา มปี ญั ญาร้เู ท่ารทู้ นั ในส่ิงน้ัน ตามสภาพทเี่ ป็นจรงิ คอื รู้วา่ อะไรๆ มนั ก็มีแต่เพียง ๓ เรอ่ื งเทา่ น้ัน คือ เกิดขนึ้ -ต้ังอยู่-ดับไป เกดิ ขึ้น ตั้งอยู่ ดบั ไป สภาพมันเป็นเชน่ น้นั อยูต่ ลอดเวลา เราอยา่ ไปจบั เอาตอนใดตอนหนึง่ ของสงิ่ น้นั ว่าเป็นตวั เรา เป็นของเรา เรากไ็ ม่ต้องมปี ัญหา ไมต่ อ้ งมีความทกุ ข์ เพราะเรือ่ งอยา่ งนนั้ 16 เคล็ดลบั ดบั ทุกข์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานันทภิกขุ)

ไม่รจู้ ักใชป้ ญั ญา ปัญหาจึงเกดิ ทีน้ีคนเราไม่รู้จักใช้ปญั ญาพจิ ารณาส่ิงตา่ งๆ ให้เกิดความเข้าใจ ว่า ธรรมชาติแทจ้ ริงของส่ิงเหล่านั้นมันเป็นอย่างไร เราไม่ได้คิดให้เกิด ปัญญา ให้เกิดความเข้าใจแจ่มแจ้ง พออะไรเกิดเปล่ียนแปลงข้ึนมา เราก็ต้องเป็นทุกข์เพราะส่ิงนั้น บางทีทุกข์ขนาดหนัก ทุกข์จนกระท่ัง ว่าจะกินไม่ได้ จะนอนไม่หลับเอาเลยทีเดียว แล้วถ้าทุกข์มากๆ เข้า สภาพจิตก็จะเปลี่ยนแปลงไป คือจะเป็นโรคทางจิต หรือเป็นโรคทาง ประสาท อาการทางรา่ งกายก็เปลย่ี นแปลงไปดว้ ย สง่ิ เหลา่ นีม้ ันเกดิ ขึ้นเพราะเราไมเ่ ขา้ ใจ ในเรื่องท้งั หลายตามสภาพท่ีเป็นจริง ถา้ พดู อยา่ งตรงไปตรงมาก็พูดว่า “เราโง”่ นัน่ เอง ไมใ่ ชเ่ รอื่ งอะไร เราโง่... พอเราโง่แลว้ เรากเ็ ขา้ ไปหาเรอ่ื งท่มี ันเปน็ ทกุ ขต์ ลอดเวลา ถา้ เรามคี วามฉลาด เรากต็ ้องคิดในแง่ทจี่ ะไม่ทำใหเ้ ราเปน็ ทุกข ์ มกี ารคดิ ท่จี ะไมใ่ หเ้ ป็นทกุ ขก์ ็ได ้ คิดให้เป็นทุกข์กไ็ ด้เหมอื นกัน จะเปิดยังไงดหี นอ... บริษัท สำนักพมิ พเ์ ลยี่ งเชยี ง เพยี รเพอื่ พทุ ธศาสน์ จำกดั 17

คิดดไี ม่มีทกุ ข์ คิดไม่ดีมีทกุ ข ์ ถ้าเราคิดให้เป็นทุกข์ ก็คิดด้วยความโง่ความเขลา แต่ถา้ เราคิดใหไ้ มเ่ ป็นทุกข ์ ก็หมายความว่าเราคิดดว้ ยปญั ญา มนั มีทางอยตู่ ้งั ๒ ทาง ท่ีจะให้เราเดนิ ทีนี้เราจะเดินทางไหน เดินทางที่จะคิดให้เป็นทุกข์หรือว่า เดินทางที่เราคิดแล้วไม่มีความทุกข์ ญาติโยมลองนึกดู นึกดูด้วย ปัญญาของตัวเอง ถ้าเรานึกดูด้วยปัญญาของเราเองแล้ว เราก็จะเห็นว่า...เอ! คิดแล้วไม่ให้เป็นทุกข์น่ีมันดี แต่คิดแล้วให้เป็นทุกข์มันไม่ดี เราก็มอง เห็น แต่มองเห็นแล้วทำไมเราไปคิดให้เป็นทุกข์อีก ทำไมไม่มาคิด ในทางท่ีจะไม่ให้เกิดความทุกข์ข้ึนในจิตใจของเรา ทำไมเราไม่คิด อย่างน้ัน ความเคยชินน่ันเอง เพราะว่าตั้งแต่เกิดมานี่เราเรียนรู้แต่ เรื่องให้ยดึ ทั้งนั้น เขาสอนให้เรายึดถือทั้งน้นั 18 เคลด็ ลบั ดบั ทกุ ข์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปญั ญานนั ทภกิ ข)ุ

ความยดึ ม่นั ถกู ปลูกฝังมาตัง้ แต่เด็ก ต้ังแต่เป็นเด็กพอรู้เดียงสาเขาก็บอกให้เรารู้ว่า “อันนี้ของหนู ไอ้นี่ของหนู ไอ้นั่นของหนู” ให้ยึดถือเร่ือยมาตั้งแต่เป็นเด็กเล็ก เรา สอนอย่างน้ันให้เด็กยึดถืออย่างน้ัน ไม่ได้สอนให้ปล่อยให้วาง แต่ว่า เด็กมันก็รับไว้อย่างน้ัน จนกระทั่งเติบโตข้ึนเป็นเด็กอนุบาลเป็นเด็ก ประถมมัธยมอะไร ในโรงเรยี นในการสอนตา่ งๆ นัน้ ก็สอนให้ “ยึด” ท้ังนั้น ใหร้ กั ชาติ ใหร้ กั ประเทศ อะไรอยา่ งนี้ สอนให้รัก ก็คือ ใหย้ ดึ ถือในชาตขิ องตัว ในประเทศของตัว แลว้ กใ็ นพระศาสนา นี่ก็สอนให้ยึดถอื คอื ไม่ไดส้ อนให้ “สมาทาน” เอาไปปฏิบตั ิ นีต่ ุ๊กตาของหนอู ย่าให้หายล่ะ ตุก๊ ตาของหนู มันมีคำคู่กันอยู่เรียกว่า “ความยึดม่ันถือมั่น” มาจากคำว่า “อปุ าทาน” หรือ “อภินิเวสายะ” อีกคำหนึง่ เรยี กวา่ “สมาทาน” เช่น เราสมาทานศีล ก็หมายความว่ารับเอาข้อปฏิบัติไปใช้ในชีวิตของเรา นัน่ มันไมท่ ำให้เกิดความยึดถือ...เป็นทกุ ข ์ บริษัท สำนกั พมิ พ์เลยี่ งเชียง เพียรเพือ่ พุทธศาสน์ จำกดั 19

ป ฏบิ ัติธรรมด้วยปัญญา ไมพ่ าให้เกดิ ทุกข์ ถ้าเราสมาทานด้วยปัญญาเราก็ไม่เป็นทุกข์อะไร เอาไปใช้ให้ เกิดความเจริญทางด้านจิตใจ เช่น เราสมาทานศีล ๕ เราก็ระวังใจ ของเราไม่ให้มีเจตนาที่จะไปฆ่าใคร ทำร้ายใคร ไปลักของใคร ไปประพฤติผิดในทางกามกบั ใครๆ ไมพ่ ูดโกหก คำหยาบ คำเหลวไหล ไม่เสพสิ่งเสพติดมึนเมา รักษาสภาพใจไว้อย่างนั้น เรียกว่าเราสมา- ทานศีลอยู่ ปฏิบัติศีลอยู่ ไม่ได้เกิดความทุกข์อะไร ไม่ได้ทำใจให้เป็น ทกุ ข์ เพราะการสมาทานอยา่ งนน้ั เธอเไธมอ่มจอีเงยจรา่ตักยน ษดึ าตาไศิดมลี ่ในชะ่ห รอื เหยผยี มบเผมมใดิ่ือดชศเชตไ่ลี ้าหาขผยม ้อคมครเร๑ผบั ับลหแอล ลวว้ง ตา เราสมาทานในเร่ืองที่จะทำสมาธิ หมายความว่า อธิษฐานใจ ให้เกิดความมั่นคงทางใจว่าเราจะฝึกสมาธิชั่วเวลาเท่านั้นเวลาเท่านี้ เช่น จะนั่งทำใจให้สงบเป็นเวลา ๑๐ นาที ๒๐ นาที หรือ ๑ ช่ัวโมง อย่างนี้ก็เรียกว่าเป็นการสมาทานเพ่ือให้เกิดอาการเช่นนั้นข้ึนมาในใจ ไม่เรียกว่าเป็นการยึดมั่นถือม่ัน หรือไม่เรียกว่าเป็นตัวอุปาทาน มนั เปน็ ความตง้ั ใจทจี่ ะทำในสงิ่ ถกู ตอ้ ง สภาพจติ เราจะไมเ่ ปน็ ทกุ ขอ์ ะไร 20 เคลด็ ลับดับทุกข ์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานนั ทภิกขุ)

ธรรมะจะหมดจากใจ หากไม่นำมาปฏบิ ัต ิ แต่ถ้าเราไปทำอาการยึดม่ันถือม่ันขึ้นมาก็เกิดเป็นปัญหา เช่น นับถือศาสนาน่ี ก็เรียกวา่ นบั ถือเพือ่ นำมาใช้เป็นระเบียบสำหรับปฏิบัติ ในชีวิตประจำวันของเรา แต่ถ้าเราไปยึดมั่นถือมั่นในตัวศาสนา อะไร นิดอะไรหน่อยกระทบไม่ได้ เกิดความขัดแย้งกันรุนแรงในระหว่าง ศาสนา ดังที่เราเห็นข่าวบ่อยๆ ในความขัดแย้งต่างๆ ในเร่ืองศาสนา น่ันก็เป็นความยึดมั่นไป จึงเกิดการกระทำท่ีเราเห็นว่าเขาทำลายเรา อะไรบา้ งต่างๆ นานา ความจริงเขาทำลายไม่ได้ ตัวธรรมะหรือตัวคำสอนที่แท้จริง นั้นไม่มีใครจะทำลายได้ มันอยู่อย่างน้ันตลอดเวลา ไม่มีอะไรมา ทำลาย เหมือนในสมัยหนึ่งที่เขาโฆษณาว่า “คอมมิวนิสต์มา ศาสนา หมด” เขาว่าอย่างนั้นคนก็กลัวกัน กลัวว่าคอมมิวนิสต์มา ศาสนา จะหมด ความจริงนัน้ กห็ มดไปไม่ได้ ธรรมะมนั ของอยคู่ โู่ ลก มนั ไมห่ มดไป ถา้ ตราบใดยังมีคน “สมาทาน” คอื เอามาปฏิบตั อิ ย ู่ ศาสนาก็ไม่หมดไปจากจิตใจคน คอมมิวนิสตไ์ ม่มา แต่ถา้ เราไมส่ มาทาน คอื ไมเ่ อาธรรมะมาปฏบิ ัติ ธรรมะมันกจ็ ะหมดไปจากใจเรา แต่มนั ก็อยู่กับโลก บรษิ ัท สำนักพิมพ์เลย่ี งเชียง เพยี รเพือ่ พุทธศาสน์ จำกดั 21

ธรรมะ ไม่นำมาใช้กไ็ ร้ประโยชน ์ ธรรมะยังอยู่กับโลก แต่เราไม่ได้เอามาใช้ เหมือนกับแร่ธาตุ ต่างๆ ท่ีอยู่ใต้ดินน่ันแหละ มันก็อยู่อย่างนั้น แก๊สในอ่าวไทยมันก็อยู่ มานานแล้ว น้ำมันมันก็มีอยู่อย่างนั้น แร่ดีบุก...ทองเหลือง...สังกะสี... ทองคำ...เพชรนิลจินดา...ส่ิงท้ังหลายท้ังปวงมันก็มีอยู่ในโลก อยู่ใต้พ้ืน พสุธาท่เี ราอาศยั แต่วา่ เราไม่ไดไ้ ปขุดเอามาใช้ มันก็จมดินจมทรายอยู่ อย่างนั้น เม่ือใดมีคนฉลาดมารู้เข้าด้วยการพิสูจน์ตามแง่ของ วิทยาศาสตร์หรือทางธรณีวิทยา เขาก็รู้ว่าตรงนี้มีสิ่งน้ันมีส่ิงนี้ กรม ทรัพยากรธรณีน่ีเขารู้หมด รู้ว่าในประเทศไทยมีอะไรบ้าง เขารู้แล้ว แต่ว่าไม่มีทุนจะทำ ไม่มีคนท่ีสามารถจะไปทำ ก็เลยอุบไว้ก่อนไม่พูด ไม่จา แต่เมื่อมีคนฉลาดมีความสามารถมีเงินทองพอจะใช้ได้มาขอ อนุญาตทำ เขาก็ให้ทำ เจาะไปเจาะมาก็เจอเข้า ได้สิ่งน้ันมาใช้ สิ่งน้ัน มันอยู่ในโลก ธรรมะน่กี ็เหมอื นกัน มอี ยเู่ ป็นอยู่ตลอดเวลา แตเ่ ราไมไ่ ดส้ มาทาน คือไม่ไดเ้ อามาปฏบิ ตั ิ ธรรมะนน้ั ก็อยแู่ ตล่ ำพงั ธรรมะยังไมเ่ กิดประโยชน์แก่ใคร เมอื่ ใดเราสมาทานธรรมะ เราปฏบิ ัติธรรมะ ธรรมะก็คุม้ ครองเรา รกั ษาเราให้มีความสุขความเจริญขน้ึ ร่วมสร้างสายใยสมั พันธร์ ักแหง่ ครอบครวั ใหอ้ บอนุ่ ดว้ ยการมอบหนังสือเล่มนี้ให้คนท่ีรกั โรงเรยี น หอ้ งสมดุ เยาวชน สานสุขใหส้ งั คมน่าอยยู่ ่ิงขึ้น 22 เคล็ดลับดับทุกข ์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานันทภกิ ขุ)

ไมเ่ ปลีย่ นวิธคี ดิ ชวี ิตก็ติดอย่กู ับทกุ ข์ ใหเ้ ข้าใจความหมายของคำเหลา่ นเ้ี สียด้วยว่า “สมาทาน” นั้น คือการยอมปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ือทำตนให้หลุดพ้นจากความทุกข์ ทางใจ ส่วน “ความยึดม่นั ถอื มน่ั ” นัน้ เป็นการยดึ ไว้ด้วยความไม่เขา้ ใจ ทำให้เกิดความทุกข์ คล้ายกับคนไปกอดเสาไว้ เอามือประสานกอด เสาไว้ แลว้ กพ็ ดู ว่า “เอาออกอย่างไร...เอาออกอย่างไร” มนั ไม่รู้จะเอา ออกอย่างไร มันกอดไว้อย่างเดียว ความจริงเอาออกมันก็ง่ายนิดเดียว ไม่ยากอะไร แต่วา่ เอาออกไมไ่ ด้ มันคลา้ ยอย่างนน้ั คนเราท่ียึดถืออะไรแล้วมนั กย็ ดึ อยู่อยา่ งนน้ั ไมย่ อมเปลยี่ นแปลงความคดิ ของตัวให้เปน็ อยา่ งอ่นื คดิ แต่ในเรือ่ งทีจ่ ะให้เกิดปญั หาในชีวิตประจำวนั อยตู่ ลอดเวลา แม้เราจะรู้ เช่น อ่านธรรมะ...รู้ ฟังเทปธรรมะ...ก็รู้ มาฟัง เทศนพ์ ระสอนในวันอาทติ ย์...ก็รู้ แต่วา่ พอกลับไปถึงบา้ นถงึ เรือน จิต มนั ก็กลับไปสภู่ าวะเดิม เพราะเราเคยคดิ ในรูปอย่างนั้น เคยนึกในเร่อื ง อย่างนั้นอยู่ตลอดเวลา วิตกกังวลไปด้วยเร่ืองอะไรต่างๆ มากมาย ก่ายกองในชวี ติ ของเรา สงิ่ ใดเกยี่ วขอ้ งในชวี ติ เรากน็ ึกไปไกล นกึ ไปว่ากลัวจะเปน็ อย่างน้ันกลวั จะเปน็ อยา่ งน้ี อะไรตา่ งๆ มนั กเ็ กิดเปน็ ปญั หา ทำใหเ้ รา เกิดความทุกข์ความเดือดรอ้ นใจ บริษัท สำนกั พมิ พ์เลี่ยงเชียง เพียรเพ่อื พุทธศาสน์ จำกัด 23

อยูด่ ้วยกันอย่างเข้าใจ จะไม่เป็นทกุ ข์ ทางแก้มันก็คือว่าเราหัดปล่อยหัดวางเสียบ้าง อย่าไปยึดม่ัน ถือม่ันมากเกินไป แต่ว่าก็ควรจะพยายามพูดจากันทำความเข้าใจกัน เช่น คนอยู่ด้วยกันนี้บางทีมันก็เกิดปัญหา ในครอบครัวสามีภรรยาอยู่ ด้วยกัน มีความยึดถือเหมือนกัน สามีก็ยึดถือว่า “ภรรยาของฉัน” ภรรยากย็ ึดถือว่า “สามขี องฉนั ” ถา้ ทุกฝ่ายประพฤติธรรม มนั ก็ไม่มเี รือ่ งอะไร คอื ถา้ เอาธรรมเขา้ มาใช้แล้ว เรอื่ งมนั หมดไปเท่านั้นเอง มนั ไมม่ ปี ัญหาอะไร ไอ้ท่ีเกดิ ปญั หานเี่ พราะวา่ เราไมใ่ ชธ้ รรมะ ไมเ่ อาธรรมะมาประสานจิตใจของผ้ทู อี่ ยรู่ ่วมกัน ให้เกิดเป็นใจเดียวกนั ใจเหมือนกัน ไมไ่ ดท้ ำอย่างน้นั ไมเ่ อาธรรมะมาใช ้ เลยเกดิ เปน็ ปัญหาขนึ้ มา เมื่อเกิดเป็นปัญหา ฝ่ายหน่ึงสร้างปัญหาอีกฝ่ายหน่ึงจะคิด อยา่ งไร ถ้าเราเป็นนกั ธรรมะเรากค็ ดิ กพ็ ดู จากันบ้าง ทำความเขา้ ใจกนั แต่ว่าพูดกันดว้ ยใจเยน็ ๆ อยา่ พดู ด้วยอารมณ์ อย่าพูดดว้ ยความร้อนใจ เพราะถ้าพูดด้วยอารมณ์ ด้วยความร้อนใจ อีกฝ่ายหนึ่งมันก็เกิด อารมณเ์ หมือนกนั เกิดความร้อนขึ้นเหมือนกนั 24 เคลด็ ลับดับทุกข ์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ขุ)

พดู กนั ดว้ ยความโกรธ กอ่ ใหเ้ กดิ โทษมหันต์ ร้อนกับร้อนมากระทบกัน เหมือนหินกับเหล็กเอามาตีกันเข้า มันก็เกิดเป็นประกายไฟ เอาปุยอะไรวางเข้าไปตรงน้ัน มันก็ติดข้ึนมา เอาไปใช้ติดอะไรก็ได้เหมือนกัน เหมือนคนสมัยก่อนเขาไม่มีไม้ขีดไฟ เขาใช้เหล็กไฟ ภาษาเดมิ เขาเรยี กวา่ “เหลก็ ไฟ” เพราะมเี หล็กอนั หน่งึ ชิน้ ยาวแค่น้เี ป็นเหล็กกลา้ อย่างดี แล้วไปหาหินตามภูเขามา รปู เหล่ยี ม อะไรก็ตาม เอามาถึงก็เอาปุยเต่าร้างนี่ เต่าร้างมันมีขุยเป็นปุย เอามา ชุบดินประสิวนิดหน่อย แล้วเอามาจับไว้แล้วก็ตีๆ เกิดเป็นประกาย เม่อื เกดิ เปน็ ประกายก็ติดไฟปยุ นนั้ แลว้ กเ็ อาไปใช้เปน็ เช้ือเพลิงได้ เหล็กกับหนิ มนั กระทบกนั ทำใหเ้ กิดไฟ ฉนั ใด จติ ใจคนเราน้กี เ็ หมือนกนั ถ้าเราพูดกนั ดว้ ยอารมณ์ มันกเ็ กดิ กเิ ลส เพราะต่างคนต่างสะสมแต่กิเลสไว้ในเนื้อในตัวมากมาย ไม่ได้ สะสมธรรมะ ไม่ได้เป็นคนของพระ แต่ว่าเป็นคนของกิเลสมา ตลอดเวลา พอพูดอะไรขึ้นก็ไม่ยอมรับ คือไม่เอาตัวจริงมารับ แต่เอา ตัวปลอมออกรบั ตวั ปลอมน้นั กค็ อื “ความเหน็ แกต่ วั ” นน่ั เอง บรษิ ัท สำนักพมิ พเ์ ลี่ยงเชียง เพียรเพ่ือพทุ ธศาสน์ จำกดั 25

สขุ และทุกข์ เก่ยี วพนั กนั เสมอ ความรู้สึกนึกคิดท่ีเป็นเร่ืองเข้าข้างตัว เรียกว่าเป็นความเห็น แก่ตัว เมื่อมีความเห็นแก่ตัวเกิดข้ึนก็ไม่ยอม ไม่ยอมท่ีจะฟัง ไม่ยอมท่ี จะรบั คำพูดน้ัน ดนั ทรุ งั ไปคนเดยี ว แลว้ บางทกี พ็ ูดว่า “เฮย้ ! มนั เรื่อง ของฉนั นะ เธอไมเ่ กยี่ ว” อยา่ งนีม้ นั ก็ไม่ถกู ต้อง มันก็ตอ้ งเกีย่ วกัน คนเราอยดู่ ้วยกนั ความสุขเนื่องถึงกัน ความทุกข์เนอื่ งถึงกัน มนั กต็ ้องเกย่ี วกนั เพราะว่าเวลามีปัญหา ใครจะมาช่วย คนอน่ื ทไี่ หนใครเขาจะมาชว่ ย ก็มนั เปน็ ความหนักอยทู่ ่ีในครอบครวั เฮอ้ ...อีกแลว้ หรอ เหน่อื ยใจจริงๆ แ บบนีเ้ ขาเรยี กวา่ เมา สนุ ขั ไมร่ บั ประทาน อนี างเอย้ ...ผวั เอง็ เมาหัวราน้ำอย่โู นน่ ครอบครัวน่ีต้องช่วยกัน แม่บ้านทำไม่ดีพ่อบ้านก็ต้องรับผิด ชอบ พ่อบ้านทำไม่ดีแม่บ้านต้องรับผิดชอบ มันหนักอยู่ที่คนในบ้าน ไอ้คนอื่นนนั้ เขาสบาย เขาเอาแต่ประโยชนข์ องเขา ได้แล้วเขากป็ ร๋อไป ปร๋อมา เวลามีปัญหาเขาก็ไม่มาช่วยไม่มารับภาระอะไร ภาระมันอยู่ กับคนในบ้าน 26 เคล็ดลับดับทุกข์ พระพรหมมังคลาจารย์ (ปัญญานันทภกิ ข)ุ

รบั ฟังดว้ ยดี ยอ่ มมที างออก เพราะฉะนั้นจงึ เป็นเรื่องท่ีจะตอ้ งทำความเขา้ ใจกัน คอื พดู กัน ด้วยใจเย็นใจสงบ ทำอารมณ์ให้แจ่มใส แล้วก็พูดกันด้วยอารมณ์ท่ี แจม่ ใสนัน้ อยา่ ให้เกดิ ความข่นุ มัวเศรา้ หมองใจ คนหนึ่งพดู อกี คนหนึง่ กต็ ้องรับฟัง รับฟังดว้ ยจติ ใจทีส่ งบ ระวังอย่าใหเ้ กิดกิเลส อย่าให้เกิดความโกรธ อย่าใหเ้ กิดความหลง อย่าใหเ้ กดิ ความสำคัญผดิ ว่าฉันเป็นอยา่ งนัน้ ฉันเป็นอย่างน ้ี ไมใ่ ห้มคี วามรสู้ ึกอยา่ งนัน้ ทำใจให้วา่ ง ยอมรบั ฟังดว้ ยดี ในคำทีเ่ ขาปรารภออกมา แล้วก็มองดตู ัวเรา วา่ ตวั เรามคี วามผดิ มคี วามบกพรอ่ ง มีการสรา้ งปัญหาขน้ึ อย่างไร เมื่อเห็นอกเห็นใจกันเพราะอยู่กันมานาน มีลูกมีเต้ามีอะไร เป็นหลักเป็นฐาน ก็ควรจะระงับยับย้ังควบคุมตัวเองให้เกิดความคิด นึกในทางที่ถูกที่ชอบ เปลี่ยนแปลงสภาพชีวิตจิตใจเข้าหาสิ่งถูกต้อง โดยถือหลักประจำใจว่า “เราจะอยู่โดยไม่สร้างปัญหาให้แก่ใครๆ” เช่น อยใู่ นครอบครัว อยโู่ ดยไมส่ รา้ งปัญหาใหแ้ ก่ครอบครัว อย่โู ดยไม่ สร้างปัญหาแก่สังคมหรือไม่สร้างปัญหาอะไรให้เกิดข้ึนในวงงานวงการ ที่เราเขา้ ไปปฏิบัตเิ กย่ี วข้องกันอย ู่ บริษัท สำนักพิมพเ์ ล่ยี งเชียง เพยี รเพือ่ พทุ ธศาสน์ จำกดั 27

ใช้ธรรมะเพื่อชนะธรรมชาตฝิ ่ายต่ำ ถ้าเราคิดอย่างนั้น เร่ืองมันก็พอจะเบาลงไปได้ ไม่มีอะไรที่จะ ทำให้เกิดความหนักอกหนักใจ แต่เรื่องมันไม่เป็นอย่างน้ัน เพราะว่า เราไม่ได้เอาธรรมะไปใช้ในชีวิตจริงๆ แม้จะได้มาฟังธรรมอยู่ในวัน อาทิตย์หรือได้อ่านหนังสือธรรมะอยู่บ้าง ก็เพียงแต่สักว่าฟัง เพียงสัก ว่าอา่ น แต่วา่ ไม่ไดเ้ อาไปใช้ในชีวิตประจำวนั แบบที่เรยี กวา่ เขา้ หูซ้าย ออกหูขวา เขา้ หูขวาออกหูซ้าย ฟงั เสร็จแล้วก็ลุกขึน้ ไป จิตใจกก็ ลบั ไป สู่ภาวะเดิมต่อไป ยังไม่ได้ผลคุ้มค่าจากการเรียนการอ่านธรรมะอย่าง แทจ้ ริง มปี ัญญา ตามข้นึ มา เราจะเรยี นเพียงเท่านน้ั ไม่ได้ หรอื เปลา่ ต้องใหม้ ันเกิดการปฏิบัต ิ คอื เอาไปใช้ เอาไปคดิ พจิ ารณา บแหนลรน้วอืั้นเเจไป้าดลจ้ตา่ะลลอ่ะอย ดู่ แล้วเอาชนเะพธอ่ื รใรหม้เชกาิดตปิฝัญา่ ยญตาำ่ขทนึ้ ี่เใกนิดตขวั้นึ เรราบ กวนจิตใจ ทำให้เกดิ ความทุกขค์ วามเดอื ดรอ้ นใจ ไปด้วยประการต่างๆ นัน้ อย่าใหใ้ ครๆ ต้องเป็นทกุ ข์ อา่ นใหร้ ู้ รู้แลว้ ลงมอื ทำ ทำ ทำ ทำ เท่าน้นั จึงจะเปน็ สขุ สขุ ทุกข์ อยทู่ ่ีใจ ใจใคร ใจเขา อตั ตา หิ อตั ตะโน นาโถ ตนแลเป็นที่พ่ึงของตน ทพี่ งึ่ ของตนท่ีดที ี่สุด คอื ความดี คิดดี ทำดี พูดด ี สิง่ ดๆี จะตามมา พาพ้นทุกข์ สขุ ทุกขณะ สาธุ สาธุ สาธุ 28 เคล็ดลับดับทกุ ข ์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปญั ญานนั ทภิกขุ)

เกดิ เป็นคน อย่าทำตน ให้คนอน่ื เปน็ ทุกข์ คนเราทำอะไรนี่อย่าเห็นแกต่ ัว แตต่ อ้ งเห็นแกป่ ระโยชนผ์ ูอ้ ่นื อุดมการณข์ องพระพทุ ธเจ้าน้นั สอนให้เรา “อยเู่ พ่ือไม่ใหใ้ ครเป็นทุกข”์ อยู่เพื่อไม่ให้ใครเป็นทุกข์ ในวงแคบก็คือในครอบครัว เรา มีชีวิตเป็นอยู่โดยไม่ได้ทำให้ใครเป็นทุกข์ แม่บ้านไม่อยู่เพ่ือให้พ่อบ้าน เป็นทุกข์ พ่อบ้านไม่อยู่เพ่ือให้แม่บ้านเป็นทุกข์ พ่อแม่ไม่อยู่เพ่ือให้ลูก ทุกคนเป็นทุกข์ ลูกก็เหมือนกันจะไม่ทำอะไรให้พ่อแม่เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อนใจ อะไรทีเ่ ราทำแลว้ คุณแม่ไม่สบายใจ คุณพอ่ ไมส่ บาย ใจ การกระทำน้นั เปน็ การกระทำที่ไม่ถูกต้อง หรือว่าเราอยู่กับเพื่อนก็ต้องไม่ทำอะไรให้เพื่อนเกิดเดือดเนื้อ ร้อนใจ ไม่ให้เพื่อนต้องเป็นทุกข์ในเรื่องน้ันๆ เห็นว่าเพ่ือนจะทำอะไร ผิดพลาดเสียหาย เราก็คอยแนะนำชี้แจงให้เพื่อนเกิดความสำนึกรู้สึก ผิดชอบชั่วดี แล้วจะเปลี่ยนสภาพชีวิตให้เข้าหาตัวสัมมาทิฏฐิ คือ ความเห็นชอบ แล้วมีการคิดชอบ พูดชอบ ทำชอบ ทำการงานชอบ ดำรงชีวิตชอบต่อไป เป็นการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ถ้าเราคิดเราทำ อย่างนั้นอยู่สมำ่ เสมอในชวี ิตประจำวัน ความคดิ ร้ายๆ มนั ก็ผอ่ นคลาย ลงไป เบาไปจากจติ ใจของเรา บริษัท สำนักพิมพ์เลี่ยงเชยี ง เพียรเพอ่ื พทุ ธศาสน์ จำกดั 29

เข้าข้างตัวเองเม่อื ได เห มือนเข้าใกลค้ วามช่ัว เราก็ต้องสังเกตอีกเหมือนกัน คือสังเกตว่าต้ังแต่เราเข้าวัด ฟังธรรม หรือว่าเข้าใกล้พระมาเป็นเวลานานเท่าใดแล้ว ส่ิงต่างๆ ใน ชีวิตของเรานั้นมันเปล่ียนแปลงหรือไม่ ถ้าไม่มีการเปล่ียนแปลงทาง จิตใจก็เรียกว่าเข้าวัดอย่างไม่ได้ผล เข้าวัดอย่างไม่ถึงวัด เห็นพระแต่ ไม่ได้เห็นพระ ไม่ได้เอาพระไปใช้ในชีวิตประจำวัน ไม่ได้เอาพระไปอยู่ ที่บ้านไปอยู่ท่ีใจของเราด้วย มาเห็นท่ีวัดแต่เห็นไม่ชัด เห็นแบบคนแก่ ตามืดตามัว มองอะไรไม่ชัดเจน แล้วก็ไม่ได้เอาไปใช้ในชีวิตจิตใจ สิ่ง นนั้ จงึ ยงั ไม่เกิดประโยชน ์ พระศาสนาหรือธรรมะของศาสนาจะไม่เกิดประโยชน์ ถ้าเรา ไม่เอาไปใช้ในชีวิตประจำวัน เพราะฉะน้ันเราจะต้องเอาไปใช้ ใช้เป็น เครื่องมือพิจารณาตัวเราเองก่อนว่าเรานี้มีความเป็นอยู่ท่ีบกพร่อง อะไรบ้าง โดยปกต.ิ ..ขออภัย... อยากจะพดู วา่ คนเราสว่ นมากมกั จะเขา้ ข้างความชั่ว ที่เรียกวา่ “เขา้ ขา้ งตัว” น่นั แหละ ไอ้ตวั นน่ั มันไมใ่ ชต่ ัวแท้หรอก เป็นตวั ของความช่ัว แลว้ เราทำอะไรอยู่ เรากเ็ ขา้ ข้างสิ่งน้ัน ไมค่ อ่ ยจะยอมเปล่ียนแปลง คงไสมกั เ่ตปัว็นส ไอรงหตรวั อ ก 30 เคลด็ ลับดบั ทุกข ์ พระพรหมมงั คลาจารย์ (ปัญญานันทภิกข)ุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook