Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

Description: ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

Search

Read the Text Version

รายงานการวิจยั ภาสษุขีเจภราิญวะดพที ้นื ี่ภทา่ีสษขุเี จภราิญวะ ความรแู้ ละพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของประชาชนในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร โดย อาจารยส์ ุวรรณา เชยี งขนุ ทด และคณะ สนับสนนุ โดย ศนู ยวจิ ัยเพอ่ื พฒั นาชมุ ชน สำนกั งานกองทนุ สนับสนุน มหาวทิ ยาลยั สยาม การสรา งเสรมิ สุขภาพ (สสส.)

รายงานวิจยั ความรแู้ ละพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษเี จรญิ Knowledge and Behavior on Food Consumption of Pasi Charoen Persons ภายใต้แผนงานวิจัย การวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาพ้นื ที่สรา้ งสรรคเ์ พือ่ สุขภาวะ: กรณนี าร่องเขตภาษเี จรญิ กรงุ เทพมหานคร คณะผู้วิจยั อาจารย์สุวรรณา เชียงขุนทด คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม อาจารย์ชนิดา มัททวางกูร คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สยาม อาจารย์ ดร.กลุ ธดิ า จนั ทรเ์ จรญิ ศนู ยว์ ิจยั เพ่อื พัฒนาชมุ ชน มหาวทิ ยาลัยสยาม ผศ.(พเิ ศษ)ดร.เนตร หงษไ์ กรเลิศ สถาบนั พัฒนาสุขภาพอาเซยี น มหาวิทยาลยั มหดิ ล อาจารย์นารี รมย์นุกลู สานักสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม อาจารย์ฐิตมิ า อุดมศรี ศูนย์วิจยั เพอื่ พัฒนาชมุ ชน มหาวิทยาลยั สยาม อาจารย์สมหญิง เหงา้ มูล ศนู ย์วิจัยเพอื่ พัฒนาชมุ ชน มหาวทิ ยาลยั สยาม สนับสนนุ โดย สานกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสริมสุขภาพ (สสส.)

ก ช่อื โครงการ ความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจรญิ ภายใต้แผนงานวจิ ัย การวิจัยเพ่ือพฒั นาพนื้ ท่ีสร้างสรรคเ์ พอื่ สุขภาวะ: กรณีนาร่องเขตภาษเี จรญิ กรงุ เทพมหานคร ผ้วู จิ ยั หัวหนา้ โครงการ นางสุวรรณา เชยี งขนุ ทด คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลยั สยาม บทคัดย่อ การวิจัยเชิงสารวจ เร่ือง ความรู้ และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจริญ มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) พฤติกรรมการบริโภค เจตคติ และอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการ บริโภคอาหารของคนในชุมชนเขตภาษีเจริญ 2) ปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของของคนใน ชุมชนเขตภาษีเจรญิ และ 3) ส่ือโฆษณาภายนอกมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมของผู้บริโภคในเขตภาษี เจริญ ประเด็นการสร้างสรรค์พ้ืนที่เพ่ือสุขภาวะด้านอาหาร ประชากรในการศึกษาคร้ังน้ีได้แก่ ประชากรทุกวัยในชุมชนเขตภาษีเจริญ ขนาดตัวอย่างจานวน 406 คน และนักเรียนอายุ 6-14 ปี จานวน 42 คน เครือ่ งมือท่ีใช้ ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าสถิติ ได้แก่ ความถ่ี ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และทดสอบความสัมพันธ์ด้วยค่าไคสแควร์ และค่าสหสัมพันธ์ (Correlation) ผลการวิจัยพบว่า พบว่าพฤติกรรมบริโภคของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ ปฏบิ ตั เิ ป็นประจามากที่สุดคือด่ืมนมท่ีมีรสหวาน เช่น นมหวาน นมช็อกโกแลต นมเปร้ียวคิดเป็นร้อย ละ59.5 รองลงมารับประทานขนมขบเค้ียวกรุบกรอบ เช่น มันฝรั่งทอด ข้าวเกรียบ คิดเป็นร้อย ละ57.1และรบั ประทานหมทู อด ไก่ทอด ลกู ชน้ิ ทอด คิดเป็นร้อยละ54.8 ตามลาดับ ในส่วนพฤติกรรม ผู้บริโภค พบว่าส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลางเป็นผู้ท่ีได้ คะแนนระหว่าง 6-7.9 คะแนน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 64.5 รองลงมาอยู่ในระดับดีเป็นผู้ที่ได้คะแนนมากกว่า 8 ร้อยละ23.4 และระดับต่าเป็นผู้ท่ีได้คะแนนน้อยกว่า 60 ร้อยละ12.1 ตามลาดับ ในส่วนของ พฤติกรรมบริโภคอาหารอยใู่ นระดับปานกลางเปน็ ผูท้ ีไ่ ดค้ ะแนนระหว่าง 0.67 – 1.33 คะแนน คิดเป็น ร้อยละ 53.2 รองลงมาอยู่ในระดับดีเป็นผู้ท่ีได้คะแนนระหว่าง 0.67 – 1.33 คะแนน ร้อยละ46.8 แต่ ไม่มีผู้ที่ได้คะแนนระดับต่า ในส่วนของคะแนนเจตคติมีค่าเฉล่ียอยู่ท่ี 2.3743 (S.D. 0.49698) ส่วน ใหญ่อยู่ในระดับปานกลางเป็นผู้ที่ได้คะแนนระหว่าง 2.34 – 3.66 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 63.3 รองลงมาอยู่ในระดับต่าเป็นผู้ที่ได้คะแนน1.00 – 2.33 ร้อยละ 35.7และระดับดีเป็นผู้ที่ได้คะแนน 3.67 – 5.00 ร้อยละ1 ตามลาดับ ในขณะท่ีอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนในการบริโภคอาหารอยู่ใน ระดบั มากมีคะแนน1.34 – 2.00 คิดเป็นร้อยละ13.5 รองมาคือได้รับอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนอยู่ใน

ข ระดบั ปานกลาง (คะแนน0.67 – 1.33) คิดเป็นร้อยละ29.8และได้รับอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนอยู่ใน ระดับน้อย (คะแนน < 0.66 ) คิดเป็นร้อยละ56.7 ปัจจัยท่ีมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการบริโภค อาหารอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติได้แก่ ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารและเจตคติต่อการบริโภค อาหาร ส่วนอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารอย่างมีนัยสาคญั ทางสถิติ การวิจัยนี้มีข้อเสนอแนะให้มีการจัดพ้ืนท่ีสาหรับให้ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหาร และมี การสารวจภาวะโภชนาการของเด็กนักเรยี นและมีการจดั กิจกรรมในโรงเรียนเพ่ือสนับสนุนให้โรงเรียน เป็นตน้ แบบของโรงเรียนในพน้ื ท่สี ขุ ภาวะ คำสำคญั : ความรู้ พฤตกิ รรม เจตคติ อิทธพิ ลส่ือ การบรโิ ภคอาหาร

ค Research Project Knowledge, Attitude, consumers’ behaviors and the media influence on consumers’ behaviors of Phasicharoen Persons Under Research Program Research for Healthy Space Developing: A Pilot Study Of Phasicharoen District, Bangkok Chief Researcher Mrs.Suwanna Chaingkuntod Faculty of Nursing,Siam University Abstract The survey study of knowledge and consumers’ behaviors in Pasri Charoen district aimed to 1) assess behaviors, attitude and media influence on food consumptions 2) evaluate factors linked to food consumptions 3) explore media influence effecting on consumers. The study was conducted in every aged group at PasriCharoen district. 406 participants and 42 students, aged 6-14 years of age were recruited in the study. Self-reported questionnaires were implemented in the study. Data analysis was presented frequency, average, and standard deviation. Chi-Square test and Correlation were used to test variables associations. The findings showed that the students always consumed 59.5 % of UHT sweetened milk, followed by 57.1 % of snack foods and 54.8% of fried

ง meat, respectively. According to consumer behaviors, the findings showed that majority of consumer knowledge was borderline knowledge (64.5% : Scores 6-7.9), followed by good knowledge (23.4% : Scores > 8) and basic food knowledge (12.1%: Scores <6). According to consumable food behaviors, consumers had 53.02 % of borderline behaviors ( ranged scores 0.67-1.33), followed by 46.80% of good behaviors (ranged scores 0.67-1.33), and no participants reported as bad behaviors. As attitude toward food, the means of attitude to food were 2.734 (S.D 0.49698); the majority of consumers’ attitudes toward food was a borderline attitude (63.30 %: Scores 2.34-3.66), The media influence toward food consumption was shown good influence (13.50% : Scores 1.34-2.00), followed by borderline influence (29.80% : Scores 0.067-1.33) and lowest influence (56.70% : Scores <0.66). Factors that significantly correlate with food consumption behavior are knowledge and attitude but media influence on food consumptions has no association. The suggestions from the research were increased public knowledge on food consumptions. Additionally, the assessment of nutrition in school students is necessary, and enhance health-promoting activities in school to be a healthy model. Keywords: knowledge, attitude, consumers’ behaviors, media influence.

สารบัญ หน้า บทคดั ย่อภาษาไทย ก บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ ค คานา จ สารบัญ (1) สารบญั ตาราง (3) สารบญั ภาพ (6) บทที่ 1 บทนา 1 1 ความสาคญั และทม่ี าของปัญหา 3 คาถามการวจิ ัย 3 วตั ถุประสงค์ของการวจิ ยั 3 สมมตฐิ านการวิจยั 3 ขอบเขตของการวิจยั 3 นยิ ามศพั ท์ 4 ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั 5 กรอบแนวคิดการวิจัย 6 บทท่ี 2 การทบทวนวรรณกรรม 6 ความหมายของพฤติกรรมบริโภค 9 ความร้เู กยี่ วกับการบรโิ ภคอาหาร 11 ปัจจัยทีม่ ผี ลต่อการบริโภคอาหาร 14 พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวยั เรียน 16 เจตคติต่อการบรโิ ภค 16 อิทธิพลจากสือ่ สารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร 19 งานวิจยั ทเี่ กี่ยวข้อง 22 บทที่ 3 วธิ กี ารวิจยั 22 ประชากรและกลุม่ ตัวอยา่ ง 23 เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั 26 วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมลู 27 การวิเคราะห์ข้อมลู 26 ระยะเวลาทาการวิจัยและแผนการดาเนนิ งาน

(2) สารบญั (ต่อ) หนา้ บทที่ 4 ผลการวิจยั 28 สว่ นท่ี 1 พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารของเดก็ วัยเรยี นอายุ 6-14 ปี 28 1.1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของเด็กวัยเรยี นอายุ 6-14 ปี 30 1.2 พฤติกรรมบริโภคของเด็กวัยเรียน 32 ส่วนท่ี 2 ความรู้ พฤตกิ รรม เจตคติ และอิทธพิ ลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกบั การบรโิ ภคอาหารประชาชนในเขตภาษีเจรญิ 32 2.1 ขอ้ มูลท่ัวไปของประชาชนในเขตภาษเี จรญิ 34 2.2 ความรูท้ ั่วไปเก่ยี วกบั การบริโภคอาหารของประชาชนใน เขตภาษีเจรญิ 36 2.3 พฤติกรรมบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขตภาษเี จริญ 41 2.4 เจตคติตอ่ การบรโิ ภคอาหาร 46 2.5 อิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกบั การบริโภคอาหาร 48 2.6 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทีม่ ีความเกย่ี วขอ้ งกบั พฤติกรรม การบรโิ ภคของประชาชนในเขตภาษีเจรญิ 51 51 บทท่ี 5 สรุป อภิปราย และเสนอแนะ 54 สรปุ ผลการวจิ ยั 56 อภิปรายผลการวจิ ยั 58 ขอ้ เสนอแนะ 61 62 บรรณานุกรม 64 ภาคผนวก แบบสอบถามพฤตกิ รรมบริโภคอาหารของเดก็ วยั เรยี น แบบสอบถามความรู้พฤติกรรมการบริโภค ของคนในชมุ ชนเขตภาษเี จริญ

(3) สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 1 ขนาดตัวอย่างรายแขวง 23 2 แผนการดาเนินงาน 27 3 จานวนและร้อยละของกลุม่ ตัวอยา่ งเด็กวยั เรียน จาแนกตามขอ้ มูลสว่ นบคุ คล 29 4 จานวนและรอ้ ยละของของพฤตกิ รรมบริโภคของเด็กวัยเรียน 30 5 จานวนและร้อยละของขอ้ มลู ทั่วไปเกี่ยวกบั สถานภาพส่วนบคุ คลของประชาชนใน เขตภาษเี จริญ จาแนกตามขอ้ มูลส่วนบุคคล 32 ข้อมูลขา่ วสารดา้ นการออกกาลังกาย 6 จานวนและร้อยละของความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริโภคอาหารของประชาชนใน เขตภาษีเจริญจาแนกเปน็ รายข้อ 35 7 จานวนและร้อยละระดับคะแนนความรู้เกีย่ วกับการบรโิ ภคอาหาร 36 8 จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อยา่ ง จาแนกตามความพฤตกิ รรม บรโิ ภคอาหาร 36 9 จานวนและรอ้ ยละระดับคะแนนพฤติกรรมบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขต ภาษีเจริญ 40 10 จานวนและรอ้ ยละของกลมุ่ ตวั อย่าง จาแนกตามเจตคตติ อ่ การบรโิ ภคอาหาร 41 11 จานวนและร้อยละคะแนนเจตคตติ อ่ การบริโภคอาหาร 46 12 จานวนและรอ้ ยละอทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ยี วกบั การบริโภคอาหารรายขอ้ 46 13 จานวนและร้อยละกลุม่ ตัวอย่างจาแนกตามการได้รับอิทธิพลจากสอื่ สารมวลชน 48 14 ความสมั พันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริโภคอาหารกับปัจจยั ส่วนบุคคล ประกอบดว้ ยเพศ สถานภาพ การศกึ ษารายได้ 48 15 ความสัมพนั ธ์ระหวา่ งพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารกับความรู้ อิทธพิ ลจาก ส่ือสารมวลชนเก่ียวกบั การบริโภคอาหาร และเจตคติตอ่ การบรโิ ภคอาหาร 49 16 ความสัมพันธร์ ะหว่างคา่ เฉลี่ยคะแนนความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารเจตคติต่อ การบริโภคอาหาร อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารและ พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร 50

จ คำนำ เอกสารการศกึ ษาวิจยั เรอ่ื ง ความรู้และพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนภาษีเจริญ เป็น ส่วนหน่ึงของโครงการวิจัยเพ่ือพัฒนาพ้ืนที่สร้างสรรค์เพ่ือสุขภาวะ (Healthy Space): กรณีนาร่อง พื้นที่บริบทเมือง เขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ดาเนินการโดยศูนย์วิจัยเพ่ือพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลยั สยาม ดว้ ยการสนับสนุนของสานักงานกองทนุ สนบั สนุนการสร้างเสริมสขุ ภาพ (สสส.) กระบวนการดาเนินงานศึกษาวิจัย มุ่งเน้นการค้นหาข้อมูลพ้ืนฐานเก่ียวกับพฤติกรรมการ บริโภคอาหารของคนในเขตภาษีเจริญ และการสร้างความเข้าใจ การยอมรับและการมีส่วนร่วมของ ประชาชน ซ่ึงจะเป็นประโยชน์ในการขับเคลื่อนการพัฒนาพื้นท่ีเขตภาษีเจริญให้เป็นพื้นที่สุขภาวะ รองรับกิจกรรมทางดา้ นอาหารสาหรบั ประชาชนในพ้นื ทต่ี อ่ ไป คณะผู้วิจัยขอใช้โอกาสน้ี ขอบคุณคณบดีคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยามที่ สนับสนุนใหร้ ว่ มในการดาเนนิ งานครงั้ น้ี และขอขอบคณุ หน่วยงาน ชมุ ชน ภาคี ท่ใี ห้ความร่วมมือเป็น อยา่ งดยี งิ่ จนทาให้การศึกษาครง้ั นปี้ ระสบความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ คณะผู้วิจยั กนั ยายน 2556

บทท1่ี บทนำ ควำมสำคัญและที่มำของปัญหำ ปัจจุบันความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเปลี่ยนแปลงอย่างไม่หยุดยั้ง สงั คมเตม็ ไปด้วยการแข่งขนั ทาใหช้ วี ิตตอ้ งตกอยใู่ นความเรง่ รีบจนลมื สนใจดูแลสุขภาพตนเอง ซ่ึงเป็น ปจั จัยเสี่ยงตอ่ การเกดิ โรคต่างๆ รวมทง้ั ปญั หาทเ่ี ข้ามารมุ เรา้ ความเครยี ดสูง สง่ ผลต่อคุณภาพชีวิตของ บุคคลน้ันๆเป็นอย่างมาก อาหารเป็นหนึ่งในปัจจัยสี่ที่มีความสาคัญและจาเป็นอย่างย่ิงต่อการ ดารงชีวิต การพัฒนาท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจและสติปัญญาให้มีศักยภาพ การท่ีคนเรามีพฤติกรรม บริโภคทีเ่ หมาะสม จะสง่ ผลให้มีภาวะโภชนาการที่ดีจึงนับไดว้ ่าเปน็ ปัจจัยสาคัญปัจจัยหนึ่งที่จะนาไปสู่ สขุ ภาวะทส่ี มบรู ณ์ ซึ่งจะเกดิ ผลดีต่อการดารงชีวิตท้ังต่อตนเอง ครอบครัวและประเทศชาติ ทั้งในด้าน เศรษฐกจิ และสงั คม ดงั ท่ี สงา่ ดามาพงษ์ (อา้ งถึงใน สุจิตรา เทพไทย, 2546) กล่าวว่าการมีสุขภาวะที่ สมบูรณ์ของคนไทยคอื การสร้างทรัพยากรท่ีมีคุณค่าย่ิงใหญ่เหนือทรัพยากรอื่นใด และเป็นการเพิ่มทุน อนั มีคา่ มหาศาลให้สงั คมไทยแบบยงั่ ยืน พฤติกรรมการบริโภคของคนไทยได้เปลี่ยนแปลงไปตามการเปล่ียนแปลงของภาวะเศรษฐกิจ และสงั คม ซ่ึงวงศส์ วาท โกศัลวัฒน์ (2545) กลา่ วว่า ในอดีตคนไทยบริโภคข้าวกับปลาเป็นอาหารหลัก นยิ มบรโิ ภคผักเป็นประจา และในปัจจุบันคนที่อาศัยอยู่ในเขตเมืองบริโภคไขมันและเนื้อสัตว์เพ่ิมมาก ขึ้น บริโภคผักและผลไมล้ ดลง เด็กและวัยร่นุ บริโภคอาหารแบบคนเมืองมากกว่าอาหารประจาท้องถ่ิน วิถีชีวิตของคนเมืองเป็นแบบเร่งรีบ ทาให้มีเวลาในการเตรียมอาหารน้อยลง จากการส่งเสริม การตลาดเพ่ือช่วงชิงผลประโยชน์ทางการค้า อาหารฟาสต์ฟู้ด อาหารจานด่วน อาหารสาเร็จรูป กึ่ง สาเร็จรูปท่ีหาได้ง่าย สะดวกไม่ส้ินเปลืองเวลามากซึ่งส่วนมากเป็นอาหารประเภท ปิ้ง ย่าง ทอด เป็น อาหารประเภทโปรตีนและมีไขมันสูงนยิ มอาหารรสจัดท่ีมีความเค็มหรือมีโซเดียมสูง การขาดการออก กาลังกาย ความเครียด การสูบบุหร่ี ด่ืมสุรา ทาให้ปัญหาทางด้านสุขภาพเปลี่ยนแปลงไปโดยมีแบบ แผนการเจบ็ ป่วยและตายเปลี่ยนจากภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะโภชนาการเกนิ และโรคอ้วนมากขึ้น จากโรคติดเช้ือหรือโรคติดต่อท่ัวไปเป็นโรคไม่ติดต่อเร้ือรังซ่ึงสามารถป้องกันได้หากมีความรู้ท่ีถูกต้อง เก่ียวกับการบริโภค สรุปสาระสาคัญของแผนยุทธศาสตร์สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย (2554) สถานการณ์ ขอบเขตของปัญหาได้วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงพื้นฐานที่เป็นภัยคุกคามสุขภาพจากพฤติกรรมการบริโภค อาหารและเคร่อื งดม่ื ทมี่ รี สหวาน มัน เค็ม มากเกินไป กินผกั และผลไม้น้อย ขาดการออกกาลังกาย ไม่ สามารถจัดการกับอารมณ์และความเครียด สูบบุหรี่และดื่มสุราหรือเคร่ืองด่ืมที่มีแอลกอฮอล์ ภาวะ น้าหนักเกินหรือโรคอ้วนท่ีส่งผลกระทบต่อโรควิถีชีวิตท่ีเป็นปัญหาสาคัญของประเทศ ที่มีปัจจัยเส่ียง

2 รว่ มกันและมคี วามสมั พันธ์ซง่ึ กันและกันใน 5 โรคได้แก่ โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองและโรคมะเร็ง ซ่ึงเป้าหมายหลักในการพัฒนาคือลดปัญหาโรควิถีชีวิตดังกล่าว ข้างต้น ด้วยการเพ่ิมวิถีชีวิตพอเพียงใน 3 ด้าน คือ การบริโภคที่เหมาะสม การออกกาลังกาย การ จัดการอารมณไ์ ด้เหมาะสม สานักงานสถิติแห่งชาติจัดทาการสารวจพฤติกรรมการดูแลสุขภาพของประชากร พ.ศ.2552 ในด้านการบริโภคอาหารพบวา่ ประชากรในภาคกลางและกรุงเทพมหานครมีสัดส่วนการทานอาหารท่ี ปรุงโดยใช้น้ามัน ได้แก่ อาหารประเภทผัดและทอดสูงกว่าภาคอื่นๆ คิดเป็นร้อยละ 48.5 และ 41.9 ตามลาดับ จากการสารวจสุขภาพประชาชนชาวไทยโดยการตรวจร่างกายของสานักงานสารวจ สุขภาพประชาชนไทย (2554) พบว่าคนไทยอายุ 15 ปีข้ึนไป มีแนวโน้มในการบริโภคผักและผลไม้ ลดลงจากร้อยละ 21.7 ในปี 2546-2547 เป็นร้อยละ 17.9 ในปี 2551-2552 โดยกินผักและผลไม้ เฉลยี่ เพียงวันละ 3 ส่วนมาตรฐานเท่าน้ัน ประชากรวัยเด็ก (6-14 ปี) มีสัดส่วนของการบริโภคอาหาร มอ้ื หลกั ครบ 3 มื้อสูงสุด (ร้อยละ 90.1) สาหรับกลุ่มขนมสาหรับทานเล่น/ขนมกรุบกรอบพบว่าเกือบ ครึ่งหน่ึงท่ีไม่ทาน (ร้อยละ 49.0) และเม่ือพิจารณาความถี่ของการทานขนมกรุบกรอบตามวัย พบว่า กลุ่มเด็ก 6-14 ปี ทานทุกวันสูงกว่าวัยอื่นคือร้อยละ 36.8 ส่วนวัยเยาวชนและวัยทางานส่วนใหญ่จะ ทาน 1-2 วัน/สัปดาห์ จากการสารวจของศูนย์วิจัยความสุขชุมชน มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญในปี 2552 พบว่าประชาชนในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่ร้อยละ 80.1 รับประทานอาหารนอก บ้านตามแผงลอยหรือรถเข็น มีปัญหาภาชนะท่ีใส่ไม่สะอาด มีสิ่งแปลกปลอมในอาหารและอาหารไม่ สดมากกว่าร้อยละ 60 ทาให้มีการบริโภคเคร่ืองด่ืมและอาหารที่มีรสหวานเพ่ิมมากขึ้น (แผน ยทุ ธศาสตรส์ ุขภาพดีวถิ ีชวี ติ ไทย พ.ศ. 2554-2563) ปัจจุบันสื่อโฆษณาในประเทศไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจากองค์กรผู้ผลิตสินค้าหรือผู้ขาย สินค้าหันมาลงทุนทางด้านส่ือโฆษณาประชาสัมพันธ์กันมากข้ึน โดยหวังว่าสื่อโฆษณาประชาสัมพันธ์ ของตนเองนั้นจะเข้าถึงใจของผู้บริโภคและทาให้ผู้บริโภคหันมาใช้สินค้าและบริการของตนมากขึ้นทา ใหพ้ ฤติกรรมในการบริโภคของผู้คนเปลี่ยนไป จากสภาพปัญหาท่ีกล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยได้ตระหนักถึง ความสาคัญและสนใจที่จะศึกษาในเร่ือง พฤติกรรมบริโภคเด็กในวัยเรียน ความรู้ เจตคติและ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร และอิทธิพลของส่ือต่อการบริโภคอาหารของประชากรในเขตภาษีเจริญ เน่ืองจากหากมีความรู้และเจตคติที่ถูกต้องแล้วก็จะนาไปสู่การปรับพฤติกรรมการบริโภคได้ถูกต้อง และเหมาะสม ซึ่งอาหารจัดเป็นพ้ืนฐานในการดารงชีวิต มีความสาคัญต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญาและสุขภาพอนามัยของมนุษย์และเพ่ือนา ผลการวิจัยมาเป็นแนวทางในการพฒั นาส่งเสริมสุขภาพของประชากรในเขตภาษเี จริญต่อไป

3 คำถำมกำรวจิ ยั 1. พฤติกรรมการบริโภคของของคนในชมุ ชนเขตภาษีเจริญเป็นอยา่ งไร 2. ปจั จัยส่วนบคุ คลมีความสัมพันธก์ บั พฤติกรรมบรโิ ภคหรอื ไม่ 3. ความรู้ เจตคติ และอิทธิพลจากสอ่ื สารมวลชนเก่ียวกับการบรโิ ภคอาหารมคี วามสมั พันธ์ กับพฤติกรรมบรโิ ภคอาหารหรอื ไม่ วตั ถปุ ระสงคข์ องกำรวจิ ัย เพอ่ื ศึกษา 1. พฤติกรรมการบริโภค เจตคติ และอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร ของคนในชมุ ชนเขตภาษเี จริญ 2. ปัจจยั ท่ีมีความสมั พนั ธ์ต่อพฤติกรรมการบริโภคของของคนในชมุ ชนเขตภาษีเจริญ 3. สื่อโฆษณาภายนอกส่งผลตอ่ พฤติกรรมของผูบ้ รโิ ภคในเขตภาษเี จรญิ สมมตฐิ ำนกำรวจิ ัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วยเพศ สถานภาพ การศึกษา รายได้ มีความสัมพันธ์กับ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร 2. ความรู้ อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร และเจตคติต่อการบริโภค อาหาร มคี วามสมั พนั ธก์ บั พฤตกิ รรมการบริโภคอาหาร กำหนดขอบเขตของกำรวจิ ัยไวด้ งั นี้ ศึกษาพฤติกรรมบริโภคในเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปีและประชาชนในเขตภาษีเจริญ โดย เกบ็ ข้อมูลในชว่ งพฤศจกิ ายน – ธนั วาคม พ.ศ. 2555 นยิ ำมศพั ท์ พฤติกรรมกำรบรโิ ภคอำหำร หมายถงึ ความสามารถในการแสดงออกหรอื การปฏบิ ัตใิ น การเลือกรับประทานอาหาร การเลอื กซื้ออาหาร การรับประทานอาหารที่ถูกวิธี แบ่งเป็น 3 ระดับ คือ ปฏิบัติเป็นประจา ปฏิบตั ิบางครั้ง ไม่เคยปฏบิ ตั เิ ลย

4 ควำมรเู้ กยี่ วกับกำรบริโภคอำหำร หมายถงึ ขอ้ เท็จจริง ข้อมลู หรือกฎเกณฑต์ า่ งๆที่ ประชาชนในเขตภาษีเจรญิ ไดจ้ ากการศกึ ษาค้นคว้า สังเกต และประสบการณ์ท้ังทางตรงและทางอ้อม เกยี่ วกับการบริโภคอาหาร เป็นขอ้ คาถามเก่ยี วกับความร้ทู ว่ั ไปเกย่ี วกบั การบริโภคอาหาร 10 ข้อ อทิ ธพิ ลจำกสือ่ สำรมวลชน หมายถงึ การได้รับขา่ วสารต่างๆเกีย่ วกบั การบรโิ ภคอาหาร และโภชนาการของประชาชนในเขตภาษเี จริญจากส่ือต่างๆ วิทยุ โทรทัศน์ เอกสารแผ่นพับ โปสเตอร์ และอ่ืนๆ สามารถวัดได้โดยใช้แบบสอบถามอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร แบ่งเป็น 3 ระดบั เหน็ ด้วย ไม่แนใ่ จ ไม่เหน็ ดว้ ย เจตคติในกำรบริโภคอำหำร หมายถึง ความรู้สึกนึกคิดของบุคคลในเรื่องการบริโภค อาหารซึ่งเกิดจากการเรียนรู้จนกลายเป็นความเชื่อของคน ซึ่งมีทั้งทางลบและทางบวก โดยจะเห็นได้ จากพฤติกรรมท่ีบุคคลน้ันแสดงออกมา แบ่งเป็น 5 ระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็น ด้วย ไมเ่ หน็ ด้วยอยา่ งยิ่ง เพศ หมายถงึ เพศของประชาชนทีต่ อบแบบสอบถาม แบ่งออกเปน็ 2 กลุ่ม เพศชาย เพศ หญงิ อำยุ หมายถงึ อายุของประชาชนท่ตี อบแบบสอบถามโดยนบั อายปุ ีเต็ม รำยได้ หมายถงึ รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อเดือนของประชาชนทตี่ อบแบบสอบถาม ระดับกำรศกึ ษำ หมายถึงระดบั การศึกษาสูงสุดของประชาชนทีต่ อบแบบสอบถาม ประโยชนท์ ี่คำดวำ่ จะไดร้ ับ 1. เป็นแนวทางในการวางแผนใหค้ วามรูแ้ ละคาปรกึ ษาสาหรับประชาชนในชุมชนเขตภาษี เจริญ เพื่อชว่ ยใหส้ ามารถดแู ลสขุ ภาพได้อย่างเหมาะสม 2. เปน็ แนวทางจดั ทาโครงการส่งเสรมิ พฤติกรรมการบรโิ ภคทีเ่ หมาะสมสาหรับประชาชนใน ชุมชนเขตภาษเี จริญ 3. เปน็ ขอ้ มลู พนื้ ฐานสาหรับหนว่ ยงานของรัฐท่ีเก่ยี วข้องในการวางแผนดาเนินงานหรือ ปรับเปลี่ยนวธิ ีการดาเนนิ งานเกย่ี วกับโครงการสง่ เสริมพฤติกรรมการบริโภคท่เี หมาะสม แก่ประชาชนในชุมชนเขตภาษเี จรญิ 4. นาผลวิจยั ทไี่ ด้ไปเป็นแนวทางศกึ ษาวจิ ัยประเดน็ อืน่ ๆที่เกี่ยวขอ้ งกบั ชมุ ชน 5. เป็นข้อมลู พ้นื ฐานในการวจิ ยั เพื่อพฒั นาพ้นื ท่ีสร้างสรรคเ์ พอื่ สขุ ภาวะในเขตภาษเี จริญ ดา้ นอาหาร

กรอบแนวคิดของกำรวจิ ัย 5 ตัวแปรตาม ตวั แปรตน้ พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร - เพศ ของประชาชนเขตภาษเี จริญ - อายุ - ระดับการศกึ ษา - อาชีพ - รายได้ - ความร้เู ก่ยี วกับการบรโิ ภค - เจตคติเกี่ยวกบั การบรโิ ภค - อิทธิพลจากสื่อสารมวลชน ต่อการบรโิ ภคอาหาร

บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องเพ่ือเป็นฐานคิดในการวิจัยคร้ังน้ี ได้ประมวลสาระสาคัญ ของแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องใน 7 ประเด็น ได้แก่ 1) ความหมายของพฤติกรรมบริโภค 2) ความรู้ เกี่ยวกับการบริโภคอาหาร 3) ปัจจัยท่ีมีผลต่อการบริโภคอาหาร 4) พฤติกรรมการบริโภคอาหารของ เด็กวัยเรียน 5) เจตคติต่อการบริโภค 6) อิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร และ 7) งานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้อง ความหมายของพฤติกรรมบริโภค พฤติกรรม (Behavior) ตามความหมายของราชบัณฑิตสถาน หมายถึง การกระทาหรือ อาการท่ีแสดงออกทางกล้ามเนื่อความคิดของบุคคลท่ีตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในจิตใจ และภายนอก อาจทาไปโดยรู้ตัว ไม่รู้ตัว อาจเป็นพฤติกรรมที่พึงประสงค์ และไม่พึงประสงค์ ผู้อ่ืนอาจสังเกตการ กระทานั้นไดแ้ ละสามารถใช้เคร่ืองมอื ทดสอบได้ กรีนและคณะ (Green and other,1983 cited in Carole Edelman and Carol Lynn Mandle,1986) กล่าวว่า พฤติกรรม หมายถึง การปฏิบัติท่ีมีความเฉพาะเกิดขึ้นเป็นประจาตาม ระยะเวลา และเปา้ หมาย ไม่ว่าจะรสู้ ึกตัวและไม่รู้สกึ ตัว พฤติกรรมจึงเป็นลักษณะการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของบุคคล เกิดปฏิกิริยาต่างๆที่บุคคล แสดงออกทัง้ ท่สี ังเกตเห็นไดแ้ ละสงั เกตไม่ได้ แบง่ ออกเปน็ 2 ลกั ษณะคือ พฤติกรรมภายใน (Covert Behavior) ได้แก่ กิจกรรมหรือปฏิกิริยา ส่ิงที่เกิดข้ึนภายในตัว บุคคล เชน่ ความคดิ ความรู้ ความเชือ่ เจตคติ เปน็ ตน้ พฤติกรรมภายนอก (Overt behavior) ได้แก่ กิจกรรมหรือปฏิกิริยา ส่ิงท่ีเกิดขึ้นจากตัว บคุ คลทส่ี งั เกตเหน็ ได้ เชน่ ความสุภาพ ความคล่องแคล่ววอ่ งไว ลกั ษณะทา่ ทาง เปน็ ตน้ พฤติกรรมเป็นผลท่ีเกิดจากการทาปฏิกิริยาของมนุษย์ หรืออินทรีย์กับส่ิงแวดล้อม และได้ กล่าวถงึ พฤติกรรมของ Bloom (อ้างถึงใน ประภาเพ็ญ สุวรรณและสวิง สุวรรณ, 2536, หน้า 15) ว่า พฤติกรรมมีองคป์ ระกอบอยู่ 3 ดา้ น ดว้ ยกัน คอื 1. พฤตกิ รรมดา้ นพทุ ธิปญั ญา (Cognitive Domain) พฤตกิ รรมดา้ นนเ้ี กีย่ วข้องกับการรับรู้ การจาข้อเทจ็ จรงิ ต่างๆ รวมท้ังการพัฒนาความสามารถ และทักษะทางสติปัญญา การใช้วิจารณญาณ เพื่อประกอบการตัดสินใจ พฤติกรรมด้านนี้ประกอบด้วยความสามารถระดับต่างๆ คือ ความรู้ ความ เข้าใจ การประยุกตห์ รือการนาความรู้ไปใช้ การวเิ คราะห์ การสังเคราะห์ และการประเมินคา่ 2. พฤตกิ รรมด้านทัศนคติ ค่านยิ ม ความรสู้ ึกชอบ (Affective Domain) พฤตกิ รรมดา้ นนี้ หมายถึง ความสนใจ ความคิดเห็น ความรู้สึก ท่าที ความชอบไม่ชอบ การให้คุณค่า การรับ การ เปลยี่ นหรือปรับปรุงคา่ นิยมท่ียดึ ถืออยู่ เป็นพฤติกรรมท่ีเกิดข้ึนภายในจิตใจของบุคคล พฤติกรรมด้าน

7 นี้แบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ การรับหรือการให้ ความสนใจ การตอบสนอง การให้ค่าหรือการเกิด ค่านิยม การจดั กลมุ่ ค่า และการแสดงลักษณะตามค่านยิ มท่ยี ดึ ถอื 3. พฤติกรรมดา้ นการปฏิบัติ (Psychomotor Domain) เป็นนพฤตกิ รรมท่ใี ชค้ วามสามารถ ทางร่างกายแสดงออกมา ซงึ่ รวมทงั้ การปฏิบัติ หรือพฤติกรรมทแี่ สดงออกและสังเกตได้ในสถานการณ์ หน่ึงๆ หรืออาจจะเป็นพฤติกรรมที่ล่าช้า คือ บุคคลไม่ได้ปฏิบัติทันที ซึ่งต้องอาศัยพฤติกรรมระดับ ต่างๆ ทางด้านพุทธิปัญญาและด้านทัศนคติท่ีกล่าวมาแล้วเป็นส่วนประกอบ พฤติกรรมด้านนี้เมื่อ แสดงออกมา จะสามารถประเมินผลได้ง่าย แต่กระบวนการท่ีจะก่อให้เกิดพฤติกรรมนี้ต้องอาศัย ระยะเวลาและการตัดสินใจหลายขน้ั ตอน ความหมายของพฤติกรรมบริโภคอาหารมผี ใู้ ห้ความหมายของการบริโภคอาหารไว้ มากมายซึ่งกม็ ีความแตกตา่ งและคลา้ ยกนั บ้าง ผวู้ ิจยั ไดย้ กมาประกอบเน้ือหาในการวจิ ยั ดังนี้ สาคร ธนมิตต์ (2529) ไดอ้ ธิบายพฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของคนไทยออกเปน็ 2 แบบ คือ 1. พฤติกรรมการบริโภคอาหารที่พึงประสงค์ จะเกิดข้ึนได้เมื่อเปล่ียนการขาดความรู้ มา เป็นการมีความรู้ เปล่ียนความเช่ือที่ผิดให้ถูกต้อง ส่งเสริมส่ิงแวดล้อมให้เอ้ืออานวยต่อ การมีแหล่งอาหาร และลดภาวะจายอม ปรับปรุงรูปแบบการสาธารณสุข เพ่ือให้มั่นใจ ต่อความปลอดภัยของชวี ติ 2. พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีไม่พึงประสงค์ มักจะเกิดร่วมกันไป และมีผลเชื่อมโยงซึ่ง กนั เสรมิ ความเชื่อทผ่ี ิดตา่ งๆส่วนความเชอ่ื ที่ผิดที่แก้ไขยากที่สุดคือ ความเชื่อที่มีอิทธิพล จากวัฒนธรรมประเพณี สาหรับแหล่งอาหารจัดว่าเป็นสาเหตุสาคัญต่อการบริโภคไม่ น้อยไปกว่าการเรียนรู้และบริการสาธารณสุข ส่วนปัจจัยด้านรายได้และอานาจการซื้อ จะมีผลต่อการได้มาซึ่งอาหารสาหรับการเลี้ยงสมาชิกในครอบครัวโดยเฉพาะกลุ่ม ประชากรที่ไม่ใช่เกษตรกร การเลือกซ้ืออาหารอยู่ภายใต้อิทธิพลของการโฆษณา นอกจากนกี้ ารบรกิ ารอาหารแบบส่งถึงบ้านน้นั มักจะมีวิธีการดงึ ดดู ผู้ซอื้ ไดม้ ากกวา่ ศิริลักษณ์ สินธวาลัย (2533) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมการบริโภคเป็นเร่ืองของลักษณะ วิธีการรับประทานอาหาร ว่ารับประทานอาหารอะไร รับประทานอย่างไร มากหรือน้อย บ่อยหรือไม่ ในรอบวันหรือเดือน มีระเบียบมารยาทในการรับประทานอาหารเป็นเช่นไร เป็นต้น ซ่ึงพฤติกรรม ดังกล่าวจาแนกไปตามลักษณะหรือประเภทของบุคคลเป็นเด็ก หรือผู้ใหญ่ คนชรา เป็นต้น หรืออาจ จาแนกการรับประทานตามโอกาส เช่น รับประทานที่บ้าน รับประทานที่ร้านอาหาร เป็นต้น พฤติกรรมการบริโภคอาหารมีความสัมพันธ์ไปถึงเร่ืองที่เกี่ยวกับการหา และการทาอาหารก่อนที่จะ เอามารับประทานว่า ได้วัสดุน้ันมาจากไหน วิธีใด ใช้วิธีการใดในการรักษาหรือเพิ่มพูนคุณค่าทาง โภชนาการได้ดีที่สุด วิธีใดทาลายหรือลดคุณค่าทางโภชนาการ พฤติกรรมการบริโภคอาหารไม่ใช่ พฤติกรรมธรรมชาติเอกเทศส่วนบุคคลที่จะทาได้โดยเสรีตามอาเภอใจ แต่เป็นการกระทาทางสังคม และวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับผู้อื่นเสมอ จึงต้องเป็นไปตามรูปแบบและกฎเกณฑ์ที่กลุ่มนั้นกาหนดไว้ เรอ่ื งอาหารและการรับประทานอาหารจึงเป็นพฤติกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมท่ีจะเข้าใจได้ชัดเจน กต็ อ่ เมื่อไดพ้ ิจารณาปัจจยั ทางสังคมและวัฒนธรรมน้นั ด้วย

8 อารี วัลยะเสวี (2536) ได้ให้ความหมายไว้ว่า หมายถึง ลักษณะหรือการกระทาอันซ้าซาก ซึ่งบุคคลหน่ึงทาด้วยความเต็มใจเพื่อให้การรับประทานอาหารของเขาบรรลุถึงความประสงค์ทาง อารมณแ์ ละสงั คม มักเป็นสิ่งทส่ี บื ต่อเนือ่ งกันมาเปน็ เวลานาน และเป็นการยากทจ่ี ะเปลยี่ น จันทร์ทิพย์ ลิ้มทองกุล (2538) ได้ให้ความหมายว่า การแสดงออกทั้งทางด้านการกระทา ความคิด ความรู้สึกท่ีเก่ียวข้องกับการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอะไร รับประทานข้าว รับประทานขนมปัง ไม่รับประทานเน้ือสัตว์ รับประทานเท่าใด รับประทานมากรับประทานน้อย รับประทานอย่างไร รับประทานม้ือหลัก กลางวัน เย็น รับประทานเป็นมื้อย่อย อาหารว่าง รับประทานเปน็ ขนมหวาน รับประทานดว้ ยมอื รบั ประทานดว้ ยตะเกียบ นอกจากนี้วรางคณา (2538) และกัลยา (2541) ได้ให้ความหมายคล้ายๆกันคือ การปฏิบัติ หรือแสดงออกเก่ียวกับการรับประทานที่กระทาเป็นประจา ได้แก่ การรับประทานอาหารหรือไม่ รับประทานอาหาร จานวนมื้อท่ีรับประทาน การเลือกชนิดของอาหาร การเตรียม การปรุง การ บริโภค สุขนิสัยการบริโภค และความรู้สึกตา่ งๆตอ่ การบริโภค จากการศกึ ษาอาจกลา่ วได้ว่าพฤติกรรม การบริโภคอาหารหรือบริโภคนิสัยเป็นพฤติกรรมของบุคคลท่ีกระทาด้วยความคิด ความรู้สึก ความชอบ ความเคยชินเกี่ยวกับการรับประทานอาหารที่ทาอยู่เป็นประจา เพื่อสนองความต้องการ ของตนเอง และสังคมวัฒนธรรม ได้แก่ ชนิดของอาหาร การเลือกรับประทานอาหารและจานวนม้ือ ของอาหารท่ีรับประทานในแต่ละวัน ถ้าบุคคลปฏิบัติได้ถูกต้องตามหลักโภชนาการแล้วย่อมส่งผลให้ บุคคลน้ันมีภาวะโภชนาการดี ในทางตรงกันข้ามถ้าบุคคลปฏิบัติไม่ถูกต้องก็จะส่งผลให้เกิดปัญหา ทางดา้ นโภชนาการตามมาจะเปน็ โภชนาการเกนิ มาตรฐาน ปัญหาโภชนาการต่ากว่ามาตรฐาน ปัญหา การขาดสารอาหารบางอยา่ งหรือการได้รับสารพษิ ปนเปอื้ นมากบั อาหาร ดงั นั้น การที่บุคคลจะมีภาวะ โภชนาการที่ดีได้นั้นจาเป็นต้องมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่ดี เลือกบริโภคอาหารได้อย่าง เหมาะสมกบั สภาพและความต้องการของรา่ งกายตนเองตลอดจนมีความเชื่อ ค่านิยม และบริโภคนิสัย ท่ีถกู ตอ้ งด้วย องคก์ ารอนามัยโลก หรอื WHO (อา้ งถึงใน วสนุ ธรี เสรสี ุชาติ, 2543, หน้า 30) ได้ให้คานิยาม ว่า การประพฤติปฏิบัติท่ีเคยชินในการรับประทานอาหาร ได้แก่ชนิดของอาหารท่ีกิน การกินหรือไม่ กิน กินอยา่ งไร จานวนมอ้ื ทีก่ ิน และอปุ กรณ์ทใี่ ช้รวมท้งั สุขนิสัยก่อนและกินอาหาร ธนากร ทองประยูร (2546) กล่าวว่า พฤติกรรมการบริโภคอาหาร หมายถึง การประพฤติ การปฏิบตั ิ หรอื การแสดงออกทเ่ี กีย่ วกับการบริโภคอาหาร สุขลักษณะ และวิธีการรับประทานอาหาร ที่สามารถสังเกตได้โดยเป็นลักษณะความชอบ หรือไม่ชอบท่ีปฏิบัติเสมอๆ จนกลายเป็นความเคยชิน ในการบรโิ ภค ซง่ึ ผูบ้ รโิ ภคจะต้องนามาพจิ ารณาในการเลอื ก การปรงุ การกินของตนเองและครอบครวั

9 วิภาวี ปั้นนพศรี (2550) ให้ความหมายว่า พฤติกรรมบริโภคอาหาร หมายถึง การประพฤติ ปฏิบัติท่ีกระทาจนเป็นนิสัยในการรับประทานอาหาร เช่น การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ตอ่ รา่ งกาย การปฏบิ ัติตนตามสขุ นสิ ยั และมารยาทในการรับประทานอาหารของสงั คมและวัฒนธรรม ความรู้เกี่ยวกบั การบริโภคอาหาร กองโภชนาการไดก้ าหนด โภชนบญั ญตั ิไว้เป็นแนวทางในการบริโภคสาหรับคนไทยใช้ยึดเป็น แนวทางในการกินอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการท่ีจะนาไปสู่การป้องกันไม่ให้เกิดภาวะขาด สารอาหาร และภาวะโภชนาการเกิน ตลอดจนพษิ ภยั จากสารอาหารดังนี้ ขอ้ 1 รบั ประทานอาหารครบ 5 หมู่ ให้หลากหลายและหม่นั ดแู ลนา้ หนักตวั 1) กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย คือรับประทานอาหารหลายๆชนิดเพ่ือให้ ร่างกายได้รับสารอาหารต่างๆครบในปริมาณที่เพียงพอกับความต้องการสารอาหารแต่ ละชนดิ ไดแ้ ก่ โปรตนี คารโ์ บไฮเดรต ไขมนั วิตามนิ น้า และยังมสี ารอ่นื ๆ เช่น ใยอาหาร 2) หมน่ั ดูแลน้าหนกั ตัว เน่ืองจากเป็นท่ียอมรับให้มีการใช้น้าหนักตัวเป็นเครื่องบ่งช้ีสาคัญท่ี บอกถึงภาวะสขุ ภาพ ข้อ 2 กินข้าวเป็นอาหารหลกั สลบั กับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมือ ข้าวเป็นอาหารหลักของคนไทย เป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงาน สารอาหารท่ีมีมากในข้าว ได้แก่ คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน โดยเฉพาะข้าวกล้องหรือข้าวซ้อมมือ ผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญพืช อน่ื ๆ เช่น กว๋ ยเต๋ียว ขนมจนี บะหม่ี เป็นแหล่งอาหารที่ให้พลังงานเช่นเดียวกัน ดังนั้นการกินข้าวเป็น อาหารหลักในสัดส่วนที่พอเหมาะสลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อจึงเป็นสิ่งที่พึงปฏิบัติเพ่ือ นาไปสกู่ ารมีภาวะโภชนาการท่ีดี ขอ้ 3 รบั ประทานพืชผักใหม้ าก และรับประทานผลไม้เปน็ ประจ้า พืชผักและผลไม้ เป็นแหล่งสาคัญของวิตามินและแร่ธาตุ มีผลการวิจัยพบว่า สารแคโรทีน และวติ ามนิ ซี ในพืชผกั และผลไม้ มีผลป้องกันไม่ให้ไขมันไปเกาะท่ีผนังหลอดเลือด และป้องกันมะเร็ง บางประเภท ควรกินพืชผกั ทุกมอ้ื ใหห้ ลากหลายชนิดสลบั กนั ไป สว่ นผลไม้ควรกินประจาสมา่ เสมอ ข้อ 4 รับประทานปลา เนือสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ ถ่ัวเมล็ดแห้งเป็นประจ้า โดยมีรายละเอียด ดงั นี 1) ปลาเป็นแหลง่ อาหารโปรตนี ท่ีดี ย่อยงา่ ย ไขมันต่า ในปลามีฟอสฟอรสั สูงช่วยให้กระดกู และฟันแข็งแรง โดยเฉพาะถ้ากินปลาเล็กปลาน้อย นอกจากน้ีปลาทะเลทุกชนิดมีสารไอโอดีนช่วย ป้องกนั ไมใ่ หเ้ ปน็ โรคขาดสารอาหาร 2) เนอื้ สตั ว์ไมต่ ดิ มนั การกินเน้อื สตั วไ์ ม่ตดิ มนั เปน็ ประจา ไม่เพยี งแตจ่ ะทาใหร้ ่างกายไดร้ บั โปรตนี อย่างเพียงพอเทา่ น้นั แต่จะทาให้ลดการสะสมไขมันในร่างกายด้วย 3) ไข่ เปน็ อาหารท่ีใหโ้ ปรตนี สงู มแี ร่ธาตแุ ละวติ ามินท่ีจาเป็น ในเด็กควรใหก้ นิ ไข่วันละฟอง 4) ถ่ัวเมล็ดแหง้ เปน็ แหล่งโปรตีนท่ดี ี หางา่ ย ราคาถกู และมีให้เลือกมากมายควรกินถ่ัวเมล็ด แห้งสลับกับเน้ือสัตว์เป็นประจาจะทาให้ร่างกายได้รับสารอาหารท่ีครบถ้วนมากย่ิงข้ึน ถัวยังให้ พลงั งานแก่ร่างกายอกี ด้วย

10 5) งาเปน็ อาหารท่ใี หโ้ ปรตีน ไขมัน วิตามนิ โดยเฉพาะวิตามินอี แคลเซียม จึงควรกนิ งาเปน็ ประจา ข้อ 5 ด่ืมนมใหเ้ หมาะสมตามวัย นมประกอบไปดว้ ยแรธ่ าตทุ ี่สาคญั คอื แคลเซยี ม และฟอสฟอรสั ซึ่งชว่ ยให้กระดกู และ ฟันแข็งแรง หญิงต้ังครรภ์ เด็กวัยเรียน วัยรุ่น วัยผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ ควรดื่มนมวันละ 1-2 แก้ว ควบคู่ไปกบั การออกกาลังกาย กอ่ นการซื้อนมทุกครง้ั ควรสังเกตวนั หมดอายุขา้ งกลอ่ งก่อนทุกครั้ง ข้อ 6 กินอาหารทม่ี ีไขมันแต่พอควร ไขมนั เป็นสารอาหารท่ใี ห้พลงั งานและความอบอนุ่ แกร่ ่างกาย ไขมันได้จากพืชและสตั ว์ ไขมันในอาหารแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ ประเภทอิ่มตัวและประเภทไม่อิ่มตัว ไขมันอิ่มตัวได้มาจาก เน้ือสัตว์และหนังสัตว์ทุกชนิด และมีมากในไข่แดง เคร่ืองในสัตว์โดยเฉพาะตับ อาหารทะเลบาง ประเภท เชน่ ปลาหมกึ หอยนางรม เป็นตน้ วิธกี ารประกอบอาหารมสี ่วนทาให้ปริมาณไขมันในอาหารเพิม่ มากข้นึ โดยเฉพาะอาหาร ประเภททอด ผัด และอาหารท่ีมีกะทิเป็นส่วนประกอบ จึงควรกินแต่พอควร แต่ไม่ควรงดอย่าง เดด็ ขาดเพือ่ ไมใ่ ห้ร่างกายขาดไขมนั ควรรบั ประทานอาหารโดยใชว้ ธิ ตี ้ม ปิ้ง น่งึ ยา่ งจะมไี ขมนั น้อยกว่า ขอ้ 7 หลกี เลย่ี งการรับประทานอาหารรสหวานจดั และเคม็ จัด คนไทยนยิ มรบั ประทานอาหารรสจดั และใชเ้ ครื่องปรงุ รสกนั มาก เพ่ือทาให้อาหาร อร่อย รสอาหารท่ีมักเป็นปัญหาและก่อให้เกิดโทษต่อร่างกายมาก คือ คือ รสหวานจัดและเค็มจัด หากกินรสหวานจัด จะทาให้ฟันผุและเกิดโรคอ้วนได้ หากกินรสเค็มจัดจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคความ ดันโลหิตสูงและมีโอกาสเป็นโรคมะเรง็ ในกระเพาะอาหารอีกด้วย ดังน้ันการกินอาหารรสไม่จัด จึงเป็น ผลดตี อ่ สขุ ภาพ ควรลดการเติมเครือ่ งปรงุ ที่ไม่จาเปน็ และหนั มากินอาหารแบบไทย ข้อ 8 รบั ประทานอาหารท่สี ะอาด ปราศจากปนเปอื้ น อาหารสามารถปนเป้ือนได้จากหลายสาเหตุ ซ่ึงอาจมาจากเช้ือโรคและพยาธิ สารเคมีที่ เป็นพิษและสารปนเป้ือน ท้ังน้ีเกิดจากกระบวนการผลิต การปรุง และจาหน่ายอาหารที่ไม่ถูก สุขลักษณะ จึงควรเลือกกินอาหารท่ีสะอาด ผลิตจากแหล่งท่ีเชื่อถือได้โดยใช้หลักการปรุงประกอบ ตามหลกั 3ส. สกุ เสมอ สงวนคณุ ค่าอาหาร สะอาดปลอดภัย เพ่ือให้ผู้บริโภคมีสุขภาพอนามัยที่ดี ควร จะต้องรู้จักวิธีเลือกซื้อ การปรุง การประกอบอาหารให้สะอาดปลอดภัยและมีคุณค่าครบถ้วนทาง โภชนาการ ข้อ 9 งดหรือลดเครื่องดืม่ ท่มี ีแอลกอฮอล์ การด่ืมเคร่ืองดื่มที่มีแอลกอฮอล์เป็นประจาจะมีโทษ และเป็นอันตรายต่อสุขภาพและ สูญเสียทรพั ย์สินอยา่ งมากมาย เคร่อื งดมื่ ท่ีมีแอลกอฮอล์รวมหมายถึง สุรา เบียร์ ไวน์ บร่ันดี ตลอดจน เคร่ืองดื่มทุกชนิดที่มีแอลกอฮอล์ผสม ผลการด่ืมแอลกอฮอล์มีโทษต่อร่างกายเช่น เป็นโรคตับแข็ง รวมท้ังมีฤทธ์ิต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้ขาดสติ เสียการทรงตัว สมรรถภาพการทางานลดลง ทาให้เกิดความประมาทเปน็ สาเหตุสาคัญท่ีกอ่ ให้เกดิ อบุ ตั เิ หตุบนทอ้ งถนน

11 ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ การบรโิ ภคอาหาร การบริโภคอาหารเป็นผลมาจากความเก่ียวเน่ืองของพฤติกรรมหลายอย่าง เช่น การเลือก อาหาร การเตรียมอาหาร การสั่งอาหาร การรับประทานอาหาร คนส่วนใหญ่จะมีข้อมูลเกี่ยวกับชนิด อาหาร สถานท่ซี ้อื หรอื ที่รบั ประทานอาหาร รวมถึงการรับประทานอาหารกับใคร พฤติกรรมเหล่านี้มี ความซับซอ้ นและสัมพันธ์กนั ปจั จัยที่มีผลต่อพฤติกรรมตามแนวคิดของกรีนและคณะ (อ้างถึงในสุบิน สุนนั ต๊ะ, 2551) สามารถจัดเปน็ 3 กลมุ่ ได้แก่ ปัจจัยนำ (Predisposing Factors) คือ ปัจจัยท่ีมีอยู่ในตัวบุคคล ประกอบด้วย ความรู้ ทัศนคติ ความเชือ่ คา่ นิยม การรับรู้ และปัจจัยดา้ นประชากร เป็นปัจจัยท่ีจูงใจและให้เหตุผลเพื่อการ มพี ฤติกรรม ความรู้ เป็นปัจจัยสาคัญต่อการแสดงพฤติกรรม และความรู้จะมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม แตก่ ารเพ่ิมความรเู้ พียงอยา่ งเดยี วกไ็ มส่ ามารถเปลีย่ นแปลงพฤตกิ รรมไดเ้ สมอไป การรับรู้ เป็นสิ่งท่ีเกิดข้ึนเมื่อร่างกายได้รับส่ิงเร้าและมีการตอบสนองทาให้เกิดภาวะจิตท่ี ผสมผสานระหว่างความคิด ประสบการณ์และการทางานของประสาทสัมผัสซึ่งการรับรู้จะเป็นตัวแปร ทางจิตสังคม ทเี่ ชอ่ื ว่ามีผลกระตุน้ พฤติกรรมของแต่ละคน ค่านิยม เป็นความพึงพอใจในส่ิงต่างๆท่ีคนยอมรับ เมื่อคนยอมรับในสิ่งท่ีเกิดพฤติกรรมที่ คล้อยตามความพึงพอใจนั้น เจตคติ เปน็ ความรูท้ ่คี ่อนข้างคงที่ต่อส่ิงต่างๆ เช่น บุคคล วัตถุ การกระทา ความคิด ทัศนคติ จะเป็นตัวกาหนดให้เกิดความเช่ือถือต่อบุคคล วัตถุ หรือกระทาการนั้นๆจนเกิดพฤติกรรมตาม ความรูส้ กึ ทเี่ กิดข้ึน ปัจจัยเสริม (Reinforcing Factors) คือ ปัจจัยที่ทาให้พฤติกรรมของบุคคลยืนยาวต่อเนื่อง หรือไม่ต่อเนื่อง เป็นผลสืบเนื่องด้านบวกของการปฏิบัติพฤติกรรมน้ันๆ เช่น การยอมรับของเพื่อน การได้รางวัล หรือผลสืบเน่ืองด้านลบ เช่น การไม่ยอมรับ สังคมไม่เห็นด้วย การลงโทษ โดยมีความ เกยี่ วขอ้ งกบั ทศั นคติ และพฤติกรรมของคนรอบข้าง ปัจจัยเอ้ือ (Enabling Factors) คือ สถานการณ์ของสิ่งแวดล้อมซึ่งเอ้ือให้เกิดพฤติกรรมขึ้น หรือขัดขวางเป็นอุปสรรคต่อการเกิดพฤติกรรม เช่น ร้านค้า สถานที่จาหน่ายซ่ึงมีผลทาให้สามารถหา ซือ้ ไดง้ ่าย ราคาที่ไมแ่ พง ทีต่ งั้ ของโรงเรียน จากการศึกษาของ วสุนธรี เสรีสุชาติ (2543) ได้กล่าวถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการ บรโิ ภคอาหารไวด้ ังนี้

12 1. ปัจจยั ด้านเศรษฐกจิ 1.1 ภาวะเศรษฐกิจ รายไดเ้ ป็นปัจจัยทีส่ าคญั ประการหน่ึงซ่งึ เป็นตัวกาหนดการ ตัดสินใจในการเลือกซ้ือ หรือไม่ซื้ออาหารชนิดต่างๆ และอานาจการซ้ือ มีผลต่อการมีอาหาร แต่อยู่ ภายใตอ้ ทิ ธพิ ลของการโฆษณา 1.2 เวลา เปน็ ปจั จัยแวดลอ้ มทส่ี าคัญโดยพบวา่ สภาพการจราจรทต่ี ิดขดั ใน กรุงเทพมหานคร ทาให้คนมีพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม และความสะดวกมีบทบาทในการ กาหนดโดยตรงต่อการรับประทานอาหารสาเร็จรูป การรับประทานอาหารนอกบ้าน และการ รับประทานอาหารบ่อยๆถอื เป็นวฒั นธรรมส่วนหนึ่งของผู้หญิงทางานนอกบา้ น ซ่ึงตรงกับแนวโน้มของ พฤตกิ รรมการตดั สนิ ใจเลอื กซอื้ อาหารสาเรจ็ รูปท่ีมีมากขน้ึ 1.3 สื่อมวลชน ส่ิงตพี ิมพ์ วทิ ยุ โทรทศั น์ หรอื อืน่ ๆลว้ นมสี ่วนทาใหท้ ัศนคตขิ องคนที่ มีต่ออาหารเปลี่ยนไป เช่น การรณรงค์ให้คนไทยลดการบริโภคน้าตาล หลีกเลี่ยงอาหารท่ีทาให้อ้วน การรณรงค์ให้ประชาชนไทยบริโภคผักและผลไม้สดกันมากขึ้น การเตือนภัยจากสารปนเปื้อนใน อาหาร ใหเ้ ลอื กซอ้ื ผักปลอดสารพษิ ซง่ึ ถือวา่ มีผลทาใหพ้ ฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป 1.4 ความกา้ วหนา้ ทางเทคโนโลยี ได้แก่ การผลิตและการกระจาย อาหารท่ีผลติ ไดใ้ น ท้องถ่ินคนในท้องถิ่นอาจไม่ได้รับประทานก็ได้เพราะผู้ผลิตอาหารนั้นเอาไปขายที่อ่ืน ซึ่งได้ราคาแพง กว่า 2. ปัจจัยดา้ นสังคม วฒั นธรรม ขนบธรรมเนยี มประเพณี 2.1 ปัจจยั แวดล้อมทางกายภาพ ภาวะแวดลอ้ มของชุมชน ดินฟ้าอากาศ ความอุดม สมบูรณห์ รอื แหง้ แลง้ ของพื้นที่ แหล่งเพาะปลกู และความสะดวกในการคมนาคมติดตอ่ กบั ชุมชนอนื่ 2.2 ปจั จยั ทางวัฒนธรรม วฒั นธรรมในทีน่ ี้หมายถงึ วฒั นธรรมที่เก่ียวข้องกบั อาหารซึ่ง หมายถึง การที่คนในแต่ละชาติ แต่ละภาษา แต่ละวัฒนธรรมยึดถือว่าอะไรเป็นหรือไม่เป็นอาหารที่ ควรกิน ผทู้ ่ีอยู่ในสงั คมทมี่ ที รัพยากรอาหารจากดั ในธรรมชาติแวดล้อมอาจพบจากประสบการณ์ว่าพืช สัตว์ แม้แต่หนอนและแมลงน้ันกินได้ ในขณะที่คนอีกสังคมหนึ่งไม่ถือว่าเป็นอาหาร นอกจากนี้ วฒั นธรรมยังมคี วามหมายไปถึงสถาบนั ทางสงั คมทีเ่ ขา้ มามบี ทบาทในการกาหนดให้บริโภคหรืองดเว้น การบริโภคอาหารบางชนดิ ดว้ ย เช่น สถาบันครอบครัว สถาบนั ศาสนา เป็นตน้ 2.3 ปจั จัยแวดล้อมทางสงั คมและปัจจยั ทางสังคมเปน็ ตัวกาหนดพฤตกิ รรม การบรโิ ภค นนั้ เป็นกฎเกณฑท์ ไ่ี มป่ รากฏเป็นกฎหมายบังคับแต่รับรู้ได้ด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีในสังคมย่อยๆ แต่ละสังคมซ่ึงอาจจะมีอาหารประจาสังคมหรือประจาชาติของตน แต่มิได้หมายความว่าทุกคนใน สังคมจะมีโอกาสหรือมีสิทธ์ิท่ีจะบริโภคอาหารท่ีมีอยู่ในสังคมของตนได้เสมอกันหมด เพราะว่าแต่ละ สังคมมกั กาหนดสถานภาพของแตล่ ะบุคคลไว้ต่างกันตามเพศ วัย ฐานะ ศักด์ิศรี และความสาคัญของ

13 แต่ละบคุ คล เมื่อสังคมกาหนดสภาพตามประเภทของบุคคลต่างๆไว้เช่นนี้ มักมีกฎเกณฑ์เกี่ยวกับการ บริโภคอาหารทส่ี อดคล้องกนั ไวด้ ้วย 2.4 กลมุ่ เพ่ือน ซ่ึงมีอิทธิพลต่อเด็กมากและยงั มีอิทธพิ ลตอ่ ผใู้ หญ่ด้วย เช่น เพอ่ื น นักกีฬา หรือดาราท่ีช่ืนชอบ นยิ มรับประทานอาหารประเภทใดกพ็ ยายามเลยี นแบบ 2.5 ครอบครัวมอี ิทธิพลตอ่ พฤติกรรมบริโภคมากโดยเฉพาะเด็กเพราะครอบครวั มี ความสาคัญในการถ่ายทอดสิ่งต่างๆให้เด็ก รวมท้ังการปฏิบัติในการรับประทานอาหาร โดยแต่ละ ครอบครวั จะถา่ ยทอดหรือใหค้ วามรู้ในลักษณะท่แี ตกต่างกัน แมว้ ่าจะอยู่ในสังคม ขนบธรรมเนียมและ วฒั นธรรมเดียวกันก็ตาม 2.6 ปจั จยั ด้านจิตวทิ ยา คนไทยรับประทานข้าวท่ขี าวสะอาด ซึ่งหุงจากขา้ วสารที่ขัดสี จนขาว ทง้ั ทค่ี วามรู้ทางด้านโภชนาการน้ันกล่าวว่า ข้าวขาวน้ันมี คุณค่าของอาหารไม่เท่ากับข้าวซ้อม มอื ซงึ่ มวี ติ ามิน มีประโยชนต์ อ่ รา่ งกาย แต่ท้ังท่ีรู้ก็ยังนิยมข้าวขาว เนื่องจากถือว่าข้าวแดงนั้นเป็นข้าว ของคนคุก 2.7 อทิ ธพิ ลของการศกึ ษา ผู้ที่มีการศกึ ษาดีกจ็ ะมคี วามรใู้ นเรอื่ งอาหารโดยรวู้ า่ สง่ิ ใดมี ประโยชน์หรอื ไมม่ ปี ระโยชนโ์ ดยเฉพาะการศึกษาของแมบ่ า้ นจะมอี ิทธพิ ลต่อพฤติกรรมการบริโภคของ ครอบครัวมากเพราะแม่บ้านเป็นผู้ท่ีรับผิดชอบอาหารภายในบ้านท้ังหมดซ่ึงสอดคล้องกับการศึกษา ของฮาเลย์ (Halay) ท่ีกล่าวว่า “บิดามารดามีการศึกษาสูงขึ้นเท่าใดบุตรก็จะมีพฤติกรรมการบริโภค อาหารทีด่ ียง่ิ ข้ึนเท่านัน้ ” 3. ปจั จยั ตัวบคุ คล 3.1 สุขภาพรา่ งกาย โดยปกติพฤติกรรมการบรโิ ภคทดี่ แี ละสขุ ภาพร่างกายที่แข็งแรง มกั ไปดว้ ยกันในบางชมุ ชนมีผลการศึกษาในเร่ืองพฤติกรรมการบริโภคที่ดีแต่กลับมีปัญหาด้านสุขภาพ อนามยั เช่น มีภาวะโลหิตจาง ซง่ึ มีความจาเป็นตอ้ งพิจารณาปัจจัยอืน่ ๆร่วมด้วย 3.2 ความสามารถในการรบั รสสมั ผัส ความร้สู ึกเก่ียวกบั รสชาตขิ องอาหาร เชน่ เปร้ียว หวาน เค็ม และขมจะกระตุ้นปุ่มรับรสของล้ินแตกต่างกัน นอกจากนี้ยังข้ึนกับอายุด้วย กล่าวคือเด็ก จะมีปุ่มสัมผัสประมาณ 9,000 และน้อยลงตามอายุที่มากข้ึน ซ่ึงจะคงเหลือประมาณ 3,000 เพราะฉะนนั้ เดก็ จะมีการรับรสได้ไวกว่าผู้ใหญ่ ด้วยเหตุนี้ความนิยมอาหารของเด็กและผู้ใหญ่แตกต่าง กนั 3.3 รสชาตแิ ละความชอบ มคี วามแตกต่างกันออกไปในแต่ละบคุ คลและสงั คม ความ หลากหลายของรสชาตแิ ละความชอบทีม่ ีอยใู่ นสงั คมต่างๆ 3.4 ปจั จัยที่เกีย่ วขอ้ งกับอารมณ์และจติ ใจ จติ ใจมอี ิทธิพลตอ่ การกนิ อาหารทาให้มผี ล

14 ต่อพฤติกรรมการกินอาหารท้ังทางตรงและทางอ้อม เช่น ความอยากกินจะเกี่ยวข้องกับอาหารท่ีได้ เคยรรู้ สชาติมาก่อนและสว่ นมากจะเปน้ อาหารที่มีรสชาติถูกปากเม่ือได้เห็นอาหารนั้นถึงแม้จะอ่ิมแล้ว ก็ยังสามารถกินได้อีก หรือคนท่ีขาดความรัก ความอบอุ่น เสียใจ อาจจะแสดงออกโดยการกินอาหาร ให้มากข้นึ เพือ่ กลบเกล่ือนความไมส่ บายใจ พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวัยเรียน พฤติกรรมการบริโภคอาหารของบุคคลเป็นปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการ ดังนั้น การ สง่ เสริมให้บุคคลมีพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารท่ถี กู ตอ้ งตามหลกั โภชนาการ และในปริมาณท่ีเพียงพอ กับความต้องการของร่างกาย จึงนับได้ว่าเป็นสิ่งจาเป็น ปัจจัยท่ีมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของบุคคลในแต่ละวัยย่อมแตกต่างกันออกไป สาหรับเด็กวัยเรียนซ่ึงเป็นกลุ่มที่มีความสาคัญ หาก ไม่ได้รับการปลูกฝังนิสัยการบริโภคให้ดีแล้วก็จะเป็นกลุ่มท่ีเสี่ยงต่อการมีภาวะทุพโภชนาการ และมี ผลเสียหลายประการ เน่ืองจากเด็กวัยนี้ยังต้องการอาหารที่ถูกหลักโภชนาการเพื่อการพัฒนาการ เจริญเติบโตและอ่ืนๆ สมใจ วิชัยดิษฐ์ และวศินา จันทรศิริ (อ้างถึงใน เบญจพร แก้วมีศรี, 2531) ได้ กล่าวถงึ ปัจจยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการบรโิ ภคอาหารของเด็กวัยเรยี น ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. ส่ิงแวดลอ้ มในครอบครัว ครอบครัวมอี ิทธพิ ลตอ่ การพัฒนาบรโิ ภคนสิ ยั ของเดก็ โดยเฉพาะผทู้ พ่ี อ่ แม่หรอื ผู้ทีเ่ ลย้ี งดู เน่ืองจากการกาหนดอาหารให้เด็กเล็กบางคน พ่อแม่จะเตรียมอาหารให้ลูกรับประทานโดยยึดความ พอใจหรือความชอบในอาหารนัเนๆเป็นหลัก ไม่ได้คานึงถึงความถูกต้องตามหลักโภชนาการ สาหรับ เด็กวัยเรียนการรับประทานอาหารท่ีบ้านอาจมี 1-2 มื้อ มื้อกลางวันมักจะรับประทานที่โรงเรียน พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารทไี่ ด้เรยี นรู้จากบ้านจะส่งผลถงึ การเลอื กรบั ประทานอาหารทโี่ รงเรียน 2. ขอ้ มูลขา่ วสาร โลกปจั จบุ ันถือว่าเป็นโลกของขอ้ มลู ข่าวสารท่แี ท้จริง การโฆษณาสนิ คา้ ทางโทรทัศนจ์ ะ เป็นช่องทางท่ีประสบความสาเร็จมากที่สุดโดยเฉพาะเด็กท่ีอยู่ในสังคมเมือง ซึ่งไม่มีเวลาและสถานท่ี สาหรับการออกกาลังกายมากนักจึงมีเวลาสาหรับการดูโทรทัศน์มากขึ้น มีการโฆษณาสินค้าฟุ่มเฟือย หรืออาหารที่ไม่มีประโยชน์ในด้านโภชนาการต่างๆ เช่น อาหารประเภทท่ีให้น้าตาล ไขมัน หรือ พลงั งานสูง และอาหารที่มีโซเดียมสูง เป็นต้น ผลสาเร็จจากการโฆษณาทาให้ขนมขบเคี้ยวและลูกอม เป็นสินค้าท่ีมียอดจาหน่ายค่อนข้างสูง และเป็นปัจจัยสาคัญที่ส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการเกิน ของเด็กในปัจจบุ ัน

15 3. สังคมเพอ่ื น เม่ือเดก็ เริ่มเขา้ โรงเรยี น โลกส่วนตัวของเดก็ จะขยายไปยังสังคมเพ่อื น และกลายเป็น ปัจจัยท่ีมีบทบาทสาคัญต่อการบริโภคอาหารของเด็กมากขึ้น ผลกระทบท่ีเกิดข้ึนมีท้ังข้อดีและข้อเสีย ข้อดีน้ันคือ สังคมเพื่อนอาจจะช่วยพัฒนาเจตคติที่ดีต่ออาหารและการเลือกอาหาร ในข้อเสียนั้น อาจจะเปน็ ในรปู ของการปฏิเสธไม่บรโิ ภคอาหาร หรือการเลอื กรบั ประทานอาหารท่มี อี ยูใ่ นความนยิ ม ค่านยิ มใหม่ด้านอาหารน้ี เกิดขน้ึ ได้เมือ่ เดก็ ไดเ้ ข้าร่วมรบั ประทานอาหารกบั เพอ่ื นๆ ใน อาหารม้ือกลางวันที่โรงเรียน ดังนั้นการสร้างพฤติกรรมอาหารท่ีพึงประสงค์ เช่น การให้เด็กลอง บริโภคอาหารใหม่ๆ อาจเริ่มข้ึนได้ที่โรงเรียนเช่นเดียวกัน ท้ังน้ีเน่ืองจากการตามอย่างกันเด็กบางคน จะปฏิเสธไม่รับประทานผักเพราะเพื่อนสนิทไม่รับประทานผัก หรือบางคนเห็นเพื่อนรับประทานก็ รบั ประทานตาม 4. การจดั การบริการอาหารในโรงเรยี น สภาพสังคมในปจั จุบันเดก็ บางคนจาเป็นตอ้ งไปโรงเรยี นก่อนเกณฑ์ประถมศึกษา ซง่ึ หมายถึงการที่เด็กต้องรับประทานอาหารนอกบ้านมากข้ึนอย่างน้อย 1 หรือมากกว่า 1 มื้อ ท่ีสถาน เลี้ยงเด็กหรือท่ีโรงเรียน ดังน้ันผู้ท่ีมีส่วนรับผิดชอบต่อการเลี้ยงดูเด็กตามสถานประกอบการดังกล่าว ควรคานึงถึงการจัดอาหารในด้านความสะอาดและให้มีคุณภาพ เช่น เลือกรายการอาหารท่ีเด็กส่วน ใหญ่สามารถรับประทานได้ คุณค่าอาหารที่เหมาะสม เลือกใช้สารปรุงแต่งและวัตถุเจือปนอาหารท่ี ปลอดภัยและคานึงถึงความสะดวกของเดก็ ในการบรโิ ภค 5. ความเจ็บป่วย เด็กทมี่ คี วามเจบ็ ปว่ ยหรือลม้ ปว่ ยด้วยโรคภยั มกั จะมคี วามอยากอาหารลดนอ้ ยลง และมี ความจากัดในเรื่องอาหารท่ีบริโภค ความเจ็บป่วยเฉียบพลันจากเชื้อไวรัสหรือเชื้อแบคทีเรีย แม้ว่าจะ เป็นเวลาสั้นๆ แต่ก็เป็นช่วงที่เด็กมีความต้องการโปรตีนและสารอาหารอื่นๆ เพิ่มมากจากเดิม โรค เรอื้ รงั ต่างๆ เช่น หอบหืด หัวใจพิการแต่กาเนิดเป็นภาวะที่ยากต่อการได้รับสารอาหารให้เพียงพอต่อ การเจรญิ เติบโตของรา่ งกาย เดก็ ท่ปี ระสบปัญหาความเจ็บปว่ ยด้วยโรคเหล่าน้ีมักจะมีพฤติกรรมท่ีเป็น ปญั หาหรอื แสดงอาการต่อต้านกับพ่อแมเ่ มอื่ ใหร้ บั ประทานอาหาร การบริโภคอาหารของเดก็ ไทยเปลี่ยนแปลงไปตามวถิ ีชวี ติ ทีเ่ ปลีย่ นแปลงและมคี วาม แตกตา่ งกนั ระหวา่ งเดก็ ในเขตเมอื งและเดก็ ชนบท โดยพบว่าเด็กในเขตเมืองมีการบริโภคเนื้อสัตว์และ ไขมันเพิ่มข้นึ แตบ่ รโิ ภคผักและผลไม้ลดลง นยิ มบรโิ ภคอาหารแนวตะวนั ตกมากกว่าอาหารท้องถ่ินหรือ อาหารไทยรวมถึงวิถีชีวิตที่ต้องเร่งรีบทาให้มีการบริโภคอาหารพร้อมปรุงและอาหารก่ึงสาเร็จรูปมาก ข้นึ

16 จากการสารวจสภาวการณ์เด็กและเยาวชนใน พ.ศ. 2547-พ.ศ.2548 พบว่าเด็กประถมศึกษา ทร่ี บั ประทานขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มน้าอัดลมเป็นประจามีอัตราส่วนร้อยละ 26.95 และ 20.28 ตามลาดับ ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษา เก่ียวกับแนวโน้มการบริโภคขนมขบเค้ียวและน้าอัดลมของ เดก็ มีปริมาณเพิ่มมากขึ้น (วิทยา กุลสมบูรณ์,2549) และข้อมูลชนิดของขนมที่มีขายในตลาดเป็นพวก ลูกอมและแป้งกรอบมากกว่าร้อยละ 82 ทาให้เด็กส่วนใหญ่เมื่อกินขนมเหล่าน้ีไปแล้วจะรับประทาน อาหารมื้อหลักน้อยลง ไม่รับประทานอาหารเช้า และนิยมรับประทานอาหารจานด่วน (Satia JA, 2004) เด็กร้อยละ 73 จะได้เงินไปโรงเรียน โดยเงินที่ได้จะถูกใช้เป็นค่าขนม เด็กให้เหตุผลต่อการ เลือกซ้ือขนมมากกว่าอาหารเพราะความอร่อย การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างเด็กนักเรียนที่มีภาวะ โภชนาการปกติกับเด็กนกั เรยี นท่ีมภี าวะโภชนาการเกนิ พบว่ามคี วามเชือ่ ด้านสขุ ภาพแตกต่างกัน และ มีพฤตกิ รรมบริโภคแตกตา่ งกัน โดยนกั เรยี นท่ีมีภาวะโภชนาการเกินจะมีพฤติกรรมบริโภคที่ไม่ถูกต้อง (ลลิตา แจม่ จารสั ,2544) และเด็กนักเรียนรอ้ ยละ 85 เป็นผู้เลือกซื้อขนมเอง นอกจากการบริโภคขนม ขบค้ยี วแล้วยงั มีการบริโภคน้าหวานและนา้ อัดลมมากข้ึน เจตคติต่อการบริโภค ทัศนคติ หรือเจตคติ (Attitude) เป็นกระบวนการทางด้านจิตใจ อารมณ์ ความรู้สึก ความชอบ ความสนใจรวมไปถึงความเชื่อ ความรู้สึกของบุคคลท่ีต่างกัน โดยจะบอกแนวโน้มของ บคุ คลในการกระทาพฤตกิ รรม ท้ังนี้ ขนึ้ อยู่กับองคป์ ระกอบอ่นื ๆ ทัศนคติหรือเจคติในการบริโภคอาหาร เป็นพฤติกรรมภายในซึ่งไม่สามารถสังเกตเห็นได้ โดยตรง ดงั นั้ เราจะทราบว่าบคุ คลมีเจตคอิ ย่างไร เราจะต้องอาศัยจากการสังเกตพฤติกรรมภายนอกท่ี แสดงออกมา โดยทั่วไปแล้วการแสดงพฤติกรรมของบุคคลจะสอดคล้องกับทัศนคติ เช่น เมื่อบุคคลมี ทัศนคติท่ีดีต่อการป้องกันโรคบุคคลน้ันก็จะระมัดระวังและปฏิบัติตนในด้านท่ีมีส่วนป้องกันโรค เช่น รับประทานอาหารที่สะอาดมีประโยชน์ เลือกซื้อสินค้าทีมีการรับรองคุณภาพแล้วเป็นต้น (คณะกรรมการกลุ่มผลิตชุดวิชาพฤติกรรมผู้บริโภคทางด้านสาธารณสุข. 2538.) จากการศึกษาของ วิไลวรรณ คงกิจ (2548) พบว่า ทัศนคติอยู่ระหว่างความรู้และการนาไปใช้ในการปฏิบัติ ซ่ึงแสดง ออกมาในรูปของความรู้สึกในทางบวกและทางลบ คือความรู้สึกไม่แน่ใจ รู้สึกเฉยๆ ซึ่งอยู่ในระดับที่ แตกต่างกันออกไปของบุคคลที่มีต่อสิ่งแวดล้อม การกระทา ความคิด และสถานการณ์น้ันต่างๆกัน อันเป็นผลมาจากประสบการณ์ ความรู้ ความคิด ความเช่ือ และการเรียนรู้ นอกจากนี้ ทัศนคติยัง สามารถทานายพฤติกรรมการบริโภคอาหารได้ และมีอิทธิพลโดยตรงต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ซ่ึงทัศนคติและพฤติกรรมที่แท้จริง โดยท่ีทัศนคติของคนเราเป็นอย่างไรนั้นขึ้นอยู่กับความรู้ที่มีอยู่ ถ้า ผใู้ ดมีความรูด้ ที ศั นคตติ อ่ ส่ิงนน้ั กจ็ ะถกู ตอ้ งและดตี ามไปดว้ ย

17 อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเกยี่ วกบั การบรโิ ภคอาหาร ในการเลือกซ้ือสินค้าหรือบริการของผู้บริโภคนั้น มีปัจจัยท่ีเป็นตัวกาหนดพฤติกรรมการ ตัดสินของผู้บริโภค คือ ปัจจัยภายใน (Internal factors) และปัจจัยภายนอก (External factors) (ปัทมา ท่อเจริญ, 2550) ปัจจยั ภายใน (Internal factors) ทม่ี อี ิทธิพลตอ่ พฤติกรรมในการตัดสนิ ใจของผู้บรโิ ภคมีดังน้ี 1. ความจาเป็น (Needs) ความต้องการ (Wants) และความปรารถนา (Desire) ของ มนษุ ย์ ซึ่งทั้ง 3 ประการน้ีสามารถทดแทนกันได้เพราะความจาเป็นใช้สาหรับพิจารณาซื้อสินค้าหรือบริการท่ี จาเป็นในการครองชีพ ส่วนความต้องการน้ีใช้สาหรับพิจารณาซ้ือสินค้าหรือบริการที่จาเป็นในการ ครองชีพ สว่ นความต้องการนใ้ี ช้สาหรับความตอ้ งการที่สูงข้ึนกว่าความจาเป็นและความปรารถนาเป็น ความต้องการทางจติ วทิ ยาที่สุด 2. แรงจงู ใจ (Motive) คือ ปัญหาท่ถี งึ จดุ วกิ ฤตทท่ี าให้ผู้บริโภคเกดิ ความไม่สบายใจ แรงจูงใจจึงเป็นความต้องการท่ีเกิดขึ้น และสามารถกระตุ้นให้บุคคลค้นหาวิธีมาตอบสนองความพึง พอใจ โดยแรงจูงใจมพี ืน้ ฐานมาจากความจาเป็น ดังน้ันนักการตลาดจึงมีหน้าท่ีกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิด ความต้องการซื้อสนิ คา้ หรอื บรกิ าร จนกระทง่ั ผูบ้ ริโภคเกดิ ความต้องการจนเข้าสู่วิกฤตท่ีทาให้ผู้บริโภค เกิดความไมส่ บายใจอยา่ งรนุ แรง และทาใหผ้ ูบ้ ริโภคคน้ หาวิธีมาตอบสนองความต้องการน้นั ๆ 3. บคุ ลกิ ภาพ (Personality) เปน็ ลกั ษณะนสัยโดยรวมของบุคคลซึง่ มผี ลกระทบต่อการ กาหนดรปู แบบในการตอบสนองไม่เหมอื นกัน รวมท้งั ขนึ้ อยู่กับบุคลกิ ภาพของแตล่ ะบุคคลดว้ ย 4. ทัศนคติ (Attitude) เปน็ การประเมินความพงึ พอใจของผู้บรโิ ภคท่มี ีตอ่ สงิ่ ใดส่ิงหนง่ึ ทศั นคตเิ ป็นสง่ิ นามาซึง่ พฤตกิ รรมของผู้บริโภค ซึ่งส่ิงท่ีเข้ามากาหนดทัศนคติมี 3 ประการ คือ ความรู้ ความรู้สึก และแนวโนม้ ของนิสัยทง้ั 3 ประการน้ีเป็นส่ิงที่นักการตลาดพยายามที่จะเปล่ียนแปลง โดย ผู้บรโิ ภคใดมีทัศนติที่ดตี ่อสนิ ค้าหรือบรกิ ารของบริษัททางบรษิ ทั ก็พยายามที่จะรักษาเอาไว้ แ ต่ ถ้าผูบ้ รโิ ภคคนใดมที ัศนคตทิ ี่ไม่ดตี อ่ สนิ คา้ หรอื บรกิ ารของบริษทั ทางบรษิ ทั กจ็ ะพยายามเปล่ียนทัศนคติ ของบคุ คลน้ันใหห้ ันมาชอบสินค้าหรอื บรกิ ารของบรษิ ัทในที่สดุ 5. การรบั รู้ (Perception) เป็นการท่บี ุคคลเลอื กท่จี ะรบั และตคี วามขอ้ มูลทีไ่ ด้รับเพอื่ กาหนดภาพท่ีมีความหมายในการตลาด การรับรู้เปรียบเสมือนช่องทางในการที่นักการตลาดจะต้อง สร้างภาพพจนท์ ด่ี ใี ห้กบั ตราสินคา้ หรอื สร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับการบริหารจนผู้บริดภคเกิดการรับรู้ที่ ดใี หก้ บั ตราสินค้าหรือสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับการบริการจนผู้บริโภคเกิดการรับรู้ท่ีดี โอกาสที่จะทา ใหผ้ ู้บริโภคหนั มาซอ้ื สินค้าหรือบริการของบรษิ ทั กจ็ ะง่ายขึ้น

18 6. การเรียนรู้ (Learning) เป็นการเปลยี่ นแปลงในพฤตกิ รรมของบุคคลทเ่ี กิดจาก ประสบการณ์ของตัวบุคคล ดังนั้นการเรียนรู้จึงเป็นประสบการณ์ที่บุคคลสะสมไว้ นักการตลาดจึงมี หนา้ ทใ่ี นการใส่ประสบการณ์ การเรียนรู้เกย่ี วกับตราสนิ ค้าหรอื การให้บริการท่ีถกู ต้องให้กับผู้บรโิ ภค ปจั จัยภายนอก (External factor) ทมี่ ผี ลต่อพฤติกรรมในการตดั สนิ ใจของผบู้ รโิ ภค มี ดังน้ี 1. สภาพเศรษฐกิจ (Economy) เป็นสิ่งท่ีกาหนดอานาจซื้อ (Purchasing power) ของ ผู้บริโภคหรือโอกาสทางเศรษฐกิจของบุคคลก็คือรายได้ของบุคคล ซึ่งมีอานาจการซ้ือและทัศนคติ เกยี่ วกับการจ่ายเงนิ คอื ผบู้ ริโภคเกิดความตอ้ งการสูง แตร่ าคาแพงเกินไปไมส่ ามารถซ้อื ได้ 2. ครอบครัว (Family) ครอบครวั ทาใหเ้ กิดการตอบสนองต่อความต้องการ สนิ ค้าหรอื บรกิ ารท่ีตอบสนองความต้องการของร่างกายได้รับอทิ ธิพลจากสมาชกิ ของครอบครวั 3. สังคม (Social group) การดารงชีวิตท่ีเหมือนกัน ทัศนคติเหมือนกัน ลักษณะ ทา่ ทาง ของผบู้ รโิ ภค ก็จะอย่ใู นสงั คมเดียวกัน เช่น การเล่นกีฬา การสงั คม Sport Club และ Heritage Club ซ่ึงผูบ้ รโิ ภคทีใ่ ชบ้ รกิ ารพวกนก้ี จ็ ะอย่กู ลุ่มเดยี วกนั 4. วฒั นธรรม (Culture) เปน็ กลุ่มของค่านยิ มพน้ื ฐาน การรับรู้ ความตอ้ งการและ พฤติกรรม ซ่ึงเรียนรู้จากการเป็นสมาชิกของสังคมในครอบครัว วัฒนธรรมจึงเป็นรูปแบบหรือวิถีทาง ในการดาเนนิ ชวี ิตท่ีคนในสังคมส่วนใหญ่ยอมรบั ประกอบด้วยค่านิยมการแสดงออก ค่านิยมในการใช้ วตั ถหุ รือสิ่งของ วัฒนธรรมแต่ละกลุ่มมีลักษณะเฉพาะและแตกต่างกัน ซึ่งอยู่ในสังคม ขนาดใหญ่และ สลบั ซับซ้อน ลกั ษณะน้ีเกดิ จากพ้ืนฐานทางภมู ิศาสตร์หรอื ทอ้ งถน่ิ ในการดาเนนิ ชีวติ ทีแ่ ตกต่างกนั การโฆษณาและสอ่ื สารมวลชนต่างๆ ถือวา่ เปน็ ช่องทางท่ไี ดร้ ับความนยิ มกัน แพร่หลายเพราะเป็นส่ือท่ีสามารถเข้าถึงได้ง่าย ช่วยผ่อนคลายความเครียดและให้ความเพลิดเพลิน การโฆษณาและสื่อสารมวลชนจึงมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคทาให้เกิดการเลียนแบบพฤติกรรมหรือ คา่ นยิ มต่างๆจากบุคคลทมี่ ีชอ่ื เสียง ความสัมพนั ธ์ระหว่างความรู้ เจตคตแิ ละพฤตกิ รรม Schwartz (1975 อ้างถึงใน สายชล บุญศิริเอื้อเฟื้อ, 2546) ได้กล่าวถึงรูปแบบความสัมพันธ์ ที่เกิดจากการเรียนรู้ 3 ด้าน คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรม โดยสรุปได้ เป็น 4 ลกั ษณะดังน้ี 1) ความร้มู ีความสัมพนั ธ์กบั ทศั นคติ ซึง่ ส่งผลตอ่ พฤตกิ รรม ความรู้ ทศั นคติ พฤติกรรม

19 2) ความรู้และทศั นคติมคี วามสมั พนั ธ์ซงึ่ กันและกันกใ็ หเ้ กดิ พฤตกิ รรมตามมา ความรู้ พฤติกรรม ทศั นคติ 3) ความรู้และทัศนคติต่างกันทาให้เกิดพฤติกรรมได้ โดยท่ีความรู้ และทัศนคติไม่จาเป็นต้อง สมั พันธก์ ัน ความรู้ พฤติกรรม ทัศนคติ 4) ความรู้มีผลต่อพฤติกรรมทั้งทางตรงและทางอ้อมสาหรับทางอ้อมน้ันทัศนคติเป็นตัวกลางท่ี ทาให้เกิดพฤติกรรมตามมาได้ ทัศนคติ ความรู้ พฤติกรรม จากรปู แบบความสัมพันธจ์ ะเห็นได้ว่า ความรู้ ทัศนตติ ่างก็มีผลตอ่ พฤติกรรม งานวจิ ยั ท่ีเกีย่ วขอ้ ง การศึกษาสถานการณ์ภาวะโภชนาการของกลุ่มวัยรุ่น ในปี 2545 มีการศึกษาภาวะ โภชนาการกลุ่มนักเรียนมัธยมศึกษาชั้นปีท่ี 1-6 จานวน 10 โรงเรียน พบว่าโภชนาการเกินทุก ระดบั ช้ัน ซ่งึ พบมากท่ีสุดคือนักเรียนหญิงมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ร้อยละ 24.9 (พรฑิตา ชัยอานวย, 2545) ในปี พ.ศ.2545 มีการสารวจภาวะโภชนาการของนักเรียนวัยรุ่นในโรงเรียนเขตกรุงเทพมหานคร นนทบุรี ปทุมธานี และนครปฐม อายุ 12-18 ปี จานวน 900 คน พบนักเรียนมีภาวะโภชนาการเกิน มาตรฐาน ร้อยละ 10.22 และภาวะโภชนาการต่ากว่ามาตรฐาน ร้อยละ 4.33 (กระทรวงสาธารณสุข กรมอนามัย กองโภชนาการ. 2545 : บทคดั ยอ่ )

20 คุณาสิริ เกตุปมา (2548) ได้ศึกษาเรื่อง ความรู้ทัศนคติและพฤติกรรมบริโภคอาหารเพ่ือ สุขภาพของประชากรในเขตกรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยท่ีมีอิทธิพลต่อความรู้ ทัศนคติท่ีมีต่อการบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพของประชากรวัยแรงงานในเขตกรุงเทพมหานคร ศึกษา พฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพของประชากรในวัยแรงงานในเขต กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างจานวน 449 คน ผลการศึกษาพบว่า ประชากรกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เปน็ เพศหญิง มอี ายรุ ะหว่าง 34 ปี หรือต่ากวา่ มสี ถานภาพสมรสโสด มีการศึกษาระดับปริญญาตรีข้ึน ไป กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่จะรู้จักกับอาหารเพ่ือสุขภาพโดยมีความรู้เก่ียวกับอาหารเพื่อสุขภาพใน ระดบั ปานกลาง มีทศั นคตติ ่ออาหารเพอื่ สุขภาพเป็นกลางมากที่สุด และมีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร เพื่อสุขภาพในระดับปานกลางมากที่สุด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความรู้ได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา สถานภาพ การทางาน และรายได้ ส่วนปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อทัศนคติได้แก่ เพศ สถานภาพ การทางาน และรายได้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริโภคอาหารพื่อสุขภาพ ได้แก่ ความรู้เก่ียวกับ อาหารเพื่อสขุ ภาพและสถานภาพสมรส วศิ มล ไพฑรู ย์ (2548) ไดศ้ กึ ษาเรอื่ ง พฤติกรรมการซื้ออาหารเพ่ือสุขภาพของผู้บริโภคในเขต กรุงเทพมหานคร มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมบริโภคอาหารเพ่ือสุขภาพในเขต กรุงเทพมหานคร ศึกษาวิจัยส่วนประสมทางการตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อของผู้บริโภค ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลส่วนบุคคลกับส่วนประสมทางการตลาด โดยมีประชากรและกลุ่ม ตัวอย่างท่ีใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง 400 คน ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารเพ่อื สขุ ภาพของคนกรุงเทพมหานคร มีแนวโน้มเพ่ิมมากข้ึน เพราะ คิดว่า หากรับประทานแล้วจะเกิดประโยชน์ต่อร่างกาย และหาซ้ือได้ง่าย ปัจจัยส่วนประสมทาง การตลาดท่ีมีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซ้ือ เรียงลาดับตามความสาคัญ คือ ปัจจัยด้านส่งเสริมการตลาด ดา้ นผลิตภัณฑ์ ผลของความสมั พนั ธ์ระหว่างบคุ คลกับสว่ นประสมทางการตลาด พบว่า เพศและอายุท่ี แตกต่างกันมีความเห็นไม่แตกต่างกัน การศึกษาท่ีแตกต่างกันมีความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันในปัจจัย ดา้ นผลติ ภณั ฑ์และราคารายไดท้ แ่ี ตกต่างกนั มีความคิดเห็นท่ีแตกต่างกันในปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ราคา และการส่งเสรมิ ทางการตลาด สักรินทร์ ตรีวรรณไพศาล(2550) ศึกษาเรือ่ ง พฤติกรรมและปัจจัยการบริโภคอาหารมังสวิรัติ ของประชาชนในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหาร มังสวิรัติปัจจัยทางการตลาดท่ีมีผลต่อพฤติกรรมบริโภคอาหารมังสวิรัติของประชาชนในเขตเทศบาล นครเชียงใหม่ ประชากรกลุ่มตัวอย่างจานวน 248 คน ท่ีบริโภคอาหารมังสวิรัติจานวน 9 ร้าน พบว่า ผู้บริโภคมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารมังสวิรัติโดยเลือกรับประทานอาหารมังสวิรัติข้ึนอยู่กับความ สะดวกในการรับประทานซึ่งมีโอกาสท่ีไม่แน่นอน และรับประทานอาหารมังสวิรัติเพ่ือต้องการให้

21 ร่างกายมีสุขภาพดี การรับประทานอาหารมังสวิรัติช่วยลดความเส่ียงของโรคและไม่เบียดเบียนชีวิต สตั ว์ สมฤดี วีระพงษ์ (2535) ศึกษาพฤติกรรมการบริโภคอาหารจานด่วนของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีท่ี 5 ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานคร จานวน 275 คน พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มี ความรู้และการปฏิบัติในการบริโภคอาหารจานด่วนทันใจอยู่ในระดับพอใช้ เจตคติอยู่ในระดับดี นักเรียนชายและหญิงมีความรู้ เจตคติและการปฏิบัติในการบริโภคอาหารจานด่วนทันใจไม่แตกต่าง กนั สนทยา มูฮาหมัด (2544) ได้ทาการศึกษาเร่ืองปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมบริโภคอาหารของ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีที่3 โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร ผล การศึกษาพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการบริโภคอาหาร ความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหาร ความเช่ือเก่ียวกับการบริโภคอาหาร การสนับสนุนทางสังคมและอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนในระดับ ปานกลาง ผลการทดสอบความแตกต่างระหว่างปัจจัยด้านชีวสังคม ปัจจัยด้านจิตลักษณะ และปัจจัย ด้านสิ่งแวดล้อมต่อพฤติกรรมบริโภคอาหารของนักเรียนพบว่า นักเรียนท่ีมีเพศ อาชีพของผู้ปกครอง รายได้ของครอบครัวและความเชื่อเกี่ยวกับการบริโภคอาหารต่างกันแตกต่างกันมีพฤติกรรมบริโภค อาหารไม่แตกตา่ งกัน ชญานิษฐ์ ธรรมธิษฐาน (2543) ได้ทาการศึกษาเรื่องพฤติกรรมสุขภาพเก่ียวกับการบริโภค อาหารของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนนวมินทราชินูทิศสตรีวิทยา 2 สังกัดกรมสามัญ ศึกษา กรุงเทพมหานคร ผลการศึกษาพบว่า นักเรียนส่วนใหญ่มีความรู้และเจตคิเก่ียวกับการบริโภค อาหารอยู่ในระดับดี และมีการปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคอาหารในระดับปานกลาง นักเรียนที่มีเพศ ต่างกนั มคี วามรู้และเจตคตเิ กย่ี วกับการบรโิ ภคอาหารแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่การปฏิบัติเกี่ยวกับการบริโภคอาหารไม่แตกต่างกัน พฤติกรรมสุขภาพเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร ของนักเรียนด้านความรู้เก่ียวกับเจตคติ และเจตคติกับการปฏิบัติ มีความสัมพันธ์ทางบวกอย่างมี นัยสาคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 ส่วนความรูไ้ มม่ ีความสมั พันธ์กบั การปฏบิ ัตเิ ก่ยี วกบั การบริโภคอาหาร

บทที่ 3 วิธดี ำเนินกำรวจิ ัย การวิจัยน้ีเป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research) โดยทาการศึกษาพฤติกรรมการ บริโภคของเด็กนักเรียนในวัยเรียน รวมถึงพฤติกรรมการบริโภค ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับการบริโภค อาหาร เจตคติต่อการบริโภคอาหาร และอิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารของ ประชาชนในภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร เพื่อให้การวิจัยคร้ังน้ีบรรลุวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ผู้วิจัยได้ กาหนดระเบยี บวิธีการวจิ ัยมรี ายละเอยี ด ดงั น้ี 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง 2. เครื่องมอื ทใี่ ช้ในการวิจัย 3. การเก็บรวบรวมข้อมลู 4. การวเิ คราะห์ข้อมูล 5. ระยะเวลาทาการวิจยั และแผนการดาเนินงาน ประชำกรและกลุ่มตวั อยำ่ ง 1. ประชากรในการศึกษานี้ ได้แก่ นกั เรยี นและประชาชนในชมุ ชนเขตภาษเี จริญ 2. กลมุ่ ตวั อยา่ ง มี 2 กลุม่ ได้แก่ เดก็ วัยเรียนอายุ 6-14 ปี และประชาชนใน ชุมชนเขตภาษีเจริญทีม่ อี ายุต้ังแต่ 15 ปีขึน้ ไป 2.1 กลุ่มที่ 1 เด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี เป็นการเลือกตัวอย่างแบบตามสะดวก (Convenience Sampling) โดยเก็บข้อมลู จากผู้ท่ใี ห้ความร่วมมอื ในการตอบคาถาม 2.2 กลุ่มที่ 2 ประชากรท่ีมีอายุตั้งแต่ 15 ปีข้ึนไปท่ีอยู่ในชุมชนเขตภาษีเจริญ ใช้ การสมุ่ ตัวอย่างตามสดั สว่ นจานวนประชากรในแต่ละแขวง โดยคานวณขนาดตัวอย่างตามสูตรของยา มาเน่ (Yamane, 1973: 508) ท่ีระดับความเช่ือม่ันร้อยละ 95 ยอมให้เกิดความคลาดเคลื่อนร้อยละ 0.5 เม่ือไดข้ นาดตัวอย่างแลว้ นามาคานวณสดั ส่วนประชากร ดงั รายละเอียดการคานวณกลุ่มตัวอย่าง ต่อไปนี้ สูตรคำนวณกลุ่มตัวอยำ่ ง n= N 1+N(e)2 เมื่อ n = ขนาดของกลมุ่ ตัวอยา่ ง N = จานวนประชากร e = ความคลาดเคล่ือนท่ียอมรบั ได้ ในทน่ี ี้มีค่าเท่ากบั 0.05 โดยจานวนประชากรเขตภาษีเจริญที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ณ เดือนธันวาคม 2554 โดย กรมการปกครอง มจี านวนท้ังสิ้น 106,318 คน คานวณขนาดตัวอยา่ งได้ ดงั น้ี

23 n = 130,430 1+ (130,430)(0.05)2 = 398.78  400 คน จากการคานวณขนาดตัวอย่างพบว่า จานวนขนาดของกลุ่มตัวอย่างท่ีเหมาะสมในการวิจัย อย่างน้อยจานวน 400 คน คานวณขนาดของกลุ่มตัวอย่างตามสัดส่วนประชากรรายแขวง ได้จานวน ตัวอย่าง ดังตารางที่ 1 อย่างไรก็ตามผู้วิจัยทาการเก็บรวบรวมข้อมูลในชุมชนจริง มีประชาชนที่มี ความสนใจและเขา้ ร่วมกลมุ่ ตัวอยา่ งจานวน 406 คน ตำรำงท่ี 1 ขนาดตัวอยา่ งรายแขวง รอ้ ยละ ขนำดของกลุ่ม แขวง ประชำกร ตัวอย่ำง 29.32 117 บางหว้า 38,241 23.10 92 บางดว้ น 30,131 14.66 59 บางแวก 19,122 12.92 52 ปากคลองภาษเี จริญ 16,858 8.35 33 คลองขวาง 10,889 6.24 25 บางจาก 8,136 5.41 22 คูหาสวรรค์ 7,053 100.00 400 130,430 รวม () เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นกำรวจิ ยั เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพ่ือการศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามท่ีผู้วิจัย สร้างข้ึนจากการทบทวนแนวคิด วรรณกรรมและงานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง แบบสอบถาม มีรายละเอียด ดังน้ี 1. แบบสอบถามท่ีผู้วิจัยสร้างขึ้น สาหรับเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ตอน ประกอบดว้ ย 1.1 ตอนท่ี 1 แบบสอบถามสาหรบั เดก็ วัยเรียนอายุ 8-14 ปี ซ่ึงแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย

24 สว่ นที่ 1.ข้อมลู ทวั่ ไปของนักเรยี น ส่วนที่ 2. แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภค ลักษณะของแบบสอบถามเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า มี 3 ระดับ คือ ปฏิบัติเป็นประจา ปฏิบัติบางครั้ง และไม่เคยปฏิบัติเลย มีเกณฑ์การให้ คะแนน ดงั นี้ ปฏิบตั ิเป็นประจา คา่ คะแนน 2 ปฏบิ ัติบางคร้งั ค่าคะแนน 1 ไม่เคยปฏิบัตเิ ลย คา่ คะแนน 0 การแปลความหมายคะแนนโดยใช้เกณฑก์ ารประเมนิ ผลดังน้ี คะแนน 1.34 – 2.00 หมายถึง มพี ฤตกิ รรมบริโภคอาหารอยู่ในระดับดี คะแนน 0.67 – 1.33 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมบริโภคอาหารอยู่ในระดับปานกลาง คะแนน 0.00 – 0.66 หมายถงึ มีพฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหารอยู่ในระดบั ควร ปรับปรุง 1.2 ตอนที่ 2 แบบสอบถามสาหรับประชาชน ซ่ึงแบ่งออกเป็น 5 สว่ น ประกอบดว้ ย ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไปของประชาชน ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ ท่ีพักอาศยั สว่ นสงู น้าหนักตวั ขอ้ มูลท่วั ไปเก่ยี วกับการรับประทานอาหาร ส่วนท่ี 2 แบบสอบถามความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบริโภคอาหาร โดยมีเกณฑ์การให้คะแนน คอื ตอบถกู ได้คะแนน 1 คะแนน ถา้ ตอบผิดได้ 0 คะแนน การแปลความหมายแบบวัดความรู้ด้านโภชนาการจะมี 3 ระดับ ตามเกณฑ์การประเมินโดย อ้างอิงจากการประเมนิ แบบองิ เกณฑ์ของ Bloom (1971) ระดบั ความรู้ รอ้ ยละ (ของคะแนนเตม็ ) ดี >80 ปานกลาง 60-79 ตา่ <60 ส่วนท่ี 3 แบบสอบถามพฤติกรรมบริโภคอาหาร ลักษณะของแบบสอบถามเป็นมาตราส่วน ประมาณค่า มี 3 ระดับ คือ ปฏิบัติเป็นประจา ปฏิบัติบางครั้ง และไม่เคยปฏิบัติเลย มีเกณฑ์การให้ คะแนน ดงั นี้ ปฏิบตั เิ ป็นประจา ค่าคะแนน 2 ปฏบิ ัติบางคร้งั ค่าคะแนน 1 ไม่เคยปฏิบตั ิเลย ค่าคะแนน 0

25 การแปลความหมายคะแนนโดยใช้เกณฑก์ ารประเมินผลดงั นี้ คะแนน 1.34 – 2.00 หมายถึง มีพฤติกรรมบริโภคอาหารอยู่ในระดบั ดี คะแนน 0.67 – 1.33 หมายถึง มีพฤติกรรมบริโภคอาหารอยูใ่ นระดบั ปานกลาง คะแนน 0.00 – 0.66 หมายถงึ มพี ฤติกรรมบรโิ ภคอาหารอยู่ในระดบั ควร ปรับปรุง ส่วนท่ี 4 แบบสอบถามเจตคติต่อการบริโภคอาหาร โดยแบ่งการให้คะแนนเป็น 5 ระดับ ได้แก่ เห็นดว้ ยอย่างย่ิง เหน็ ด้วย ไม่แนใ่ จ ไมเ่ หน็ ด้วย ไมเ่ ห็นด้วยอยา่ งย่ิง เกณฑก์ ารให้คะแนนแบบวัด เจตคติตอ่ การบรโิ ภคอาหาร ไดก้ าหนดเป็น 5 ระดบั ตอ่ ไปนี้ เห็นดว้ ยอย่างยงิ่ คา่ คะแนน 5 เหน็ ด้วย ค่าคะแนน 4 ไมแ่ น่ใจ ค่าคะแนน 3 ไม่เหน็ ด้วย ค่าคะแนน 2 ไมเ่ หน็ ดว้ ยอยา่ งย่งิ ค่าคะแนน 1 การแปลความหมายแบบวดั เจตคติในการบริโภคอาหารมี 3 ระดบั ดงั ต่อไปน้ี (Best, 1977) ช่วงคะแนนเฉล่ยี = คะแนนเฉลย่ี สูงสดุ – คะแนนเฉลี่ยตา่ สดุ จานวนระดบั การวัด = 5-1 3 = 1.33 คะแนน 3.67 – 5.00 หมายถงึ เจตคติ ดี คะแนน 2.34 – 3.66 หมายถึงเจตคติ ปานกลาง คะแนน 1.00 – 2.33 หมายถึงเจตคติ ตา่ ส่วนท่ี 5 แบบสอบถามอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร แบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาครส่วนในประมาณค่ามี 3 ระดับ คือ เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย มีเกณฑ์การให้ คะแนนดงั น้ี เห็นดว้ ย ค่าคะแนน 2 ไมแ่ น่ใจ คา่ คะแนน 1 ไม่เห็นด้วย คา่ คะแนน 0 การแปลความหมายคะแนนโดยใชเ้ กณฑ์การประเมนิ ผลดังนี้ (วเิ ชียร เกตสุ งิ ห์, 2539) คะแนน 1.34 – 2.00 หมายถงึ ได้รับอทิ ธพิ ลจากส่อื สารมวลชนอยู่ในระดบั มาก คะแนน 0.67 – 1.33 หมายถึง ได้รับอิทธิพลจากส่ือสารมวลชนอยู่ในระดับปาน กลาง

26 คะแนน < 0.66 หมายถึง ไดร้ ับอทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชนอย่ใู นระดับน้อย คุณภาพของแบบสอบถาม ภายหลังจากผู้วิจัยสร้างแบบสอบถามแล้วได้ให้ผู้เช่ียวชาญ ตรวจสอบความตรงเชิงเน้ือหา และส่งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนของมหาวิทยาลัยมหิดล พจิ ารณาความเหมาะสม หลงั จากน้นั ไดม้ ีการปรับปรุงตามความเห็นของผู้เชี่ยวชาญและนาไปทดลอง ใช้ในกลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน นามาหาความเชื่อมั่นโดยคานวณค่าสัมประสิทธ์ิแอลฟาของครอ นบาคได้เทา่ กบั 0.794 ถือวา่ มคี ณุ ภาพสงู พอทีจ่ ะนาไปใช้ได้ วิธีกำรเก็บรวบรวมข้อมูล กำรเก็บรวบรวมข้อมูลกลุ่มเด็กวัยเรียนเป็นการเก็บข้อมูลโดยการเลือกตัวอย่างแบบโควต้า โดยใชต้ วั แปรแขวงเป็นตัวแปรแบง่ โควตา (Quata Sampling) กำรเก็บรวบรวมข้อมลู กลุ่มประชำชน 1. การเก็บข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ดาเนินการระหว่างเดือน พฤศจกิ ายน – ธันวาคม พ.ศ. 2555 ซ่ึงมีขั้นตอนการดาเนนิ การ ดงั น้ี 1.1 ติดต่อประสานงานกับผู้นาชุมชน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ กระบวนการ และนัด หมายวันเวลาท่ชี มุ ชนสะดวก 1.2 เตรียมความพร้อมทีมผู้ช่วยเก็บข้อมูล ซ่ึงได้แก่ นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม โดยการอบรมช้ีแจงวัตถุประสงค์ แนวทางเก็บข้อมูล และ การทาความเข้าใจตอ่ ข้อคาถามตา่ งๆ ในแบบสอบถาม 1.3 ไปพบกลุ่มตัวอย่างในชุมชนต่างๆ ตามวันเวลาท่ีได้นัดหมายกับประธานชุมชน ชี้แจงวัตถุประสงค์การวิจัย อธิบายการพิทักษ์สิทธิของกลุ่มตัวอย่างโดยจะเก็บรักษาข้อมูลรายบุคคล ไว้เป็นความลับ และกลุ่มตัวอย่างมีสิทธิที่จะยกเลิกการให้ข้อมูลได้ทุกเวลา ขอความยินยอมในการ ตอบแบบสอบถาม เม่ือกลุ่มตัวอย่างเข้าใจดีและให้ความยินยอมแล้วจึงดาเนินการเก็บข้อมูลตาม แบบสอบถาม กำรวิเครำะห์ขอ้ มูล 1. การวิเคราะห์ขอ้ มูลเชิงปรมิ าณ ใช้สถิตเิ ชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ ร้อยละ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน นามาหาความแตกต่างระหวา่ งเพศดว้ ย สถิตไิ คส แควร์ (Chi-Square) เพือ่ เปรียบเทยี บพฤติกรรมการบรโิ ภค 2. หาความสมั พันธ์ระหว่างปัจจยั สว่ นบุคคลและพฤติกรรมบริโภคดว้ ยใช้ไคสแควร์ (Chi-Square) และค่าสหสัมพนั ธ์ (Correlation)

ก.ย. 27 ต.ค. พ.ย.ระยะเวลำทำกำรวิจยั และแผนกำรดำเนินงำน ธ.ค. ม.ค.ระยะเวลาทาการวจิ ัย 6 เดอื น เริม่ ตงั้ แต่เดือนกันยายน 2555 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2556 โดย ก.พ.มีแผนการดาเนินงาน ดงั ตารางท่ี 2 สมมติฐำนกำรวิจัย 1. ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วยเพศ สถานภาพ การศึกษา รายได้ มีความสัมพันธ์กับ พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร 2. ความรู้ อิทธิพลจากส่ือสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหาร และเจตคติต่อการบริโภค อาหาร มคี วามสมั พนั ธก์ ับพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร ตำรำงท่ี 2 แผนการดาเนินงาน กจิ กรรม 1. เตรยี มความพร้อมทีมงานและชุมชน ประสานแกนนาชมุ ชน 2. สร้างและจดั เตรยี มเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมลู 3. ส่งโครงการวจิ ยั และเคร่ืองมือให้คณะกรรมการจรยิ ธรรมพิจารณา 4. ปรบั ปรงุ แกไ้ ขเครื่องมือตามความเหน็ ของคณะกรรมการจรยิ ธรรม และนาไปทดลองใช้เพื่อปรับปรุงคณุ ภาพเครอ่ื งมือใหเ้ หมาะสม 5. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เชงิ ปริมาณ 6. ลงรหัส บันทึกขอ้ มลู วิเคราะหข์ ้อมูล 7. สรุปผลการวจิ ยั 8. จัดทารายงานการวิจัยและขอ้ เสนอการวจิ ัยเพื่อการพฒั นาพนื้ ท่ี สร้างสรรค์เพอ่ื สุขภาวะคนภาษีเจรญิ ด้านการบริโภคและอื่น ๆ ทเ่ี กยี่ วขอ้ ง 9. สง่ รายงานการวจิ ยั แก่หน่วยงานทเ่ี กีย่ วข้อง และเผยแพร่ผลงานวจิ ัย

บทท่ี 4 ผลการวิจยั การศกึ ษาวจิ ัย พฤติกรรมการบริโภคอาหารของเด็กวยั เรยี นอายุ 6-14 ปี ความรู้ เจตคติ และ อิทธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ียวกับการบริโภคอาหารประชาชนในเขตภาษีเจริญ กรุงเทพมหานคร ผู้วิจัยได้นาแบบสอบถามไปเก็บรวมรวบข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่างท่ีในการวิจัยโดยผู้ช่วยนักวิจัย ได้รับ แบบสอบถามของประชาชนในเขตภาษีเจริญคืนมาสมบูรณ์ คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้วิจัยได้นาเสนอผล การวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยการแบ่งออกเป็น 2 สว่ นดังรายละเอียดตอ่ ไปน้ี สว่ นที่ 1 พฤตกิ รรมการบริโภคอาหารของเดก็ วยั เรียนอายุ 6-14 ปี 1.1 ข้อมลู ท่ัวไปของเด็กวัยเรียนอายุ 6-14 ปี 1.2 พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของเด็กวัยเรยี นอายุ 6-14 ปี ส่วนที่ 2 ความรู้ พฤตกิ รรม เจตคติ และอทิ ธพิ ลจากสอ่ื สารมวลชนเกี่ยวกบั การบริโภคอาหาร ประชาชนในเขตภาษีเจริญ 2.1 ข้อมลู ท่ัวไปของประชาชนในเขตภาษีเจริญ 2.2 ความร้ทู ว่ั ไปเกย่ี วกับการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษเี จรญิ 2.3 พฤติกรรมบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญ 2.4 เจตคตติ ่อการบริโภคอาหาร 2.5 อทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชนเก่ยี วกบั การบริโภคอาหาร 2.6 ความสัมพนั ธ์ระหว่างปัจจัยท่ีมีความเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชนใน เขตภาษเี จรญิ สว่ นที่ 1 พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหารของเดก็ วยั เรยี นอายุ 6-14 ปี 1.1 ขอ้ มลู ทวั่ ไปของเด็กวยั เรียนอายุ 6-14 ปี การวเิ คราะห์ข้อมลู ท่ัวไปเกีย่ วกบั เด็กวยั เรียนอายุ 6-14 ปี จาแนกตามเพศ อายุ การศกึ ษา คา่ ขนมการมโี รคประจาตัวของเด็กวัยเรยี น

29 ตารางท่ี 3 แสดงจานวนและรอ้ ยละของข้อมูลทั่วไปเกีย่ วกับเด็กวยั เรียนเขตภาษเี จรญิ จาแนกตาม อายุ เพศ การศึกษา คา่ ขนม การมีโรคประจาตวั ของเดก็ ในวัยเรยี น (n=42) ขอ้ มูลทว่ั ไป จานวน (n = 42) รอ้ ยละ เพศ 20 47.6 ชาย 22 52.4 หญงิ อายุ 4 9.5 6 ปี 2 4.8 7 ปี 2 4.8 8 ปี 2 4.8 10 ปี 4 8.5 11 ปี 16 38.2 12 ปี 10 23.7 13 ปี 2 4.8 14 ปี 22 52.4 การศึกษา 19 45.2 ประถมศกึ ษา 1 2.4 มัธยมศกึ ษา ไมไ่ ดศ้ ึกษา 16 38.1 20 47.6 คา่ ดัชนีมวลกาย (BMI) 6 14.3 ต่ากว่าเกณฑ์ ปกติ 25 59.5 สูงกวา่ เกณฑ์ 16 38.1 1 2.4 คา่ ขนม 10 – 50 บาท 37 88.1 51 – 100 บาท 5 11.9 101 – 150 บาท การมโี รคประจาตวั ไมม่ โี รคประจาตวั มโี รคประจาตัว

30 จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.6 ส่วนใหญ่มีอายุ 12 ปีข้ึนไป จานวน 28 คน คิดเป็นร้อย 66.7 อายเุ ฉลยี่ 12.2 ปี (S.D 2.31) สว่ นใหญอ่ ย่ใู นระดบั ประถมศึกษา จานวน 22 คน คิดเป็นร้อยละ 52.4 ส่วนใหญ่ได้รับค่าขนมวันละ 10 – 50 บาท/วัน จานวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 โดยค่าขนม เฉลี่ย อยู่ท่ี52.74 บาท (S.D 28.7) (น้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ จานวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 47.62 ส่วนใหญ่ไม่มโี รคประจาตวั จานวน 37 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 88.1 1.2 พฤติกรรมบรโิ ภคของเด็กวยั เรยี น ตารางที่ 4 แสดงจานวนและรอ้ ยละของพฤติกรรมบริโภคของเด็กวัยเรยี น พฤตกิ รรมบริโภคของเดก็ วัยเรียน Mean SD ไมเ่ คยปฏิบัติ บางครง้ั เปน็ ประจา (ร้อยละ) (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) 13 29 1. พฤติกรรมรับประทานอาหารเช้า 2.69 .468 0 (31.0%) (69.0%) ทกุ วัน (0%) 20 5 (47.6%) (64.3%) 2.พฤติกรรมรบั ประทานแซนด์วชิ หรือ 1.71 .673 17 14 27 แฮมเบอเกอร์ เป็นอาหารเชา้ (40.5%) (33.3%) (64.3%) 3.พฤติกรรมรับประทานผกั และผลไม้ 2.62 .539 1 20 17 (47.6%) (40.5%) (2.4%) 21 20 4.พฤติกรรมรับประทานกว๋ ยเตยี๋ วแทน 2.29 .673 5 (50.0%) (47.6%) ขา้ วเป็นบางมื้อ (64.3%) 21 20 (50.0%) (47.6%) 5.พฤตกิ รรมดมื่ น้าอัดลม หรอื น้าหวาน 2.45 .550 1 10 31 (2.4%) (23.8%) (78.8%) 6.พฤตกิ รรมลา้ งมือก่อนรับประทาน 2.45 .550 1 22 12 (52.4%) (28.6%) อาหารทุกมอ้ื (2.4%) 24 18 7.พฤติกรรมดืม่ นม วันละ 1 แกว้ 2.71 .508 1 (57.1%) (42.9%) (2.4%) 13 22 (31.0%) (52.4%) 8.พฤตกิ รรมรับประทานอาหารตามที่ 2.10 .692 8 21 17 โฆษณาในโทรทัศน์ หนงั สอื พิมพ์ แผน่ (19.0%) (50.0%) (40.5%) พับ นิตยสาร 18 24 9.พฤตกิ รรมรับประทานปลา และ 2.43 .501 0 เน้ือสตั ว์ไมต่ ดิ มัน (0%) 10.พฤติกรรมซ้ืออาหารโดยดวู ัน 2.36 .759 7 หมดอายุ และดูเคร่ืองหมาย อย. (16.7%) 11.พฤติกรรมรับประทานอาหารโดย 2.31 .643 4 ใชช้ อ้ นกลาง (9.5%) 12.พฤติกรรมรับประทานขนมขบ 2.57 .501 0

31 พฤตกิ รรมบรโิ ภคของเดก็ วยั เรยี น Mean SD ไมเ่ คยปฏิบตั ิ บางครั้ง เปน็ ประจา (ร้อยละ) (รอ้ ยละ) (รอ้ ยละ) เค้ียวกรุบกรอบ เชน่ มนั ฝรง่ั ทอด (0%) (42.9%) (57.1%) ขา้ วเกรียบ 6 17 19 (14.3%) (40.5%) (45.2%) 13.พฤติกรรมรับประทานอาหาร 2.31 .715 19 15 8 มากกวา่ 3 ม้อื ต่อวัน (45.2%) (35.7%) (19.0%) 14.พฤติกรรมรบั ประทานอาหารนอ้ ย 1.74 .767 5 27 10 (11.9%) (64.3%) (23.8%) กว่า 3 มอื้ ต่อวัน 7 24 11 15.พฤติกรรมบรโิ ภคบะหม่กี ่ึง 2.12 .593 (16.7%) (57.1%) (26.2%) สาเรจ็ รปู แทนอาหาร 1 ม้ือ 11 19 12 (26.2%) (45.2%) (28.6%) 16.พฤติกรรมรับประทานขนมครก/ 2.10 .656 5 20 17 ปาท่องโก๋/ข้าวเหนียวหมูป้งิ แทนขา้ ว (64.3%) (47.6%) (40.5%) ในมอื้ เชา้ 10 26 6 (23.8%) (61.9%) (14.3%) 17.พฤติกรรมเลอื กซ้ือขนม/อาหาร 2.02 .749 12 18 12 เพราะต้องการของแถม (28.6%) (42.9%) (28.6%) 18.พฤติกรรมชอบรับประทานอาหาร 2.29 .673 2 22 18 (4.8%) (52.4%) (42.9%) ทม่ี รี สหวาน 1 18 23 19.พฤติกรรมชอบรับประทานอาหาร 1.90 .617 (2.4%) (42.9%) (54.8%) ที่มีรสเคม็ 3 21 18 (7.1%) (50.0%) (42.9%) 20.พฤติกรรมชอบรบั ประทานอาหาร 2.45 3.179 1 16 25 ทม่ี รี สเผ็ด (2.4%) (38.1%) (59.5%) 21.พฤติกรรมรบั ประทานชอ็ กโกแลต 2.38 .582 6 20 16 (14.3%) (47.6%) (38.1%) ลูกอม ท๊อฟฟ่ี อมยิ้ม หมากฝรัง่ 22.พฤติกรรมรบั ประทานหมูทอด ไก่ 2.52 .552 ทอด ลูกชน้ิ ทอด 23.พฤติกรรมดื่มนมรสจดื 2.36 .618 24.พฤติกรรมด่ืมนมทม่ี ีรสหวาน เชน่ 2.57 .547 นมหวาน นมช็อกโกแลต นมเปรีย้ ว 2.24 .692 25.พฤติกรรมชอบรับประทานเนือ้ หมู ท่ตี ิดมัน หรอื หนงั ไก่ จากตารางท่ี 4 พบว่าพฤติกรรมบริโภคของเด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ี ปฏบิ ัตเิ ป็นประจามากที่สุดคือด่ืมนมที่มีรสหวาน เช่น นมหวาน นมช็อกโกแลต นมเปร้ียวคิดเป็นร้อย ละ59.5 รองลงมารับประทานขนมขบเค้ียวกรุบกรอบ เช่น มันฝร่ังทอด ข้าวเกรียบ คิดเป็นร้อย ละ57.1และรับประทานหมูทอด ไก่ทอด ลูกช้ินทอดคิดเป็นร้อยละ54.8 ตามลาดับ มีพฤติกรรมการ

32 บริโภคอาหารที่ปฏิบัติเป็นบางคร้ังมากที่สุดคือบริโภคบะหม่ีก่ึงสาเร็จรูป แทนอาหาร 1 ม้ือคิดเป็น รอ้ ยละ23.8 รองลงมาชอบรับประทานอาหารท่ีมีรสเค็มเป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ61.9 รับประทาน ปลา และเนื้อสตั ว์ไมต่ ดิ มนั คิดเปน็ รอ้ ยละ57.1 สาหรบั พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหารท่ีไม่เคยปฏิบัติเลย มากทส่ี ุดคอื รบั ประทานอาหารน้อยกว่า 3 มอ้ื ตอ่ วันคดิ เปน็ ร้อยละ45.2 ตอนที่ 2 ความรู้ พฤติกรรม เจตคติ และอทิ ธิพลจากสื่อสารมวลชนเกี่ยวกบั การบริโภคอาหาร ประชาชนในเขตภาษเี จริญ 2.1ข้อมลู ทั่วไปของประชาชนในเขตภาษีเจรญิ การวเิ คราะห์ข้อมลู ทัว่ ไปเกย่ี วกับประชาชนในเขตภาษีเจรญิ ของผ้ตู อบแบบสอบถาม จานวน 406 คน ที่อยู่ในเขตภาษีเจริญ จาแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดบั การศกึ ษา อาชพี รายได้ เฉลี่ยตอ่ เดือน ทัศนคติต่อการทาบุญ รายละเอยี ดดงั ตารางท่ี 5 ตารางที่ 5 แสดงจานวนและรอ้ ยละของขอ้ มูลทวั่ ไปเก่ียวกับสถานภาพส่วนบคุ คลของประชาชนใน เขตภาษเี จรญิ จาแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ทศั นคติต่อการทาบญุ (n=406) สถานภาพ จานวน (n = 406) ร้อยละ เพศ ชาย 114 28.1 หญงิ 292 71.9 อายุ ต่ากว่า 19 ปี 12 3.0 20-29 ปี 26 6.4 30-39 ปี 64 15.8 40-49 ปี 75 18.5 50-59 ปี 73 18.0 60 ปีขึน้ ไป 156 38.4 สถานภาพ 81 21.1 โสด 271 66.7 สมรส หย่า/รา้ ง 12 3.0 หม้าย 42 10.3 ระดบั การศึกษา ไม่ได้รบั การศึกษา

สถานภาพ จานวน (n = 406) 33 ประถมศึกษา 19 ร้อยละ มธั ยมศึกษา 224 อนปุ ริญญา/ปวส/ปวท 97 4.6 ปริญญาตรี 14 55.2 สงู กวา่ ปรญิ ญาตรี 48 23.9 4 3.4 อาชีพ 11.8 รบั ราชการ/รัฐวิสาหกจิ 11 1.0 ลกู จ้าง/พนักงานบรษิ ัท 39 คา้ ขาย/ธรุ กิจสว่ นตัว 80 2.7 นักเรียน/นักศึกษา 15 9.6 ลกู จา้ งทัว่ ไป 81 19.7 พอ่ บา้ น/แมบ่ า้ น 140 3.7 วา่ งงาน 30 20.0 อน่ื ๆ เช่น รบั ซักรดี 10 34.5 7.4 รายไดต้ ่อเดือน 252 2.5 ต่ากว่า 10,000 บาท/เดอื น 99 10,000-14,999บาท/เดือน 26 62.1 15,000-19,999 บาท/เดอื น 29 24.4 มากกวา่ 20000 บาท/เดือน ข้นึ ไป 6.4 295 7.2 ทพี่ ักอาศยั 93 บา้ นตนเอง 1 72.7 บ้านเช่า 8 22.9 บา้ นพักข้าราชการ 9 0.2 พกั อาศัยกับบิดามารดา/ญาติ 2.0 พักอาศยั กบั บคุ คลอืน่ 170 2.2 191 ดัชนมี วลกาย 40 41.9 น้อยกว่า 18.5 (ต่ากว่าเกณฑ์) 5 47.0 18.5-24.9 (อยู่ในเกณฑป์ กติ) 9.9 25-29.9 (มากกวา่ เกณฑป์ กติ) 1.2 มากกวา่ 30 (อ้วน)

34 สถานภาพ จานวน (n = 406) รอ้ ยละ โรคประจาตัว 206 50.7 ไมม่ ี 40 9.9 โรคเบาหวาน 80 19.7 โรคความดนั โลหติ สงู 12 3.0 โรคหัวใจ 23 5.7 โรคไขมันในเลอื ดสงู 2 0.5 โรคมะเรง็ 4 1.0 โรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ 39 9.6 โรคกระดูกและข้อ 23 5.7 แหล่งข้อมูลขา่ วสารเก่ยี วกบั อาหารและ 65 16.0 โภชนาการ 51 12.6 226 55.7 1. สถาบันการศึกษา 7 1.7 2. ศนู ย์บริการสาธารณสขุ 11 2.7 3. นติ ยสาร/หนังสอื พิมพ์/แผน่ พับ 17 4.2 4. วิทยุ/โทรทศั น์ 6 1.5 5. อนิ เตอร์เน็ต 6. อาสาสมคั รสาธารณสขุ 7. วิทยชุ มุ ชน/หอกระจายข่าว 8. อื่นๆ เชน่ เพอื่ นบ้าน จากตารางท่ี 5 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่ากลุ่มตัวอย่างประชาชนส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จานวน 292 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 71.9 สว่ นใหญ่มีอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวน 156 คน คิดเป็นร้อย 38.4 ส่วนใหญม่ สี ถานภาพสมรสคู่ จานวน 271 คน คดิ เป็นร้อยละ 66.7 ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาในระดับ ประถมศึกษา จานวน 224 คน คิดเป็นร้อยละ 55.2 ส่วนใหญ่มีอาชีพพ่อบ้านแม่บ้าน จานวน 140 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 34.5 สว่ นใหญม่ ีรายไดต้ อ่ เดือนต่ากว่า 10,000 บาท จานวน 252 คน คิดเป็นร้อย ละ 62.1 ส่วนใหญ่มีบ้านพักอาศัยเป็นของตนเอง จานวน 295 คน คิดเป็นร้อยละ 72.7 ส่วนใหญ่มี ดชั นมี วลกายอยู่ในเกณฑป์ กติ จานวน 191 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 47 ส่วนใหญ่ไมม่ โี รคประจาตวั จานวน 206 คน คิดเป็นร้อยละ50.7 ส่วนใหญ่กลุ่มตัวอย่างได้รับข้อมูลข่าวสารท่ีเกี่ยวกับอาหารและ โภชนาการ จานวน 226 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 55.7

35 2.2 ความรทู้ ัว่ ไปเก่ียวกับการบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจรญิ ตารางท่ี 6 แสดงจานวนและร้อยละของความรทู้ ว่ั ไปเกย่ี วกับการบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขต ภาษีเจริญจาแนกเป็นรายขอ้ ขอ้ คาถาม ตอบถกู ตอบผิด จานวน/ร้อยละ จานวน/ร้อยละ 1. สารอาหารประเภทโปรตนี มปี ระโยชน์ต่อ รา่ งกายโดยตรงคือข้อใด 111(27.3) 195(73.7) 2. อาหารในข้อใดมีอาหารหลกั ครบท้งั 5 หมู่ 221(54.4) 185(45.6) 60(14.8) 364(85.2) 3. ถา้ ตอ้ งการสารอาหารประเภทแคลเซียมควร รับประทานอาหารในข้อใด 160(39.4) 246(60.6) 4. ถา้ ต้องการสารอาหารประเภทแคลเซียม 108(26.6) 298(73.4) ควรรับประทานอาหารในขอ้ ใด 316(77.8) 90(22.2) 5. อาหารชนิดใดเปน็ แหล่งพลงั งานหลักที่ 340(83.7) 66(16.3) คนไทยบริโภคมากท่สี ุด 85(20.9) 321(79.1) 6. สารอาหารที่ให้พลงั งานแก่ร่างกายมากท่สี ดุ คือข้อใด 157(38.7) 249(61.3) 184(45.3) 222(54.7) 7. พฤติกรรมการบรโิ ภคในขอ้ ใดเสีย่ งต่อภาวะโภชนาการ เกนิ 8. หลกั ในการเลอื กรับประทานอาหารขอ้ ใดถกู ตอ้ งที่สุด 9. เพราะเหตุใดเราจึงควรบริโภคอาหารให้ครบ 5 หมู่ 10. ควรเลอื กบรโิ ภคอาหารอย่างไรจงึ จะถูกหลัก โภชนบัญญัติ จากตารางท่ี 6 แสดงความรู้เกี่ยวกับการบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจริญพบว่า ประชาชนมีความรู้ว่าพฤติกรรมการบริโภคในข้อใดเสี่ยงต่อภาวะโภชนาการเกินมากที่สุดคิดเป็นร้อย ละ83.7 รองลงมามีความรู้ว่าสารอาหารที่ให้พลังงานแก่ร่างกายมากที่สุดคือข้อใดคิดเป็นร้อยละ77.8 และมีความรู้ว่าอาหารในข้อใดมีอาหารหลักครบทั้ง 5 หมู่คิดเป็นร้อยละ54.4 ประชาชนไม่รู้ว่าถ้า ต้องการสารอาหารประเภทแคลเซียมควรรับประทานอาหารในข้อใดมากที่สุดคิดเป็นร้อยละ85.2 เมือ่ พิจารณาเปน็ คะแนนแล้วสามารถจาแนกคะแนนความรเู้ ก่ียวกบั การบรโิ ภคอาหารได้ดัง ตารางท่ี 7

36 ตารางที่ 7 แสดงจานวนและร้อยละระดับคะแนนความรเู้ กี่ยวกบั การบริโภคอาหาร ระดบั คะแนนความรเู้ ก่ยี วกับการบริโภคอาหาร จานวน ร้อยละ คะแนนความรดู้ ี (> 8 คะแนน) 95 23.4 คะแนนปานกลาง (6 – 7.9 คะแนน) 262 64.5 คะแนนต่า (<6 คะแนน) 49 12.1 จากตารางท่ี 7 พบว่าส่วนใหญ่มีคะแนนความรู้เก่ียวกับการบริโภคอาหารอยู่ในระดับปาน กลางเป็นผู้ที่ได้คะแนนระหว่าง 6-7.9 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 64.5 รองลงมาอยู่ในระดับดีเป็นผู้ที่ได้ คะแนนมากกว่า8 รอ้ ยละ23.4 และระดบั ต่าเปน็ ผทู้ ไี่ ดค้ ะแนนน้อยกวา่ 60 รอ้ ยละ12.1 ตามลาดับ 2.3 พฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหารของประชาชนในเขตภาษีเจรญิ ตารางที่ 8 จานวนและร้อยละของกลุม่ ตัวอย่าง จาแนกตามความพฤตกิ รรมบริโภคอาหาร (n = 406) Mean ไม่เคย ปฏิบัติ ปฏบิ ตั ิเปน็ ปฏบิ ตั ิ บางครง้ั ประจา พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร SD รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ 1. ทา่ นรบั ประทานอาหารในแต่ละวันครบทัง้ 3 มือ้ 1.5 27 135 244 0.61 6.7 33.3 60.1 2. ทา่ นไม่ได้รับประทานอาหารเชา้ เพราะอยใู่ นเวลา 1.34 48 171 187 เร่งดว่ น 0.68 1.35 11.8 42.1 4 6.1 3. ทา่ นรบั ประทานข้าวเป็นอาหารหลกั สลับกับ 0.61 อาหารประเภทแป้งอื่นๆ เปน็ บางมอ้ื 1.71 31 200 175 0.50 4. ท่านดื่มนา้ สะอาดอยา่ งน้อยวันละ 6-8 แกว้ 1.57 7.6 49.3 43.1 0.55 5. ทา่ นรับประทานผกั และผลไม้ตามฤดูกาลทกุ มือ้ 26 181 197 อาหาร 6.4 44.8 48.8 10 97 299 2.5 23.9 73.6

37 Mean ไม่เคย ปฏิบตั ิ ปฏบิ ัติเปน็ ปฏบิ ัติ บางครง้ั ประจา พฤติกรรมการบริโภคอาหาร SD รอ้ ยละ รอ้ ยละ ร้อยละ 6. ทา่ นรับประทานอาหารเชา้ ขณะเดนิ ทางอยู่ในรถ 0.43 262 111 33 ส่วนตัวหรือรถโดยสาร 0.63 64.5 27.3 8.1 7. ทา่ นรับประทานอาหารฟาสต์ฟดู้ เปน็ อาหารเช้า 1.5 18 150 238 เช่น แฮมเบอร์เกอร์ แซนดว์ ชิ 0.58 4.4 36.9 58.6 8. ท่านรับประทานอาหารประเภทบะหม่ีกึ่งสาเร็จรปู 1.28 24 243 139 / โจ๊กกึง่ สาเรจ็ รูป 0.56 5.9 59.9 34.2 9. ทา่ นทางาน/เรียนจนลมื รบั ประทานอาหาร 1.36 36 184 186 0.64 8.9 45.3 45.8 10. ทา่ นรับประทานอาหารประเภทปิง้ ยา่ ง รมควนั 1.16 39 260 107 0.57 9.6 64.0 26.4 11. ท่านรบั ประทานอาหารทปี่ รงุ เสรจ็ ใหม่ๆ 1.44 27 171 208 ปราศจากการปนเป้อื น 0.61 6.7 42.1 51.2 12. ทา่ นดมื่ นมอยา่ งน้อยวันละ 1 แกว้ 1.19 62 203 141 0.68 15.3 50.0 34.7 13. ท่านรบั ประทานอาหารทะเลอยา่ งน้อยสปั ดาหล์ ะ 1.17 36 265 105 2 ครง้ั 0.56 8.9 65.3 25.9 14. ทา่ นรับประทานอาหารที่มกี ะทเิ ปน็ สว่ นประกอบ 1.00 70 264 72 เช่น แกงกะทิ ขนมหวานใส่น้ากะทิ 0.59 17.2 65.0 17.7

38 Mean ไมเ่ คย ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัตเิ ปน็ ปฏบิ ัติ บางครัง้ ประจา พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร SD ร้อยละ รอ้ ยละ รอ้ ยละ 15. ท่านรับประทานอาหารมอ้ื เย็นหลงั เวลา 20.00 น. 1.17 82 170 154 0.74 20.2 41.9 37.9 16. ทา่ นรบั ประทานอาหารฟาสต์ฟดู้ เชน่ ไก่ทอด พิซ 1.42 35 165 206 ซา่ แฮมเบอรเ์ กอร์ 0.64 8.6 40.6 50.7 17. ท่านชอบรบั ประทานอาหารรสหวานจดั หรอื เคม็ 1.18 85 161 160 จดั 0.75 20.9 39.7 39.4 18. ท่านดื่มชา / กาแฟ 0.92 159 117 130 0.84 39.2 28.8 32.0 19. ท่านดม่ื เครื่องดื่มท่มี ีแอลกอฮอล์ เชน่ สรุ า เบียร์ 1.57 35 102 269 ไวน์ 0.64 8.6 25.1 66.3 20. ทา่ นดมื่ นา้ อดั ลม 1.27 57 182 167 0.69 14.0 44.8 41.1 21. ทา่ นดม่ื เครื่องดื่มชูกาลัง 1.60 25 109 272 0.60 6.2 26.8 67.0 22. ท่านใชน้ ้ามนั พชื แทนน้ามนั จากสตั ว์ 1.67 16 98 292 0.54 3.9 24.1 71.9 23. ทา่ นรบั ประทานอาหารประเภทเนอ้ื สตั ว์ตดิ มนั 1.08 57 257 92 หรอื อาหารที่มีไขมันสงู เชน่ ข้าวขาหมู ขา้ วมนั ไก่ 0.60 14.0 63.3 22.7

39 Mean ไมเ่ คย ปฏบิ ตั ิ ปฏิบัตเิ ป็น ปฏบิ ัติ บางคร้ัง ประจา พฤติกรรมการบรโิ ภคอาหาร SD รอ้ ยละ ร้อยละ ร้อยละ 24. ท่านรบั ประทานขนมหวาน เช่น ฝอยทอง 1.18 44 241 121 ทองหยิบ ทองหยอด เค้ก โดนัท 0.60 10.8 59.4 29.8 25. ทา่ นใสผ่ งชูรสหรือผงปรุงแต่งรสอาหาร ลงใน 0.96 101 220 85 อาหารท่ที ่านปรุง 0.67 24.9 54.2 20.9 26. ทา่ นมักเติมนา้ ปลา / น้าตาล ลงในอาหารที่ 0.90 120 204 82 รับประทาน 0.69 29.6 50.2 20.2 27. ทา่ นใชช้ ้อนกลางในการรับประทานอาหารรว่ มกบั 1.17 67 202 137 ครอบครัวหรอื บคุ คลอื่น 0.68 16.5 49.8 33.7 28. ท่านเลือกซ้อื อาหารโดยพจิ ารณาความสะอาดของ 1.44 34 157 215 รา้ นและผขู้ าย มากกวา่ ความอรอ่ ย 0.64 8.4 38.7 53.0 29. ทา่ นดวู ันหมดอายุก่อนซื้ออาหารพรอ้ มปรุงหรอื 1.58 24 122 260 อาหารสาเร็จรปู 0.60 5.9 30.0 64.0 30. ท่านสงั เกตเคร่ืองหมาย อย. ก่อนซื้อผลติ ภัณฑ์ 1.59 21 124 261 30.5 64.3 อาหารต่างๆ 0.58 5.2 จากตารางท่ี 8 พบว่าประชาชนในเขตภาษีเจริญมีพฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีปฏิบัติเป็น ประจามากที่สุดคอื รบั ประทานผักและผลไมต้ ามฤดูกาลทกุ มอื้ อาหารเป็นคิดเป็นร้อยละ73.6รองลงมา มีการใช้นา้ มันพชื แทนน้ามันจากสัตว์เป็นคิดเป็นร้อยละ71.9 ดื่มเคร่ืองดื่มชูกาลังเป็นประจา คิดเป็น ร้อยละ69.0และดื่มเคร่ืองด่ืมท่ีมีแอลกอฮอล์ เช่น สุรา เบียร์ ไวน์คิดเป็นร้อยละ66.3 ตามลาดับ มี พฤติกรรมการบริโภคอาหารท่ีปฏิบัติเป็นบางครั้งมากที่สุดคือรับประทานอาหารทะเลอย่างน้อย สปั ดาหล์ ะ 2 ครง้ั คดิ เป็นรอ้ ยละ65.3 รองลงมารบั ประทานอาหารท่ีมีกะทิเป็นส่วนประกอบ เช่น แกง

40 กะทิ ขนมหวานใส่นา้ กะทเิ ป็นบางครัง้ คิดเป็นร้อยละ65.0 รับประทานอาหารประเภทเนื้อสัตว์ติดมัน หรอื อาหารท่ีมีไขมันสูง เช่น ข้าวขาหมู ข้าวมันไก่เป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ63.3 สาหรับพฤติกรรม การบรโิ ภคอาหารที่ไม่เคยปฏิบัติเลย มากท่ีสุดคือรับประทานอาหารเช้าขณะเดินทางอยู่ในรถส่วนตัว หรือรถโดยสารร้อยละ64.5 รองลงมาด่ืมชา / กาแฟร้อยละ39.2 และมักเติมน้าปลา / น้าตาล ลงใน อาหารท่รี บั ประทานร้อยละ29.6 เมอ่ื พิจารณาเป็นคะแนนแลว้ สามารถจาแนกคะแนนพฤตกิ รรมบรโิ ภคอาหารของประชาชน ในเขตภาษีเจรญิ ได้ดงั ตารางที่ 9 ตารางท่ี 9 แสดงจานวนและร้อยละระดับคะแนนพฤติกรรมบริโภคอาหารของประชาชนในเขตภาษี เจรญิ ระดบั คะแนนพฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร จานวน รอ้ ยละ ระดับดี 190 46.8 ระดบั ปานกลาง 216 53.2 ระดับควรปรบั ปรุง -- จากตารางที่ 9 พบว่าสว่ นใหญม่ คี ะแนนพฤติกรรมบรโิ ภคอาหารอยู่ในระดับปานกลางเปน็ ผู้ท่ี ได้คะแนนระหวา่ ง 0.67 – 1.33 คะแนน คิดเปน็ ร้อยละ 53.2 รองลงมาอยู่ในระดบั ดเี ป็นผ้ทู ไ่ี ด้ คะแนนระหวา่ ง 0.67 – 1.33 คะแนน ร้อยละ46.8 แตไ่ ม่มีผทู้ ไ่ี ดค้ ะแนนระดับต่า