Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore google_site_NEW

google_site_NEW

Published by Nattarika Promthong, 2021-07-18 10:22:57

Description: google_site_NEW

Keywords: google_site_NEW

Search

Read the Text Version

การจดั การเรียนการสอนโดยใช้แฟม้ สะสมงาน การประเมนิ ผลด้วยแฟ้มผลงาน เป็นวธิ ีการประเมินผลการเรียนการสอนอย่างหนง่ึ ท่ีอาศัยเทคนคิ วธิ ีจากการ รวบรวมผลงานตา่ งๆ ของผูเ้ รียนเขา้ ดว้ ยกัน แล้วตดั สนิ ผล ลงสรุปเกย่ี วกบั ความรูค้ วามสามารถของผเู้ รียนโดยพจิ ารณา จาก พฒั นาการเปลี่ยนแปลง ความพยายาม ความสนใจเจตคติ และการปฏบิ ัติ แลว้ สง่ ผลยอ้ นกลบั ไปสผู่ เู้ รียนและ ผปู้ กครอง เพื่อให้ผเู้ รยี นเขา้ ใจตนเองร้ถู ึงความสามารถ ศกั ยภาพและความก้าวหน้าของตนเอง เปน็ การประเมนิ วิธีหน่ึง ของการประเมนิ ตามสภาพจริง นอกจากนี้ผ้สู อนยังสามารถประเมินผลการสอนไดจ้ ากแฟ้มผลงานของผูเ้ รยี น ความหมายของแฟม้ สะสมงาน แฟม้ ผลงาน (Portfolio) หมายถงึ การนาสาระมาส่คู วามคิด เป็นการรวบรวมผลงานของผู้เรยี นอยา่ งมจี ดุ หมาย ผลงานเหลา่ นส้ี ะทอ้ นถงึ ความพยายาม ความเตบิ โต ความก้าวหนา้ และความสาเร็จของผู้เรยี นในวชิ าหนึ่งหรอื มากกวา่ เพอื่ ชใี้ ห้เห็นวา่ ผ้เู รียนได้ทางานอะไรบ้าง ทาแล้วไดผ้ ลดมี ากน้อยเพียงใด แฟม้ ผลงานทใ่ี ช้ไดผ้ ล คอื แฟม้ ท่ที าให้เหน็ วา่ เจ้าของแฟ้มมีพฒั นาการท้ังทางรา่ งกาย จิตใจ สังคม สติปัญญาไปพรอ้ มกัน และทาใหเ้ จา้ ของแฟม้ ผลงานมีพัฒนาการใน หน้าทคี่ วามรับผดิ ชอบของงานด้วย แฟม้ ผลงานให้ค่าทีส่ ะท้อนความสามารถทุกๆ ด้านของเจ้าของแฟ้มโดยเฉพาะอย่าง ย่งิ สะท้อนความสามารถทางความคิดอยา่ งเปน็ ระบบ สะท้อนความสามารถในการฟงั จบั ประเดน็ คดิ วิเคราะหว์ างแผน ซักถาม อา่ น เขียน จัดเรียงผลงาน ผสมผสานความรคู้ วามคดิ นาเสนอผลโตต้ อบประเมนิ ตนเอง รับฟังคาตชิ มจากผอู้ ่นื แก้ไขปรับปรงุ ตลอดจนปรบั ตัวเองให้อยู่ในโลกแห่งความเป็นจริง ในการรวบรวมงานจะต้องครอบคลุมถงึ การท่ผี ู้เรยี นมี ส่วนร่วมในการคัดเลือกผลงานกาหนดแนวทางการคัดเลือกงาน กาหนดแนวทางการตดั สินผลงาน รวมทงั้ มีหลักฐานท่ี สะท้อนชน้ิ งาน และการสะท้อนตนเองของผู้เรยี นดว้ ย (ทวิ ัตถ์ มณีโชติ, 2549) แฟม้ สะสมงาน หมายถึง ส่ิงทเ่ี กบ็ รวบรวมตวั อยา่ ง ( Samples ) หรอื หลกั ฐาน ( Evideness ) ท่แี สดงถึง ผลสัมฤทธ์ิ ความสามารถ ความพยายาม ความถนัดของบุคคลหรอื ประเด็นทต่ี ้องจดั ทาแฟ้มสะสมงานไว้อย่างเปน็ ระบบ ความสาคญั ของแฟ้มสะสมงาน แฟม้ สะสมงานเปน็ การรวบรวมข้อมลู จาก 1. ตวั อย่างผลงานที่แสดงใหเ้ ห็นถึงกระบวนการ (Process Samples) 2. ตัวอยา่ งผลงานทีเ่ ป็นผลผลิต ( Product Samples) 3. การสังเกตของครู (Teacher Observations ) 4. ข้อมูลทร่ี วบรวมไดจ้ ากการวัด และ ประเมนิ ผลดว้ ยวธิ ีการหลากหลาย 5. ขอ้ มูลท่ีเปน็ ขอ้ เสนอแนะจากผปู้ กครองและผู้ท่เี ก่ยี วข้อง วตั ถปุ ระสงค์ของแฟ้มสะสมงาน ในการจดั ทาแฟ้มสะสมงานมวี ตั ถปุ ระสงค์ 2 ประการ คือ 1. เพือ่ ให้เจา้ ของแฟ้มได้ประเมินตนเองว่า ผลการเรียนรูห้ รืองานท่ีทาเปน็ อย่างไรประสบผลสาเร็จ ในระดับใด มรี ะบบหรอื ไม่ ควรจะปรบั ปรุงแก้ไขหรือไม่อย่างไร 2. เพ่อื ให้ผู้ทเี่ ก่ียวขอ้ งไดป้ ระเมนิ เจ้าของแฟม้ วา่ มคี วามสามารถในการเรียนร้หู รือการปฏบิ ัติงาน เปน็ อย่างไร ประสบความสาเรจ็ ในระดับใด ควรจะได้รับการช่วยเหลอื หรือพัฒนาหรอื ไมอ่ ย่างไร ท่ีมา : http://119.46.166.126/self_all/selfaccess8/m2/503/unit2/3/portfolio.php

2 ประเภทของแฟม้ สะสมผลงาน แฟม้ สะสมผลงานมีหลายประเภท สามารถนาไปใชใ้ นจุดประสงคท์ ี่แตกตา่ งกัน ดงั นี้ (Corcoran & Nicholson, 2004) 1. แฟม้ สะสมผลงานส่วนบุคคล ( Personal Portfolio) เป็นแฟ้มทแ่ี สดงถึงบุคลกิ ภาพส่วนตวั ของนกั เรียนแต่ละ คน ทาให้ครรู ู้จักความสามารถพิเศษ ความสนใจ ความถนัดตามธรรมชาตหิ รอื พรสวรรค์ของนักเรยี น เพื่อประโยชนใ์ น การแนะแนวการศึกษา ภายในแฟม้ ประกอบ ดว้ ยภาพกจิ กรรมต่างๆ นอกโรงเรยี น ท่นี กั เรยี นทาเมื่อมเี วลาวา่ ง เช่น งาน อดเิ รกที่ชอบ ดนตรี กีฬา และงานศิลปะ เป็นต้น 2. แฟ้มสะสมผลงานของโครงการต่างๆ (Project Portfolio) เปน็ แฟ้มทแี่ สดงถงึ ความพยายามในการทางาน ตามโครงการ จนประสบความสาเรจ็ ซง่ึ เป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษารายบุคคล (Independent Study) เช่น แฟม้ สะสม ผลงานโครงการวทิ ยาศาสตร์ ในแฟม้ ประกอบดว้ ยความเป็นมา จุดประสงค์ของโครงการ ขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน วสั ดุ อุปกรณ์ท่ีใช้ และผลงานทเ่ี กิดข้นึ เปน็ ตน้ 3. แฟ้มสะสมงานเชิงวชิ าการ (Academic Portfolio) หรือแฟม้ สะสมผลงานของนักเรยี น(Student Portfolio) เป็นแฟม้ ทแี่ สดงถงึ ความรู้ ความสามารถในการเรยี นรู้ของนักเรียนตามหลกั สูตร เพอื่ ใช้เปน็ หลกั ฐานในการประเมินผล การเรียน ซึง่ สามารถจัดทาในรูปแบบตา่ งๆ กัน ดังน้ี 3.1 แฟม้ สะสมผลงานของนกั เรยี นเป็นรายบคุ คล โดยจดั ทาเป็นรายวชิ า ใน 1 ภาคเรียนหรือ 1 ปี การศึกษา หรอื อาจจดั ทาแบบบรู ณาการรวมหลายวชิ า หรือแบบหลายชัน้ เรยี น โดยให้ผเู้ รยี นเลอื กผลงานตวั อย่างทดี่ ีเด่น ของแตล่ ะวิชามาเกบ็ สะสมไว้ เพอ่ื ใหเ้ หน็ พฒั นาการของนักเรยี นในช่วงเวลาดงั กลา่ ว 3.2 แฟม้ สะสมผลงานของช้นั เรยี น เพอ่ื เก็บสะสมผลงานท่ีแสดงถงึ ภาพรวมของความสาเร็จในการเรียน หรอื การทากจิ กรรมของนกั เรียนทงั้ หอ้ ง เชน่ กิจกรรมการประกวดของห้องเรยี น กิจกรรมกฬี า และการแสดงละครของ ห้อง เป็นตน้ 3.3 แฟม้ สะสมผลงานของโรงเรยี น เพอ่ื เก็บสะสมผลงานท่ีแสดงถึงความสาเร็จในด้านการศกึ ษาของ โรงเรียน เชน่ กิจกรรมการประกวดของโรงเรยี น รางวัลตา่ งๆ ทน่ี ักเรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน และโรงเรยี นได้รบั เป็นตน้ 4. แฟ้มสะสมผลงานเชงิ วิชาชีพ (Professional Portfolio) เป็นแฟ้มทแี่ สดงถึงความรู้ความสามารถของบุคคล เพ่อื ใชใ้ นการสมัครเขา้ เรยี นต่อในระดบั อุดมศึกษา หรอื สมัครเข้าทางาน หรอื ขอเล่ือนตาแหน่งให้สงู ขึ้น เชน่ 4.1 แฟม้ สะสมผลงานของนักเรียนเพื่อการเรียนตอ่ หรอื สมัครงาน แฟม้ นี้จะแสดงถึงความสามารถใน ด้านการเรยี นและการทากจิ กรรมพเิ ศษของนักเรยี น เพ่ือใชเ้ ป็นหลักฐานประกอบการพิจารณาเข้าเรียนต่อหรอื ทางาน รว่ มกับการสอบหรือการสัมภาษณ์ 4.2 แฟม้ สะสมผลงานด้านประสบการณ์ในการสอนของนักศึกษาฝึกหดั ครู หรอื ของ ครูผ้สู อน (Teacher Portfolio) แฟ้มนจ้ี ะแสดงถึงความสามารถในการสอน เพื่อใชเ้ ปน็ หลักฐานในการใหเ้ กรดของนักศึกษาฝึกสอน หรอื รบั สมัครเข้าเปน็ ครปู ระจาการแตส่ าหรับครูผสู้ อน แฟ้มน้จี ะใช้เปน็ หลักฐานในการพิจารณาเลือ่ นข้นั เงินเดือนเลื่อนตาแหนง่ หรือย้ายโรงเรียน ภายในแฟ้มประกอบด้วย แผนการสอน ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน และผลงานของนักเรยี น การอบรม สัมมนาเพื่อพัฒนาตนเอง แบบประเมนิ ผลการสอนโดยตนเอง นกั เรยี น ศึกษานเิ ทศก์ ผบู้ รหิ าร และผปู้ กครองเป็นตน้ 4.3 แฟ้มสะสมผลงานของผู้บรหิ าร แฟม้ สะสมงานนจ้ี ะเก็บรวบรวมหลักฐานทีแ่ สดงถึงความสามารถใน การบริหารงานจนประสบความสาเร็จของผู้บรหิ าร

3 4.4 แฟ้มสะสมผลงานของพนักงานในองค์กรธุรกิจ นายจา้ งจะใช้แฟม้ สะสมผลงานนเ้ี ปน็ เครอื่ งมอื ในการ พัฒนาคนงาน และประเมนิ ผลการทางาน เพ่อื เลื่อนตาแหนง่ หรือข้ันเงินเดอื นใหส้ ูงข้นึ โครงสร้างแฟม้ สะสมงาน จากการศึกษาโครงสรา้ งแฟ้มสะสมงานของประเทศอเมรกิ า (Burkey, Fogarty, &Belgrad, 1994) แบง่ ออกเป็น 3 ส่วน ดังน้ี สว่ นที่ 1 เปน็ สว่ นนา ประกอบดว้ ย ประวตั ผิ ูท้ า รายการจุดประสงค์การเรยี นรู้ แผนการศึกษาสว่ นบคุ คล สารบัญชิ้นงาน ตัวบ่งช้ปี ระกอบงาน รายการการเอาออกและนาเขา้ ชนิ้ งาน สว่ นที่ 2 เปน็ ที่เก็บช้ินงานท่สี ร้างขนึ้ จากการเรยี นการสอน การสะท้อนความคดิ เหน็ แสดงประวตั ขิ องงาน จานวนหนังสอื ทอี่ ่าน เวลาที่ใช้ทางาน คะแนนจากการทดสอบ แบบสารวจรายการของครู บันทึกความคิดเหน็ เกีย่ วกบั งาน หรอื วชิ าของนักเรียน ส่วนท่ี 3 เปน็ ท่เี กบ็ เกณฑ์การตดั สินแฟม้ งาน และข้อมูลการประเมนิ ของครู เพ่ือน และผู้ปกครอง รวมท้ัง หลกั ฐานการประเมินตนเองของนักเรยี น แผนการและแนวคิดในการประชุมแฟ้มผลงาน ส่วนระเบียนสัมฤทธ์ิผล (Record of achievement) กระบวนการประเมนิ โดยใชแ้ ฟม้ สะสมงาน Portfolio Assessment จะเปน็ กระบวนการประเมนิ ความรู้ ความสามารถ และทักษะของเจ้าของแฟม้ สะสม งาน โดยพิจารณาจากผลงาน หรือหลักฐานในแฟ้มสะสมงาน ไดม้ ผี เู้ สนอแนะกระบวนการประเมินโดยใชแ้ ฟ้มสะสมงาน ไว้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่กับความพร้อมของผู้จดั ทาแฟ้มสะสมงาน แตร่ ูปแบบค่อนขา้ งชัดเจน มขี ัน้ ตอน ดังนี้ (Burkey, Fogarty, & Belgrad, 1994) 1. กาหนดจุดประสงค์และประเภทของแฟ้มสะสมงาน (Project the Purposes andTypes of Portfolios) 2. รวบรวมผลงานและจดั ระบบแฟม้ (Collect and Organize Artifacts Over Time) 3. คัดเลอื กผลงาน (Select Key Artifacts Base on Criteria) 4. สร้างสรรค์ผลงาน/แฟ้มให้มเี อกลักษณ์ของตนเอง (Interject Personality ThroughSignature Pieces) 5. แสดงความคิดเห็นและความรู้สึกตอ่ ผลงาน (Reflect Metacognitively on EachItem) 6. ตรวจสอบความสามารถของตนเอง (Inspect to Self Access and Align to Goals) 7. ทาให้สมบูรณแ์ ละประเมิน (Perfect and Evaluate) 8. แลกเปลยี่ นประสบการณก์ ับผูอ้ ่นื (Connect and Conference With Others) 9. ปรับเปลี่ยนผลงาน (Inject and Eject Artifacts Continually to Update) 10. ประชาสัมพนั ธผ์ ลงานของนักเรยี น (Respect Accomplishments and Show WithPride)

4 ประโยชนข์ องแฟม้ สะสมงาน แฟม้ สะสมผลงานมปี ระโยชนใ์ นการแสดงหรือนาเสนอผลงานของนักเรียน ซ่งึ มลี ักษณะทสี่ อดคล้องกับ ความสามารถทแี่ ท้จรงิ ของนักเรยี น แฟม้ สะสมงานจึงสามารถใช้ประโยชนห์ ลายประการคอื 1.4.1 สง่ เสริมการเรียนรู้ตามศักยภาพเป็นรายบุคคล ในการทาแฟ้มสะสมงานน้ันควรให้นกั เรียนจดั ทาแฟ้มด้วย ตนเอง ดังน้นั แต่ละคนจึงสามารถเลอื กทางานแตล่ ะชิน้ ได้อยา่ งมอี ิสระตามความสนใจและความสามารถของนักเรยี นและ นกั เรยี นสามารถนาผลงานมาปรับเปล่ียนให้ดีย่ิงข้ึนได้การทาแฟ้มสะสมงานจึงเหมาะสาหรบั ส่งเสริมการเรียนรเู้ ป็น รายบุคคล 1.4.2 สะท้อนความสามารถรวมออกมาเป็นผลงาน และการสะท้อนใหเ้ ห็นถึงวธิ ีการทางานของนักเรียน ได้ทุกขั้นตอน 1.4.3 คน้ หาจดุ เด่นของนักเรยี น แบบทดสอบ สว่ นมากใชใ้ นการสอบเพอื่ หาข้อผิดพลาด ทาให้นักเรยี นไม่ชอบ การสอบและพยายามหลบเลี่ยงการสอบหรือประพฤติทุจริตในการสอบ แฟม้ สะสมผลงานจะทาให้ครสู ามารถหาจดุ เด่น ของนักเรยี นมากกว่าจุดด้อย และนกั เรียนสามารถเลอื กตัดสินใจว่าจะใชง้ านชนิ้ ทดี่ ีทีส่ ุดของตนในการประเมิน ดังนัน้ นกั เรียนจึงมคี วามสขุ ในการทาแฟ้มสะสมงานของตนมากกว่าการสอบ 1.4.4 ใชใ้ นการแจง้ ผลสาเรจ็ ของนักเรยี นใหบ้ คุ คลที่เก่ียวข้องทราบ รวมทั้งสามารถนาไปใชใ้ นการอภิปราย ความกา้ วหนา้ ของนักเรยี นกับผูป้ กครองได้ การประเมนิ แฟ้มสะสมงานจะมลี ักษณะเปดิ เผยตรงไปตรงมา ซงึ่ จะเห็นว่ามี ความแตกต่างจากการใช้แบบทดสอบท่ีครตู ้องปกปิดเป็นความลบั 1.4.5 ใช้ประเมนิ พัฒนาการของนกั เรียน เน่อื งจากการเก็บสะสมผลงานน้นั งานทุกชิน้ ที่พจิ ารณาคัดเลือกไวแ้ ล้ว ตอ้ งเขียนช่ือ วนั เดอื น ปี ไว้ เพอ่ื ประเมินพฒั นาการของนกั เรียนได้ ทีม่ า : http://www.sutir.sut.ac.th:8080/sutir/bitstream/123456789/4663/1/Fulltext.pdf Digital Portfolio/E-Portfolio ระบบที่ชว่ ยในการสร้างและเผยแพรแ่ ฟ้มผลงานของตนเอง ในรูปแบบของระบบออนไลนผ์ ่านทางอินเทอรเ์ นต็ โดย Digital Portfolio /E-Portfolio จะเปน็ การเกบ็ รวบรวมผลงานของตนเอง ปรชั ญา เป้าหมาย ทกั ษะ ความสามารถ ผลงานของเจ้าของผ่านสอ่ื อิเลก็ ทรอนิกส์ ข้อมลู และเน้ือหาสาระมาจากแฟ้มผลงาน เพ่ือเก็บไว้เป็นข้อมูลสาหรับการ นาเสนอ ตรวจสอบการเรยี นรู้หรือการทางานวา่ ประสบความสาเรจ็ ในระดับใดโดยใช้เทคนคิ การนาเสนอในรปู แบบ เว็บไซต์ ลกั ษณะแฟม้ สะสมงานดจิ ติ อล (Digital Portfolio) แฟ้มสะสมงาน (Portfolio) สามารถแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. เครื่องมือสาหรับการเรยี นรู้ โดยใชบ้ นั ทกึ สิ่งทีเ่ รียนรู้ การแสดงความคิดเห็นที่เกิดจากการทางาน การคน้ คว้าข้อมลู 2. เครอื่ งมือที่สาหรบั แสดงสมรรถนะ แสดงความเช่ยี วชาญ ความรู้ ทศั นะและทศั นคติของเจา้ ของแฟ้มในงานของตน 3. เครื่องมือสาหรับการประเมินทง้ั การประเมนิ ความก้าวหนา้ ประเมนิ กระบวนการทางานและการประเมินผลลพั ธ์ ประเมินผลงานทีเ่ ปน็ ผลจากการดาเนินงาน การประเมนิ จะตอ้ งแสดงใหเ้ หน็ ทงั้ จุดออ่ นและจุดแข็ง สาหรับวางแผนการ พฒั นาสมรรถนะในอนาคตล

5 องค์ประกอบของแฟม้ สะสมงานอิเล็กทรอนิกส/์ ดจิ ิตอล การสรา้ งแฟ้มสะสมงานอเิ ล็กทรอนิกส์ ประกอบด้วย 6 ส่วน ดงั น้ี 1. จดุ มงุ่ หมายของแฟม้ สะสมงานอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2. เนอ้ื หาของแฟ้มสะสมงานอเิ ล็กทรอนิกส์ 3. การพัฒนาแฟม้ สะสมงานอิเลก็ ทรอนิกส์ 4. การประเมนิ ตนเอง 5. ระบบการจดั การอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 6. การประเมินผลแฟม้ สะสมงานเลก็ ทรอนิกส์ การประยุกต์ใช้กบั การศกึ ษา นกั เรยี น - ตโู้ ชว์ความสาเรจ็ บนหนา้ เวบ็ - รวบรวมและสะท้อนใหเ้ ห็นถึงการทางานของนักเรยี น - แลกเปลี่ยนประสบการณก์ ารศกึ ษาและการทางานของนกั เรียน - สรา้ งงานแบบไดนามกิ - สรา้ งแผนของการศกึ ษาออนไลนแ์ ละการทางานกบั ทป่ี รึกษาของนักเรียน อาจารยผ์ ูส้ อน - สรา้ งโครงการ/ผลงานที่มเี กณฑ์การใหค้ ะแนน - สรา้ งโครงการรว่ มกับอาจารยผ์ ้สู อนรายวิชาอน่ื - สามารถทางานออนไลน์ ให้นักศกึ ษาความเหน็ และให้คะแนนได้ - สร้างแฟม้ ผลงานที่ส่งเสรมิ การเรียนการสอนสาหรบั ผูเ้ รยี น - ตู้โชว์ความสาเร็จ สถาบนั การศึกษา - เก็บงานของนักเรียน เพือ่ การประเมนิ ผล - เลือกทางานแบบสุ่มและไม่ระบุชอื่ - ใชเ้ กณฑก์ ารใหค้ ะแนนตามผลงานทปี่ รากฏ - สร้างรายงานผลการจดั การเรยี นการสอนไดส้ ะดวกและง่ายยิง่ ข้ึน - ส่งออกขอ้ มลู ดบิ สาหรับการวเิ คราะหต์ อ่ ไป ท่มี า : http://www.trueplookpanya.com/blog/content/56333/-teaartedu-teaart-

6 What Is a Digital Portfolio? By Nina Makofsky Digital portfolios provide a distillation of an individual's best work, typically generated over a year or a longer period of time. Most digital portfolios contain a broad range of information to properly capture the person's versatility. Information in digital portfolios may also be in a variety of media, such as text, photographs, illustrations, diagrams, web material, audio files, spreadsheets and PowerPoint presentations. Types There are several types of digital portfolios. One of the primary uses for digital portfolios is in the realm of education, where the digitized information is used as a means of authentic assessment. These may represent the culmination of a specific project, or they may be a requirement for an undergraduate or graduate degree, containing key information from the student's academic career. Digital portfolios are common tools for professional artists such as photographers, illustrators and graphic artists, complementing the traditional portfolio used to market their work. Considerations In the educational realm, digital portfolios are not always restricted to final projects and polished drafts. In fact, some educators require that students include research notes and rough drafts in a digital portfolio as a means of chronicling the entire process of a project. Other educators want student or teacher evaluations integrated into the portfolio as well, which demands that the instructor enter information into the portfolio or that the student accurately represent a teacher's evaluation. Potential There are several markers of what makes an exemplary digital portfolio. For artists, portfolios should represent top work and any key clients or publications. In education, digital portfolios should accurately represent a student's interests, incorporate active learning, be accessible to the school community, comprise a showcase of student work and integrate student reflection on the process. Benefits A key benefit of digital portfolios is their versatility. It is easy to update them and keep them current. Users can organize and tailor information toward a specific use, be it to demonstrate mastery of a

7 certain subject or to apply for an internship or a job. Digital portfolios can be a visually interesting medium for presenting disparate information. Technology Requirements There are various software programs to support the creating of digital portfolios. Among the popular choices are Microsoft Word, Microsoft PowerPoint, Macromedia Dreamweaver, Macromedia Flash, Hyperstudio and Adobe Acrobat. Other equipment requirements may be digital cameras, scanners and a CD burner. Warning Without proper vision and editing, digital portfolios can be a hodgepodge of files and documents that is difficult to navigate. There are a couple strategies that can improve a digital portfolio's readability. You can plan the portfolio by creating a mock-up of the desired final product. You can also write a table of contents or index for sorting disparate documents. Some people include a vision statement to help define the purpose of the digital portfolio. References https://classroom.synonym.com/digital-portfolio-2449.html

8 โครงสรา้ งแฟ้มสะสมงานเชงิ วิชาการดจิ ติ อล (Digital Academic Portfolio/Digital Student Portfolio ) ลาดับ หวั ขอ้ รายละเอยี ด 1. ปก Home Page ควรออกแบบให้สะดดุ ตุ า แบบเห็นปบุ๊ แล้วคนหยิบขึน้ มาอ่านเลย ใส่รปู ตัวเอง 2. ประวัติสว่ นตวั ลงไป present ตัวเองเต็มท่ี เข้าใจง่าย สรุปเน้ือหา และ มีรายละเอียด ครบถว้ นคอื ของใคร ชนั้ อะไร เรยี นที่ไหน เม่อื ไร อยา่ งไร เหตใุ ด ฯลฯ (แต่ 3. ประวัติทางการศึกษา ตอ้ งเน้นส่วนที่เป็นตัวของเราที่สดุ ทาออกมาใหเ้ ป็นตวั ของตัวเอง) 4. รางวัลและผลงานทีไ่ ด้รบั นาเสนอตวั เองเต็มที่ ประวตั ิทางดา้ นสถานศึกษา แนะนาให้ทาเปน็ 2 ชุด คอื ส่วนทเี่ ป็นภาษาไทย รวมไปถงึ ข้อมูลทเี่ ป็น personal data และ 5. รางวลั และผลงานที่ประทับใจ ส่วนท่ีเปน็ ภาษาองั กฤษ เพอื่ แสดงความสามารถของตนให้แฟม้ ดูนา่ เชื่อถือ 6. กิจกรรมที่ทา ให้เรียงลาดบั จากการศึกษาท่ีน้อยสดุ จนกระทัง่ ปัจจุบันและผล กิจกรรมในโรงเรียน สรปุ ของผลการเรียนท่ไี ด้ครัง้ ล่าสดุ ควรเน้นเป็นส่วนทา้ ยที่เหน็ เด่น กิจกรรมนอกโรงเรยี น ชัดท่ีสุด (อาจมีเอกสารรับรองผลการเรยี นแนบมาด้วย) 7. ผลงาน เขียนในลกั ษณะเรียงลาดบั การได้รับ จากปี พ.ศ.(ในส่วนนไ้ี มต่ อ้ ง แยกเป็นแต่ละด้าน ใส่เกียรตบิ ัตรลงไป เพราะอาจทาให้แฟ้มดูไมม่ จี ดุ เด่น เพราะมนั ด้านวชิ าการ เดน่ หมด ควรไปเนน้ ขอ้ ต่อไป) ด้านพฒั นาชุมชนและสงั คม ด้านศิลปะและวฒั นธรรม เปน็ ผลงานหรือรางวลั ที่ไดร้ ับ และเกิดความภาคภมู ิแบบสุดๆ ดา้ นความเป็นผนู้ า รางวัลแบบน้แี หละทเ่ี ปน็ รางวลั แห่งชวี ิตขา้ พเจ้า (ควรใส่หลักฐาน ดา้ นกีฬา ลงไปด้วยอาจมีรูปถ่ายประกอบจะดีมาก) 8. ความสามารถพเิ ศษ เชน่ เป็นประธานนักเรียน กิจกรรมในชมรม หรืออย่างอนื่ ใส่เพ่ือ ให้ร้วู า่ เรามปี ระสบการณจ์ ากการทางาน หรอื ตรงสว่ นนจ้ี ะใช้เป็น งานพเิ ศษท่ีกาลงั ทาก็ได้ หากเรียนไปดว้ ยทางานไปดว้ ยจะทาให้ ผลงานมคี ุณค่ามากขน้ึ คนอ่านจะเห็นคุณคา่ ของเราตรงนี้ คือ งานหรือรายงานท่ีคิดวา่ ภาคภูมิใจมากท่ีสุดจากการเรียนทีผ่ า่ นมา เชน่ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ รายงาน การวจิ ัยตา่ งๆ ผลงานด้านต่างๆทีไ่ ดร้ ับ คาแนะนา ให้จดั ใบประกาศนียบตั รปีปัจจุบันขึ้นก่อน แลว้ ตามดว้ ยรูปภาพท่อี า้ งองิ ในแต่ ละดา้ นหากมีหนงั สือคาสั่งที่ไดร้ บั จากโรงเรยี นในแตล่ ะใบประกาศนยี บัตร ให้ นามาอา้ งองิ ดว้ ยหากไมม่ รี ปู เยอะพอที่จะแยกเป็นด้านได้ ให้เพิ่มสว่ นที่เป็น รวมรปู ภาพกิจกรรม ควรโชว์ในความสามารถพเิ ศษท่คี นท่วั ไปมีอยูเ่ ป็นสว่ นนอ้ ยท่ี สามารถทาได้ หรอื เป็นความสามารถพิเศษท่สี ามารถสอดคล้องกับ คณะ ท่ีเราตอ้ งการศกึ ษาต่อ หรือถา้ ไม่มี กเ็ ปน็ ความสามารถพิเศษ ทัว่ ๆ ไป เช่น ร้องเพลง เล่นดนตรี หรอื กีฬา ฯลฯในแต่ละหวั ข้อ ถ้าหากมีการแสดงรูปถา่ ยทเี่ กี่ยวข้องดว้ ยจะดี ทมี่ า : https://www.slideshare.net/tanchanokpps1/portfolio-36776649

9 โครงสรา้ งแฟม้ สะสมงานเชิงวชิ าชพี ดิจติ อล (Digital Professional Portfolio/Digital Teacher Portfolio) ลาดับ หัวขอ้ 1. ขอ้ มูลสว่ นบุคคล 2. การมอบหมายงานสอน(ตารางสอน) 3. ชวั่ โมงสอนตามตารางสอน 4. งานสนบั สนนุ การจดั การเรยี นรู้ 5. งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ 6. การพฒั นาตนเอง 7. ชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาชพี (PLC) 8. ผลการประเมินการปฏิบตั งิ าน

10 โครงสร้างแฟ้มสะสมงานดิจติ อลส่วนบุคคล (Digital Personal Portfolio) ตัวอยา่ งที่ 1 ลาดับ หัวขอ้ 1. ABOUT ME 2. CV /RUSUME 3. PROJECTS 4. PHOTOGRAPHY 5. SPORTS 6. CONTACT ME 7. Professional Experience ท่มี า : https://mattwyatt.org/ ตัวอย่างท่ี 2 ท่ีมา: https://sites.google.com/site/vecteachereport/

New Google Site New Google Site เป็นเครือ่ งมือในการพฒั นาหรอื ใช้ในการสรา้ งแฟ้มสะสมงานดิจิตอลในรูปของ Web folio ท่ที าได้งา่ ยสะดวกและรวดเรว็ โดยที่ไมต่ อ้ งรู้เรื่องเก่ยี วกบั Programming ซง่ึ ให้บรกิ ารฟรี ปรับแต่งรูปแบบข้อมลู ไดอ้ ย่าง อิสระ สามารถรวบรวมข้อมูลไดห้ ลายรูปแบบไว้ในที่เดยี วกัน การแก้ไขข้อมูลสามารถกาหนดใหแ้ ก้ไขได้หลายคนโดยการ กาหนดสทิ ธห์ รือแบ่งปันการเขา้ ถึง ในที่นจ้ี ะเปน็ การสรา้ งเวบ็ ไซตใ์ นรูปแบบของแฟ้มสะสมงานประเภทต่าง ๆ ดว้ ย New Google Site ส่งิ ทด่ี าเนนิ การไดใ้ น New Google Site 1. Google sites สามารถรวมเอกสาร งานนาเสนอ สเปรดชตี วดิ โี อ ภาพสไลด์ เพอื่ ช่วยในทางานอยา่ งเปน็ ระเบียบ 2. มีเทมเพลตให้เลอื กหลากหลาย 3. สามารถเข้าถึงไดท้ ุกท่ที ี่มีอินเทอรเ์ นต 4. ทางานไดห้ ลายระบบปฏิบัตกิ าร เช่นทางานไดห้ ลายระบบปฏบิ ัตกิ าร เชน่ Window, Mac, Linux โดยการทางานผา่ นเบราวเ์ ซอร์ต่างๆ 5. ระบบมคี วามรกั ษาความปลอดภยั ท่ดี ี โดยผ้ดู แู ลระบบสามารถจัดการสทิ ธใิ นการแบง่ ปันไซต์ได้ 6.กาหนดรูปลักษณข์ องเว็บไซต์ได้ 7.สรา้ งเพจย่อยเพื่อให้เนื้อหานา่ สนใจ 8.กาหนดเวบ็ ไซต์เป็นส่วนตัวหรือสาธารณะ 9.Free Account ไว้ที่ 100 MB 10.พื้นที่จดั เกบ็ 10 Gb 11.ขนาดไฟลส์ ูงสุด 10 MB 12.จานวนหน้าเว็บเพจไม่จากดั การใช้งาน Google Site

12 การสร้างแฟ้มสะสมงานดิจติ อล ดว้ ย New Google Site การสรา้ งแฟ้มสะสมงานดิจติ อลด้วย New Google Site New Google Site เปน็ เครอ่ื งมือในการพฒั นาหรือใชใ้ นการสร้างแฟ้มสะสมงานดิจติ อลท่ที าได้งา่ ยสะดวก และรวดเร็ว ไมจ่ าเป็นต้องมีความรเู้ กย่ี วกบั Programming ใหบ้ ริการฟรี ปรบั แต่งรปู แบบขอ้ มลู ไดอ้ ย่างอสิ ระ สามารถ รวบรวมขอ้ มลู ได้หลายรูปแบบไวใ้ นทีเ่ ดยี วกนั การแก้ไขขอ้ มูลสามารถกาหนดให้แก้ไขได้หลายคนโดยการกาหนดสทิ ธ์ หรอื แบง่ ปันการเขา้ ถงึ สามารถกาหนดรปู ลกั ษณ์ของเวบ็ ไซต์ได้ รวมทงั้ สรา้ งเพจย่อยเพื่อให้เน้อื หาน่าสนใจ และกาหนดเว็บไซต์เปน็ ส่วนตัวหรอื สาธารณะได้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือใหผ้ เู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรู้และความเขา้ ใจรูปแบบวิธกี ารเรม่ิ ตน้ สรา้ งแฟ้มสะสมงานดิจติ อล ด้วย New Google Site 2. เพื่อให้ผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถเร่มิ ต้นสรา้ งแฟ้มสะสมงานดจิ ติ อลด้วย New Google Site ได้ท้ังสองแบบ เน้อื หา 1. เรมิ่ ต้นสร้าง Google Site 2. การสร้างเวบ็ ไซตด์ ว้ ย Google Site แบบที่1 3. การสรา้ งเว็บไซตด์ ้วย Google Site แบบที่2

13 การสรา้ งแฟ้มสะสมงานดจิ ติ อล ด้วย New Google Site 1. เริ่มตน้ สร้าง Google Site ขน้ั ตอนที่ 1. พมิ พ์ URL http://www.gmail.com ขั้นตอนท่ี 2 ลงช่ือเขา้ ใช้งาน Gmail คลกิ ใชบ้ ญั ชอี ่ืน โดยกรอก E-mail และ Password จะเขา้ สู่ Mail Box คลิกใชบ้ ญั ชีอน่ื ลงชอื่ เข้าใชก้ รอกE-mail และ Password เขา้ สู่ Mail box และแสดง E-mail ทีท่ าการ Log in

14 2. การสรา้ งเวบ็ ไซตด์ ้วย Google Site (หลงั จาก login Gmail แล้ว) แบบท่ี1 ขนั้ ตอนที่ 1 คลกิ ท่ี Google App ขนั้ ตอนท่ี 2 คลิกที่ Google Drive ขนั้ ตอนท่ี 3 คลกิ ท่ี ใหม่ (NEW) ขนั้ ตอนท่ี 4 คลิกท่ี เพ่ิมเติม และเลอื ก Google Site เลือก Google Site

15 ขน้ั ตอนท่ี 5 จะเขา้ สู่ หนา้ แรกของ Google Site New 3. การสร้างเว็บไซตด์ ้วย Google Site (หลังจาก login Gmail แลว้ ) แบบท่ี2 ขั้นตอนท่ี 1. พิมพ์ URL http://site.google.com/new

16 ขน้ั ตอนท่ี 2. จะเขา้ สู่ Google Sites และแสดง Web Site ทเ่ี คยสรา้ งไว้แลว้ +ข้นั ตอนที่ 3. สรา้ งใหมโ่ ดยการคลกิ ที่ จะแสดงหน้าแรกในการสรา้ งเว็บไซต์ คลกิ ท่ี +

17 ส่วนประกอบหน้าเว็บเพจ 3. 4. 6. 1. 2. 5. 7. 8. 1. ตั้งชอ่ื ไซต์ 2. ตั้งชอ่ื หน้าเว็บเพจ 3. Undo 4. แสดงตัวอยา่ ง 5.แชร์กบั ผู้อื่น 6.เผยแพร่ 7. ส่วนประกอบของเมนปู ระกอบด้วย Inserts, Pages, Theme 8. พน้ื ทใ่ี นการเพ่ิมเนอ้ื หาประเภทต่าง

18 การปรับแต่งหนา้ แรก New Google Sites หน้าแรกของเวบ็ ไซต์หรอื Home Page จะปรากฏหลงั จากเรมิ่ สร้างเวบ็ ไซตใ์ หม่ ขน้ั ตอนแรกจะต้องมีการตั้งช่ือให้ เวบ็ ไซต์สาหรับการเผยแพร่ และตัง้ ชือ่ เว็บไซต์ซ่ึงจะแสดงใน Google Drive รวมทั้งต้ังชื่อเร่ืองเก่ยี วกับเวบ็ ไซต์ที่จะจัดทา ในหน้าแรก (Page Title) พร้อมทั้งเลือกรูปแบบเวบ็ ไซต์ (Theme) กาหนดประเภทสว่ นหวั ของเว็บไซต์( Header Type) ท่ีตอ้ งการ กาหนดรปู ภาพหรือพื้นหลังให้กับสว่ นหวั ของเว็บไซต์ (Background Image) ใส่ข้อความอธิบายถึงรายละเอยี ด หรือหวั ขอ้ เวบ็ ไซต์เพ่ือใหผ้ ูเ้ ข้ามาดเู วบ็ ไซตเ์ ข้าใจเร่ืองราวหรือเนอื้ หาในเว็บไซต์ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อใหผ้ เู้ ขา้ รบั การอบรมมีความรูแ้ ละความเข้าใจการปรบั แตง่ หนา้ แรก New Google Sites (Home Page) 2. เพ่ือใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมสามารถปรบั แตง่ หน้าแรก New Google Sites (Home Page) ได้ 3. เพอ่ื ให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมเผยแพรเ่ ว็บไซตค์ รง้ั แรกได้ 4. เพอื่ ใหผ้ ้เู ขา้ รบั การอบรมสามารถ ทา Shorten URL ได้ (การย่อช่ือเวบ็ ไซต์แบบสั้น) เนือ้ หา 1. สว่ นประกอบหน้าเว็บเพจ 2. การตั้งชอื่ ใหเ้ วบ็ ไซต์ (Site Name) 3. การต้งั ชื่อเรือ่ งเกี่ยวกบั เน้อื หาในเว็บไซต์ท่ีจะจัดทา (Home Page Title) 4. การเลือกรปู แบบเวบ็ ไซต์ (Theme) 5. การกาหนดประเภทส่วนหวั ของเว็บไซต์ ( Header Type) 6. การกาหนดรปู ภาพหรือพน้ื หลงั ใหก้ ับส่วนหวั ของเว็บไซต์ (Background Image) 7. การใส่ข้อความในหนา้ แรกของเว็บไซต์ (Home Page) 8. การเผยแพรเ่ วบ็ ไซต์ครงั้ แรก 9. การทา Shorten URL (การยอ่ ชอื่ เวบ็ ไซตแ์ บบส้ัน)

19 สว่ นประกอบหน้าเวบ็ เพจ 3. 4. 6. 1. 2. 5. 7. 8. 1. ตง้ั ชื่อไซต์ 2. ต้ังชอื่ หน้าเว็บเพจ 3. Undo 4. แสดงตัวอย่าง 5.แชร์กับผู้อื่น 6.เผยแพร่ 7. สว่ นประกอบของเมนูประกอบดว้ ย Inserts, Pages, Theme 8. พืน้ ทใี่ นการเพ่มิ เน้ือหาประเภทต่าง

20 การปรับแต่งหน้าแรก New Google Sites (Home Page) 1.การตงั้ ช่ือให้เว็บไซต์ (Site Name) ขั้นตอนท่ี 1. Home Page หนา้ แรกของเวบ็ ไซต์จะแสดงหลงั จากไดส้ ร้าง New Google Sites จะปรากฏหนา้ จอดงั ภาพ ให้คลกิ ท่ี ไซต์ไม่มชี ่ือ ขนั้ ตอนท่ี 2. พมิ พช์ ่ือเวบ็ ไซต์ Academic Portfolio จะแสดงช่ือเวบ็ ไซต์ดังภาพ

21 2. การตั้งชื่อเรื่องเกี่ยวกบั เน้ือหาในเวบ็ ไซตท์ จี่ ะจัดทา (Your Page Title) ขนั้ ตอนที่ 1. คลิกที่ ชอ่ื ของหนา้ ขน้ั ตอนที่ 2. พมิ พ์ “แฟม้ สะสมงานเชงิ วิชาการ Academic Protfolio” ขนั้ ตอนที่ 3 . คลิกที่ ชื่อ จะปรากฏขนาดข้อความ ใหก้ าหนด ขน้ั ตอนท่ี 4 . คลิกที่ ขนาดเป็นส่วนหัว ขั้นตอนท่ี 5 . จะปรากฏขนาดข้อความใหก้ าหนดตามขนาดที่ต้องการ ในทนี่ ้เี ลือกเป็น ส่วนหวั Academic Protfolio”

22 3. การเลือกรูปแบบเว็บไซต์ (Theme) ขั้นตอนท่ี 1. คลิกท่ี ธมี ขัน้ ตอนที่ 2. จะแสดง ธมี ประเภทตา่ ง ๆ ให้เลอื ก เลือกธีมท่ีต้องการ จะเปล่ยี นรูปแบบดังภาพ ตวั อยา่ งที่ 1 ธมี Vision ตวั อย่างท่ี 2 ธีม นกั การทตู

23 4. การกาหนดประเภทสว่ นหวั ของเว็บไซต์ (Header Type) ข้นั ตอนท่ี 1. คลิกที่ ประเภทส่วนหัว ข้นั ตอนท่ี 2 จะมีขนาดของสว่ นหัว ขนาดต่าง ๆ ให้เลือก : เลือกแบนเนอรข์ นาดใหญ่ ขน้ั ตอนท่ี 3 จะไดส้ ่วนหวั เป็นแบนเนอร์ขนาดใหญต่ ามที่เลือก

24 5. การกาหนดรูปภาพหรอื พ้ืนหลังใหก้ บั สว่ นหัวของเว็บไซต์ (Background Image) ขั้นตอนท่ี 1. คลิกท่ี เปลย่ี นรูปภาพ 1.คลิกที่ เปล่ยี นรูปภาพ ขน้ั ตอนท่ี 2 จะแสดงเมนูให้เปลี่ยนรปู ภาพโดยการ อัปโหลดภาพจะเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ และ เลอื กรูปภาพที่มใี หเ้ ลือกใชไ้ ด้ หรอื จาก Google Drive และสามารถค้นหาเพื่อเติมไดจ้ าก google 2 .คลิกเลือกรูปแบบในการเปลยี่ นภาพ

25 ขั้นตอนที่ 3. เลอื กอัปโหลด จะแสดงหน้าต่างใหเ้ ลือกรูปภาพจากเครือ่ งคอมพิวเตอร์ เลือกรูปภาพจากโฟลเดอรท์ ี่เกบ็ รปู ภาพ คลกิ Open เลือกรปู ภาพทต่ี อ้ งการ คลิก Open ขนั้ ตอนที่ 4. จะแสดงรปู ภาพที่เลือกเปน็ พื้นหลงั ของ Header ให้คลิกที่ ปรบั เพ่ือให้อ่านได้ง่าย ถ้ารูปภาพไมช่ ดั เจน คลิกที่ ปรับเพ่ือให้อ่านได้ง่าย ง่าย ขั้นตอนที่ 5. เปลยี่ นรูปภาพ โดยการคลกิ ที่ เลือกรูปภาพ คลิกที่ เลือกรูปภาพเพือ่ เปล่ียนภาพ ง่าย

26 ขั้นตอนที่ 6. เลอื กรูปได้จากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ประกอบดว้ ย แกลเลอรี ตาม URL คน้ หา อลั บมั้ ของคณุ Google Drive ขัน้ ตอนท่ี 7. เลือกรปู จาก แกลเลอรี โดยเลือกรูปทต่ี ้องการ และ คลกิ เลอื ก จะไดร้ ปู ทเ่ี ลือกเปน็ พ้ืนหลังของ Header

27 6. การใส่ขอ้ ความในหน้าแรกของเวบ็ ไซต์ (Home Page) ขั้นตอนที่ 1. ดับเบลิ คลกิ ตาแหนง่ ในบริเวณเว็บเพจที่ต้องการพิมพ์ข้อความจะแสดงเมนดู ังรปู ดบั เบล้ิ คลกิ และ เลือกข้อความ งา่ ย ขน้ั ตอนที่ 2. คลิกที่ข้อความจะแสดงตาแหนง่ ท่ีสามารถพิมพข์ ้อความได้ ขน้ั ตอนที่ 3 พมิ พข์ ้อความ “ยินดตี อ้ นรับสู่ แฟ้มสะสมงานทางวชิ าการ นายโชคดี มสี ขุ ”

28 ข้นั ตอนท่ี 4. กาหนดขนาดตวั อกั ษรโดยคลิกท่ี รูปแบบตวั อักษร ข้ันตอนท่ี 5 . กาหนดขนาดตัวอกั ษรได้ 5 รูปแบบ ประกอบดว้ ย ข้อความปกติ ชื่อ สว่ นหวั หวั ขอ้ ย่อย เล็ก

29 7.การเผยแพรเ่ ว็บไซต์คร้ังแรก ขั้นตอน 1. คลกิ ที่เผยแพร่ 2.พิมพ์ทอ่ี ยเู่ ว็บ 3.คลิกทเี่ ผยแพร่

30 8. การแสดงตวั อย่างหน้าเว็บเพจ 1.คลิกที่ 2.สามารถเลือกรปู แบบในการแสดงผลได้หลายโหมดประกอบด้วย Phone Tablet Large screen คลิก ปดิ เมื่อตอ้ งการออกจากโหมดแสดงตัวอยา่ ง

31 8. การทา Shorten URL ดว้ ย gg.gg 1. พมิ พ์ http://gg.gg 2. จะแสดงหนา้ จอดังรูป 3.เปิดหนา้ เว็บเพจหน้าแรก คลิกทล่ี กู ศรเขา้ ไปในการตั้งคา่ การเผยแพร่ คลิกตั้งค่าการเผยแพร่ 4. คดั ลอกท่ีอยู่ของเว็บ คดั ลอกโดยเลือกท่ีอย่เู วบ็ ท้งั หมด Ctrl C

32 5. วาง URL และคลกิ ที่ Customize link http://gg.gg/ กาหนดชือ่ ทีต่ ้องการ และคลิก Shorten URL 2.คลิกท่ี Customize link http://gg.gg/ 1.คลกิ ขวาวาง URL ท่ี copy มา 3.กาหนดชื่อทตี่ ้องการ 4.คลิก Shorten URL 5. จะไดช้ อ่ื URL ตามท่ีกาหนดซึ่งเป็นชื่อแบบสนั้ สามารถจาได้ง่าย 6.คลิก Open Link in New Tab จะได้หนา้ เวบ็ ไซต์ดังรูป ช่อื เวบ็ ไซตแ์ บบส้ันคอื http://gg.gg/acdport

33 การเพิม่ หนา้ เวบ็ เพจและกาหนดรปู แบบเมนู เวบ็ เพจ (Web Page) คือหน้าเอกสารที่ใชใ้ นการเผยแพรข่ ้อมูล หรอื แสดงขอ้ มลู ซึง่ ประกอบด้วยข้อมลู หลาย รูปแบบเชน่ ข้อความ รปู ภาพ ส่อื มัลติมเี ดยี ตา่ ง ๆ และไฟล์ประเภทอ่นื ๆ จานวนหน้าเว็บเพจมากหรือน้อยขน้ึ อยู่กับการ ออกแบบโครงสรา้ งเว็บไซต์ของเนื้อหาแตล่ ะเรื่องท่ตี ้องการจัดทา ปุ่มนาทางหรือเมนูในเว็บไซต์ (Navigation) ในเวบ็ ไซตส์ ่วนมากจะมเี มนูอยู่สว่ นบน (Top Navigation) และเมนู ดา้ นขา้ ง (Side Navigation) ในเมนูจะเปน็ การเช่อื มโยงไปในเวบ็ เพจแต่ละหน้าตามโครงสร้างเวบ็ ไซต์ท่ีกาหนด ซง่ึ จะทาให้เขา้ ถงึ รายละเอียดและเน้อื หาของเวบ็ ไซต์ทีไ่ ด้ทาการเผยแพร่ไว้ วัตถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้ผูเ้ ข้ารบั การอบรมมคี วามรูแ้ ละความเข้าใจการเพิม่ หนา้ เว็บเพจและกาหนดรูปแบบเมนู 2. เพื่อให้ผู้เขา้ รับการอบรมสามารถการเพิ่มหน้าเว็บเพจและกาหนดรปู แบบเมนูได้ เน้อื หา 1. การเพิ่มหนา้ เว็บเพจ (เมนหู ลกั ) 2. การสรา้ งเมนยู ่อย 3. การกาหนดรูปแบบเมนู

34 การเพ่ิมหน้าเวบ็ เพจและกาหนดรปู แบบเมนู 1. การเพิ่มหนา้ เว็บเพจในเวบ็ ไซต์ คลิกหน้าเว็บ ขน้ั ตอนที่ 1. ไปท่เี มนู หนา้ เวบ็ (Pages) งา่ ย ขั้นตอนที่ 2. คลิก + จะแสดงหนา้ ตา่ งใหต้ ั้งชอ่ื หนา้ เว็บเพจใหม่ ตง้ั ชอ่ื หนา้ เวบ็ เพจ ง่าย คลิก + งา่ ย

35 ข้นั ตอนที่ 3. พิมพ์ ประวัตสิ ว่ นตัว และคลิก เสร็จส้ิน พิมพ์ประวตั ิสว่ นตัว ง่าย คลิกเสรจ็ สิ้น ง่าย ขั้นตอนท่ี 4. จะไดห้ น้าเว็บเพจมีชื่อเวบ็ เพจตามทีก่ าหนดและแสดงเมนูอยู่ดา้ นบนและมีช่ือเวบ็ เพจในเมนูหน้าเว็บ ขัน้ ตอนที่ 5. สรา้ งหน้าเว็บหนา้ ทส่ี อง พิมพ์ ประวตั ทิ างการศึกษาและคลิก เสรจ็ สน้ิ จะได้หน้าเว็บเพจหน้าที่สอง ดังรปู

36 2. การสรา้ งเมนยู ่อย ขั้นตอนท่ี 1. สร้างหน้าเวบ็ หน้าทสี่ าม พิมพ์ ผลงาน เลือก เสร็จสน้ิ จะไดห้ นา้ เวบ็ เพจหน้าทส่ี าม ดงั รปู ข้นั ตอนท่ี 2. สร้างเมนยู อ่ ย ในเมนหู ลกั ผลงานประกอบดว้ ย ด้านวิชาการ , ดา้ นกีฬา,ดา้ นพฒั นาชมุ ชน คลิกที่ จุดสามจดุ จะแสดงเมนูให้เลอื ก เพิ่มหนา้ ยอ่ ย คลกิ สรา้ งหน้ายอ่ ยของผลงาน ง่าย

37 ขั้นตอนที่ 3. จะแสดงหนา้ ย่อย ให้พมิ พช์ ื่อหนา้ ย่อย ดา้ นวชิ าการ และคลิก เสร็จสิ้น จะไดเ้ มนูย่อยดังรปู พมิ พเ์ มนูย่อย ง่าย คลกิ เสร็จสน้ิ งา่ ย จะได้เมนูยอ่ ย งา่ ย ขัน้ ตอนท่ี 4. ใหท้ าตามขั้นตอนท่ี 2 อกี คร้งั ให้พิมพช์ ือ่ หน้ายอ่ ย ดา้ นกฬี า และคลิก เสร็จสนิ้ จะได้เมนยู อ่ ยดังรูป

38 3. การกาหนดรูปแบบเมนู ขน้ั ตอนที่ 1. หลงั จากสร้างหน้าเว็บเพจใหม่ และสร้างหนา้ ยอ่ ย จะได้เมนแู สดงอยูด่ ้านบนของเวบ็ ไซต์ดังรปู ปกตเิ มนจู ะแสดงด้านบน ง่าย ขัน้ ตอนท่ี 2. กาหนดรูปแบบเมนูโดยคลกิ ที่ การตัง้ ค่าการนาทาง จะแสดงโหมดการนาทาง 2 แบบดังรูป คลกิ การตั้งค่าการนาทาง งา่ ย จะแสดงโหมดการนาทาง 2 แบบ งา่ ย ขั้นตอนท่ี 3. คลิกการนาทางด้านข้าง จะแสดงโหมดการปิด/เปิด การนาทางด้านขา้ ง คลกิ เปดิ จะแสดงเมนดู ังรูป คลกิ เปิดการนาทางด้านขา้ ง จะไดเ้ มนดู ้านขา้ งดงั รปู

การเพิ่มเนื้อหาในเว็บเพจ (Add Content to Pages) เน้ือหาหรอื ข้อมลู ท่ีสามารถเพิ่มเขา้ สู่หน้าเวบ็ เพจจะประกอบด้วย ข้อความ รปู ภาพ สอ่ื มัลติมเี ดยี ตา่ ง ๆ และไฟล์ ประเภทอนื่ ๆ รวมทั้ง URL เว็บไซต์ ข้อมลู จาก Google Drive และ Google App อ่ืน ๆ สามารถกาหนดขนาด ข้อความและรปู ภาพเพื่อใหเ้ หมาะสมและทาให้เวบ็ เพจหน้าสนใจ วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือให้ผ้เู ขา้ รับการอบรมมคี วามรแู้ ละความเข้าใจการเพมิ่ เนื้อหาประเภทตา่ ง ในหน้าเว็บเพจ 2. เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถการเพิ่มเนอ้ื หาประเภทตา่ งๆ ในหน้าเว็บเพจได้ เนือ้ หา 1. รูปแบบในการเพิ่มเน้อื หา 2. การเพ่มิ ข้อความ 3. การเพ่ิมรูปภาพ 4. การเพ่ิม Embed URL 5. การ Upload 6. การเพ่มิ ขอ้ มูลจาก Google Drive 7. การเพ่ิมลงิ กห์ รือการเชอ่ื มโยง

40 การเพิม่ เนอ้ื หาในเว็บเพจ 1.รูปแบบในการเพิม่ เน้ือหา การเพิ่มเน้อื หาแบบท่ี 1 เปดิ หนา้ เวบ็ เพจ ดบั เบล้ิ คลกิ ทต่ี าแหนง่ ทต่ี ้องการเพม่ิ เน้ือหา จะปรากฏเมนใู หเ้ พม่ิ เน้ือหาประเภทต่างๆ ดงั รูป ดบั เบล้ิ คลกิ ทต่ี าแหนง่ ทต่ี ้องการเพม่ิ เน้ือหา

41 การเพ่มิ เนือ้ หาแบบท่ี 2 ขั้นตอนในการปฏิบตั ิ เปิดหนา้ เวบ็ เพจ คลกิ เลือกเมนแู ทรกจะแสดงรายการให้เพิ่มเน้ือหา ประเภทต่างๆ ได้ ดังรปู คลิกทเ่ี มนู แทรก จะแสดงรายการให้เพม่ิ เนื้อหาประเภทตา่ ง ๆ

42 2. การเพมิ่ ข้อความ ขัน้ ตอนที่ 1 เปิดหนา้ เวบ็ เพจทต่ี ้องการเพ่ิมขอ้ ความ และดบั เบลิ้ คลกิ ตาแหน่งท่ีต้องการเพิม่ ข้อความ จะปรากฏหนา้ จอ ดงั รปู คลิกทขี่ ้อความ 1.ดับเบล้ิ คลิก 2.คลกิ ขอ้ ความ ขั้นตอนที่ 2 คลิกที่ข้อความ พมิ พ์ข้อความท่ีตอ้ งการและสามารถกาหนดขนาดตวั อกั ษรได้ จดั รูปแบบ และเพิม่ การ เชอื่ มโยงได้ พิมพข์ อ้ ความและเลอื กขนาดตวั อกั ษร ขน้ั ตอนท่ี 3 ปรับสพี ื้นหลังข้อความ ทาสาเนาหรือ ลบข้อความได้ เปล่ียรูปแบบพน้ื หลงั ทาสาเนา ลบข้อความ

43 3. การเพมิ่ รูปภาพ ขน้ั ตอนท่ี 1 ดบั เบ้ิลคลิกตาแหน่งท่จี ะใส่รปู ภาพจะปรากฏหน้าจอให้เลือกรปู ภาพ ดบั เบล้ิ คลกิ ตาแหน่งทจ่ี ะใสร่ ปู ภาพจะปรากฏหนา้ จอใหเ้ ลือกรปู ภาพ ขั้นตอนที่ 2 เลือกรปู ภาพจาก แหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ตัวอยา่ งนีเ้ ลือกรปู ภาพจากการเมนูคน้ หาเปน็ รปู ภาพท่ีตอ้ งการ 1.พิมพป์ ระเภทรปู ภาพทต่ี ้องการค้นหา “การต์ นู ผู้ชาย 2.คลิกเลอื กรูป 3.เลือก 4.จะได้รูปภาพทเี่ ลอื กในตาแหน่งที่ กาหนด

4. การเพมิ่ Embed URL เปน็ การฝังเวบ็ ไซตล์ งในหนา้ เวบ็ เพจ ขน้ั ตอนท่ี 1 เตรียม URLหรอื เวบ็ ไซต์ ทต่ี ้องการเพิ่มหรอื ฝงั ลงในหนา้ เวบ็ เพจ ตวั อยา่ ง แนะนาเว็บไซต์เก่ียวกบั แฟ้มสะสมงาน URL : https://dekshowport.com/ ขน้ั ตอนที่ 2 สร้างเวบ็ เพจใหม่โดยคลกิ ท่ี + และพิมพ์ช่ือเวบ็ เพจ แนะนาเว็บไซต์การสรา้ งแฟ้มสะสมงาน 2 พมิ พ์ขอ้ ความ 1 คลกิ ขั้นตอนท่ี 3 ดบั เบล้ิ คลกิ ทห่ี นา้ เวบ็ เพจจะแสดงเมนดู งั รปู คลกิ ที่ ฝงั 1 คลิกฝงั

45 ขั้นตอนที่ 4 เมือ่ แสดงหน้าจอ ฝังจากเวบ็ หรือ Embed URL ให้พมิ พ์ URL ที่ตอ้ งการ ตวั อย่างใหพ้ มิ พ์ https://dekshowport.com/ จะแสดงเน้ือจากเว็บไซต์ดงั รปู 1 พิมพ์ URL 2.เลอื กรปู การแสดงผลเว็บไซต์ 3.คลิกแทรก ข้ันตอนท่ี 5 จะมเี ว็บไซตเ์ พิ่มในหน้าเว็บเพจดงั รูป

46 5. การ Upload จะเป็นการ Upload ไฟลป์ ระเภทรูปภาพจากเคร่ืองคอมพวิ เตอร์สหู่ น้าเว็บเพจ ขน้ั ตอนที่ 1 สร้างเว็บเพจใหม่โดยคลกิ ที่ + และพิมพ์ชอ่ื เว็บเพจ การ Upload จะไดห้ น้าเว็บเพจช่อื Upload ขัน้ ตอนท่ี 2 ดบั เบล้ิ คลกิ ทห่ี นา้ เวบ็ เพจจะแสดงเมนดู งั รปู คลกิ ท่ี อปั โหลด 1. คลกิ อปั โหลด ขน้ั ตอนที่ 3 จะแสดงหนา้ ตา่ งใหเ้ ลือกไฟล์จากเครื่องคอมพิวเตอรโ์ ดยสามารถเลือกรปู ภาพทต่ี ้องการจากโฟลเดอร์ ต่าง ๆ จะเลอื กไดเ้ ฉพาะไฟลร์ ูปภาพเทา่ นน้ั คลกิ รปู ท่ตี อ้ งการและเลือก Open จะแสดงรปู ภาพทเี่ ลอื กในหน้าเวบ็ เพจ 1. คลกิ เลอื กรูปภาพ 2. คลกิ Open 3.แสดงรูปในหนา้ เวบ็ เพจ

47 6. การเพิ่มข้อมูลจาก Google Drive ขัน้ ตอนท่ี 1 สร้างเวบ็ เพจใหมโ่ ดยคลกิ ที่ + และพิมพช์ ื่อเว็บเพจ การเพ่ิมขอ้ มลู จากไดรฟ์ จะได้หนา้ เว็บเพจ ช่อื การเพ่มิ ข้อมลู จาก Drive ขัน้ ตอนที่ 2 ดบั เบล้ิ คลกิ ทห่ี นา้ เวบ็ เพจจะแสดงเมนดู ังรปู คลกิ ท่ี จากไดรฟ์ 1.คลิกจากไดรฟ์ 2 จะแสดงขอ้ มลู ต่างในไดรฟ์ เลือกคลกิ เลอื ก ไฟล์ 3. คลิกแทรก 4. จะได้ไฟลเ์ พมิ่ ในเว็บเพจตามทีเ่ ลือก

7. การเพ่ิมลงิ ก์หรือการเชือ่ มโยง 1.การเชือ่ มโยงไปหน้าเวบ็ เพจดว้ ยข้อความ !! ตวั อย่างเชือ่ มโยงเพอื่ ไปดูรายการแสดงความคิดเห็นในหน้าเวบ็ ชอื่ “รายการแสดงความคดิ เห็นลา่ สดุ ” ขนั้ ตอนที่ 1.พมิ พข์ ้อความและแดรกเมาสข์ ้อความทต่ี อ้ งการจะเชื่อมโยง ข้นั ตอนที่ 2. คลิกแทรก link ข้นั ตอนที่ 3. เลอื กหนา้ เว็บเพจทต่ี อ้ งการเชื่อมโยง

49 ขั้นตอนท่ี 4. จะแสดงรายช่ือเว็บท่ีจะเชื่อมโยงหรือ ลิงก์ ขัน้ ตอนที่ 5. คลกิ ใช้ ขน้ั ตอนท่ี 6. จะได้การเชอ่ื มโยงตามที่กาหนด ข้นั ตอนท่ี 7. แสดงตัวอย่างและ คลกิ ที่ขอ้ ความ ขน้ั ตอนที่ 8. จะแสดงหนา้ เว็บตามทีเ่ ชื่อมโยง

50 2.การเช่ือมโยงไปหน้าเว็บเพจดว้ ยรูปภาพ ขนั้ ตอนท่ี 1.ดบั เบล้ิ คลิกตาแหนง่ ทต่ี อ้ งการวางรปู ภาพและคลกิ อปั โหลด ข้ันตอนที่ 2. เลือกรูปภาพทต่ี ้องการ ขน้ั ตอนที่ 3. เลอื ก OPEN ขัน้ ตอนที่ 4. คลกิ แทรกลงิ ก์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook